The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sunantaputto, 2022-09-16 00:56:27

หน่วยที่ 4

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์

40

หน่วยที่ 4 ฐานขอ้ มลู เชงิ สัมพันธ์

หน่วยที่

ฐานข้อมูลเชงิ สมั พนั ธ์

ZZZ สาระการเรยี นรู้

1. ฐานข้อมลู เชงิ สมั พันธ์
2. โครงสรา้ งฐานขอ้ มูลเชงิ สมั พนั ธ์
3. ประเภทของคยี ์

ZZZ จุดประสงค์การเรยี นรู้

จุดประสงคท์ ว่ั ไป
1. เพอ่ื ใหน้ ักศกึ ษาได้รแู้ ละเขา้ ใจเก่ยี วกับฐานขอ้ มลู เชิงสัมพนั ธ์ได้ถูกต้อง
2. เพ่อื ให้นกั ศึกษาได้ร้แู ละเข้าใจเกย่ี วกับ โครงสร้างฐานขอ้ มลู เชิงสมั พนั ธ์ได้ถกู ต้อง
3. เพือ่ ให้นกั ศึกษาได้รูแ้ ละเข้าใจเก่ียวกับประเภทของคียไ์ ด้ถกู ตอ้ ง

จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
1. นักศึกษาสามารถบอกความหมายของฐานขอ้ มลู เชิงสมั พนั ธ์ได้
2. นักศกึ ษาสามารถบอกข้อดีของฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธ์ได้
3. นักศกึ ษาสามารถบอกความหมายของศพั ท์พนื้ ฐานได้
4. นกั ศึกษาสามารถบอกความหมายของรเี ลชน่ั ได้
5. นกั ศึกษาสามารถบอกโครงสร้างของรีเลชั่นได้
6. นกั ศกึ ษาสามารถบอกคณุ สมบัตขิ องรเี ลช่ันได้
7. นกั ศึกษาสามารถบอกประเภทของรเี ลช่นั ได้
8. นักศกึ ษาสามารถจาํ แนกประเภทของคียไ์ ด้
9. นักศึกษาสามารถบอกคณุ สมบัติของคีย์ได้

3204-2005 ระบบฐานขอ้ มูล

41

หน่วยท่ี 4 ฐานข้อมลู เชิงสัมพันธ์

ZZZ กิจกรรมการเรยี นการสอน

.

1. ครูให้นักศึกษาทาํ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
2. ครอู ธิบายฐานขอ้ มูลเชงิ สัมพนั ธ์
3. ครูอธิบายโครงสรา้ งฐานข้อมลู เชงิ สัมพนั ธ์
4. ครอู ธบิ ายประเภทของคีย์
5. ครูให้นกั ศกึ ษาสอบถามและครตู อบขอ้ ซักถาม
6. ครใู ห้นักศึกษาทําแบบฝกึ หดั ท้ายหน่วยและแบบทดสอบหลังเรียน
7. ครูใหน้ กั ศึกษารว่ มกนั ตรวจแบบฝกึ หดั ท้ายหน่วยและแบบทดสอบก่อนเรยี น

และหลังเรียน
8. ครูเปรยี บเทยี บคะแนนแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรยี นเพื่อใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลในการ

ปรบั ปรุงการเรียนการสอนในครั้งต่อไป

ZZZ สอื่ การเรียนการสอน

1. แผนการจัดการเรียนรู้
2. สื่อ Power Point
3. แหลง่ อินเทอรเ์ น็ตสาํ หรับศกึ ษาเพ่มิ เตมิ http://www.payom.bctsakon.com

ZZZ การประเมินผล

1. ประเมนิ ผลจากแบบทดสอบหลงั เรยี น
2. ประเมนิ ผลจากความตั้งใจ และความสนใจในการเรยี น

3204-2005 ระบบฐานขอ้ มลู

42

หน่วยที่ 4 ฐานข้อมลู เชงิ สมั พนั ธ์

ฐานข้อมูลเชงิ สมั พนั ธ์

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็นฐานข้อมูลที่มีความง่ายต่อการใช้งาน ใน
ปี พ.ศ. 2513 E.F Codd ได้เป็นผู้แนะนําให้ผู้คนในวงการคอมพิวเตอร์ได้รู้จักรูปแบบของฐานข้อมูล
เชิงสัมพันธ์ ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ใช้ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management Systems :
DBMS) สนับสนุนในการจัดการฐานข้อมูลมากมาย ประกอบกับความสามารถตอบสนองความ
ต้องการของผู้ใช้ในเรื่องจัดการฐานข้อมูลของระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ใช้ธรรมดาทั่วไปก็
สามารถใช้งานฐานข้อมูลนี้ได้ เน่ืองจากผู้ใช้ไม่จําเป็นต้องทราบเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลในระดับ
กายภาพ เช่น ไม่ต้องทราบว่าข้อมูลถูกจัดเก็บอยู่ ณ ตําแหน่งใดในดิสก์หรือวิธีการเข้าถึงข้อมูลเป็น
แบบใด นอกจากนี้การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลระหว่างแฟ้มข้อมูล จะสามารถมองเห็นได้จากตัว
ข้อมลู ทีเ่ ก็บอยู่ในแฟ้มข้อมูลเลย

ในหน่วยท่ี 4 น้ีจะกล่าวถึงลักษณะของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ความหมายของฐานข้อมูลเชิง
สัมพันธ์ โครงสร้างฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ข้อดีของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คุณลักษณะในการจัดเก็บ
ขอ้ มูลของรีเลช่ัน และประเภทของคีย์ ซ่ึงมีรายละเอียดดังน้ี

1. ฐานข้อมลู เชงิ สัมพันธ์

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ เป็นรูปแบบการจัดการฐานข้อมูลที่ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้
อย่างมีประสิทธภิ าพ

1.1 ความหมายของฐานข้อมลู เชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็น Database ชนิดหน่ึง ซ่ึงนํามาใช้เป็นพื้นฐานในการจัดการ

ฐานข้อมูลของโปรแกรม โดยใน Database หน่งึ นนั้ อาจประกอบไปด้วย Table หลายๆ Table และ
ในแต่ละ Table ก็จะมีความสัมพันธ์ (Relation) ซึ่งกันและกัน ได้มีตําราหลายเล่มได้อธิบายถึง
ฐานข้อมลู เชงิ สัมพนั ธ์ ไวด้ งั นี้

สมจิตร อาจอินทร์ และงามนิจ อาจอินทร์ (2540:26) ให้ความหมายว่า ฐานข้อมูลเชิง
สัมพนั ธ์เปน็ ฐานข้อมูลทม่ี คี วามนิยมใชก้ นั มากในปัจจบุ ันซึง่ จะสามารถใช้งานได้กับเคร่ืองคอมพิวเตอร์
ทุกระดับต้ังแต่ไมโครคอมพิวเตอร์ จนกระทั่งถึงเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ โครงสร้างข้อมูลจะถูกเก็บอยู่
ในรูปแบบของตาราง (Table) ซึ่งภายในตารางก็จะแบ่งออกเป็นแถว (row) และ คอลัมน์ (column)
การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลระหว่างแฟ้มข้อมูล จะสามารถมองเห็นได้จากตัวข้อมูลท่ีเก็บอยู่ใน
แฟ้มข้อมลู เลย

ศิริลักษณ์ โรจนกิจอํานวย (2542:45) ให้ความหมายว่า ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็นการ
จัดเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแถวและคอลัมน์ในลักษณะตารางสองมิติ ที่ประกอบด้วยแอททริบิวต์ที่

3204-2005 ระบบฐานขอ้ มูล

43

หน่วยท่ี 4 ฐานขอ้ มลู เชิงสัมพนั ธ์

แสดงคุณสมบัติของรีเลชั่นหนึ่งๆ โดยที่รีเลชั่นต่างๆ ได้ผ่านกระบวนการทํารีเลช่ันให้เป็นบรรทัดฐาน
(Normalized) ในระหว่างการออกแบบเพ่ือลดความซ้ําซ้อน และเพ่ือให้การจัดการฐานข้อมูลเป็นไป
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

จากความหมายดังกล่าวสรุปได้ว่า ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คือ การรวบรวมรีเลชั่นต่างๆ ที่
มคี วามสัมพันธ์ (Relationship) ระหวา่ งกันเข้าด้วยกัน

1.2 องคป์ ระกอบของฐานข้อมูลเชิงสมั พนั ธ์
ฐานข้อมูลเชงิ สมั พันธป์ ระกอบด้วยองค์ประกอบ 3 สว่ น ดังนี้
1) ส่วนโครงสรา้ งของข้อมลู (Data Structure) เป็นส่วนการจดั เก็บขอ้ มูลในรปู แบบ

ของตารางท่ีประกอบด้วยคอลัมน์และแถว
2) สว่ นจดั การขอ้ มลู (Data Manipulation) เป็นส่วนของคําสัง่ ท่ใี ชจ้ ัดการข้อมูลที่ถูก

เกบ็ อยใู่ นฐานข้อมูล (อย่ใู นรปู แบบของภาษา SQL)
3) สว่ นควบคมุ ความคงสภาพของข้อมูล(Data Integrity) เปน็ ขอ้ กําหนดหรือกฎเกณฑ์

ที่ถกู สร้างข้ึนมาเพื่อใชค้ วบคุมความคงสภาพของขอ้ มูล

1.3 ขอ้ ดขี องฐานข้อมลู เชงิ สมั พนั ธ์
ฐานข้อมลู เชิงสมั พนั ธเ์ ปน็ รูปแบบของฐานข้อมลู ทเี่ ข้าใจง่ายสําหรบั ผ้ใู ช้ ซงึ่ มขี อ้ ดี ดังน้ี
1) เป็นรูปแบบของฐานข้อมลู ท่เี ข้าใจง่าย ฐานขอ้ มูลเชิงสัมพันธ์เปน็ กลุ่มของรเี ลชั่น

หรือตารางที่ข้อมูลถูกจดั เก็บเปน็ แถวและคอลมั น์ ซง่ึ ทําใหผ้ ้ใู ช้เห็นภาพของข้อมลู ได้งา่ ย
2) มีเครื่องมือที่ชว่ ยใหผ้ ูใ้ ช้สามารถจัดการกบั ขอ้ มูลได้ดว้ ยคําสัง่ ง่ายๆ โดยผ้ใู ชไ้ ม่ต้องรู้

วา่ มรี ายละเอียดของการจัดเก็บข้อมลู อย่างไร
3) สามารถใชภ้ าษาท่งี า่ ยในการเรยี กดูข้อมลู เช่น ภาษา SQL เปน็ ภาษาท่มี ลี กั ษณะ

คล้ายภาษาอังกฤษ และไมจ่ าํ เป็นตอ้ งเขียนเป็นลําดับข้นั ตอนของคําสัง่ อย่างในภาษาอ่ืน ๆ
4) การเรยี กใช้หรอื เชอ่ื มโยงข้อมูลทําไดง้ ่าย โดยการใช้ Operator ทางคณติ ศาสตร์

โดยไมจ่ ําเปน็ ต้องใช้พอยท์เตอร์ (Pointer)

1.4 ศพั ทพ์ ืน้ ฐาน ความหมาย
คําศพั ท์ ตารางสองมติ ิที่ประกอบด้วยแถวและคอลมั น์
คอลัมน์ในรเี ลช่ัน
รีเลชนั่ (Relation) แถวในรเี ลชน่ั
แอททริบวิ ต์ (Attribute) จํานวนแอททรบิ ิวต์ในรีเลชนั่
ทูเพลิ (Tuple) จํานวนแถวขอ้ มลู ในรีเลชนั่
ดกี รี (Degree) กลมุ่ ของข้อมลู ทั้งหมดทีเ่ ปน็ ไปไดข้ องแอททรบิ ิวตห์ นง่ึ ๆ
คารด์ ินาลติ ี้ (Cardinality) ค่าท่ใี ห้แกแ่ อททริบิวตห์ น่ึงๆ ในกรณีที่ยังไมพ่ รอ้ มทีจ่ ะใสข่ อ้ มูล
โดเมน (Domain) หรือการไม่ทราบคา่ ขอ้ มลู ของแอททรบิ วิ ต์นน้ั ๆ
ค่าวา่ ง (Null Value)

3204-2005 ระบบฐานขอ้ มลู

44

หน่วยท่ี 4 ฐานขอ้ มูลเชิงสัมพนั ธ์

คยี ห์ ลกั (Primary Key) คียค์ ่แู ข่งทีถ่ ูกเลือกข้นึ มาเป็นคยี ห์ ลักของรีเลชัน่
หรอื คีย์ท่ใี ชเ้ ปน็ ตวั แทนของเรคอรด์ ในฐานข้อมูล
คีย์รว่ ม (Composite Key) คีย์หลักทีป่ ระกอบดว้ ยแอททรบิ วิ ต์มากกวา่ หน่งึ แอททรบิ วิ ต์
คีย์คู่แขง่ (Candidate Key) กลุ่มของแอททริบิวตท์ มี่ สี ิทธิ์ถูกเลอื กใหเ้ ปน็ คีย์หลกั ของรเี ลชน่ั
คีย์นอก (Foreign Key) กลุ่มของแอททรบิ ิวต์ในรีเลชนั่ หนงึ่ ๆ ทีม่ ีคา่ ข้อมูลไปปรากฏ
เป็นคีย์หลักของอกี รเี ลชัน่ (หรอื อาจเปน็ รเี ลชน่ั เดียวกัน)

2. โครงสร้างฐานขอ้ มลู เชิงสมั พนั ธ์

2.1 รีเลชน่ั
รีเลชนั่ (Relation) หรือ ตาราง (Table) เปน็ ความสัมพนั ธข์ องขอ้ มลู ในรปู แบบตาราง

2 มิติ ประกอบดว้ ยคอลัมน์และแถว
คอลัมนแ์ สดงถงึ คุณลกั ษณะของรเี ลชั่น ซ่งึ หมายถงึ เขตขอ้ มลู (Field) หรอื แอททรบิ ิวต์

ของรเี ลชัน่
แถวมีความหมายเหมือนระเบยี นข้อมลู (Record) ซึ่งเรียกอกี อยา่ งหน่งึ ว่าทเู พลิ (Tuple)

1) โครงสร้างของรเี ลชน่ั

ฐานข้อมูลเชงิ สัมพนั ธ์ แบบจําลองแบบ E-R โปรแกรมเมอร์ ผูใ้ ชง้ านทั่วไป
รเี ลช่ัน เอนทติ ้ี แฟม้ ขอ้ มูล ตาราง
แอททริบิวต์ แอททรบิ วิ ต์ เขตข้อมูล คอลัมน์
ทูเพิลหรอื เรคอร์ด สมาชิกของเอนทติ ้ี ระเบียน แถว

เพื่อให้เกดิ ความเขา้ ใจโครงสรา้ งของรีเลชัน่ ทช่ี ัดเจนยง่ิ ขน้ึ ขอยกตัวอย่างรเี ลช่ัน “พนักงาน”
ซึ่งเปน็ รีเลชน่ั หนง่ึ ของฐานขอ้ มลู เชิงสมั พันธข์ องขอ้ มูลพนักงาน แสดงดงั รปู ที่ 4.1

พนักงาน ช่ือรีเลชน่ั

รหสั พนักงาน ชื่อ สกุล เงินเดอื น ตาํ แหนง่ ฝา่ ย

55001 น.ส.หวาน ใจดี 30500 หวั หน้าแผนกบญั ชกี ารเงิน ธุรการ แถว
หรือ
55002 นางอว้ น แข็งแรง 25400 หัวหน้าแผนกการตลาด การตลาด ทเู พิล

55003 น.ส.ยิม้ สดุ สวย 26500 หวั หนา้ แผนกบคุ คล ธุรการ

55004 นางพร สะอาด 25500 หวั หนา้ แผนกประชาสัมพนั ธ์ ธรุ การ

55005 นายรกั ดี ขยนั จัง 35500 หวั หนา้ แผนกการผลิต ปฏบิ ตั ิการ

คอลมั น์หรือแอททรบิ วิ ต์ ช่องข้อมูล (Cell)
รปู ที่ 4.1 แสดงโครงสร้างของรเี ลช่ัน

3204-2005 ระบบฐานขอ้ มลู

45

หน่วยท่ี 4 ฐานข้อมูลเชิงสมั พันธ์

จากรูปที่ 4.1 แสดงรีเลชั่นหรือตารางพนักงานในบริษัทแห่งหน่ึง ประกอบด้วยคอลัมน์ (หรือ
แอททรบิ ิวต)์ รหัสพนักงาน ชือ่ สกลุ เงินเดอื น ตําแหน่ง และฝ่าย ส่วนแถวของตารางแต่ละแถวแสดง
ถึงสมาชิกของตาราง ซ่ึงได้แก่ข้อมูลของพนักงานแต่ละคน ท่ีมีช่ือแอททริบิวต์เหมือนกันแต่ข้อมูล
ภายในแอททรบิ วิ ตแ์ ตกตา่ งกนั

2) คุณสมบัตขิ องรเี ลชนั่
(1) ช่อง (Cell) แตล่ ะชอ่ งของตารางจะเก็บขอ้ มูลไดเ้ พยี งคา่ เดียว (Single Value)
(2) ชนดิ ข้อมลู ขอ้ มูลทอี่ ยู่ในคอลมั น์เดยี วกนั จะต้องมชี นดิ ข้อมูล (Data Type)

เปน็ แบบเดยี วกัน เช่น แอททรบิ วิ ต์ เงินเดือน ของทุกแถวจะต้องมขี อ้ มูลที่เป็นตัวเลขเทา่ นน้ั
(3) ชือ่ คอลัมนแ์ ตล่ ะคอลมั น์ของรีเลชัน่ หนงึ่ ๆ จะต้องมชี ือ่ คอลมั นท์ ่ไี มซ่ ้ํากันสว่ น

ลาํ ดับของคอลมั นก์ อ่ นและหลังไมถ่ อื ว่าสําคญั
(4) แถวขอ้ มลู แตล่ ะแถวของทุกคอลมั นใ์ นรเี ลชนั่ หนงึ่ ๆ ต้องไม่ซ้ํากัน (ทุกคอลมั น)์

สว่ นการเรียงลําดบั ของแถวไมถ่ อื ว่าสาํ คญั
จํานวนแอททริบิวต์ในรีเลช่ัน เรียกว่า ดีกรี (Degree) ของรีเลช่ัน ส่วนจํานวนทูเพิลท่ีมีอยู่ใน

รีเลชั่นหน่ึง เรียกว่า คาร์ดินาลิต้ี (Cardinality) หรือจํานวนแถวของข้อมูลในรีเลชั่นน่ันเอง ดังน้ันจาก
ตัวอย่างรีเลช่ัน “พนักงาน” ข้างต้น มีดีกรีเท่ากับ 6 เน่ืองจากมีจํานวนแอททริบิวต์ 6 แอททริบิวต์
และมคี าร์ดนิ าลิตี้เท่ากบั 5 เพราะมีสมาชิกของตารางอยู่ 5 แถว

โดเมน (Domain) คือ ขอบเขตของค่าของขอ้ มลู ทคี่ วรจะเปน็ ในแตล่ ะแอททรบิ วิ ต์
ค่าว่าง (Null Values) คือ แอททรบิ วิ ต์ทไ่ี มม่ ีค่าขอ้ มลู เกบ็ อยู่
จากรปู แบบรีเลชน่ั ในรูปท่ี 4.1 สามารถเขยี นฐานขอ้ มลู เชงิ สัมพนั ธส์ าํ หรับรเี ลชน่ั “พนักงาน”
ได้ ดังตารางที่ 3.1

ตารางท่ี 3.1 แสดงรเี ลชั่นพนกั งาน

พนกั งาน ช่อื สกุล เงนิ เดือน ตาํ แหนง่ ฝ่าย
รหสั พนกั งาน

หรอื อาจเขียนแทนดว้ ยขอ้ ความสนั้ ๆ ที่ประกอบด้วยช่ือรเี ลชน่ั แลว้ ตามด้วยวงเล็บ ซงึ่ ภายใน
ประกอบด้วยชื่อของแอททรบิ วิ ตต์ ่างๆ ดังน้ี

พนกั งาน (รหสั พนักงาน, ชือ่ , สกุล, เงนิ เดือน, ตําแหน่ง, ฝา่ ย)

2.2 ประเภทของรีเลชน่ั
1) รเี ลช่ันหลัก (Base Relation) เปน็ รเี ลช่นั หลักที่ถูกกาํ หนดขน้ึ ใช้เก็บขอ้ มลู เพือ่ นาํ

ขอ้ มลู ไปใช้ เมอื่ มีการสรา้ งรีเลชน่ั ในภาษาสาํ หรับนยิ ามข้อมลู (DDL)

3204-2005 ระบบฐานขอ้ มลู

46

หน่วยท่ี 4 ฐานข้อมลู เชิงสัมพันธ์

2) วิว (View) เป็นรีเลชั่นท่ีถูกสร้างข้ึนตามความต้องการใช้ข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคน
เพราะผู้ใช้แต่ละคนในฐานข้อมูลอาจมีความต้องการใช้ข้อมูลในลักษณะที่แตกต่างกัน จึงกําหนดวิว
ของตนเองขึ้นจากรีเลชั่นหลัก เพ่ือความสะดวกในการใช้ข้อมูลและช่วยให้การรักษาความปลอดภัย
ของฐานข้อมูลทําได้ง่ายข้ึน ซ่ึงรีเลช่ันน้ีจะถูกสมมุติขึ้นโดยไม่มีการเก็บข้อมูลจริงๆ ในระบบ จึงเป็น
ตารางสมมุติหรือตารางท่ีแปลค่ามา (Virtual Table หรือ Derived Table) ท่ีถูกกําหนดโดยผู้ใช้แต่
ละคน

3. ประเภทของคยี ์

คยี แ์ บ่งออกเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่

3.1 คีย์หลกั (Primary Key)
คยี ์หลัก (Primary Key) หรือ คา่ เอกลกั ษณ์ (Unique Identifier) คอื แอททรบิ ิวต์ทม่ี ี

ค่าของขอ้ มลู ไมซ่ ้ํากนั ในแตล่ ะทเู พิล
คุณสมบตั ขิ องคีย์หลัก
1) ขอ้ มลู ของแอททริบวิ ต์ท่เี ปน็ คยี ห์ ลัก จะมคี วามเป็นหนึง่ เดียว (Uniqueness)

กลา่ วคอื ทกุ ๆ แถวของตารางจะต้องไมม่ ีขอ้ มูลของแอททรบิ วิ ตท์ เ่ี ป็นคยี ห์ ลักนซี้ ้าํ กนั
2) ต้องประกอบด้วยจํานวนแอททรบิ ิวต์ทนี่ ้อยทส่ี ุด (Minimally) แตส่ ามารถใช้เป็น

ตวั ช้ีเฉพาะเจาะจงหรืออ้างอิงถึงแถวใดแถวหนง่ึ ในรีเลชนั่ ได้
จากรีเลช่ัน “พนักงาน” ข้างต้นหากจะพิจารณาวา่ แอททรบิ วิ ต์ใดเปน็ คยี ์หลกั จะพบว่า

แอททริบิวตท์ มี่ ขี อ้ มลู ไมซ่ า้ํ กนั เลย คอื แอททรบิ วิ ต์ รหสั พนกั งาน เพราะสามารถเจาะจงถงึ แถวขอ้ มลู
พนักงานคนใดคนหนงึ่ ได้ ดงั น้ัน คยี ์หลักสําหรบั รเี ลชัน่ “พนกั งาน” คอื รหสั พนกั งาน

แอททรบิ วิ ตท์ ีเ่ ป็นคีย์หลกั ของรเี ลช่นั จะแทนไดด้ ว้ ยการขีดเส้นใต้แอททริบิวตด์ งั กลา่ ว
ดงั แสดงในขอ้ ความสัญลกั ษณต์ อ่ ไปนี้

พนกั งาน (รหสั พนกั งาน, ชือ่ -สกลุ , เงนิ เดอื น, ตําแหนง่ , ฝา่ ย)
คยี ์รวม (Composite Key) คอื คยี ห์ ลักที่ประกอบดว้ ยแอททรบิ ิวต์มากกวา่ หน่ึง
แอททริบวิ ต์ขนึ้ ไป
คีย์คู่แข่งและคีย์สํารอง (Candidate Key and Alternate Key) สําหรับรีเลชั่นบาง
รเี ลชน่ั อาจมแี อททรบิ ิวตห์ ลายแอททริบวิ ตท์ ม่ี ีคณุ สมบัตเิ ปน็ คียห์ ลกั ได้ จะเรียกกลุ่มของแอททริบิวต์ท่ี
สามารถเป็นคีย์หลักได้ว่า คีย์คู่แข่ง (Candidate Key) ซ่ึงแอททริบิวต์ที่เราไม่เลือกเป็นคีย์หลัก แต่มี
คุณสมบัติในการเป็นคยี ์หลักไดเ้ ราเรียกว่า คีย์สํารอง (Alternate Key)

3.2 คีย์นอก (Foreign Key)
คีย์นอก (Foreign Key) เป็นแอททริบิวต์ที่ใช้ในการอ้างอิงถึงแอททริบิวต์เดียวกันในอีก

รีเลชั่นหน่ึง โดยที่แอททริบิวต์นี้มีคุณสมบัติเป็นคีย์หลักในรีเลช่ันที่ถูกอ้างอิงถึง การที่มีแอททริบิวต์นี้
ปรากฏอยใู่ นรเี ลช่นั ทั้งสองก็เพื่อประโยชน์ในการเชือ่ มโยงขอ้ มูลซ่ึงกนั และกนั

3204-2005 ระบบฐานขอ้ มลู

47

หนว่ ยท่ี 4 ฐานขอ้ มลู เชิงสัมพนั ธ์

คุณสมบัติของคยี ์นอก
1) คีย์นอกจะเป็นแอททรบิ วิ ต์หรอื กล่มุ ของแอททรบิ ิวต์ที่อยใู่ นรีเลช่นั หนึง่ ๆ ที่ค่า

ของแอททริบวิ ตน์ ้นั ไปปรากฏเปน็ คยี ์หลกั ในอีกรีเลชัน่ (หรอื อาจเปน็ รีเลช่ันเดิมก็ได้)
2) คียน์ อกเปรยี บเสมือนการเชอ่ื มข้อมูลในรเี ลช่นั หน่ึงกับอีกรีเลชัน่ หนง่ึ ซึ่งเปน็ การ

สร้างความสมั พนั ธ์ระหว่างรเี ลช่ัน
3) คีย์นอกและคยี ์หลกั ของอีกรเี ลชั่นท่ีมคี วามสัมพันธก์ นั จะต้องอยู่ภายใต้โดเมน

เดียวกนั และคยี น์ อกไม่จําเป็นตอ้ งมีช่ือเหมือนกบั คีย์หลกั ของอีกรีเลชัน่ ทมี่ คี วามสมั พนั ธก์ นั
4) รีเลชั่นหนง่ึ ๆ อาจจะมีคยี น์ อกอยู่หรือจะไม่มีกไ็ ด้ แต่ทุกรีเลชน่ั จะต้องมคี ียห์ ลกั

เสมอ

หมายเหตุ
1. รเี ลช่นั ใดทมี่ คี ยี ์นอกอยู่ดว้ ย แสดงว่ารเี ลช่นั นน้ั มีความสมั พนั ธก์ ับรเี ลชั่นอื่นใน

ลักษณะแม-่ ลกู (parent-child) น่ันคอื รีเลช่ันทีม่ คี ยี น์ อกถือว่าเปน็ รีเลชั่นลกู และอีกรเี ลชน่ั หน่ึงเป็น
รีเลชนั่ แม่ ความสาํ คัญระหว่างรเี ลชัน่ แม-่ ลกู เกี่ยวขอ้ งกับการรกั ษาความคงสภาพของขอ้ มลู

2. จาํ นวนคยี ์นอกของรเี ลชั่นใดรีเลชั่นหน่ึง จะเป็นตวั บ่งบอกถงึ จาํ นวนความ
สัมพันธท์ ร่ี เี ลชนั่ นน้ั มกี บั รเี ลชนั่ อน่ื

ZZZ สรุป

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์เป็นฐานข้อมูลที่มีความนิยมใช้กันมากในปัจจุบัน ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
เป็นการเก็บข้อมูลในรูปแบบของตารางที่เรียกว่า รีเลชั่น ซ่ึงแสดงถึงรูปแบบของตารางสองมิติ
ประกอบด้วยแถวและคอลัมน์ของข้อมูล แต่ละแถวในตารางจะมีความหมายเหมือนกับระเบียน
สําหรับแถวของรีเลชั่นเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ทูเพิล (Tuple) และคอลัมน์แต่ละคอลัมน์ของตารางก็จะ
มีความหมายเหมือนกับเขตข้อมูลหรือแอททริบิวต์ (Attribute) ประเภทของรีเลช่ันมีลักษณะการ
ทํางานอยู่ 2 ประเภท คือ รีเลช่ันหลัก (Base Relation) เป็นรีเลช่ันท่ีใช้จัดเก็บข้อมูล และวิว (View)
เป็นรีเลช่ันท่ีถูกสร้างข้ึนตามความต้องการใช้ข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคน รูปแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บังคับให้ทุกรีเลช่ันต้องมีคีย์หลัก (Primary Key) คือ แอททริบิวต์ที่มีค่าของข้อมูลไม่ซ้ํากันในแต่ละ
ทูเพิล ส่วนคีย์นอก (Foreign Key) เป็นแอททริบิวต์ที่ใช้ในการอ้างอิงถึงแอททริบิวต์เดียวกันในอีก
รเี ลช่ันหนึง่ ประโยชนเ์ พือ่ เปน็ การเชือ่ มโยงข้อมลู ระหว่างรเี ลช่ัน

3204-2005 ระบบฐานขอ้ มูล

48

หน่วยท่ี 4 ฐานขอ้ มูลเชงิ สัมพันธ์

แบบฝึกหดั ทา้ ยหนว่ ยท่ี 4

คาํ สั่ง ให้นักศึกษาตอบคําถามตอ่ ไปน้ี (ให้เขียนคาํ ตอบลงในสมดุ )

1. จงบอกความหมายของฐานขอ้ มูลเชงิ สมั พนั ธ์
.........................................................................................................................................................

2. จงบอกองค์ประกอบของฐานขอ้ มลู เชงิ สัมพันธ์
.........................................................................................................................................................

3. จงบอกข้อดขี องฐานขอ้ มูลเชิงสัมพันธ์
.........................................................................................................................................................

4. จงบอกความหมายของคาํ ศพั ทต์ อ่ ไปน้ี

4.1 รเี ลชนั่
………………………………………………………………………………………………………………………………

4.2 แอททริบวิ ต์
………………………………………………………………………………………………………………………………

4.3 ทเู พลิ
………………………………………………………………………………………………………………………………

4.4 คียห์ ลกั
………………………………………………………………………………………………………………………………

4.5 คยี ค์ แู่ ขง่
………………………………………………………………………………………………………………………………

4.6 คยี ์นอก
………………………………………………………………………………………………………………………………

5. จงบอกคุณลกั ษณะในการจัดเกบ็ ขอ้ มูลของรเี ลช่นั
.........................................................................................................................................................

6. รีเลชนั่ มกี ่ีประเภทอะไรบา้ ง
.........................................................................................................................................................

3204-2005 ระบบฐานขอ้ มลู

49

หน่วยท่ี 4 ฐานขอ้ มูลเชิงสมั พันธ์

7. ข้อมลู บรษิ ัทก่อสรา้ งแหง่ หนงึ่ ประกอบด้วยรเี ลชน่ั คนงาน และรีเลช่ันความชาํ นาญ

ดังรายละเอยี ด ตอ่ ไปน้ี

คนงาน

รหสั ประจาํ ตัว รหัส ช่อื สกุล รหัสความ รหสั ผู้
ประชาชน คนงาน ชาํ นาญ ควบคุม

3910258940103 5501 จารณุ ี ใจดี 1011 55401

3310258940104 5502 สดุ สวย มาแต้ 1021 55419

3910258940105 5503 สมบตั ิ ไทสกล 1031 55433

3210258940106 5504 พศิน มมี าก 1021 55401

3810258940107 5505 เกษม ดีจรงิ 1041 55419

ความชาํ นาญ ประเภทความชํานาญ อัตราคา่ แรงตอ่ ช่วั โมง อตั ราโบนสั
รหัสความชาํ นาญ ไฟฟา้ 17 3.5
ปูน 15 4.0
1011 ประปา 12 3.0
1021 เชื่อม 15 4.5
1031
1041

จากรเี ลชน่ั คนงาน และรีเลชนั่ ความชาํ นาญ ให้ตอบคําถามข้อที่ 7.1 – 7.7

7.1 รเี ลช่ันคนงานมีก่ีแอททรบิ วิ ต์ ประกอบดว้ ยแอทริบิวตอ์ ะไรบ้าง
………………………………………………………………………………………………………………………………

7.2 รเี ลชั่นคนงานมกี ีท่ เู พิล
………………………………………………………………………………………………………………………………

7.3 รเี ลช่ันความชํานาญมกี แี่ อททริบิวต์ ประกอบด้วยแอททริบิวตอ์ ะไรบา้ ง
………………………………………………………………………………………………………………………………

7.4 รีเลช่ันความชํานาญมกี ี่ทเู พลิ
………………………………………………………………………………………………………………………………

7.5 คยี ์หลักของรเี ลช่นั คนงาน คือ
………………………………………………………………………………………………………………………………

7.6 คยี ค์ ่แู ขง่ ของรเี ลชั่นคนงาน คือ
………………………………………………………………………………………………………………………………

7.7 คยี ์นอกของรีเลชั่นคนงาน คือ
………………………………………………………………………………………………………………………………

3204-2005 ระบบฐานขอ้ มลู

50

หน่วยท่ี 4 ฐานขอ้ มูลเชิงสัมพันธ์

8. ขอ้ มูลรา้ นค้าแห่งหนึ่ง ประกอบด้วยรีเลช่ันลูกคา้ และรีเลช่ันการสัง่ ซื้อ ดังรายละเอียดต่อไปนี้

ลกู ค้า ชื่อ สกลุ ท่อี ยู่ เบอรโ์ ทรศพั ท์
รหัสลกู ค้า สมหมาย รกั ความสุข 55 ถ. นติ โย อ.เมือง จ.สกลนคร 0850028857
55901 พรใจ แข็งแรง 445 ต. ธาตุเชิงชมุ อ.เมือง จ.สกลนคร 0810029978
55902 ใจกวา้ ง คนดี 109 ต. พงั ขวา้ ง อ.เมือง จ.สกลนคร 0852286612
55903

การส่งั ซอื้ รหสั ลูกคา้ วันท่สี ัง่ สนิ คา้ วนั ท่สี ่งสนิ คา้
รหัสการส่งั ซื้อ 55901 10/01/55 11/01/55
550001 55902 20/01/55 20/01/55
550002 55903 15/02/55 16/02/55
550003 55901 19/02/55 20/02/55
550004

จากรเี ลช่นั ลกู ค้า และรีเลชน่ั การสั่งซื้อ ให้ตอบคาํ ถามขอ้ ที่ 8.1 – 8.7

8.1 รีเลช่ันลูกคา้ มกี ่ีแอททริบวิ ต์ ประกอบดว้ ยแอททรบิ ิวต์อะไรบ้าง
………………………………………………………………………………………………………………………………

8.2 รีเลชน่ั ลกู คา้ มีก่ที เู พลิ
………………………………………………………………………………………………………………………………

8.3 รีเลชัน่ การสงั่ ซ้อื มีกแี่ อททริบิวต์ ประกอบดว้ ยแอททรบิ วิ ต์อะไรบา้ ง
………………………………………………………………………………………………………………………………

8.4 รีเลชั่นการสงั่ ซือ้ มกี ี่ทูเพิล
………………………………………………………………………………………………………………………………

8.5 คีย์หลกั ของรเี ลชน่ั ลูกคา้ คือ
………………………………………………………………………………………………………………………………

8.6 คียห์ ลกั ของรเี ลชน่ั การสัง่ ซื้อ คือ
………………………………………………………………………………………………………………………………

8.7 คยี น์ อกของรเี ลชัน่ การสัง่ ซ้ือ คอื
………………………………………………………………………………………………………………………………

3204-2005 ระบบฐานขอ้ มลู


Click to View FlipBook Version