1
หนว่ ยที่ 1 ความรเู้ บือ้ งต้นเก่ียวกบั ฐานข้อมลู
หนว่ ยที่
ความรเู้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกับฐานข้อมลู
ZZZ สาระการเรียนรู้
1. ความหมายฐานขอ้ มูล
2. โครงสร้างของฐานขอ้ มลู
3. ความเปน็ มาของฐานขอ้ มูล
4. องคป์ ระกอบของระบบฐานขอ้ มูล
5. ข้อดแี ละข้อเสยี ของการประมวลผลข้อมลู ในฐานขอ้ มลู
ZZZ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
จดุ ประสงคท์ ว่ั ไป
1. เพ่ือใหน้ ักศึกษาไดร้ ูแ้ ละเข้าใจเกยี่ วกับความหมายของฐานขอ้ มลู ได้ถกู ต้อง
2. เพอื่ ให้นกั ศกึ ษาไดร้ ้แู ละเขา้ ใจเกยี่ วกบั โครงสร้างของฐานขอ้ มลู ได้ถูกตอ้ ง
3. เพอ่ื ให้นักศกึ ษาไดร้ ู้และเข้าใจเกย่ี วกบั ความเป็นมาของฐานข้อมลู ได้ถกู ต้อง
4. เพอื่ ให้นกั ศกึ ษาไดร้ ู้และเขา้ ใจเก่ยี วกบั องค์ประกอบของระบบฐานขอ้ มลู ได้ถกู ตอ้ ง
5. เพือ่ ให้นกั ศึกษาไดร้ แู้ ละเขา้ ใจเกย่ี วกบั ขอ้ ดีและขอ้ เสียของการประมวลผลข้อมลู ใน
ฐานขอ้ มูลได้ถกู ตอ้ ง
จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม
1. นกั ศกึ ษาสามารถบอกความหมายของฐานข้อมูลได้
2. นักศกึ ษาสามารถบอกโครงสรา้ งของฐานขอ้ มูลได้
3. นักศกึ ษาสามารถบอกความเป็นมาของฐานขอ้ มลู ได้
4. นกั ศกึ ษาสามารถบอกองคป์ ระกอบของระบบฐานข้อมลู ได้
5. นกั ศึกษาสามารถบอกข้อดแี ละขอ้ เสยี ของการประมวลผลขอ้ มูลในฐานขอ้ มูลได้
3204-2005 ระบบฐานขอ้ มูล
2
หนว่ ยท่ี 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกีย่ วกบั ฐานข้อมูล
ZZZ กจิ กรรมการเรียนการสอน
.
1. ครใู หน้ กั ศึกษาทาํ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
2. ครอู ธบิ ายความหมายของฐานข้อมลู
3. ครอู ธบิ ายโครงสรา้ งของฐานขอ้ มูล และนําตัวอยา่ งงานจริงใหน้ กั ศกึ ษาดู
4. ครอู ธิบายองค์ประกอบของระบบฐานข้อมูล
5. ครูอธบิ ายข้อดีและข้อเสียของการประมวลผลข้อมลู ในฐานข้อมลู
6. ครูใหน้ กั ศึกษาสอบถามและครตู อบขอ้ ซักถาม
7. ครูให้นกั ศกึ ษาทําแบบฝึกหัดทา้ ยหน่วยและแบบทดสอบหลังเรียน
8. ครใู ห้นักศึกษารว่ มกันตรวจแบบฝกึ หัดท้ายหน่วยและแบบทดสอบก่อนเรยี น
และหลงั เรยี น
9. ครูเปรียบเทยี บคะแนนแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี นเพอื่ ใชเ้ ป็นข้อมูลในการ
ปรับปรงุ การเรียนการสอนในครง้ั ตอ่ ไป
ZZZ สือ่ การเรยี นการสอน
1. แผนการจดั การเรยี นรู้
2. ส่ือ Power Point
3. ตัวอยา่ งแบบฟอรม์ กรอกขอ้ มลู ทะเบยี นประวัตนิ กั ศกึ ษาวทิ ยาลยั เทคนคิ สกลนคร
4. ตวั อย่างระบบงานจริง “ระบบทะเบียนนกั ศึกษา แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ”
พฒั นาระบบโดยครพู ยอม เหล่าชุมพล ท่ีเวบ็ ไซต์ http://www.bctsakon.com
ช่อื ผใู้ ช้ : รหัสนกั ศึกษา 10 หลัก รหสั ผ่าน : รหสั นักศกึ ษา 2 ตวั แรกและ 3 ตวั สดุ ทา้ ย
5. แหล่งอนิ เทอร์เนต็ สําหรบั ศกึ ษาเพมิ่ เตมิ http://www.payom.bctsakon.com
ZZZ การประเมินผล
1. ประเมินผลจากแบบทดสอบหลงั เรียน
2. ประเมนิ ผลจากความตั้งใจ และความสนใจในการเรียน
3204-2005 ระบบฐานขอ้ มูล
3
หน่วยที่ 1 ความรูเ้ บอ้ื งต้นเก่ยี วกบั ฐานข้อมูล
ความรเู้ บ้ืองตน้ เก่ยี วกบั ฐานข้อมลู
สงั คมในปัจจุบนั จัดได้ว่าเปน็ สังคมทอ่ี ยบู่ นพ้ืนฐานของสารสนเทศทสี่ ามารถสอ่ื สารกนั ไดท้ ่วั โลก
ระบบฐานข้อมูลได้เข้ามามีบทบาทในสังคมปัจจุบันน้ีเป็นอย่างมาก และมีความสําคัญอย่างยิ่งต่อการ
พัฒนาระบบสารสนเทศท้ังในด้านเศรษฐกิจ ธุรกิจ อุตสาหกรรม การศึกษา การแพทย์ และการ
ประกอบการอื่นๆ สําหรับการพัฒนาและออกแบบสารสนเทศจะต้องทําความเข้าใจเก่ียวกับระบบ
ฐานข้อมูล การออกแบบฐานข้อมลู และเทคโนโลยีระบบจัดการฐานข้อมูล โดยนําเอาระบบฐานข้อมูล
เข้ามาใช้ในการเก็บข้อมูลหรือบริหารจัดการข้อมูล เพ่ือให้ได้มาซึ่งระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ
ช่วยให้ผู้บริหารใช้ในการตัดสินใจ การวางแผน และกําหนดแนวทางขององค์กร ธุรกิจใดหรือผู้ใด
สามารถเข้าถงึ ข้อมูลได้อย่างรวดเร็วที่สุด ถูกต้องที่สุด ทันต่อเหตุการณ์ มีความปลอดภัยสูง เช่ือถือได้
และสามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานได้อย่างครบถ้วน ผู้นั้นย่อมประสบความสําเร็จใน
การดาํ เนินงานสงู
ในหน่วยท่ี 1 นี้จะกล่าวถึงความรู้เบ้ืองต้นที่เป็นพ้ืนฐานความรู้ในเร่ืองของฐานข้อมูล
ประกอบด้วย ความหมายของฐานข้อมูล โครงสร้างของฐานข้อมูล ความเป็นมาของฐานข้อมูล
องค์ประกอบของระบบฐานข้อมูล และข้อดีกับข้อเสียของการประมวลผลข้อมูลในฐานข้อมูล ซ่ึงมี
รายละเอียดดังน้ี
1. ความหมายฐานขอ้ มูล
ข้อมูล (data) ซ่ึงเป็นข้อเท็จจริงที่เกิดข้ึนจากการดําเนินงานของกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง
ภายในองค์กร หน่วยงาน ตลอดจนข้อมูลทั่วไปในชีวิตประจําวัน โดยการเก็บรวบรวมไว้ในฐานข้อมูล
แล้วนํามาผ่านกระบวนการประมวลผล (Processing) เช่น การเรียงลําดับ การคํานวณ การจัดกลุ่ม
สรุปผลสร้างเป็นรายงาน หรือจัดให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมต่อการนําเสนอขององค์กร เพื่อให้ได้
ข้อมูลที่มีความถูกต้องและเชื่อถือได้จนสามารถนําไปใช้งานได้ จึงเรียกข้อมูลหลังจากที่ผ่าน
กระบวนการประมวลข้างตน้ แลว้ นว้ี า่ เป็นสารสนเทศ (Information) แสดงดังรปู ที่ 1.1
ขอ้ มลู (Data) การประมวลผล (Processing) สารสนเทศ (Information)
รูปที่ 1.1 แสดงระบบการประมวลผลขอ้ มลู
(สัมพนั ธ์ุ จันทรด์ ,ี 2551 : 24)
3204-2005 ระบบฐานขอ้ มลู
4
หน่วยท่ี 1 ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับฐานขอ้ มูล
ฐานข้อมูลมาจากคําศัพท์ 2 คํา คือ ฐาน และข้อมูล พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พทุ ธศักราช 2542 (2542:392) ได้อธิบายวา่
ฐาน หมายถึง ท่ีตง้ั ทรี่ องรบั
ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริง หรือส่ิงที่ถือหรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริง สําหรับใช้เป็นหลัก
อนมุ านหาความจรงิ หรอื การคาํ นวณ
ดังนัน้ หากแปลตามคําศพั ท์ จงึ หมายถึง ทีต่ ัง้ แหง่ ข้อเทจ็ จรงิ
ความหมายของฐานขอ้ มลู ซ่ึงมผี ้ใู ห้ความหมายไวห้ ลายท่านดงั น้ี
สมจิตร อาจอินทร์ และงามนิจ อาจอินทร์ (2540:12) ให้ความหมายว่า ฐานข้อมูล หมายถึง
การเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันไว้ในท่ีที่เดียวกัน ในระบบการประมวลผลฐานข้อมูล จะมี
รูปแบบและวิธีการจดั การขอ้ มูลท่ีแตกตา่ งจากระบบแฟ้มขอ้ มลู
พุธษดี ศริ ิแสงตระกลู (2539:1) ให้ความหมายว่า ฐานข้อมูล คือ เป็นการจัดเก็บบันทึกข้อมูลท่ี
สัมพันธ์กันไว้ในลักษณะระบบเบ็ดเสร็จ (Integrated system) กล่าวคือ มีเก็บบันทึกข้อมูลไว้
ส่วนกลาง เพ่ือลดปัญหาความซํ้าซ้อนของข้อมูล อีกท้ังเพ่ือให้ผู้ใช้สามารถเรียกใช้และปฏิบัติการกับ
ข้อมูลในฐานข้อมูลร่วมกันได้ โดยผู้ใช้แต่ละคนจะมองข้อมูลในแง่มุมที่แตกต่างกันไปตามจุดประสงค์
ของการประยุกต์ใช้งาน
วิเชียร เปรมชัยสวัสด์ิ (2551:2) ให้ความหมายว่า ฐานข้อมูล หมายถึง ชุดของข้อมูลท่ีมี
ความสัมพันธ์กันที่ถูกนํามาจัดเก็บไว้ด้วยกัน เพื่อให้สามารถใช้ข้อมูลเหล่านั้นร่วมกันได้อย่างรวดเร็ว
และมีประสทิ ธภิ าพ
วราภรณ์ โกวิทวรางกูร (2543:8) ให้ความหมายว่า ฐานข้อมูล หมายถึง ที่เก็บข้อมูล และ
ความสมั พันธร์ ะหว่างขอ้ มูลเหลา่ นน้ั มารวมเข้าดว้ ยกนั อย่างมรี ะบบ
ดวงแก้ว สวามิภักด์ (2534:22) ให้ความหมายว่า ฐานข้อมูล คือ โครงสร้างสารสนเทศ
(Information) ท่ปี ระกอบดว้ ย entity หลายๆ ตัวซ่ึงบรรดา entity เหล่านต้ี อ้ งมีความสมั พนั ธก์ นั
ศิรลิ กั ษณ์ โรจนกิจอาํ นวย (2542:9) ใหค้ วามหมายว่า ฐานข้อมูล คือ การจัดเก็บข้อมูลอย่างมี
ระบบ ซึ่งผู้ใช้สามารถเรียกใช้ข้อมูลในลักษณะต่างๆ ได้ เช่น การเพิ่มเติมข้อมูล การเรียกดูข้อมูล
การแกไ้ ขหรือลบข้อมลู
จากความหมายดังกล่าวสรุปได้ว่า ฐานข้อมูล (Database) คือ การรวบรวมและจัดเก็บชุดของ
ข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันมาไว้ด้วยกันอย่างเป็นระบบ เพ่ือให้ผู้ใช้สามารถเรียกใช้ข้อมูลเหล่าน้ัน
ร่วมกนั ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และมปี ระสทิ ธภิ าพ
2. โครงสร้างของฐานข้อมลู
ระบบดิจิตอลคอมพิวเตอร์ทํางานโดยใช้ข้อมูลท่ีเป็นรหัสของตัวเลข ตัวเลขท่ีใช้เป็นรหัสแทน
ข้อมูล คือ เลขฐานสอง ซึง่ มรี หัสแทนข้อมูล 2 ตัว ไดแ้ ก่ 0 และ 1 แลว้ นาํ ตวั เลขมาต่อเรียงกัน
รหสั ของเลขฐาน 2 1 หลัก = 1 bit
รหัสของเลขฐาน 2 8 หลัก = 8 bit = 1 byte หรอื 1 Character
3204-2005 ระบบฐานขอ้ มูล
5
หน่วยท่ี 1 ความรูเ้ บ้ืองต้นเกย่ี วกบั ฐานข้อมูล
2.1 โครงสร้างของฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลเป็นการเก็บรวบรวมข้อมลู ซง่ึ ประกอบด้วยโครงสร้างของฐานข้อมูล ดงั นี้
2.1.1 ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) หมายถึง ตัวอักษร (A-Z,ก-ฮ) ตัวเลข
(0-9) และสญั ลกั ษณ์ตา่ งๆ ทอี่ ยู่บนแป้นพิมพ์
2.1.2 ฟิลด์ (Field) หมายถึง เขตข้อมูลที่เกิดจากการนําอักขระ (character) แต่ละตัว
มาประกอบกันเป็นข้อความหรือกลุ่มคํา เพื่อใช้แทนความหมายของสิ่งใดส่ิงหน่ึง เช่น รหัสนักศึกษา
ชื่อ ทอี่ ยู่ เปน็ ต้น
2.1.3 เรคอร์ด (Record) หมายถึง การนําฟิลด์หลายๆ ฟิลด์ท่ีมีความสัมพันธ์กันมา
รวมกัน เช่น เรคอร์ดข้อมูลนักศึกษาประกอบไปด้วยฟิลด์ รหัสนักศึกษา ชื่อนักศึกษา สกุลนักศึกษา
ท่ีอยู่ เป็นตน้
2.1.4 แฟ้มขอ้ มูล (File) หมายถงึ การรวมเรคอร์ดหลายๆ เรคอรด์ ทมี่ ีความเกี่ยวขอ้ งกัน
และมคี วามสมั พนั ธ์กันมาจัดเกบ็ รวมไวด้ ้วยกนั
จากโครงสร้างของฐานข้อมูลดังกล่าว โครงสร้างของฐานข้อมูลท่ีเล็กท่ีสุด คือ Character
และโครงสร้างของข้อมูลท่ีใหญ่ที่สุด คือ File แต่ก็ยังมีโครงสร้างของข้อมูลที่ใหญ่กว่า File ก็คือ
Database หรือ ฐานขอ้ มลู ซ่ึงหมายถึง File ตง้ั แต่ 1 File ข้นึ ไปมารวมกัน มีความสมั พนั ธก์ ัน
2.2 ตวั อยา่ งโครงสร้างของฐานข้อมูล
ตัวอย่างการจัดเก็บข้อมูลแบ่งตามโครงสร้างของฐานข้อมูล เช่น วิทยาลัยเทคนิค
สกลนคร ได้จัดเก็บข้อมูลทะเบียนประวัติของนักศึกษาระดับช้ัน ปวส.1 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
โดยมีโครงสร้างของฐานข้อมูล แสดงดงั รปู ท่ี 1.2
เลขท่ี 1
รหสั ประจําตัวนกั ศึกษา 5532040001 เลขที่ 2
ช่ือ น.ส.สมใจ
นามสกลุ เรียนดี รหสั ประจาํ ตัวนักศึกษา 5532040002 เลขที่ 3 ....เลขทส่ี ุดทา้ ย
ท่ีอยู่ 245 ถ.นติ โย อ.เมอื ง ชื่อ น.ส.ดวงใจ
จ.สกลนคร นามสกลุ เจรญิ จรงิ รหสั ประจาํ ตวั นกั ศึกษา 5532040003
เบอรโ์ ทรศพั ท์ 042-711392 ทีอ่ ยู่ 47 ถ.นติ โย อ.เมือง ช่ือ นายสดุ หลอ่
วัน/เดอื น/ปีเกิด 13 เม.ย. 2536 จ.สกลนคร นามสกุล ผดู้ ี
ชื่อบดิ า นายสรรชยั เรียนดี เบอร์โทรศพั ท์ 042-711234 ทอ่ี ยู่ 68 ถ.นิตโย อ.เมอื ง
ชอื่ มาดา นางสนุ ิสา เรียนดี วนั /เดอื น/ปเี กดิ 5 ส.ค. 2536 จ.สกลนคร
ชื่อผปู้ กครอง นายสรรชัย เรยี นดี ชื่อบิดา นายสินเจริญ เจรญิ จริง เบอรโ์ ทรศพั ท์ 042-711911
ชอ่ื มาดา นางจารุณี เจริญจริง วนั /เดอื น/ปเี กดิ 9 พ.ย. 2536
ชือ่ ผปู้ กครอง นายสินเจริญ เจรญิ จรงิ ช่ือบิดา นายมโน ผ้ดู ี
ช่อื มาดา นางดารา ผดู้ ี
ชื่อผู้ปกครอง นายมโน ผู้ดี
รูปที่ 1.2 ตวั อย่างโครงสรา้ งข้อมูลของแฟม้ ข้อมลู ทะเบียนประวัตขิ องนกั ศึกษา
3204-2005 ระบบฐานขอ้ มูล
6
หนว่ ยท่ี 1 ความรเู้ บอ้ื งต้นเกย่ี วกบั ฐานขอ้ มูล
จากรูปท่ี 1.2 มโี ครงสร้างของฐานขอ้ มูล ดังนี้
Character คือ ตวั อักษรแตล่ ะตวั เชน่ ร ห ั ส ป ร ะ จ ำ ต ั ว น ั ก ศ ึ ก ษ า
Field คือ ตัวอกั ษรตง้ั แต่ 1 ตัวขน้ึ ไปมารวมกัน เชน่
Field : รหสั ประจาํ ตัวนกั ศกึ ษา
Field : ชื่อ
Field : นามสกลุ
Field : ทอ่ี ยู่
Field : เบอรโ์ ทรศพั ท์
Field : วนั /เดอื น/ปเี กดิ
Field : ชอื่ บดิ า
Field : ช่ือมารดา
Field : ช่ือผปู้ กครอง
Record คอื Field ตั้งแต่ 1 Field ขึ้นไปมารวมกัน เป็นข้อมูลของนักศึกษาแต่ละคน เช่น
ขอ้ มลู ของนักศึกษาเลขท่ี 1 คือ Record ท่ี 1 ประกอบไปดว้ ย
Field: รหสั ประจําตัวนกั ศกึ ษา ขอ้ มูล คือ 5532040001
Field: ช่ือ ขอ้ มูล คือ น.ส.สมใจ
Field: นามสกุล ขอ้ มูล คอื เรียนดี
Field: ท่ีอยู่ ขอ้ มลู คือ 254 ถ.นิตโย อ.เมือง จ.สกลนคร
Field: เบอรโ์ ทรศัพท์ ขอ้ มลู คอื 042-711392
Field: วนั /เดอื น/ปเี กิด ข้อมลู คอื 13 เม.ย. 2536
Field: ชื่อบิดา ข้อมูล คอื นายสรรชยั เรยี นดี
Field: ชอ่ื มารดา ข้อมูล คือ นางสนุ ิสา เรยี นดี
Field: ช่อื ผปู้ กครอง ขอ้ มลู คอื นายสรรชยั เรียนดี
ข้อมูลของนักศึกษาแต่ละคนมารวมกัน ช่ือ Field เหมือนกัน แต่ข้อมูลที่อยู่ใน Field แต่ละ
Field จะแตกต่างกัน ข้ึนอยู่กับข้อมูลเฉพาะของนักศึกษาแต่ละคน ข้อมูลของนักศึกษาเลขที่ 2 คือ
Record ท่ี 2 ตามลาํ ดบั
File คือ Record ต้ังแต่ 1 Record ข้ึนไปมารวมกัน ซึ่งในตัวอย่างน้ี File คือ แฟ้มข้อมูล
ทะเบยี นประวตั ิของนักศกึ ษาระดบั ช้ัน ปวส.1 แผนกวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ วิทยาลยั เทคนิคสกลนคร
3. ความเป็นมาของฐานขอ้ มลู
ฐานข้อมูลเกิดขึ้นมาเน่ืองจากโครงการอพอลโลของสหรัฐอเมริกา ซ่ึงเป็นโครงการส่งมนุษย์
อวกาศไปดวงจันทร์ เมื่อปี พ.ศ. 2511 จากโครงการดังกล่าวมีข้อมูลเป็นจํานวนมาก ดังน้ันเพ่ือให้
สามารถจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ลงในคอมพิวเตอร์ได้สะดวก จึงได้ว่าจ้างบริษัท IBM ให้พัฒนาระบบเพ่ือ
จดั เกบ็ ข้อมลู ดงั กล่าวเรียกว่า GUAM (Generalized Update Access Method) ซง่ึ ถือเปน็ ต้นกําเนิด
ของระบบจัดการฐานข้อมูลในอีก 2 ปีถัดมา บริษัท IBM จึงได้พัฒนาระบบจัดการฐานข้อมูลข้ึนมา
3204-2005 ระบบฐานขอ้ มูล
7
หน่วยท่ี 1 ความรู้เบื้องตน้ เกยี่ วกับฐานขอ้ มลู
ใหม่ เพื่อการใช้งานในวงการธุรกิจทั่วไป ได้แก่ ระบบ DL/I (Data Language/I) พัฒนาจนกระท่ังได้
ระบบ IMS (Information Management System)
นอกจากบริษัท IBM แล้วยังมีบริษัท GE (General Electric) ท่ีได้พัฒนาระบบฐานข้อมูล เช่น
ระบบ IDS (Integrated Data Store) โดยมี Charles Bachman เป็นหัวหน้าทีม IDS เริ่มใช้งานในปี
พ.ศ. 2509 และเป็นต้นกําเนิดของระบบโคดาชิวล์ (CODASYL) หรือโมเดลแบบเน็ตเวิร์คท่ียังนิยมใช้
กันแพร่หลายจนถึงปัจจุบัน CODASYLเกิดขึ้นต้ังแต่ พ.ศ. 2517 ซึ่งเป็นทีมงานเดียวกับชุดที่พัฒนา
ภาษาโคบอล
ในยุคปี ค.ศ. 1968 Dr.E.F.Codd ไดน้ ําเสนอโมเดลเชิงสัมพันธ์ ซึ่งมีหลักการอยู่บนพื้นฐานทาง
คณติ ศาสตร์ เพ่ือแกป้ ญั หาของโมเดลฐานขอ้ มลู แบบเดมิ หลงั จากนน้ั บริษัท IBM ก็ได้นําแนวคิดของ
Dr.E.F.Codd ไปสร้างระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ที่ชื่อว่าระบบ R ขึ้น และพัฒนามาเป็นระบบ DB2
ในปัจจบุ ันมีผู้ผลิตซอฟท์แวร์ฐานข้อมลู ขึ้นมามากมาย โดยใชท้ ฤษฏีของ Dr.E.F.Codd เพือ่ สร้างระบบ
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ขึ้นมา เช่น Microsoft Access, Microsoft SQL Server, Oracle, My SQL
เปน็ ตน้
4. องคป์ ระกอบของระบบฐานขอ้ มูล
ระบบฐานข้อมูลมักจะนําเอาระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยในการจัดเก็บฐานข้อมูลเพื่อให้ทันต่อ
ความต้องการในการใช้งาน สะดวก รวดเร็ว และถูกต้องมีความเช่ือถือได้ โดยมีซอฟท์แวร์หรือ
โปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล องค์ประกอบของระบบฐานข้อมูล แบ่งออกเป็น 4 องค์ประกอบ
ดังต่อไปน้ี
4.1 ฮารด์ แวร์ (Hardware)
4.2 ซอฟทแ์ วร์ (Software)
4.3 ข้อมลู (Data)
4.4 บคุ ลากร (Personal)
4.1 ฮารด์ แวร์ (Hardware)
ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถงึ ตัวเครือ่ งคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์รอบนอกที่ต่อเข้ากับ
เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ สามารถจบั ตอ้ งได้
ระบบฐานข้อมูลท่ีมีประสิทธิภาพควรมีฮาร์ดแวร์ท่ีมีประสิทธิภาพ สามารถอํานวยความ
สะดวกในการบริหารระบบฐานข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ขนาดของหน่วยความจําหลัก
ความเร็วของหน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจําสํารอง อุปกรณ์นําเข้าข้อมูลและอุปกรณ์ออก
รายงานตอ้ งรองรับการประมวลผลขอ้ มลู ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
4.2 ซอฟท์แวร์ (Software)
ซอฟท์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรม หรือชุดคําส่ังที่ส่ังให้คอมพิวเตอร์ทํางาน ซ่ึง
ระบบจดั การฐานขอ้ มูล ประกอบด้วยซอฟท์แวร์ 2 ประเภท คือ
3204-2005 ระบบฐานขอ้ มูล
8
หนว่ ยที่ 1 ความรู้เบ้อื งตน้ เกย่ี วกับฐานข้อมลู
4.2.1 ซอฟแวร์ระบบ ซ่ึงเรียกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management
System:DBMS) เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการจัดการฐานขอ้ มูลและควบคุมดูแลการสร้างฐานข้อมูล สร้าง
ตาราง การเรียกใช้ข้อมูล การจัดทํารายงาน การปรับเปล่ียน แก้ไขโครงสร้าง ทําหน้าที่ในการจัดการ
ฐานข้อมูลโดยจะเป็นสื่อกลางระหว่างผู้ใช้และโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ที่มีอยู่ในระบบฐานข้อมูล ใน
การติดตอ่ กับขอ้ มูลในฐานข้อมูล จะต้องตดิ ตอ่ ผ่านโปรแกรม DBMS
หนา้ ที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลหรอื โปรแกรม DBMS
1) ชว่ ยกําหนด และเกบ็ โครงสร้างฐานขอ้ มูล
2) ช่วยดึงข้อมูลจากฐานข้อมูล ข้อมูลที่นํามาประมวลผลด้วยโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ ระบบจัดการฐานข้อมูลจะทําการรับและเก็บข้อมูลไว้ในฐานข้อมูล เพื่อใช้ในการ
ประมวลผล
3) ช่วยเก็บและดูแลข้อมูล ข้อมูลท่ีเก็บในฐานข้อมูลจะถูกรวบรวมไว้ด้วยกัน
โดยมีระบบจดั การฐานขอ้ มลู เป็นผ้ดู แู ลรกั ษาข้อมลู เหลา่ น้ัน
4) ช่วยประสานงานกับระบบปฏิบัติการ เนื่องจากคอมพิวเตอร์ต้องพึ่ง
ระบบปฏิบัติการในการทํางาน ดังน้ันระบบปฏิบัติการจะคอยควบคุมการทํางานของอุปกรณ์
คอมพวิ เตอรห์ รอื โปรแกรมตา่ งๆ ซึ่งระบบจดั การฐานข้อมูลจะทําการประสานงานกับระบบปฏิบัติการ
ในการเรยี กใช้ แก้ไขข้อมูล ลบข้อมลู ออกรายงาน เปน็ ตน้
5) ช่วยควบคุมความปลอดภัย ระบบจัดการฐานข้อมูลจะมีวิธีควบคุมการ
เรียกใช้ข้อมูล หรือแก้ไขเปล่ียนแปลงข้อมูลของผู้ใช้ในระบบแตกต่างกัน เพื่อป้องกันความเสียหายท่ี
จะเกดิ ขนึ้ กับฐานขอ้ มูล
6) การจดั ทําขอ้ มูลสํารองและการกคู้ ืน ระบบจดั การฐานขอ้ มลู จะทําการสํารอง
ข้อมูลของฐานข้อมูล เม่ือเกิดปัญหาข้ึนกับฐานข้อมูล เช่น แฟ้มข้อมูลเสียหายเนื่องจากดิสก์เสีย หรือ
ถูกโปรแกรมไวรัสทําลายข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูลจะใช้ระบบสํารองน้ีในการฟ้ืนฟูสภาพการ
ทาํ งานของระบบใหส้ สู่ ภาวะปกติ
7) ควบคุมการใช้ข้อมูลพร้อมกันของผู้ใช้ในระบบ ระบบคอมพิวเตอร์ท่ีมีผู้ใช้
หลายคนสามารถเรียกใช้ข้อมูลได้พร้อมกัน ระบบจัดการฐานข้อมูลจะทําการควบคุมการใช้ข้อมูล
พร้อมกันของผ้ใู ช้หลายคนในเวลาเดียวกนั โดยมกี ารควบคมุ อย่างถกู ต้องเหมาะสม
8) ควบคุมความบูรณภาพของข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูลจะทําการควบคุม
คา่ ของข้อมูลในระบบให้ถกู ตอ้ งและเช่อื ถือได้
9) ทําหน้าท่ีจัดทําพจนานุกรมข้อมูล ซ่ึงเป็นองค์ประกอบทางซอฟท์แวร์ ทํา
หนา้ ท่เี กบ็ รายละเอียดเก่ียวกบั ขอ้ มูลภายในฐานขอ้ มูล เช่น โครงสรา้ งของแต่ละตาราง ใครเป็นผู้สร้าง
สร้างเมื่อใด และแต่ละตารางประกอบด้วยเขตข้อมูลใดบ้าง คุณลักษณะของแต่ละเขตข้อมูลเป็น
อย่างไร มีการเรียกใช้อยู่ในโปรแกรมประยุกต์ใดบ้าง และมีตารางใดท่ีมีความสัมพันธ์กันบ้าง มีเขต
ขอ้ มูลใดเปน็ คียบ์ ้าง เป็นต้น (สมจิตร อาจอนิ ทร์ และงามนจิ อาจอินทร์, 2540 : 38)
3204-2005 ระบบฐานขอ้ มลู
9
หน่วยที่ 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกับฐานขอ้ มลู
4.2.2 ซอฟท์แวร์ใช้งาน (Application Software) เป็นโปรแกรมที่เขียนข้ึนโดยใช้
เคร่ืองมือต่างๆ ของ DBMS ในการทํางานเฉพาะอย่าง เช่น การเข้าถึงข้อมูล การออกรายงาน ฯลฯ
โปรแกรมใช้งานน้ีถูกเขียนโดยการใช้ภาษาระดับสูงที่สามารถติดต่อส่ือสารกับ DBMS ได้ เช่น ภาษา
SQL, Visual Basic เปน็ ตน้
4.3 ข้อมูล (Data)
ข้อมูลท่ีจัดเก็บอยู่ในฐานข้อมูลควรเก็บรวมรวมแฟ้มข้อมูลต่างๆ ไว้ด้วยกัน โดยมี
วัตถุประสงค์เพ่ือลดความซ้ําซ้อนของข้อมูลที่จะถูกเก็บในแฟ้มข้อมูลต่างๆ ให้มากที่สุดเท่าที่จะ
สามารถทําได้ ซึ่งผู้ใช้หลายๆ คน สามารถเรียกใช้หรือดึงข้อมูลชุดเดียวกันได้ ณ เวลาเดียวกัน หรือ
ต่างเวลากันได้
4.4 บุคลากร (Personal)
บุคลากรทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับระบบฐานขอ้ มูล มีดังนี้
4.4.1 ผใู้ ชท้ ั่วไป (User) เปน็ บุคลากรทใ่ี ชข้ อ้ มลู จากระบบฐานข้อมลู เพือ่ ใช้งานสําเรจ็
ลลุ ่วงได้
4.4.2 พนกั งานปฏิบัตกิ าร (Operator) เป็นผ้ปู ฏบิ ตั ิการดา้ นการประมวลผล การป้อน
ขอ้ มลู เขา้ เครื่องคอมพิวเตอร์
4.4.3 นักวเิ คราะห์และออกแบบระบบ (System Analyst) เป็นบุคลากรทท่ี ําหนา้ ที่
วิเคราะห์ออกแบบฐานข้อมลู และออกแบบระบบงานที่จะนํามาใช้
4.4.4 ผู้เขยี นโปรแกรมประยกุ ตใ์ ช้งาน (Programmer) เป็นผ้ทู าํ หน้าท่เี ขยี นโปรแกรม
ประยุกต์ใชง้ านต่างๆ เพ่ือให้การจัดเก็บ การเรยี กใช้ขอ้ มูลเป็นไปตามความตอ้ งการของผู้ใช้
4.4.5 ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA) เป็นบุคลากรท่ีมีหน้าท่ี
ควบคุมและบริหารทรัพยากรฐานข้อมูลขององค์กร ควรมีความรู้ทั้งหลักการบริหารและด้านเทคนิค
ของระบบจัดการฐานข้อมูล เน่ืองจากผู้บริหารฐานข้อมูลจะทําหน้าท่ีเป็นท่ีปรึกษาและประสานงาน
กับเจ้าหน้าท่ีฝ่ายปฏิบัติการ เช่น นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ โปรแกรมเมอร์ และผู้ใช้ เพ่ือให้
การบริหารระบบฐานข้อมูลเป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
จากท่ีกล่าวมาแล้วถึงองค์ประกอบต่างๆ ที่มีในระบบฐานข้อมูล แต่ละองค์ประกอบจะมี
ความสําคัญ จะขาดองค์ประกอบใดองค์ประกอบหน่ึงไม่ได้ และแต่ละองค์ประกอบนี้จะมี
ความสมั พันธ์กนั องค์ประกอบทีม่ ีในระบบฐานขอ้ มูล แสดงไว้ดงั รูปท่ี 1.3
3204-2005 ระบบฐานขอ้ มลู
10
หน่วยที่ 1 ความรเู้ บือ้ งต้นเกี่ยวกับฐานขอ้ มูล
โปรแกรม ขอ้ มลู (Data)
ประยกุ ต์
ข้อมลู รายวชิ า
บคุ ลากร (Personal) ซอฟท์แวร์ ข้อมลู นักศึกษา
- ผูใ้ ช้ทั่วไป (Software) ขอ้ มูลการลงทะเบยี น
- พนกั งานปฏิบัติการ ข้อมูลผลการเรียน
- นักวเิ คราะห์และออกแบบระบบ ระบบจัดการ
- ผู้เขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน ฐานขอ้ มลู ฐานข้อมูล
(DBMS) Database
- ผู้บรหิ ารฐานขอ้ มลู ฮารด์ แวร์ (Hardware)
- ตวั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์
- อุปกรณ์รอบนอกที่ตอ่ เขา้ กับ
เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ เชน่ เคร่อื งพมิ พ์ เทปแมเ่ หลก็
รูปท่ี 1.3 แสดงความสมั พันธร์ ะหวา่ งองค์ประกอบของระบบฐานขอ้ มูล
(สมจติ ร อาจอนิ ทร์ และงามนจิ อาจอนิ ทร,์ 2540 : 46)
5. ข้อดแี ละขอ้ เสยี ของการประมวลผลขอ้ มูลในฐานข้อมูล
การประมวลผลขอ้ มลู ในฐานขอ้ มลู มีทง้ั ข้อดแี ละข้อเสีย ดงั นี้
5.1 ขอ้ ดี
ข้อดขี องการประมวลผลขอ้ มลู ในฐานขอ้ มูล มดี งั น้ี
5.1.1 สามารถลดความซํา้ ซอ้ นของขอ้ มลู ได้
การจัดเก็บข้อมูลในลักษณะแฟ้มข้อมูล อาจทําให้ข้อมูลเรื่องเดียวกันถูกจัดเก็บไว้
ในหลายๆ แหง่ ในองค์กร ทาํ ให้เกิดความซํ้าซอ้ นของขอ้ มูลได้ การจดั เก็บข้อมูลในฐานข้อมูลจึงช่วยลด
ปัญหาความซ้ําซ้อนของข้อมูล โดยระบบจัดการฐานข้อมูลจะช่วยลดความซํ้าซ้อนทั้งในด้านการ
จดั เก็บและการประมวลผล รวมถึงความเชอื่ ถือได้ของขอ้ มูล
5.1.2 สามารถหลกี เลยี่ งความขดั แย้งของข้อมลู ได้
การจัดเก็บข้อมูลในลักษณะแฟ้มข้อมูล ข้อมูลเรื่องเดียวกันอาจถูกจัดเก็บอยู่ใน
หลายแฟ้มข้อมูลหลายแห่งในองค์กร ซึ่งก่อให้เกิดความขัดแย้งของข้อมูล เพราะข้อมูลแต่ละ
แฟม้ ข้อมลู แต่ละแห่งในองค์กร ไม่สามารถปรับปรุงให้ทันสมัยถูกต้องเหมือนกันทุกแฟ้มข้อมูล จึงอาจ
ทาํ ใหข้ ้อมูลในแต่ละแฟม้ แตล่ ะแหง่ ในองคก์ รขดั แย้งกันได้
3204-2005 ระบบฐานขอ้ มูล
11
หนว่ ยที่ 1 ความร้เู บ้ืองตน้ เกี่ยวกับฐานขอ้ มูล
5.1.3 สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้
ระบบจัดการฐานข้อมูลเป็นการเก็บรวบรวมแฟ้มข้อมูลรวมไว้ด้วยกัน ซึ่งผู้ใช้
หลายๆ คน สามารถเรยี กใช้หรอื ดึงขอ้ มูลชดุ เดยี วกนั ได้ ณ เวลาเดียวกัน หรอื ต่างเวลากนั ก็ได้
5.1.4 สามารถรักษาความถูกตอ้ งและเช่อื ถือไดข้ องข้อมลู
ในการจดั เก็บข้อมลู ในฐานข้อมูล อาจมีความผิดพลาดเกิดขึ้น เช่น การป้อนข้อมูล
ผิดพลาดจากข้อมูลหน่ึงเป็นอีกข้อมูลหนึ่ง ซ่ึงในระบบจัดการฐานข้อมูลสามารถระบุกฎเกณฑ์เพ่ือ
ควบคุมความผิดพลาดท่เี กดิ ขึ้นได้
5.1.5 สามารถกาํ หนดความเป็นมาตรฐานเดยี วกนั ได้
การเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลต้องกําหนดและควบคุมความมีมาตรฐานของข้อมูลให้
เป็นไปในลักษณะเดียวกัน เช่น โครงสรา้ งข้อมลู ประเภทของขอ้ มลู ทจ่ี ดั เกบ็ เปน็ ตน้
5.1.6 สามารถกําหนดระบบความปลอดภัยของขอ้ มูลได้
ผู้บริหารฐานข้อมูลสามารถกําหนดระดับการเรียกใช้ข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคนให้
แตกต่างกนั ตามหน้าทคี่ วามรบั ผดิ ชอบได้
5.1.7 มคี วามเปน็ อิสระของข้อมูลและโปรแกรม
ฐานข้อมูลและโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน จะทํางานโดยมีระบบการจัดการ
ฐานขอ้ มลู เป็นตัวเช่อื มโยงกับฐานข้อมลู ถา้ หากมีการเปลีย่ นแปลงโครงสรา้ งขอ้ มูลในแฟม้ ข้อมลู ก็จะ
ทําการแก้ไขเฉพาะโปรแกรมท่ีเรียกใช้โครงสร้างข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงเท่าน้ัน ส่วนโปรแกรมท่ีไม่ได้
เรียกใช้โครงสร้างขอ้ มูลทีเ่ ปลยี่ นแปลงกจ็ ะเปน็ อสิ ระจากการเปล่ียนแปลงน้ี
5.1.8 สามารถขยายงานไดง้ ่าย
เมื่อต้องการเพ่ิมเติมข้อมูลที่เกี่ยวข้องจะสามารถเพ่ิมได้อย่างง่ายไม่ซับซ้อน
เนอื่ งจากมคี วามเปน็ อิสระของข้อมลู จึงไม่มีผลกระทบต่อข้อมูลเดมิ ทมี่ ีอยู่
5.1.9 ทาํ ใหข้ ้อมลู บรู ณะกลบั สสู่ ภาพปกตไิ ด้เร็วและมีมาตรฐาน
เน่ืองจากการจัดพิมพ์ข้อมูลในระบบท่ีไม่ได้ใช้ฐานข้อมูล ผู้เขียนโปรแกรมแต่ละ
คนมีแฟ้มข้อมูลของตนเองเฉพาะ ฉะน้ันแต่ละคนต่างก็สร้างระบบการบูรณะข้อมูลให้กลับสู่สภาพ
ปกติในกรณที ขี่ อ้ มูลเสียหายด้วยตนเอง และด้วยวธิ กี ารของตนเอง จึงขาดประสิทธิภาพและมาตรฐาน
แต่เมือ่ มีการจัดเก็บข้อมลู ในรูปแบบระบบฐานข้อมูลแล้ว การบูรณะข้อมูลให้กลับคืนสู่สภาพปกติจะมี
โปรแกรมชุดเดียวและมีผู้ดูแลเพียงคนเดียวที่จะดูแลท้ังระบบ ซึ่งย่อมต้องมีประสิทธิภาพและเป็น
มาตรฐานเดียวกันแนน่ อน
5.2 ขอ้ เสีย
ขอ้ เสยี ของการประมวลผลขอ้ มูลในฐานข้อมลู มีดงั นี้
5.2.1 มีตน้ ทนุ สูง
การใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลในการจัดเก็บข้อมูลต้องใช้ทรัพยากรเพ่ิมข้ึน ไม่ว่า
จะเปน็ ฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ หรอื บุคลากรทีม่ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจเทคโนโลยรี ะบบจดั การฐานขอ้ มูล
3204-2005 ระบบฐานขอ้ มูล
12
หนว่ ยที่ 1 ความรูเ้ บ้ืองตน้ เกีย่ วกบั ฐานข้อมลู
5.2.2 มคี วามซบั ซอ้ น
ระบบจัดการฐานข้อมูลมีซอฟท์แวร์ที่ประกอบไปด้วยฟังก์ชั่นต่างๆ มากมายจึง
ต้องอาศัยผู้ใช้ และผ้ดู ูแลที่มีความรู้ความเข้าใจในเทคโนโลยีระบบจดั การฐานข้อมูล
5.2.3 การเสี่ยงตอ่ การหยดุ ชะงกั ของระบบ
ข้อมูลท่ีจัดเก็บในระบบจัดการฐานข้อมูลมีลักษณะเป็นศูนย์รวม ดังนั้นหาก
ฮาร์ดแวร์หรือซอฟทแ์ วรเ์ กดิ ปัญหาอาจทําให้ระบบหยดุ ชะงกั ได้
5.2.4 การสญู เสยี ขอ้ มูลทอ่ี าจเกิดขนึ้ ได้
เน่ืองจากข้อมูลต่างๆ ภายในฐานข้อมูลจะถูกเก็บอยู่ในที่เดียวกัน ดังน้ันถ้าดิสก์ท่ี
เกบ็ ฐานข้อมูลน้นั เกิดมีปญั หา อาจทําใหต้ ้องสญู เสยี ขอ้ มลู ทง้ั หมดในฐานขอ้ มลู ได้
ZZZ สรุป
ฐานข้อมูลเป็นการจัดเก็บชุดของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันมาเก็บไว้ด้วยกัน เพื่อให้สามารถใช้
ข้อมูลเหล่านั้นร่วมกันได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ การจัดเก็บข้อมูลแบบฐานข้อมูลจะเป็นการ
ลดความซ้ําซ้อนของข้อมูล ลดความขัดแย้งของข้อมูลและการสูญเสียความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล
องค์ประกอบของระบบฐานข้อมูล ได้แก่ ฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ ข้อมูล และบุคลากร การประมวลผล
ข้อมูลในฐานข้อมูลมีข้อดี คือ ลดการเก็บข้อมูลที่ซ้ําซ้อน ทําให้ไม่เปลืองเน้ือที่ในการเก็บข้อมูล ข้อมูล
จึงมีความถูกต้องเชื่อถือได้ ผู้ใช้สามารถเรียกใช้ข้อมูลร่วมกันได้ ส่วนข้อเสีย คือ มีต้นทุนสูง มีความ
ซับซ้อน การเส่ยี งตอ่ การหยุดชะงกั ของระบบ และการสูญเสยี ขอ้ มูลที่อาจเกิดขน้ึ ได้
3204-2005 ระบบฐานขอ้ มลู
13
หนว่ ยที่ 1 ความรเู้ บื้องตน้ เกี่ยวกบั ฐานข้อมูล
แบบฝกึ หัดท้ายหนว่ ยที่ 1
คําสงั่ ให้นักศึกษาตอบคําถามตอ่ ไปนี้ (ให้เขยี นคําตอบลงในสมดุ )
1. ร้านขายเครื่องใช้ไฟฟ้าแห่งหน่ึงมีการจัดเก็บแฟ้มข้อมูลสินค้าเคร่ืองใช้ไฟฟ้า ดังรายละเอียด
ตอ่ ไปนี้
สินค้ารายการท่ี 1 สินค้ารายการที่ 2 ถงึ …รายการสดุ ท้าย
รหัสสินคา้ MIT001 รหัสสินค้า PHI099
ชื่อสนิ ค้า พัดลม ชอื่ สินคา้ ต้เู ยน็
ย่หี อ้ สินคา้ MITSUBISHI ยี่ห้อสนิ คา้ PHILIP
รนุ่ ของสนิ ค้า MIT32569 รุน่ ของสินคา้ PHI78999
ราคาต่อหน่วย 2,900 บาท ราคาตอ่ หนว่ ย 8,290 บาท
จาํ นวนสินค้า 4 เคร่ือง จํานวนสินคา้ 8 เครื่อง
จากตวั อยา่ งการจดั เก็บแฟ้มข้อมลู สินคา้ เคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ ใหน้ กั ศกึ ษาตอบคาํ ถามข้อที่ 1.1-1.3
1.1 โครงสร้างของฐานขอ้ มูลที่เรยี กวา่ Field หมายถึงสว่ นใด
………………………………………………………………………………………………………………………………..
1.2 โครงสรา้ งของฐานขอ้ มูลเรยี กวา่ Record หมายถงึ สว่ นใด
………………………………………………………………………………………………………………………………..
1.3 โครงสร้างของฐานข้อมูลทเ่ี รยี กว่า File หมายถึงส่วนใด
………………………………………………………………………………………………………………………………..
2. ให้นกั ศึกษายกตัวอยา่ งโครงสร้างของข้อมลู (Field) ในการจดั เกบ็ แฟม้ ขอ้ มลู ดงั ตอ่ ไปนี้
2.1 แฟ้มข้อมลู ทะเบียนประวัตพิ นกั งาน
………………………………………………………………………………………………………………………………..
2.2 แฟม้ ข้อมลู หนงั สือ
………………………………………………………………………………………………………………………………..
3204-2005 ระบบฐานขอ้ มูล