The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สมาคมการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร องค์การบริหารส่วนจังหวัดชุมพร และสายใยวิชาการภาคใต้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sriwicha, 2024-05-22 22:37:38

แผนพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน และ เครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร พุทธศักราช 2567-2570

สมาคมการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร องค์การบริหารส่วนจังหวัดชุมพร และสายใยวิชาการภาคใต้

Keywords: ท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร,มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร,แหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน,ชุมพร

แผนพัฒนาแหลงทองเที่ยวโดยชุมชน และ เครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร พุทธศักราช 2567-2570 โดย สมาคมการทองเทย ี่วโดยชุมชนจังหวัดชุมพร มหาวิทยาลัยแมโจ -ชุมพร องค  การบริหารสวนจงัหวัดชุมพร และ สายใยวิชาการภาคใต พฤศจิกายน 2566


ก สารบัญ หนา สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญรูปภาพ ก ข ค คำนำ 1 1. แนวคิดการทองเที่ยวโดยชุมชน 2 2. การประเมนิการทองเที่ยวโดยชุมชน 14 3. หลักการพัฒนาและบริหารจัดการการทองเที่ยวอยางยั่งยืน 16 4. องคกรชุมชนและการพัฒนาเครอืขาย 19 5. สถานการณแหลงทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร 22 6. การศกึษาพฤติกรรมนักทองเที่ยวในแหลงทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร 34 7. แนวคิดการพัฒนาโครงขายการทองเท่ยีว (Looping system) 40 8. ขอมูลทั่วไปจังหวัดชุมพร 41 9. การวิเคราะหสวนผสมทางการตลาดเครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร 53 10. การวิเคราะหดานการตลาดการทองเท่ยีว โดยใชเทคนิค SWOT ANALYSIS 55 11. แผน/กรอบทิศทางการพัฒนาเครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร ป พ.ศ. 2567-2570 58 11.1 แผน/กรอบทิศทางการพัฒนาเครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร ป พ.ศ. 2567-2570 58 11.2 แผน/กรอบทิศทางการพัฒนาเครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชนระดับอำเภอ ป พ.ศ. 2567-2570 65 เอกสารอางอิง 112 ภาคผนวก 116


ข สารบัญตาราง ตารางที่ 1 แนวคิดหลักการความสำเร็จของการทองเที่ยวโดยชุมชนพัฒนาการ การบริหารจัดการ และการเขารวมเปนชุมชน/องคกร สมาชิก เครือขายฯทั้งเกาและใหม 11 ตารางที่ 2 ระดับชุมชน พิจารณาจากศักยภาพ ความพรอมรองรับนักทองเที่ยว พัฒนาการ การบริหารจัดการ และการเขารวมเปนชุมชน/องคกร สมาชิกเครือขายฯทั้งเกาและใหม 22 ตารางที่ 3 จำนวนและรอยละของขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยางชาวไทย 34 ตารางที่ 4 จำนวนและรอยละของขอมูลการเดินทางทองเที่ยว และ ขอเสนอแนะจากนักทองเที่ยว 36 ตารางที่ 5 จำนวนและรอยละความพึงพอใจตอ เจาของบาน/ผูนำเที่ยว / วิทยากรของชุมชน 38 ตารางที่6 จำนวนและรอยละความพึงพอใจตอการมาทองเที่ยวในคร้ังนี้ 39 ตารางที่ 7 จำนวนและรอยละของขอมูลการชองทางการประชาสัมพันธ 39 ตารางที่ 8 ตัวอยางโปรแกรมการทองเท่ยีวจากภูผาสูมหานทีจากพื้นที่ตนน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ (จากภูผาสูมหานที) กรณี 5 วัน 4 คืน 50 ตารางที่ 9 โปรแกรมการทองเที่ยวที่เชื่อมโยงแหลงทองเที่ยวใกลเคียง โดยมุง เสริมสรางประสบการณด านการประกอบกิจกรรมภายในแหลง ทองเที่ยวทางทะเล ณ ชุมชนเกาะพิทักษ และเชื่อมโยงเสนทาง ทองเที่ยวชุมชนบานทอน-อม กรณี 3 วัน 2 คืน 51 ตารางที่ 10 โปรแกรมการทองเที่ยวที่เชื่อมโยงจุดทองเที่ยวตางๆ ภายในชุมชน และชุมชนใกลเคียง เปนเสนทางการทองเที่ยวภายใตแนวคิด “เนิบ ชา เปนสุข สนุก ปลอดภัย” กรณี 2 วัน 1 คืน 53


ค สารบัญรูปภาพ หนา ภาพที่ 1 แนวคิดการพัฒนาบุคลากร 20 ภาพที่ 2 แนวคิดการขยายเครือขายในระดับตางๆ 21 ภาพที่ 3 กรอบแผนยุทธศาสตรการขับเคลื่อนเครือขายการทองเที่ยวโดย ชุมชนจังหวัดชุมพร 33 ภาพที่ 4 โครงขายการทองเที่ยวโดยชุมชนภายในจังหวัดชุมพร และพื้นที่ เชื่อมโยง 43 ภาพที่ 5 เสนทางจากภูผาสูมหานที 46 ภาพที่ 6 เสนทางสองมหาสมุทร (จากอาวไทยสูอันดามัน) 47 ภาพที่ 7 เสนทางการทองเที่ยวเชิงเกษตรเศรษฐกิจพอเพียง 48 ภาพที่ 8 เสนทาง 3 อ. (อาหาร อากาศ อารมณ) 49


1 คำนำ หากพิจารณาจากยุทธศาสตรชาติ20 ป(พ.ศ.2561-2580) ที่มุงเนนการพัฒนา 6 ดาน ประกอบดวย 1) ดานความมั่นคง 2) ดานความสามารถในการเขงขัน 3) ดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพมนุษย 4) ดานการสรางโอกาสและเสมอภาคทางสังคม 5) ดานการสรางความเติมโตของคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม 6) ดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ทั้งยังสอดคลองกับแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 13 ซึ่งมุงพัฒนา 4 ดาน ประกอบดวย 4 ดาน 13 หมุดหมาย 1) ดานการ พัฒนาเศรษฐกิจมูลคาสูงที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม 2) การพัฒนาการทองเที่ยวเนนคุณภาพและการเพิ่มมูลคา 3) ดานการพัฒนาสังคม 4) ดานการดำรงวิถีชีวิตที่ยั่งยืน อันเปนแนวทางในการพัฒนาอยางตอเนื่องจาก แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 ที่นอมนำหลัก “ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง”มาเปนปรัชญานำทางในการพัฒนาประเทศ และฉบับที่9-11 ที่เสริมสรางภูมิคมุกันของสังคมไทยให การพัฒนาประเทศสูความสมดุลและยั่งยืน และสรางความพรอมของทุนมนุษย ทุนสังคม ทุนกายภาพ ทุน การเงิน ทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และทุนทางวัฒนธรรมใหสามารถนำมาใชประโยชนอยาง บูรณาการและเกื้อกูลกัน การสรางฐานทางปญญาเพื่อเปนภูมิคุมกันใหกับคนและสังคมไทยใหเปนสังคมที่มี คุณภาพ กาวสูสังคมและเศรษฐกิจสีเขียวที่มีแบบแผนการผลิตและบริโภคอยางยั่งยืนและเปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม สวนในมิติการทองเที่ยว ประเทศไทยเปนแหลงทองเที่ยวที่มีคุณภาพ มีขีดความสามารถในการ แขงขันระดับโลก สามารถสรางรายไดและกระจายรายไดโดยคำนึงถึงความเปนธรรม สมดุลและยั่งยืน สงผล ตอการพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในสังคม และการจางงานที่เพิ่มขึ้น โดยมีกลไกการ ขับเคลื่อนสำคัญ คือ BCG Model ซึ่งเปนการพัฒนาเศรษฐกิจแบบองครวม 3 มิติไปพรอมกัน ไดแกเศรษฐกิจ ชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว ดังนั้นกลไกการขับเคลื่อนสมาคมการทองเที่ยวโดยชุมชนจึงมีความจำเปนอยางยิ่งที่จะเปนชองทางที่ สำคัญในการสงตอเจตนารมณ/ปณิธานของหลักการทองเที่ยวโดยชุมชนจากระดับพื้นที่สูระดับนโยบายทุก หนวยงานที่เกี่ยวของดวยการมีสวนรวมของทุกภาคสวนแบบองคาพยพ (เบญจภาคีขับเคลื่อนการทองเที่ยว โดยชุมชน) ประกอบดวย สถาบันการศึกษา ภาครัฐ เอกชน NGOs และสื่อมวลชน โดยมีภาคประชาชนเปน ศูนยกลาง สวนภาคีเครือขายที่เกี่ยวของซึ่งรวมอยูในกลไกการขับเคลื่อนดังกลาวนั้น จะมีสวนรวมในการ สนับสนุนทรัพยากร เชน บุคลากร งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ เปนตน โดยเฉพาะทรัพยากรบุคคลซึ่งเปน ตัวแทนจากหนวยงานที่มีบทบาท หนาที่ และอำนาจในการตัดสินใจ ทั้งนี้จะไดรับโจทยการพัฒนาทุกมิติ เชน การพัฒนาแหลงทองเที่ยว โครงขายการทองเที่ยว การพัฒนาองคกรชุมชนและเครือขาย การพัฒนาทรัพยากร บุคคล การตลาดและประชาสัมพันธ เปนตน ซึ่งสอดคลองกับความตองการและความคาดหวังของภาค ประชาชนทุกระดับ และสอดคลองตามพันธกิจของหนวยงานนั้นๆ เพื่อรวมกันขับเคลื่อนการทองเที่ยวโดย ชุมชนใหเกิดความยั่งยืนตั้งแตระดับพื้นที่จนถึงระดับประเทศ ทั้งยังเปนสวนหนึ่งในการขับเคลื่อนประเทศสู การพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน มุงใหเกิดผลลัพธที่เปนเปาหมายสำคัญในการพัฒนาและบริหารจัดการ 3 ประการ คือ คุณภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม คุณภาพประสบการณของนักทองเที่ยว และคุณภาพ ชีวิตของประชาชนทองถิ่น


2 ขอมูลที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวโดยชุมชน และการทองเที่ยวโดยชุมชนจงัหวัดชุมพร สมาคมการทองเที่ยวโดยชุมชนไดคนควาเอกสารตางๆ ที่เกี่ยวของ ประกอบดวย แนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับการทองเที่ยวโดยชุมชน บทเรียน และสถานการณดานการบริหารจัดการการทองเที่ยวโดยชุมชน ปจจัยความสำเร็จของการจัดการการทองเที่ยวโดยชุมชน การพัฒนาการทองเท่ยีวอยางยั่งยืน ดังตอ ไปนี้ 1. แนวคิดการทองเที่ยวโดยชุมชน 1.1 หลักการการทองเที่ยวโดยชุมชน จากการจัดการการทองเที่ยวโดยทั่วไปมักประสบปญหาที่สวนทางกันระหวางการอนุรักษ สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ และสังคมกับการพัฒนา ดวยเหตุนี้การพัฒนาการทองเที่ยวจึงตองดำเนินการภายใต การจัดการการทองเที่ยวอยางยั่งยืน ซึ่งองคการทองเที่ยวโลก ไดกำหนดหลักการของการทองเที่ยวแบบยั่งยืน ไวตั้งแต พ.ศ. 2531 วาลักษณะของการทองเที่ยวแบบยั่งยืนนั้น “ไดรับการคาดหมายใหนำไปสูการจัดการ ทรัพยากรทั้งมวลดวยวิถีทางที่ตอบสนองตอความตองการทางดานเศรษฐกิจ สังคม และสุนทรียะ ใน ขณะเดียวกันก็คงไวซึ่งบูรณภาพทางวัฒนธรรม กระบวนการทางนิเวศวิทยาที่จำเปน ความหลากหลายทาง ชีวภาพ และระบบตางๆที่เอื้อตอชีวิต” เพื่อใหเกิดความยั่งยืนในอุตสาหกรรมการทองเที่ยว แนวคิดเรื่องการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืนไดรับการตอบสนองเปนอยางดี ทั้งภาครัฐ และเอกชนในการตระหนักถึงการพัฒนาการทองเที่ยวที่ไมทำลายสิ่งแวดลอม จึงทำใหประเทศตางๆ พยายาม คิดหารูปแบบการทองเที่ยวใหม เพื่อไปสูการพัฒนาการทองเที่ยวแบบยั่งยืน จากการจัดประชุม Earth Summit ขึ้นที่ กรุงริโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ. 1992 (พ.ศ. 2535) ในที่ ประชุม มุงเนนความสนใจของทั่วโลกสูประเด็นเรื่องการอนุรักษสภาพแวดลอม และสรุปบทเรียนเกี่ยวกับการ พัฒนาการทองเที่ยวที่ผานมา เพื่อมุงสูการพัฒนาการทองเที่ยวแบบยั่งยืน จากการประชุมนี้เองทำใหเกิด แนวคิดของการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ซึ่งเกิดจากกระแสการเรียกรองหลัก 3 ประการดังตอไปนี้ (สถาบันวิจัย วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย, 2542) 1. กระแสความตองการของชาวโลก ใหเกิดจิตสำนึกการอนุรักษสิ่งแวดลอม ใน การทองเที่ยว เปนกระแสความตองการของประชาชนทั่วโลก เกิดการสรางจิตสำนึก ในแงการอนุรักษ ตอ สิ่งแวดลอมระดับทองถิ่น จนถึงขอบขายกวางขวางไปทั่วโลก โดยเฉพาะอยางยิ่ง การอนุรักษระบบนิเวศ เพื่อ คงความหลากหลายทางชีวภาพเอาไว 2. กระแสความตองการของนักทองเที่ยว ใหเกิดการศึกษาเรียนรูในแหลงทองเที่ยว เปน กระแสความตองการที่มีมากขึ้น ในหมูนักทองเที่ยว ที่ตองการไดรับความรู ความเขาใจ เรื่องการทองเที่ยว มากกวาความสนุกเพลิดเพลินเพียงอยางเดยีว เพื่อสรางความพึงพอใจใหแกนักทองเที่ยวในรูปแบบใหม 3. กระแสความตองการของชุมชนทองถิ่น ใหเกิดการมีสวนรวมในการพัฒนาการทองเที่ยว เปนกระแสความตองการของชุมชนทองถิ่น ที่จะมีสวนรวมในการพัฒนาการทองเที่ยวเพื่อเปนหลักประกันให การพัฒนาการทองเที่ยว ใหเปนไปในทิศทางที่ถูกตอง และชุมชนทองถิ่นยอมรับในผลประโยชนทางเศรษฐกิจ ที่จะไดรบัเพื่อใหเกิดการกระจายรายไดท ี่เหมาะสม จากกระแสหลักทั้ง 3 กระแสดังกลาวนี้ กอใหเกิดความตื่นตัวในการพัฒนาการทองเที่ยวทางเลือกใหม เพื่อมาทดแทนหรือแขงขันกับการทองเที่ยวแบบประเพณีนิยม โดยมีการประยุกตรูปแบบการทองเที่ยวที่


3 นำไปสูกระแสหลักทั้ง 3 มานำเสนออยูหลายรูปแบบ แตระดับการทองเที่ยวที่กลาวถึงมากที่สุดคือ การ ทองเที่ยวเชิงนิเวศ (ecotourism) ระบุวา เปนการทองเที่ยวที่มุงเนนใหเกิดจิตสำนึกตอการรักษาระบบนิเวศ อยางยั่งยืน ดังนั้น การทองเที่ยวเชิงนิเวศจึงเปนการทองเที่ยวที่ทุกฝายมีสวนเกี่ยวของรับผิดชอบตอ สภาพแวดลอม ระบบนิเวศและวัฒนธรรมทองถิ่น ซึ่งทำใหคนในทองถิ่นไดมีสวนรวมในการจัดการทรัพยากร และรักษาระบบนิเวศทองถิ่น พัฒนาเศรษฐกิจ รวมถึงความสามารถและสรางกำลังใจใหกับชุมชนของตนเอง ดวย (กรมสงเสรมิคณุภาพสิ่งแวดลอม, 2548 อางถึงในอริสรา, 2552) ซึ่ง (สุรเชษฎ, 2551) อธิบายเพิ่มเติมใน หลักสากลวา การทองเที่ยวเชิงนิเวศ จะตองเปนการทองเที่ยวที่ใหผลตอบแทนกลับคืนแกแหลงทองเที่ยว ที่ นักทองเที่ยวมาเยือนในรูปแบบการนำรายไดกลับไปทำนุบำรุงสถานที่ และ วิเศษ (2546 อางถึงในอำนาจ, 2549) ไดใหความหมายโดยสรุปวา การทองเที่ยวเชิงนิเวศเปนการสงเสริมกระบวนการเรียนรูรวมกันของผูที่ เกี่ยวของ ภายใตการจัดการ ที่ถูกตอง เหมาะสมอยางมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น ในขณะเดียวกัน ก็เปนการ สรางโอกาสทางเศรษฐกิจ โดยการสรางงาน และ กระจายรายได ซึ่งสงผลตอการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และวัฒนธรรมอันดีงาม นอกจากนี้ ความเปนประชาธิปไตยของสังคมไทย ที่เปดโอกาสใหประชาชนมีสวน ใน การแสดงความคิดเห็น และกำหนดทิศทางการพัฒนามากขึ้น การใหความสำคัญเรื่องสิทธิมนุษยชน โดยการ เคารพสิทธิความเปนมนุษย และความเทาเทียมกัน ของคนในสังคม ดังนั้น การทองเที่ยวโดยชุมชน จึงเปนอีก ชองทางหนึ่งที่จะนำพาผูคนตางวัฒนธรรม ใหไดเรียนรูแลกเปลี่ยนกัน สรางความเขาใจที่แทจริง และสราง พันธมิตรในการพัฒนาสังคม เพื่อมุงสูการพัฒนาการทองเที่ยวแบบยั่งยืน สอดคลองกับ พจนา (2556) ที่ ผลักดันการทองเที่ยวโดยชุมชน ใหเปนที่รูจักทั้งภายในประเทศ และระดับนานาชาติ ซึ่งเปาหมายของชุมชนใน การทำการทองเที่ยว ไดแก การพัฒนาคน การสงเสริมการอนุรักษทรัพยากร การมีรายไดเสริม และการ แลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางนักทองเที่ยวกับชาวบาน โดยปจจุบันมีความพยายามในการกำหนดมาตรฐานการ ทองเที่ยวโดยชุมชน ซึ่งถือเปนเครื่องมือในการพัฒนาเพื่อการจัดการแหลงทองเที่ยวอยางยั่งยืนโดยที่ประชาชน มีสวนรวมและสรางการยอมรับกับผูที่เกี่ยวของ อุไรพรรณ (2544) กลาวโดยสรุปวา การทองเที่ยวโดยชุมชน หมายถึง การทองเที่ยวที่ชุมชนเปน เจาของ และมีการจัดการดวยตนเอง โดยคำนึงถึง ทรัพยากรธรรมชาติ รายไดที่ไดรับจากการประกอบธุรกิจ การทองเที่ยว และการใชรายได เพื่อยกระดับความเปนอยู เปนการเกี่ยวของกันระหวางการอนุรักษ ธุรกิจ และการพัฒนาชุมชน พจนา (2546) กลาวเพิ่มเติมวา การทองเที่ยวโดยชุมชน เปนการจัดการโดยชุมชน เพื่อชุมชน และชุมชนมีบทบาทเปนเจาของมีสิทธิในการจัดการดูแล เพื่อใหเกิดการเรยีนรแูกผูมาเยือน อุษาวดี (2544) ไดสรุปหลักการของการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชน (community based ecotourism – CBE) โดยแบงออกได เปน 3 มิติ ดังนี้ 1. มิติทางดานทรัพยากรทองเที่ยว ควรใหความสำคัญของทรัพยากรทองเที่ยว ทั้งที่เปน ธรรมชาติ ประวัติศาสตร และวัฒนธรรมในการเปนสิ่งดึงดูดความสนใจนักทองเที่ยว มากกวาการปรับเปลี่ยน พื้นที่ เพื่อสรางสิ่งอำนวยความสะดวก ถาหากชุมชนไมไดเปนเจาของทรัพยากรทองเที่ยว ควรไดรับความ เห็นชอบจากเจาของหรือผูดูแลรับผิดชอบทรพัยากรทองเที่ยวเสียกอน 2. มิติทางดานชุมชน การทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนนั้น จะตองมาจากความตองการของ ชุมชนทองถิ่น ที่ไมใชตองการเพียงแคเงินท่จีะไดจากการทองเที่ยวแตเปนความตองการที่จะใหมีการทองเที่ยว เกิดขึ้นในชุมชน ชุมชนตองมีความพรอมในการบริหารจัดการ มีแผนงานมาตรการที่นำไปสูการปฏิบัติ คนใน


4 ชุมชนมีทักษะในการจัดการการทองเที่ยว รวมถึงมาตรการในการประเมินผล ปองกันผลกระทบและ กฎระเบียบที่ชุมชนใหการยอมรับ โดยเนนการมีสวนรวมอยางจริงจัง สุดทายคือควรมีการกระจายผลประโยชน อยางเปนธรรม และคืนสวนหนึ่งใหกับการดูแลรักษาแหลงทองเที่ยว 3. มิติทางดานนักทองเที่ยว ซึ่งถือเปนสวนหนึ่งของตลาดการทองเที่ยว นักทองเที่ยวควร ไดรับประสบการณจากการเรียนรูธรรมชาติและวัฒนธรรม การจัดการกิจกรรมทองเที่ยวที่ดียอมสงผลตอ ประสบการณของนักทองเที่ยวและนักทองเที่ยวควรไดรับการบริการที่เหมาะสม มีความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพยสิน จากความหมายของการทองเที่ยวโดยชุมชน ที่กลาวมาแลวขางตน สรุปไดวา การทองเที่ยวโดยชุมชน หมายถึง การทองเที่ยวซึ่งเกิดจากความตองการของชุมชนทองถิ่น และชุมชนเปนเจาของทรัพยากรทองเที่ยว หรือไดรับความเห็นชอบ จากเจาของหรือผูดูแลรับผดิชอบทรัพยากรทองเที่ยว โดยมีกระบวนการเรียนรูรวมกัน ของผูที่เกี่ยวของ และใหสมาชิกในชุมชนทองถิ่นนั้นมีสวนรวมในการจัดการตลอดกระบวนการ เพื่อกอใหเกิด ผลประโยชนแกชุมชนทองถิ่น สามารถพัฒนาคน พัฒนาชุมชน และสรางจิตสำนึกใหทุกฝายรวมกันรับผิดชอบ ตอระบบนิเวศอยางยั่งยืน 1.2 กิจกรรมการทองเที่ยวโดยชุมชน เนื่องจากกิจกรรมหลักของการทองเที่ยวโดยชุมชน มีรูปแบบการดำเนินกิจกรรม เชนเดยีวกับกิจกรรมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ซึ่งมุงเนนการใหความสำคัญกับกระบวนการศึกษาสิ่งแวดลอม โดย ใหการศึกษาเรียนรูเกี่ยวกับสภาพแวดลอมทางวัฒนธรรมและระบบนิเวศของแหลงทองเที่ยว เพื่อสรางความ ประทับใจและความตระหนักในการรวมกันอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ หรือทรัพยากรทางประวัติศาสตร วัฒนธรรมและประเพณี ที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศ ทั้งตอนักทองเที่ยวและผูที่มีสวนเกี่ยวของทุกฝาย ทั้งนี้ ลักษณะเฉพาะของกิจกรรมการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชน คือ ทรัพยากรการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยรวมของ ชุมชนมีความหลากหลาย นาดึงดูดใจ และมีเสนหแตกตางจากการทองเที่ยวในแหลงธรรมชาติ ประวัติศาสตร หรือวัฒนธรรมเพียงอยางเดียว และเปนกิจกรรมที่มีการดำเนินการโดยชุมชน ซึ่งชุมชนเปนเจาของทรัพยากร หรือไดรับความเห็นชอบจากผูดูแลและรับผิดชอบทรัพยากรทองเที่ยวนั้น กิจกรรมการทองเที่ยวโดยชุมชน จึงคาบเกี่ยวกับกิจกรรมการทองเที่ยวชุมชนรูปแบบอื่น ภายใต กิจกรรมหลักของการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ซึ่งศูนยวิจัยปาไม (2538) ไดแบงกลุมกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการ ทองเที่ยวเชิงนิเวศออกเปน 3 กลุม คือ 1) กิจกรรมเชิงนิเวศในแหลงธรรมชาติ 2) กิจกรรมกึ่งนิเวศ 3) กิจกรรมทางวัฒนธรรมประวัติศาสตร การทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนจะนำกิจกรรมเสริมรูปแบบอื่นมาใชเปน จุดขาย และนำเสนอแกนักทองเที่ยว ซึ่ง นงลักษณ (2544) ไดกลาวถึง รูปแบบการทองเที่ยวชุมชน ที่ไดมีการ นำไปปฏิบัติและประสบความสำเร็จในหลายประเทศ โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟก วามีรูปแบบดังนี้ 1. การจำหนายสินคาที่เปนเอกลักษณของชุมชน (product sale) อาทิ สินคาหัตถกรรม อาหารประจำถิ่น ทั้งนี้หมายถึงทรัพยากรการทองเที่ยวอื่น ๆ ของชุมชนนั้น ๆ ดวย 2. กิจกรรมการแสดงทางวัฒนธรรม (cultural show) เชน การฟอนรำ การละเลนพื้นบาน และการแสดงดนตรีเฉพาะชุมชน เปนตน


5 3. กิจกรรมการทองเที่ยวเชิงชุมชน (village based activities) หมายถึง กิจกรรมทางการ ทองเที่ยว ซึ่งชุมชนในหมูบาน เปนผูดำเนินการเพื่อเสนอแกนักทองเที่ยว อาทิ การจัดกิจกรรมเดินปาชม ธรรมชาติในบริเวณหมูบาน หรือบริเวณใกลเคียง พรอมมัคคุเทศกนำทาง โดยคิดคาใชจายจากนักทองเท่ยีว 4. กิจกรรมการพักแรมในหมูบาน สำหรับนักทองเที่ยวที่เดนิทางเขาไปทองเที่ยวในชุมชนแหง นั้น ซ่งึกิจกรรมการพักคางในหมูบาน มีหลายรูปแบบไดแกการจัดแคมป(camping) การจัดกิจกรรมพักแรม บานพักชุมชน (home stay) การจัดสิ่งอำนวยความสะดวกและที่พักแรมในหมูบาน (village operated accommodation) ดังนั้น ฐานทรัพยากรการทองเที่ยวที่ชุมชนมีอยู ทำใหชุมชนสามารถที่จะจัดการและกำหนดกิจกรรม การทองเที่ยวที่หลากหลาย นาสนใจ และนาดึงดูดใจ อาทิ การเดินปา ลองแกง พายเรือ ตั้งแคมปกลางปา ขี่ จักรยาน ดูนก ดูผีเสื้อ ดูหิ่งหอย ดำน้ำดูปะการัง รวมถึงการเยี่ยมชมและรวมกิจกรรมการเรียนรูที่เห็น ความสัมพันธระหวางประวัติศาสตรศิลปและประวัติศาสตรส ังคม หรือมีการชมการแสดงพื้นบานทั้งในรูปแบบ ของละคร การละเลน และการฟอนรำที่ดำเนินการและจัดแสดงโดยคนในทองถิ่น ขณะเดียวกันก็มีกิจกรรม เสริมเพื่อศึกษาและสัมผัสวิถีชีวิตของชุมชน โดยอาจจัดใหผูมาเยือนหรือนักทองเที่ยวพำนักรวมกับชาวบาน หรือพักในหมูบาน แตแยกที่พักออกจากครอบครัวของชาวบาน เชน พักที่กระทอมกลางนา กลางไร หรือใน สวน เปนตน ขณะพำนักอาจจัดกิจกรรมใหนักทองเที่ยวไดลองทำ เชน 1) การรวมกิจกรรมทางการเกษตร ไดแกทำนา ทำไรเก็บผัก หาปลา 2) การเรียนรูเรื่องงานหัตถกรรม ไดแกการจักสาน ทอผา 3) การเรียนรู ภูมิปญญาทองถิ่น ไดแกการนวดแผนโบราณ การรักษาโรคแบบพื้นบาน การทำอาหารพื้นบาน การเลนเคร่ือง ดนตรีพื้นบาน การละเลนของทองถิ่น เปนตน 4) การรวมกิจกรรมทางศาสนาและประเพณีที่สำคัญของชุมชน (จุฑาทิพย และรุงทิพ ,2545) ดรรชนี (2546) กลาวถึง การจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนวา คือ การทองเที่ยวที่ชุมชน เปนเจาของทรัพยากร หรือไดรับความเห็นชอบ จากผูดูแลรับผิดชอบทรัพยากรทองเที่ยว และเกิดจากความ ตองการของชุมชนทองถิ่น ที่ไมใชตองการเพียงแคเงิน ที่จะไดจากการทองเที่ยว นอกจากนี้ ชุมชนจะตองมี ความพรอมในการบริหารจัดการ มีแผนงานมาตรการที่นำไปสูการปฏิบัติ คนในชุมชนมีทักษะในการจัดการ การทองเที่ยว โดยเนนการมีสวนรวมอยางจริงจัง มีการกระจายผลประโยชนอยางเปนธรรม และคืนสวนหนึ่ง ใหกับการดูแลรักษาแหลงทองเที่ยว ทั้งนี้ นักทองเที่ยว ควรไดรับประโยชนจากการเรียนรูธรรมชาติ และ วัฒนธรรม รวมถึงไดรับการบริการ ที่เหมาะสม มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ภายใตการจัดการตาม หลักการของการทองเที่ยวอยางยั่งยืน มีตลาดการทองเที่ยว และสวนแบงการตลาด เพื่อใหการทองเที่ยวที่ เปนธุรกิจชุมชน สามารถดำรงอยูได มีมาตรการการปองกันผลกระทบ จากการทองเที่ยว และกฎระเบียบการ ทองเที่ยว ที่เปนที่ยอมรับ ของชุมชน สุดทายคือมีการติดตามประเมินผล ใหบรรลุตามวัตถุประสงคของการ ทองเที่ยว ดังนั้นการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนจำเปนตองมีการดำเนินการในรูปแบบขององคกรชุมชน ซึ่ง อนุชาติและอรทัย (2541) กลาววา องคกรชุมชนหรือองคกรประชาชน นับเปนกลไกที่สำคัญยิ่งในการพัฒนา กระบวนการของการพัฒนา ซึ่งเปนเครื่องมือในการขยายฐานการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน และพจนา (2546) สรุปในหลักการของการทองเที่ยวโดยชุมชนวา การทองเที่ยวที่มีการจัดการโดยชุมชน จำเปนตองมีองคกรที่เขามารับผิดชอบในการทำงานเนื่องจากลักษณะงานตองติดตอสัมพันธกับนักทองเที่ยว


6 ซึ่งเปนบุคคลภายนอก หรือหนวยงานภายนอกที่ตองประสานความรวมมือดวย หากชุมชนไมจัดตั้งองคกรที่ ชัดเจน หรือบอกไดอยางชัดเจนวากิจกรรมการทองเที่ยวอยูภายใตโครงสรางขององคกรใดในชุมชนก็จะทำให เกิดความสับสนไดงาย โดยเฉพาะอยางยิ่งการที่นำชื่อของชุมชนมาเปนภาพลักษณหนึ่งขององคกร นอกจากนี้ การทองเที่ยวยังเปนกิจกรรมที่เกี่ยวของกับทรัพยากรสวนรวมของชุมชน ยิ่งจำเปนที่จะตองสรางรูปแบบการ บริหารงานองคกรใหชัดเจน ซึ่งจุฑาทิพย และรุงทิพย (2545) สรุปวา องคกรชุมชนจะดำเนินการอยางมี ประสิทธิภาพและแสดงถึงการมีสวนรวมของประชาชนอยางกวางขวางไดนั้นจะตองมีการจัดตั้งองคกรโดยมี แนวคิดของการชวยเหลือตนเอง และตองดำเนินการโดยสมาชิกเอง และมีรูปแบบท่เีหมาะสม กลาวคือ สมาชิก ตองสามารถที่จะเขารวมอยางเต็มที่ในการตัดสนิใจเกี่ยวกับการจัดการในการดำเนินการ และไดรับการแบงปน ประโยชนจากการจัดการนั้นอยางยุติธรรม การจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชน เปนกระบวนการของการทำงาน และใชทรัพยากรการ ทองเที่ยวในทองถิ่นเพื่อใหบรรลุเปาหมายขององคกรชุมชนทองถิ่นที่ตั้งไวอยางมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล การกำหนดเปาหมายของการจัดการทรัพยากรการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชน โดยทั่วไปแลวจะขึ้นอยูกับ สภาพปญหาและความตองการของชุมชน ซึ่งสวนใหญจะมีเปาหมายคลายคลึงกันแมจะแตกตางกันบางตาม สภาพและลักษณะของทรัพยากรการทองเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่ เปาหมายของการจัดการทรัพยากรการ ทองเที่ยวโดยชุมชนมีหลายประการ (จุฑาทิพย และรุงทิพ, 2545) ซึ่งสอดคลองกับ ดรรชนี (2545) ที่สรุปไว ในหลักการของการทองเที่ยวโดยชุมชนวา เปาหมายของการจัดการทรัพยากรการทองเที่ยวโดยชุมชนทองถิ่นมี ดวยกัน 3 ดาน ดังนี้ 1. เปาหมายทางเศรษฐกิจ ไดแก 1) กอใหเกิดรายไดแกคนในทองถิ่น 2) กอใหเกิดการจาง งานทองถิ่น รวมถึงลดการอพยพยายถิ่นเพื่อเปนแรงงานในเมืองของประชาชนทองถิ่น 3) กอใหเกิดการกระตุนเศรษฐกิจของทองถิ่น 2. เปาหมายทางสังคม ไดแก 1) กอใหเกิดความภาคภูมิใจในความเปนเจาของทรัพยากรการ ทองเที่ยว 2) กอใหเกิดคณุภาพชีวิตที่ดีของคนในทองถิ่น 3) กอใหเกิดองคความรูและทักษะที่เพิ่มเติมขึ้นจาก กระบวนการเรียนรูและแลกเปลี่ยนความรูและวัฒนธรรมระหวางชุมชน หนวยงานภายนอกและนักทองเท่ียว 4) กอใหเกิดการกระชับความผูกพันธ ระหวางสมาชิกในชุมชน โดยผานทางการทำงานรวมกัน 5) กอใหเกิด การสืบสานวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของทองถิ่น 6) ลดการอพยพยายถิ่นของประชาชนในทองถิ่น เนื่องจากมีรายไดพอเพียง รวมถึงสรางอาชีพในทองถิ่น 7) กอใหเกิดความประทับใจแกผูมาเยือนและไดรับ ประสบการณที่มีคุณคากลับไป 3. เปาหมายดานสิ่งแวดลอม ไดแก 1) รักษาทรพัยากรการทองเที่ยวใหเกิดความยั่งยืนและ ไมเสื่อมโทรม 2) คุณภาพสิ่งแวดลอมที่ดี มีความสะอาด สวยงาม รมรื่นและเปนระเบียบ 3) เกิดความหวง แหนในทรัพยากรการทองเที่ยว และสิ่งแวดลอม เกิดจิตสำนึกในการอนุรักษทรัพยากรทองเที่ยว และ สิ่งแวดลอมตามมา 4) ปองกันการบุกรุกทำลายทรัพยากรธรรมชาติ ประวัติศาสตรหรือโบราณสถานตางๆ 5) ทำใหเกิดแนวรวมในการรักษาทรัพยากรทองเที่ยวและทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งนักทองเที่ยว อาจเปนกำลัง สำคัญใหประชาชนทองถิ่น ในการรักษาทรัพยากรในทองถิ่น


7 ดังนั้น การจัดการการทองเที่ยวโดยชุมชน มีหลักการและขั้นตอนในการบริหารจัดการทรัพยากร เพื่อ ตอบสนองความจำเปนทางเศรษฐกิจ สังคม ความงามทางสุนทรียภาพ และตอบสนองความตองการของ นักทองเที่ยว รวมทั้งประชาชนทองถิ่น ผูเปนเจาของทรัพยากรการทองเที่ยว โดยมีการดำเนินการภายใต รูปแบบของการจัดตั้งองคกรชุมชน ซึ่งเปนกลไกที่สำคัญยิ่งในกระบวนการของการพัฒนาการทองเที่ยวโดย ชุมชน และเปนเครื่องมือในการขยายฐานการมีสวนรวมของประชาชนในทองถิ่น โดยการจัดการดังกลาวตอง ดำเนินการอยางระมัดระวัง เพื่อไมใหสงผลกระทบตอทรัพยากร และสิ่งแวดลอมในชุมชน รวมถึงการปกปอง และสงวนรักษาโอกาสตาง ๆ ของอนุชนรุนหลัง ในขณะที่สามารถรักษาเอกลักษณทางวัฒนธรรมและระบบ นิเวศดวย ดังนั้นหลักการจัดการทองเที่ยวโดยชุมชน จะนำไปสูการจัดการอยางยั่งยืนตอไป 1.3 การมีสวนรวมของประชาชนทองถิ่นกับการจัดการการทองเที่ยวโดยชุมชน การที่ประชาชนในชุมชนทองถิ่นไดเขามามีสวนรวมในการจัดการทรัพยากรการ ทองเที่ยวเชิงนิเวศ จึงเปนโอกาสอันดีที่ไดมีสวนรวมในการจัดการทรัพยากรของตนเองตั้งแตเริ่มตน เนื่องจาก คนในทองถิ่นยอมทราบภาวการณตาง ๆ ลักษณะของทรัพยากรการทองเที่ยว และที่สำคัญคือ ความรูสึกรัก ผูกพันและหวงแหนทรัพยากรการทองเที่ยวในฐานะเจาของทรัพยากร ซึ่งสอดคลองกับสินธุ (2546) และ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (2542) ที่กลาวถึงการมีสวนรวม ในการจัดการการ ทองเที่ยวโดยชุมชนวา เปนแนวคิดใหบุคคลในชุมชนมีสวนรวมในดานการจัดการ และกำหนดทิศทางของการ ทองเที่ยว โดยตั้งอยูบนฐานแนวคิดที่วา ชาวบานทุกคนเปนเจาของทรัพยากร และเปนผูมีสวนไดสวนเสียจาก การทองเที่ยว นำเอาทรัพยากรที่มีอยูในทองถิ่น ทั้งดานธรรมชาติ ประวัติศาสตร วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต ความเปนอยู และวิถีการผลิตของชุมชน มาใชเปนปจจัย หรือตนทุนในการจัดการทองเที่ยวอยางเหมาะสม และมีความยั่งยืนถึงรุนลูกรุนหลาน ซึ่งองคประกอบของการมีสวนรวมเพื่อใหเกิดการพัฒนาการทองเที่ยว อยางยั่งยืน คอื 1. รวมกันวางแผน เปนการรวมคิดรวมวางแผนจัดการเตรียมความพรอมและ สิ่งอำนวยความสะดวกในชุมชน 2. รวมกันปฏิบัติตามแผนเมื่อมีการวางแผนแลว สมาชิกในชุมชนทุกคนรวมกัน ปฏิบัติหนาที่ที่ตกลงกันไว 3. รวมกันใชประโยชนสมาชิกทุกคนตองมีสิทธิใชประโยชนจากทรพัยากรทองเที่ยว ในทองถิ่นจะตองมีการจัดการผลประโยชน ทั้งที่เปนตัวเงินและวัตถุใหประชาชนในทองถิ่นอยางทั่วถึง และ เหมาะสมโดยคำนึงถึงความยุติธรรมและเทาเทียมกันเปนหลัก 4. รวมติดตาม และประเมินผล เมื่อมีการดำเนนิการแลวยอมจะมีปญหาความ ไมเขาใจตางๆเกิดขึ้น จึงตองรวมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นถายทอดประสบการณ และรวมกันประชุมหาวิธีแกไข ปญหาเหลานั้น 5. รวมกันบำรุงรักษา โดยคำนึงถึงการอนุรักษ เพื่อใหทรัพยากรการทองเที่ยวยังคง อยูตอไปอยางยั่งยืน


8 สำหรับการมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่นในการจัดการการทองเที่ยวในปจจุบันมี 4 ระดับ (ดรรชนี, 2546) ดังนี้ 1. การใหขอมูลเพื่อใชในการวางแผนจัดการการทองเที่ยว เปนการมีสวนรวมระดับต่ำสุด มักเปนการวางแผนการทองเที่ยวที่ชุมชนไมไดเปนเจาของทรัพยากรการทองเที่ยวโดยตรง หรือเปน การ วางแผนระดับมหภาค แตชุมชนมีแนวโนมไดรับผลกระทบจากการกำหนดโยบายหรือแผนทองเที่ยว 2. การใหความคิดเห็นหรือขอเสนอแนะในการวางแผนจัดการการทองเที่ยว เปนการมีสวน รวมที่ตัวแทนของชุมชนอาจเขารวมในคณะกรรมการ หรือการประชุมรับฟงความคิดเห็น เพื่อพิจารณาให ขอเสนอแนะหรือความคิดเห็น ความตองการของชุมชนในโครงการเกี่ยวกับการทองเที่ยวที่สงผลกระทบตอ ชุมชน 3. การดำเนินการจัดการการทองเที่ยว รวมกันกับหนวยงานภาครัฐหรือเอกชน เปนการมี สวนรวมที่ชุมชนมีอำนาจในการตัดสินใจ ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดการการทองเที่ยวรวมกับหนวยงานของรัฐ เพื่อประโยชนของชุมชนและสังคมโดยรวม 4. การทองเที่ยวที่ดำเนินการโดยชุมชนเอง นับตั้งแตการวางแผน การดำเนินการ และ ติดตามประเมินผล เพื่อใหเกิดการทองเที่ยวที่ยั่งยืน รักษาสภาพแวดลอม ตลอดจนเกิดการกระจายรายได อยางเปนธรรมในชุมชน ดังนั้น การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่นในการจัดการการทองเที่ยว เปนกระบวน การ ที่เอื้ออำนวยใน การสรางความเขมแข็งของชุมชน โดยเปดโอกาสในชุมชนทองถิ่นเปนผูบริหารจัดการการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดย ชุมชนเอง และใหสมาชิกภายในชุมชนทองถิ่นมีสวนรวมตลอดกระบวนการ อีกทั้ง ยังชวยสงเสริมใหทรัพยากร สิ่งแวดลอมระบบนิเวศ วิถีชีวิต วัฒนธรรม ภูมิปญหาทองถิ่น ไดรับการสืบทอดและอนุรกัษไวอยางถูกวิธีเพื่อ ธำรงไวซึ่งเอกลักษณ และคุณคาดานสิ่งแวดลอมตลอดจนวัฒนธรรมอันดีของชุมชน กอใหเกิดผลประโยชนตอ ทองถิ่น ซึ่งหมายรวมถึง การกระจายรายได และโอกาสในการไดรับการสนับสนุนดานการพัฒนาตาง ๆ จาก องคกรของรัฐ เอกชน เปนการยกระดับคุณภาพชีวิต การไดรับผลตอบแทนกลับมาบำรุงรักษาและจัดการแหลง ทองเที่ยวดวย แลวในที่สุดชุมชนทองถิ่นจะมีสวนในการควบคุมการพัฒนาการทองเท่ยีวอยางมีคุณภาพ 1.4 บทเรียนและสถานการณดานการบริหารจัดการการทองเที่ยวโดยชุมชน จากผลการศึกษาและประสบการณการทำงานเครือขายของ อำนาจ และคณะ (2560) เปนกระบวนการรวมกันขับเคลื่อนองคกรเครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร เพื่อใหเกิด การพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวโดยชุมชนสูนโยบายทั้งในระดับพื้นที่ชุมชน เครือขายระดับจังหวัด และ กลุมจังหวัด สามารถถอดบทเรียนจากประสบการณในการขับเคลื่อนเครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัด ชุมพร จากปพ.ศ. 2553-2561 ซึ่งเนื่องจากป พ.ศ. 2553 เปนการขับเคลื่อนงานในระยะเริ่มตนจึงขยับไดใน ระดับของการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางชุมชนในเครือขาย โดยการปฏิบัติการสวนใหญอยูในระดับ ชุมชน ที่แตละชุมชนตองดำเนินการดานการจัดการการทองเที่ยวและดานอื่นๆ ที่เกี่ยวของภายในพื้นที่ตนเอง สงผลใหการปฏิบัติการรวมระหวางชุมชนสมาชิกเครือขายฯ และหนวยงานภาคีเครือขายยังไมเปนรูปธรรม ดังนั้นองคกรเครือขายฯ จึงควรมีบทบาทบทบาท คือ 1) เปนหนวยงานประสานหลักกับภาคีเครือขายตางๆ ที่ มีสวนเกี่ยวของกับการพัฒนาการทองเที่ยวโดยชุมชนทั้งทางตรงและทางออม เชน สถาบันการศึกษา


9 หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน NGOs เปนตน 2) เชื่อมความสัมพันธและกระตุนความเข็มแข็ง ระหวางชุมชนสมาชิกเครือขายฯ โดยดำเนินการในลักษณะการประชุมสัญจรใหเกิดกระบวนการแลกเปลี่ยน เรียนรูประสบการณดานการจัดการการทองเที่ยวและดานอื่นๆที่เกี่ยวของ ทั้งยังเปนกระบวนการสรางขวัญ และกำลังใจในการทำงานใหกับชุมชนเจาภาพ 3) พัฒนาระบบการตลาดแบบสงตอโดยพิจารณาจากศักยภาพ ในการรองรับดานการทองเที่ยว ระยะทาง การเดินทางที่สามารถเชื่อมโยงภายในโครงขายฯ และความสัมพันธ ของกิจกรรมการทองเที่ยว เพื่อการสงตอนักทองเที่ยวระหวางชุมชนสมาชิก 4) กระตุนการปฏิบัติการรวมกัน ระหวางชุมชนสมาชิกภายในเครือขายฯ และระหวางองคกรเครือขายฯกับหนวยงานภาคีโดยมุงนำพาปณิธาน รวมสูการปฏิบัติรวมกันในทุกระดับ ตั้งแตระดับพื้นที่จนถึงระดับจังหวัด พรอมทั้งผลักดันใหแนวคิดการ ทองเที่ยวโดยชุมชนบรรจุในแผนยุทธศาสตรของหนวยงานตางๆ เพื่อใหเกิดความตอเนื่อง สวนบทเรียนจากการขับเคลื่อนเครือขายฯ ในระยะตอมา เปนกระบวนการในการเสริมสราง ความเข็มแข็ง และความรวมมือระหวางชุมชนสมาชิกภายในองคกรเครือขายฯ รวมทั้งความเขาใจดานการ ทองเที่ยวโดยชุมชนแกชุมชนสมาชิก ผานการดำเนินการแบบพี่ดูแลนอง โดยการเรียนรูรวมกันระหวางชุมชน สมาชิกที่มีการดำเนินการดานการทองเที่ยวมาเปนระยะเวลาหนึ่งและมีบทเรียนดานการจัดการ ที่สามารถ ถายทอดประสบการณสูชุมชนที่เพิ่งดำเนินการ หรือชุมชนที่คิดจะดำเนินการดานการทองเที่ยว โดยกิจกรรม หลัก คือการประชุมแบบสัญจร เปนการแลกเปลี่ยนเรียนรูบทเรียนการจัดการการทองเที่ยวโดยชุมชนควบคูกับ การสอดแทรกองคความรูจากแกนนำ นักวิชาการหรือหนวยงานภาคี และเปนการใหกำลังใจแกชุมชนสมาชิกที่ เปนเจาภาพในการดำเนินการดานการทองเที่ยว นอกจากนี้ยังรวมกันวิภาครูปแบบการจัดการของชุมชน เจาภาพเพื่อใหเกิดการปรับปรุง แกไข และมีแนวทางการบริหารจัดการในอนาคต กระบวนการดังกลาวยัง สามารถกระตุนใหเกิดการขับเคลื่อนเครือขายยอย แบงเปน 3 กลุม ดังนี้ กลุมที่ 1 ครอบคลุมอำเภอละแม อำเภอหลังสวนและ อำเภอทุงตะโก กลุมที่ 2 ครอบคลุมอำเภอประทิว อำเภอสวี อำเภอปะทิว และอำเภอ เมือง และกลุมที่ 3 อำเภอพะโตะ สงผลใหเกิดการสงตอนักทองเที่ยวระหวางชุมชนสมาชิกเครือขายฯ โดย พิจารณาตามความเหมาะสมของระยะทางและความสัมพันธของกิจกรรมการทองเที่ยว นอกจากนี้ภายใตรูปแบบการขับเคลื่อนเครือขายฯ ซึ่งแกนนำชุมชนสมาชิกมีการดำเนนิการขับเคลื่อน องคกรเครือขายอยางตอเนื่อง ดวยวิธีการดังนี้ 1) การพึ่งตนเองแบบกัลยาณมิตร หมุนเวียนกันเปนเจาภาพใน การจัดประชุมโดยแกนนำองคกรเครือขายฯรวมกันสมทบงบประมาณและแสวงหาภาคีรวมในการดำเนิน กิจกรรม ซึ่งปจจัยจำกัดของกลุมแกนนำ ไดแก เวลางบประมาณ และภาระงานของตนเองในการขับเคลื่อน ระดับพื้นที่หรือชุมชน สงผลใหเกิดความไมตอเนื่องในการเขารวมระดับเครือขาย 2) รวมกับหนวยงานภาคี เครือขายฯ โดยดำเนินกิจกรรมภายใตโครงการของหนวยงานนั้นๆ ซึ่งบทเรยีนที่ผานมาคือ หากแกนนำองคกร เครือขายไมสามารถเขาไปมีสวนรวมในการกำหนดรายละเอียดกิจกรรมรวมกันกับหนวยงานดังกลาว สงผลให การดำเนินโครงการไมสอดคลองตามความตองการขององคกรเครือขายฯและทิศทางการพัฒนาในอนาคต 3) ดำเนินการรวมกันผานโครงการวิจัยจากหนวยงานสนับสนุนทุนวิจัย ซึ่งที่ผานมาแกนนำองคกรเครือขายฯ สามารถเขาไปมีสวนรวมในทุกกิจกรรมและไดรับการหนุนเสริมเรื่องอื่นๆ เชน บุคลากร งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ องคความรูทางวิชาการ เปนตน แตหากขาดความตอเนื่องและตอยอดผลงานวิจัยก็จะสงผลตอความ ไมยั่งยืนขององคกรเครือขายฯ


10 สวนปจจุบันการเชื่อมโยงเครือขายฯจังหวัดยังเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง และขยายสูการขยายเครือขาย ระดับภาคใต โดยกลุมแกนนำเครือขายฯ จังหวัดชุมพรรวมเดินทางเชื่อมโยงเครือขาย หวังใหเกิดการ ปฏิบัติการรวมระหวางเครือขายฯจังหวัดตางๆ ซึ่งไดรับการตอบรับเปนอยางดีและสามารถขับเคลื่อนใหเกิด การจัดตั้งองคกรเครือขายอยางเปนรูปธรรม แตยังขาดการขับเคลื่อนใหเกิดปฏิบัติการรวมระหวางจังหวัด สมาชิกเครือขาย เนื่องดวยขอจำกัดที่แกนนำเครือขายระดับจังหวัดจะตองทำหนาที่ขับเคล่ือนตั้งแตระดับพื้นที่ ระดับชุมชน จนถึงระดับจังหวัด ซึ่งยิ่งตองเปนผูที่มีจิตสาธารณะและมีความเสียสละสูง ประกอบกับการ ขับเคลื่อนเครือขายในระดับภาคจะตองดำเนินการดวยงบประมาณคอนขางสูง สงผลใหเครือขายระดับจังหวัด และระดับภาคสามารถขับเคล่อืนไดอยางเนิบชา ดังนั้นกระบวนการวิจัยจึงควรมุงใหเกิดการเปลี่ยนแปลงระดับ นโยบายภาครัฐเพื่อหนุนเสริมและสอดรับการปฏิบัติขององคกรภาคประชาชน ดวยการประสานตัวแทนจาก หนวยงานภาคีเครอืขาย ใหรวมเปนนักวิจัยเพื่อปฏิบัติการแบบคูขนานรวมกับองคกรเครือขายฯ 1.5 ปจจัยความสำเร็จดานการพฒันาการทองเที่ยวโดยชุมชน การทองเที่ยวโดยชุมชนเปนการทองเที่ยวที่มีการบริหารจัดการโดยชุมชน ที่ไมใช เพียงแคการพัฒนาดานเศรษฐกิจ ยังสามารถเชื่อมโยงกับการพัฒนาเรื่องอื่นๆ เชน การพัฒนาชุมชน การ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การจัดการสังคมและวัฒนธรรม และมีบุคคลจำนวนมากเขามา เกี่ยวของ ดังนั้นจึงมีความซับซอนมากกวาการทองเที่ยวรูปแบบอื่น ดังนั้นจากการศึกษาปจจัยที่สงผลตอ ความสำเร็จการทองเท่ยีวโดยชุมชนขององคกรตางๆ สามารถสรุปไดดังนี้ WWF (2001) “รูปแบบของการทองเที่ยวที่ชุมชนทองถิ่นมีการควบคุมและเกี่ยวของอยางเขมแข็งใน การพัฒนาและการจัดการและผลประโยชนสวนใหญตกอยูในชุมชน” Dixey (2005: 29) “การทองเที่ยวที่เปนเจาของและ/หรือจัดการโดยชุมชนที่การออกแบบให ประโยชนสวนใหญเปนของชุมชน แตชุมชนอาจจะเปนเจาของทรัพยสินเชน ที่พัก แตใหบุคคลภายนอก เชน บริษัทนำเที่ยวเขามาบริหาร ชุมชนอาจจะไมไดเปนเจาของทรัพยสินที่เปนฐานธุรกิจการทองเที่ยว (เชน ที่ดิน ที่ต้งัแคมปโครงสรางพื้นฐานภายในอุทยานแหงชาติอนุสาวรียแหงชาติ) แตเขาไปจัดการ และมีวัตถุประสงคที่ เปนประโยชนตอชุมชนอยางกวางขวาง” Goodwill and Santilli (2009: 12) “การทองเที่ยวที่บริหารและ/หรือจัดการ โดยชุมชนซึ่งมีเจตนา รมที่กอใหเกิดประโยชนตอชุมชน” Asker และคณะ (2010: 2) “เปนหนวยขนาดเล็กที่เกี่ยวของสัมพันธกันระหวางผูมาเยือนและชุมชน เจาของ โดยทั่วไป เหมาะกับพื้นที่ในชนบทและภูมิภาค การทองเท่ยีวโดยชุมชนเปนเขตที่เขาใจโดยทั่วไปวาถูก จัดการและเปนเจาของโดยชุมชนเพื่อชุมชน เปนรูปแบบของการทองเที่ยวในทองถิ่นที่ชื่นชอบตอการเสนอและ สนองการบริการในทองถิ่น และมุงเนนการสื่อความหมายและการสื่อสารวัฒนธรรมและสิ่งแวดลอมของ ทองถิ่น” Kibicho (2010: 212) “การกระจายอำนาจสูผูคนในทองถิ่นโดยกอใหเกิดโอกาสใน การจางงานดวย การเพิ่มรายไดและพัฒนาทักษะและองคกรของผูคนเหลานั้น”


11 Zapata และคณะ (2011:727) “รูปแบบขององคกรทางธุรกิจที่มีบริเวณในการจัดการทรัพยสินของ ชุมชนตามกิจกรรมที่มีความเสมอภาคกันมีการกระจายผลประโยชนที่เกิดขึ้นจากการใหบริการทองเที่ยว ดวย วัตถุประสงคเพื่อสนับสนุนการตอบสนองคุณภาพระหวางวัฒนธรรมกับนักทองเที่ยว” Salazar (2011: 10) “เปาหมายในการสรางการทองเที่ยวที่ยั่งยืนเพิ่มมากขึ้น มุงเนนใหชุมชนไดรับ การพัฒนาการทองเที่ยวทั้งในดานการวางแผนและบำรุงรักษา” Responsibletravel.com (2013) “การทองเที่ยวที่ชุมชนทองถิ่น (โดยทั่วไปจะเปนผูที่อาศัยอยูใน ชนบท ยากจน และมีความสำคัญทางเศรษฐกิจนอย) เชิญชวนใหนักทองเที่ยวไปเที่ยวในชุมชนดวยการ จัดเตรียมที่พักให” Kyrgyz CBT Association (2013) “กิจกรรมของการบริการทองเที่ยวทางธรรมชาติ แพ็คเก็จ ทองเที่ยวที่มีคุณคาโดยใชประโยชนดานที่พัก อาหาร ดนตรี ศิลปะ วัฒนธรรมและประเพณีของทองถิ่น” ธนาคารโลก (2013) “ การพัฒนาที่ขับเคลื่อนโดยชุมชนมีเปาหมายที่ใหผูมีสวนไดสวนเสียแสดงความ คิดเห็น เกี่ยวของตอการระบุความจำเปนของชุมชนเองและแนใจในการตัดสินใจ สงเสริมใหเกิดความ รับผิดชอบ และระดมผูที่เกี่ยวของใหเกิดการมีสวนรวมภายในชุมชน” ปจจัยสูความสำเร็จของการทองเที่ยวโดยชุมชนตองอาศัยการมีสวนรวมของภาคีที่เกี่ยวของ การยอมรับใน ความตางของผูมีสวนไดสวนเสีย สรางความเสมอภาพระหวางเพศ Asli S.A et all (2013) ไดสรุปหลักการการ ใชเครื่องมือการทองเที่ยวโดยชุมชนใหประสบความสำเร็จจากนักเขียนและหนวยงานที่เกี่ยวของ ดังนี้ ตารางที่1 แนวคิดหลักการความสำเร็จของการทองเท่ยีวโดยชุมชน นักเขียน หลักการความสำเร็จของการทองเที่ยวโดยชุมชน Dixey (2005) การเชื่อมตลาดกับบริษัททัวร ใกลชิดกับตลาดทองเที่ยว หาขอไดเปรียบในการแขงขัน การจัดการดานการเงิน การดแูลลูกคา การจูงใจชุมชน คุณภาพสินคา การลงทุนของชุมชน Hiwasaki (2006) ชุมชนทองถิ่น การมีสวนรวมในการติดสินใจ มีพันธมิตร สถาบันที่เขมแข็ง และเพิ่มการตระหนักรู G o o d w i n a n d Santilli (2009) ทุนและการกระจายอำนาจทางสังคม การพัฒนาเศรษฐกิจทองถิ่น วิถีชีวิต การอนุรักษ/สิ่งแวดลอม ความอยูรอดทางการคา


12 นักเขียน หลักการความสำเร็จของการทองเที่ยวโดยชุมชน การศกึษา ความรูสึกตอสถานที่ การทองเที่ยว การรวบรวมผลประโยชน Asker et all (2010) ชุมชนไดรับการจัดการและยึดเกาะกันเปนอยางดี สมาชิกชุมชนทั้งผูหญิง ผูชาย เยาวชน ควรเขาไปเกี่ยวของกับ กระบวนการตัดสินใจ และการจัดการดานการเงินของการทองเที่ยว โดยชุมชนอยางกวางขวาง เจาของที่ดินและทรัพยากรอื่นๆ มีความโปรงใสและไดรับการระบุ อยางชัดเจน ความปรารถนาจากลางขึ้นบนในชุมชนถูกสะทอนในการออกแบบสิ่ง อำนวยความสะดวก การตัดสินใจและโครงสรางการจัดการ การตดัสินใจสำหรับการมีสวนรวมโดยชุมชนถูกดำเนินการโดยชุมชน บนพื้นฐานของขอมูล ความเสี่ยง ผลกระทบ และผลประโยชนสูงสุด ระดับการมีสวนรวมสูง การขับเคลื่อนไมเพียงแตกอใหเกิดประโยชนอยางเดียวแตยังรวมถึง การอนุรักษทรัพยากรทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ และการเรียนรู วัฒนธรรมที่แตกตางกัน กิจกรรมไดรบัการสนับสนุนเครื่องมอืทางการตลาดที่ดี มีแผนที่เขมแข็งเพื่อขยาย และ/หรือจำกัดจำจวนนกัทองเที่ยวเพื่อให เกิดความสมดุลตอความสามารถตอการรองรับของชุมชนและ สิ่งแวดลอมเพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบทั้งสองดาน เปนพันธมิตรที่ดีกับ NGO ในทองถิ่นหนวยงานราชการตางๆ และ ผูสนับสนุนอื่นๆ มีแนวทางที่เหมาะสมกับเนื้อหาและทองถิ่นโดยไมนำมาจากบริบท อื่น การทองเที่ยวโดยชุมชนเปนกลยุทธหนึ่งของการพัฒนาชุมชนอยาง กวางขวาง เชื่อมตอการเรียนรูของนักทองเที่ยวตอคุณคาทางวัฒนธรรมและ ทรัพยากรท่มีอียู มีความชัดเจนดานพื้นที่สำหรับนักทองเที่ยวและพื้นที่ไมใช มีโครงสรางพื้นฐานที่ดีตอการเขาถึงผลิตภัณฑ Z ap at a e t a l l (2011) ตั้งอยูในชุมชน (เชน อยูในพื้นที่ของชุมชน หรือชุมชนไดประโยชน โดยการใหเชาพื้นที่ ชุมชนเปนเจาของอยางนอย 1 คน หรือมากกวา (ผูคนในทองถิ่นได ประโยชนอยางนอย 1 คน หรือมากกวา)


13 นักเขียน หลักการความสำเร็จของการทองเที่ยวโดยชุมชน สมาชิกของชุมชนเขามาจัดการ (สมาชิกของชุมชนมีอิทธิพลใน กระบวนการตัดสินใจขององคกร) ส ถ า บ ั น ก า ร ทองเที่ยวโดยชุมชน ประเทศไทย (2013) การพัฒนาฐานองคประกอบพื้นฐานของวิถีชีวิตทองถิ่น วัฒนธรรม ผูคน และธรรมชาติ ที่สมาชิกชุมชนรูสึกความภาคภูมิใจและเลือกที่ จะแบงปนกับผูมาเยือน ฝกอบรมผูคนในทองถิ่นเพื่อเตรียมการและสรางความเขมแข็งในการ จัดการการทองเที่ยว K y r g y z C B T a s s o c i a t i o n (2013) ขึ้นอยูกับการมีสวนรวมของภาคีที่เกี่ยวของในทองถิ่น ตองกระจายการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนทองถิ่นตลอดถึงการเพิ่ม รายไดจากการทองเท่ยีว สำหรับผลประโยชนบางอยางแตความจำเปนคือการสงเสริม ผลิตภัณฑและความเปนเจาของทองถิ่น ตองพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืนทั้งทางสังคมและและเศรษฐกิจ S i l v a a n d Wim al ar ata n a (2013) ไมปฏิเสธบทบาทชุมชนในการแบงปนตนทุนผลประโยชน การใหคำปรึกษาชุมชนดานการทองเที่ยวสัมพันธตอขอกฎหมายและ การวางแผน การดำเนินโครงการควรไดรับการบยอมรับและอนุญาตจากชุมชน ชุมชนริเริ่ม เปนเจาของ และจัดการโครงการ โครงการที่สามารถวัดผลทางเศรษฐกิจและสรางความเขมแข็งตอ ระบบนิเวศ กระจายตนทุนและกำไรตอผูมีสวนไดสวนเสยีอยางเปนธรรม มีการรวมตัวกันของสถาบัน/องคกรและมีการพัฒนาสิ่งแวดลอมท่ดีี ทุกกิจกรรมสามารถตรวจสอบไดและมีความโปรงใส W o r l d B a n k (2013) แนใจถึงการมีสวนรวมในทุกระดับและหลีกเลี่ยงจากการกีดกันกลุม เล็กๆ ที่ไมสำคัญ รักษาไวซึ่งสิทธิพิเศษการมากอนของชุมชน มีการสนทนาระหวางชุมชนกับรัฐบาลทองถิ่น มั่นใจวาสื่อกลางไดรับการจัดที่สามารถอธิบายไดตอกลุมในชุมชน ทองถิ่น กำหนดความตองการ สนับสนุนการกำหนดนโยบายที่ที่จำเปนตอความสำเร็จของโครงการ ที่ไดรับภายใตการขับเคลื่อนของชุมชน ที่มา: Asli S.A et all (2013)


14 2. การประเมินการทองเที่ยวโดยชุมชน พจนา และสมภพ (2556) ไดเสนอตัวชี้วัดในการประเมินมาตรฐานแหลงทองเที่ยวโดยชุมชน ไวในคูมือมาตรฐานการทองเที่ยวโดยชุมชน ซึ่งมีองคประกอบ 5 ดาน ดังนี้ 1. การจัดการอยางยั่งยืนของการทองเที่ยวโดยชุมชน มี 6 ตัวชี้วัด 1.1 ระบบการบริหารจัดการโดยชุมชนแบบบูรณาการทั้ง 8 ดาน ไดแก 1) ทรัพยากรธรรมชาติ 2) วัฒนธรรม 3) สุขภาพ/สุขอนามัย 4) ความปลอดภัย 5) คน/สังคม 6) ผลประโยชน 7) คุณภาพการบริการ 8) การตลาด 1.2 การมีสวนรวมของสมาชิกกลุมและชุมชน 1.3 การเสริมศักยภาพของคนในกลุมและชุมชน 1.4 ระบบประเมินความพึงพอใจของนักทองเที่ยว กลุมทองเที่ยวและชุมชนที่ ครอบคลุมทั้ง8 ดาน 1.5 การปฏิบัติตามกฎระเบียบของคนในชุมชนและนักทองเที่ยว 1.6 การตลาดและประชาสัมพันธอยางรับผิดชอบ 2. การกระจายผลประโยชนสูทองถิ่น สังคมและคุณภาพชีวิตมี 3 ตัวชี้วัด 2.1 สนับสนุนการพัฒนาชุมชน 2.2 กระจายรายไดอยางเปนธรรมและสรางโอกาสในการมีรายไดเสรมิ 2.3 การใหเกียรติดานสิทธิมนุษยชนและศักดิ์ศรคีวามเปนมนุษย 3. ดานการอนุรักษและสงเสริมมรดกทางวัฒนธรรมมี 4 ตัวชี้วัด 3.1 กลุมทองเที่ยวมีขอมูลและความรเูกี่ยวกับวัฒนธรรมและวิถีชีวิตในทองถิ่น 3.2 มีการถายทอดขอมูลทางวัฒนธรรมและวิถีชีวิตจากคนภายในสูคนภายนอก และการถายทอดภายในชุมชนดวยกันเอง 3.3 มีกฎ กติกา และแนวทางปฏิบัติเพื่อการเคารพและปกปองวัฒนธรรมของคน ทองถิ่น และใหเกียรติวัฒนธรรมแขกผูมาเยือน 3.4 กลุมทองเที่ยวมีการสงเสริมการอนุรักษ ฟนฟู และสืบทอดวัฒนธรรม 4. ดานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมี 9 ตัวชี้วัด 4.1 กลุมทองเที่ยวมีฐานขอมูลดานทรัพยากรและการใหการศึกษา 4.2 มีการออกแบบกิจกรรมทองเที่ยวที่คำนึงถึงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน 4.3 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน และการอนุรักษ ความหลากหลายทางชีวภาพ 4.4 การจัดการขยะชุมชน/แหลงทองเที่ยว 4.5 การจัดการทรัพยากรน้ำและน้ำเสีย 4.6 การจัดการเสียงรบกวน 4.7 การจัดการดานพลังงาน 4.8 ผลิตภัณฑที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม


15 4.9 อาคารสิ่งปลูกสราง 5. ดานการบริการและความปลอดภัยของการทองเที่ยวโดยชุมชนมี 7 ตัวชี้วัด 5.1 กิจกรรมการทองเที่ยวมีความชัดเจน ปลอดภัย ความเหมาะสมกับสภาพชุมชน กลุมเปาหมาย และชวงเวลา 5.2 ที่พัก 5.3 ยานพาหนะและการเดินทาง 5.4 นักสื่อความหมายทองถิ่น 5.5 เจาของบาน 5.6 การตดิตอประสานงาน 5.7 ความปลอดภัย นราวดี และคณะ (2557) จากการศึกษาแนวทางการพัฒนาการทองเที่ยวที่เหมาะสมกับการทองเที่ยว โดยชุมชน 5 จังหวัดชายแดนภาคใตสูอาเซียน ไดกำหนดเกณฑมาตรฐานการทองเที่ยวโดยชุมชน 7 ดาน ประกอบดวย 1) แนวคิด เปาหมายการจัดการทองเที่ยวโดยชุมชน จำนวน 2) การอนุรกัษทรัพยากรธรรมชาติ 3) การอนุรักษวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต 4) การบริหารจัดการอยางยั่งยืน 5) การบริการทองเที่ยว 6) ความ ปลอดภัยของนักทองเที่ยว และ 7) การประชาสัมพันธและการตลาด และแบงการจัดการออกเปน 3 ระดับ คือ (1) ตองมีมาตรฐาน ซึ่งเปนสิ่งจำเปนขาดไมได หมายถึงเปนตัวชี้วัดที่ชุมชนจัดการทองเที่ยวตองมีขาด ไมได ประกอบดวย 29 เกณฑมาตรฐาน (2) มาตรฐานที่ชุมชนจัดการทองเที่ยวควรจะมี หมายถึงถามีมาตรฐาน ดังกลาวจะชวยใหชุมชนเปนที่นาสนใจมากยิ่งขึ้น ประกอบดวย 27 เกณฑมาตรฐาน และ (3) เกณฑมาตรฐาน ชุมชนจะมีหรือไมมีก็ได ขึ้นอยูกับความพรอมของชุมชน ประกอบดวย 4 เกณฑมาตรฐาน ซึ่งรวมทั้งสิ้น 60 เกณฑมาตรฐาน อำนาจ และคณะ (2560) จากการประเมินศักยภาพแหลงทองเที่ยวโดยชุมชนที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม จังหวัดสุราษฎรธานี ซึ่งกำหนดตัวชี้วัดในการประเมินดังนี้ 1) ปจจัยดานความเปนธรรมชาติและ การพัฒนาพื้นที่ จำนวน 3 ตัวชี้วัด ประกอบดวย 1.1) ความยากงายในการเขาถึงแหลงทองเที่ยวโดยชุมชนที่ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม 1.2) ระดับความเปนธรรมชาติและรูปลักษณการพัฒนาแหลงทองเที่ยวโดยชุมชนที่ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม 1.3) วัตถุประสงคของสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อการทองเที่ยวโดยชุมชนที่เปนมิตร กับสิ่งแวดลอม 2) ปจจัยดานลักษณะประสบการณที่นักทองเที่ยวไดรับ จำนวน 2 ตัวชี้วัด ประกอบดวย 2.1) ระดับการพึ่งพาตัวเองในแหลงทองเที่ยวโดยชุมชน 2.2) ระดับการควบคุมนักทองเที่ยว /ควบคุมกิจกรรมการ ใชประโยชนดานการทองเที่ยว โดยชุมชนที่ดูแลรับผิดชอบพื้นที่ 3) ปจจัยดานความโดดเดนดานทรัพยากร จำนวน 6 ตัวชี้วัด ประกอบดวย 3.1) ความมีเอกลักษณเฉพาะถิ่นและดึงดูดใจ 3.2) ทัศนียภาพและสภาพภูมิ ทัศนของทรัพยากรทองเที่ยว 3.3) รูปแบบกิจกรรมมีความเหมาะสมและสัมพันธกับสภาพพื้นที่ 3.4) ความ หลากหลายของกิจกรรม 3.5) สภาพภูมิอากาศเหมาะสมกับพื้นที่ 3.6) โอกาสในการไดรับประสบการณ ตื่นเตนและ ทาทาย 4) ปจจัยดานการจัดการสิ่งอำนวยความสะดวก บรกิาร และการสื่อความหมาย จำนวน 7 ตัวชี้วัด ประกอบดวย 4.1) ความกลมกลืนของสิ่งอำนวยความสะดวก 4.2) ความเพียงพอของสิ่งอำนวยความ สะดวก 4.3) คณุภาพสิ่งอำนวยความสะดวกดานประโยชนใชสอย 4.4) ที่นอน และอุปกรณขั้นพื้นฐาน 4.5) บริเวณบานพักและสภาพบานพัก 4.6) คุณภาพในการใหบริการ 4.7) รูปแบบ เนื้อหา ความรูและวิธีการสื่อ


16 ความหมาย 5) ปจจัยดานการจัดการผลกระทบสิ่งแวดลอม จำนวน 5 ตัวชี้วัด ประกอบดวย 5.1) การ จัดแบงเขตพื้นที่เหมาะสมตอการทองเที่ยว (Zoning) 5.2) การกำหนดจำนวนนักทองเที่ยวในการประกอบ กิจกรรม (CC) 5.3) มาตรการเฝาระวังและปองกันผลกระทบสิ่งแวดลอม 5.4) การจัดการขยะและของเสีย 5.5) ผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม 6) ปจจัยดานการมีสวนรวมของชุมชน จำนวน 4 ตัวชี้วัด ประกอบดวย 6.1) โอกาสในการเขารวมดำเนินการและตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการการทองเที่ยว 6.2) การมี สวนรวมในการไดรับผลประโยชน 6.3) การใหความสำคัญกับเด็กและเยาวชนใหเขารวมกิจกรรมการทองเที่ยว โดยชุมชนที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม 6.4) การทำงานรวมกับภาคีเครือขายตางๆ 7) ปจจัยดานการบริหาร จัดการองคกรชุมชน จำนวน 7 ตัวชี้วัด ประกอบดวย 7.1) ขอควรปฏิบัติสำหรับนักทองเที่ยว 7.2) โครงสราง องคกร และทะเบียนประวัติขอมูลสมาชิกที่เปนปจจุบัน 7.3) ศักยภาพ ความรู และทักษะที่จำเปนตอการ พัฒนาการทองเที่ยวที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม 7.4) ระบบบริหารจัดการรายไดอยางเปนธรรมและสนับสนุนการ พัฒนาชุมชน 7.5) การตลาดและประชาสัมพันธที่เหมาะสมกับการทองเที่ยวโดยชุมชนที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม 7.6) ระบบการประเมินและติดตามผลความพึงพอใจในการบริการดานการทองเที่ยวโดยชุมชนท่ี เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม 3. หลักการพัฒนาและบริหารจัดการการทองเที่ยวอยางยั่งยืน การพัฒนาการทองเที่ยวแบบยั่งยืนเปนแนวคิดสากล ที่ไดรับการยอมรับจากทุกประเทศ ทั้งองคการ สหประชาชาติองคการสากลที่เกี่ยวของกับการอนุรักษและองคการดานการทองเที่ยวระดับโลก และระดับ ภูมิภาคตาง ๆ ทั้งนี้องคการการทองเที่ยวโลก หรือ World Tourism Organization ไดใหความหมายของการ ทองเที่ยวแบบยั่งยืนวาเปน “การทองเที่ยวที่สนองความตองการของนักทองเที่ยว และผูเปนเจาของแหลง ทองเที่ยว โดยเนนการจัดการทรัพยากร และสิ่งแวดลอม เพื่อใหสามารถรักษาความมั่นคงของระบบนิเวศ รวมทั้งวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของทองถิ่น เพื่อเอื้อใหสามารถใชประโยชนทั้งในปจจุบันและอนาคต” (WTO, 1997) ทั้งนี้หลักการของการทองเที่ยวอยางยั่งยืนดังที่กลาวขางตน มุงใหเกิดผลลัพธที่เปนเปาหมายสำคัญใน การพัฒนาและบริหารจัดการ 3 ประการ คือ 1) คุณภาพและความยั่งยืนของสิ่งแวดลอม 2) คุณภาพของ ประสบการณการทองเที่ยว และ 3) การมีสวนรวมและคุณภาพชีวิตของประชาชนทองถิ่น ดังนั้นจะเห็นวาสิ่งแวดลอมทั้งทางธรรมชาติและ /หรือสังคมวัฒนธรรม ซึ่งเปนทรัพยากรฐานของการ พัฒนาและการใหบริการ หากไดรบัการดูแลรักษาและจัดการใหมีคุณภาพและคงไวอยางตอเนื่อง ก็จะสามารถ เอื้อใหผูมาเยือนไดรับประสบการณที่มีคุณภาพหรือมีคุณคาตามที่คาดหวังไวและที่สำคัญจะเปนสิ่งดึงดูดใหมี นักทองเที่ยวทั้งหนาใหมและหนาเกามาเยือนแหลงทองเที่ยวอยางสมำ่เสมอ ทำใหเจาของแหลงทองเที่ยวและ / หรือชุมชนทองถิ่นไดรับประโยชนทั้งทางตรงและทางออม สามารถไดผลตอบแทนหรือยกระดับคุณภาพชีวิตให ดีขึ้นตามไปดวย แตการที่สิ่งแวดลอมหรือทรัพยากรทองเที่ยวจะมีคุณภาพและยั่งยืนไดเจาของแหลงทองเที่ยว และ /หรือชุมชนทองถิ่น จะตองมีพันธะในการดูแลรักษาและจัดการสิ่งแวดลอมเปนอยางดีรวมทั้งมีการ จัดการผลิตภัณฑ (กิจกรรม) และการบริการใหไดคุณภาพมาตรฐาน และสอดคลองกับความคาดหวังหรือ ความตองการของผูมาเยือน โดยมีเงื่อนไขวาปริมาณของผูมาเยือน และความตองการจะตองไมเกินขีด ความสามารถรองรบั ไดของส่งิแวดลอมหรือทรัพยากรทองเที่ยว (ดรรชนี, 2546)


17 โดยสรุป การทองเที่ยวแบบยั่งยืน เปนแนวคิดและหลักการการพัฒนาการทองเที่ยวที่ถูกนำไป ประยุกตในการวางแผนและการพัฒนาการทองเที่ยวทุกรูปแบบ เนื่องจากเปาหมายของการทองเที่ยวแบบ ยั่งยืน เนนการพัฒนาดานคุณภาพและความยั่งยืนของสิ่งแวดลอม คุณภาพของประสบการณการทองเที่ยว และคุณภาพชีวิตของประชาชนทองถิ่น จากแนวคิด หลักการและเปาหมายของการทองเที่ยวแบบยั่งยืน ชี้ใหเห็นวา การพัฒนาและบริหาร จัดการการทองเที่ยว โดยเฉพาะอยางยิ่ง ที่จะนำไปสูความยั่งยืนทั้งในดานสิ่งแวดลอม สังคม วัฒนธรรม และ เศรษฐกิจของแหลงทองเที่ยวและบริเวณโดยรอบ มีปจจัยที่เกี่ยวของหลายประการ ไมวาแหลงทองเที่ยวนั้น จะพัฒนาและบริหารจัดการใหเปนการทองเที่ยวในรูปแบบใดก็ตาม ซึ่งโดยทั่วไปแลว การพัฒนาและบริหาร จัดการ การทองเที่ยวที่ยั่งยืน จะตองพิจารณาปจจัยตาง ๆ อยางเปนระบบ โดยระบบการทองเที่ยวจะมี องคประกอบที่สำคัญอยู 4 ดานหลัก (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2549 และจิตศกัดิ์, 2545) ดังนี้ แหลงทองเท่ยีวและทรัพยากรทองเที่ยว ส่งิอำนวยความสะดวก การบริการ และการสื่อ การจัดการผลกระทบสิ่งแวดลอม และ การมีสวนรวมของประชาชนทองถิ่น 3.1 แหลงทองเที่ยวและทรัพยากรทองเที่ยว องคประกอบหลักของระบบนิเวศที่สมบูรณ หรือวิถีชีวิต วัฒนธรรมดั้งเดิมที่เกี่ยวของกับ ระบบนิเวศภายในแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ รวมทั้งการจัดรูปแบบกิจกรรมใหมีความสอดคลองกับ ศักยภาพของพื้นที่และประสบการณนันทนาการ ยอมสะทอนความเปนเอกลักษณและดึงดูดใจตอผูมาเยือน นอกจากนี้ความแตกตางทางกายภาพของทรัพยากรทองเที่ยวยังสามารถจำแนกรูปแบบการทองเที่ยวได โดย พิจารณาจากกรอบการศึกษา ดังน้ี 1) ความมีเอกลักษณเฉพาะถิ่นและความดึงดูดใจ ดานนิเวศวิทยาและลักษณะเดน แปลกตาทางดานกายภาพ หรือภูมิลักษณที่เกิดจากปรากฏการณทางดานธรณีวิทยา หรือสภาพทางกายภาพ ดานอื่น ๆ รวมถึงความมีเอกลักษณเฉพาะตัวทางดานวัฒนธรรมของพื้นที่ ซึ่งมีลักษณะเปนชุมชนดั้งเดิมที่ อาศัยอยูในพื้นที่ธรรมชาติ และยังคงรักษาวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีดั้งเดิมของพื้นที่ 2) ความอุดมสมบูรณของชีวภาพทั้งสัตวปาและพันธุพืช มีความอุดมสมบูรณและมี ความหลากหลายของพันธุสูง ถูกบุกรุกรบกวนนอย และยังคงสภาพความเปนธรรมชาติดั้งเดิม 3) รูปแบบกิจกรรมมีความเหมาะสมสัมพันธกับสภาพพื้นที่ มีการจัดการรูปแบบ กิจกรรมการทองเที่ยวใหมีความสัมพันธและสอดคลองกับศักยภาพของพื้นที่ โดยคำนึงถึงประสบการณ นันทนาการที่นักทองเที่ยวจะไดรบัและพื้นที่เอื้อใหสามารถประกอบกิจกรรมทองเที่ยวที่หลากหลาย 4) ศักยภาพในการเขาถึง ความใกล ไกล จากถนนสายหลัก รอง คุณภาพของ เสนทางความสะดวกและปลอดภัย สภาพเสนทางเหมาะสมกับสภาพแวดลอมในพื้นที่ มีการจัดปายบอกทาง ชัดเจน มีพาหนะประจำทาง โดยมีเวลาที่แนนอน 3.2 สิ่งอำนวยความสะดวก การบริการ และการสื่อความหมาย แหลงทองเที่ยวทุกประเภท จำเปนตองจัดใหมีสิ่งอำนวยความสะดวกรองรับการทองเที่ยว แตจะมีมากหรือนอยขึ้นอยูกับรูปแบบการทองเที่ยวและกิจกรรมหรือผลิตภัณฑการทองเที่ยว ที่จะพัฒนาให


18 เกิดขึ้นและขึ้นอยูกับขีดความสามารถการรองรับไดของสภาพแวดลอม สังคมและวัฒนธรรม ทองถิ่น แต โดยทั่วไปหลักการที่ใชในการพิจารณาเกี่ยวกับสิ่งอำนวยความสะดวกและการบริการมีกรอบดังนี้ 1) สิ่งอำนวยความสะดวกตาง ๆ จะตองมีความกลมกลืนกับสภาพภูมิทัศนเดมิ และ / หรือ สถาปตยกรรมพื้นถิ่น มีการใชน้ำและพลังงานแบบประหยัดและไมกอใหเกิดผลกระทบตอสภาพแวดลอม ปจจุบัน การออกแบบและพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวก จะยึดแนวคิดความเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม (environmentally friendly concept) เปนบรรทัดฐาน 2) ผลิตภัณฑหรือกิจกรรมทองเที่ยว ที่จะจัดบริการ ควรเปนกิจกรรมที่เปดใหผูมา เยือนไดใกลชิดกับทรัพยากรทองเที่ยว และมีโอกาสไดศึกษาเรียนรูเพื่อใหเกิดความเขาใจและตระหนักถึง คุณคาของแหลงและทรัพยากรทองเที่ยว 3) ระดับของการพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวก เชน การเขาถึงแหลง ที่พัก อาหาร ฯลฯ ควรกระทำภายใตกรอบวัตถุประสงค / เปาหมายของเจาของพื้นที่ แตตองสอดคลองกับรูปแบบการ ทองเที่ยวและขีดความสามารถการรองรบั ไดทุกดานของพื้นที่ 4) การใหบริการความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน เปนสิ่งจำเปนที่จะตองคำนึงถึง อยูเสมอ โดยเฉพาะระหวางที่นักทองเที่ยวพำนักอยูในพื้นที่ จึงตองมีการกำหนดกฎระเบียบและการบังคับใช ควบคูไปกับมาตรการอื่น ๆ 5) ขอมูลและการสื่อความหมาย เปนบริการที่จะขาดเสียมิไดทั้งนี้เพื่อเปดโอกาสให ผูมาเยือนไดเรียนรูเขาใจและตระหนัก เกี่ยวกับพื้นที่และทรัพยากร โดยเฉพาะ การจัดใหมีศูนยบริการ นักทองเที่ยวและมัคคุเทศกทองถิ่นนำเที่ยวและใหความรู 3.3 การจัดการผลกระทบสิ่งแวดลอม องคประกอบสำคัญที่เปนรากฐานของการพัฒนาการทองเที่ยวแบบยั่งยืน คือ ตัวแหลงและ ทรัพยากรทองเที่ยว เปาหมายที่เปนหัวใจหลักขององคประกอบนี้จะเนนที่คุณภาพและความยั่งยืนเปนสำคัญ ไมวาทรัพยากรทองเที่ยวจะเปนธรรมชาติวัฒนธรรม หรือวิถีชีวิตของชุมชนทองถิ่น ดังนั้น การดำเนินงานที่ เกี่ยวของกับการพัฒนาและบริหารจัดการจึงตองพิจารณาถึงกิจกรรมหลัก ๆ ดังตอไปนี้ 1) การประเมนิศักยภาพ ของทรัพยากรทองเที่ยวทุกประเภทของพื้นที่ เพื่อใหทราบ และตระหนักถึงคณุคาความสำคัญและขอจำกัดในการท่จีะนำมาใชประโยชน 2) การจำแนกเขตทองเที่ยว เพื่อนำไปสูการกำหนดมาตรการหรือเงื่อนไขของการ พัฒนาและการอนุรักษที่สะทอนถึงศกัยภาพ โอกาส และขอจำกัดของสิ่งแวดลอมและทรัพยากรทองเที่ยว 3) การกำหนดขีดความสามารถรองรับ การพัฒนาและการใชประโยชนเพื่อการ ทองเที่ยว ตั้งแตเรื่องสิ่งอำนวยความสะดวกประเภทตาง ๆ สภาพแวดลอมทางชีวกายภาพและดานสังคม จิตวิทยา 4) การบำรุงรักษาสภาพแวดลอม ของตัวแหลงและทรัพยากรทองเที่ยวที่มีคุณคา ความสำคัญและเปนสิ่งดึงดูดใหเกิดการทองเที่ยวในพื้นที่อยางสม่ำเสมอ ทั้งโดยใชมาตรการควบคุม และ การ ฟนฟูดวยวิธีการตาง ๆ 5) การควบคุมผลกระทบ อันเกิดจากการพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกและ พฤติกรรมการใชประโยชนของนักทองเที่ยว 3.4 การมีสวนรวมของประชาชนทองถิ่น เปนการศึกษาและวิเคราะหแหลงทองเที่ยวที่คำนึงถึงการมีสวนรวมของชุมชนประชาชน ทองถิ่น องคกร หนวยงานภายใน และภายนอกชุมที่เกี่ยวของ(Involvement of local community or


19 People participation) ที่มีสวนรวมเกือบตลอดกระบวนการ เพื่อกอใหเกิดผลประโยชนตอทองถิ่น (Local benefit) โดยประโยชนตอทองถิ่นที่ไดหมายความรวมถึงการกระจายรายได การยกระดับคุณภาพชีวิต และ การไดรบัผลตอบแทน เพื่อกลับมาบำรุงรักษาและจัดการแหลงทองเท่ยีวดวย และในที่สุดแลวทองถิ่นมีสวนใน การควบคุมการพัฒนาการทองเที่ยวอยางมีคุณภาพ ทองถิ่นในที่นี้เริ่มตนจากระดับประชาชนจนถึงการ ปกครองทองถิ่น และอาจรวมการมีสวนรวมของผูที่เกี่ยวของ ซึ่งถือวาเปนองคประกอบหรือกลไกสำคญัยิ่งที่จะ ทำใหวัตถุประสงคของการพัฒนาการทองเท่ยีวประสบความสำเร็จ โดย มีปจจัยที่เกี่ยวของดังน้ี 1) การมีสวนรวมของทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ การทองเที่ยวเปนอุตสาหกรรมที่มี ขอบเขตกวางขวาง และมีผูเกี่ยวของหลายกลุม อาทิเชน เจาของแหลงทองเที่ยว นักทองเที่ยว ผูประกอบการ กลุมตาง ๆ และองคกรภาครัฐและภาคเอกชน ดังนั้น รูปแบบการบริหารจัดการจะตองเปนระบบเปดทั้งใน เรื่องขอมูลขาวสาร การปรึกษาหารือและการประสานงาน โดยเฉพาะอยางยิ่ง ชุมชนทองถิ่น ควรไดรับโอกาส มีสวนรวมในทุกขั้นตอน 2) การกระจายประโยชนอยางเปนธรรม นอกจากจะเปดใหทุกกลุมมีสวนรวม รับผิดชอบแลว จะตองมีการกระจายประโยชนทั้งทางตรงและทางออม แกผูเกี่ยวของอยางเปนธรรม ชุมชน ทองถิ่น ก็ควรไดรับประโยชนตามระดับของการมีสวนรวมทั้งนี้เพื่อเปนการยกระดับคุณภาพชีวิตใหสูงขึ้น โดยสรุป การศึกษาสถานภาพแหลงทองเที่ยว เพื่อการพัฒนาในทิศทางที่ยั่งยืนจะตองยึด กรอบหลักการการทองเที่ยวอยางยั่งยืน ที่มีองคประกอบ 4 ประการหลัก ไดแก องคประกอบดานแหลง ทองเที่ยวและทรัพยากร ดานสิ่งอำนวยความสะดวก การบริการ และการสื่อความหมาย ดานการจัดการ ผลกระทบสิ่งแวดลอม และดานการมีสวนรวมของประชาชนทองถิ่น 4. องคกรชุมชนและการพัฒนาเครือขาย กาญจนา (2540) องคกรชุมชน หมายถึง การจัดระบบรูปแบบ ความสัมพันธของคนในชุมชน เพื่อดำเนินภารกิจตางๆ ใหลุลวง องคกรชุมชนนี้มีลักษณะเปนสถาบันที่บรรพบุรษุไทยไดสรางสรรคขึ้นมา เพื่อ ทำหนาที่สืบทอดชีวิตของชุมชนทั้งทางดานกายภาพ ดานเศรษฐกิจ การเมือง สงัคม และวัฒนธรรม ใหยืนยาว ตลอดมาในประวัติศาสตร โดยขั้นตอนของการพัฒนาองคกรชุมชน ประกอบดวย 1. ขั้นกอรางสรางกลุม 1.1 ขั้นการวิเคราะหชุมชน : คุณลักษณะประการหนึ่งของการพัฒนาแบบ “จาก ลางขึ้นบน” คือ สมาชิกทุกคนจะตองมีสวนรวมตั้งแตขั้นตอนแรกของการวิเคราะหชุมชน ผลที่ตองการคือ เพิ่ม พลังความรูของชาวบานในการจัดลำดับความสำคัญของปญหา มองสาเหตุหลัก-รอง-รวม ตรวจสอบสาเหตุที่ แทจริง 1.2 ขั้นการแสวงหาทางเลือกเพื่อทำกิจกรรม : ระดมความคิด การเลือกดำเนิน กิจกรรมขององคกรชุมชน ตองสรางความถวงดุลระหวางกิจกรรม เชน กิจกรรมเศรษฐกิจ ใหประโยชนดาน การพัฒนาความเปนอยู แตเปนการกระตุนกิเลศ ความโลภ จำเปนตองสรางสมดุลดวยกิจกรรมทางวัฒนธรรม ที่เนนการแบงปน 2. ขั้นลงมือปฏิบัติ การลองผิดลองถูก : หากชาวบานมีสวนรวมในการกระทำก็มีโอกาสจะมี สวนรวมรับผิดชอบในการกระทำนั้นเชนกัน 3. ขั้นขยายตัว : สรางเครอืขาย 4. ขั้นพลังคอืสามัคคี: รูปแบบของการระดมความรวมมือ การตอรอง


20 ขั้นตอนพัฒนาองคกรชุมชน : เปรียบเสมือนเวทีฝกซอมความสามารถในการจัดการของชาวบาน หาก มีการขามขั้นตอนอาจไมยั่งยืน นอกจากนี้กาญจนา (2540) กลาวถึง กลยุทธเกี่ยวกับการจดัการและการพัฒนา โครงสรางองคกร ดังนี้ 1. การกระจายตัว : การกระจายงานและความรับผิดชอบออกไปเปนชั้นๆ ในระดับตางๆ อันเปนรูปแบบโครงสรางที่สอดคลองกับสภาพชีวิตที่เปนจริงของชาวบาน ซึ่งไมไดมีเวลาวางมากมาย (ตองใช เวลาสวนใหญทำมาหากิน) อยางไรก็ตามในลักษณะการจัดโครงสรางใหทุกระดับ มีหัวหมุด (ตัวแทนจากระดับ ลางขึ้นมาเปนกรรมการในระดับบน) โครงสรางแบบนี้จะเอื้ออำนวยการตอการมีสวนรวม การไหลเวียนอยาง ทั่วถึงของขาวสาร การติดตามผลและการกำกับดูแลอยางทั่วถงึทั้งองคกร 2. การมีสวนรวมอยางเต็มที่: ชาวบานมีสวนรวมทุกขั้นตอนทุกองคประกอบ ทั้งนี้กลยุทธเกี่ยวกับการจัดการและพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดยการพัฒนาความรู เปน พื้นฐานของการพัฒนาบุคลากร (แผนพัฒนาฯ ฉบับที่8 : พัฒนาแบบถือคนเปนศนูยกลาง) ภาพที่ 1 แนวคิดการพัฒนาบุคลากร เสยีสละ รับผิดชอบ ตัวคน (ตัวอยาง) จิตสำนึก (ตัวอยาง) ความสามารถ (ตัวอยาง) การตลาด ทักษะการผลิต ทำงานองคกร ตอรอง จัดการความ ขัดแยง ซื่อสัตย รักษาวินยั มีศิลธรรม มิติของการพัฒนาคน


21 มานะและวิเชียร (มปป.) อางโดย กาญจนา (2540) ไดศึกษากรณีตัวอยาง องคกรชุมชนหนึ่งๆ ได ขยายเครือขายออกเปนระดับตางๆ คือ ระดับชุมชนหมูบาน ระดับชุมชน และระดับภาค ภาพที่ 2 แนวคิดการขยายเครือขายในระดับตางๆ ซึ่งผูนำหลายคนปรารภวาเมื่อตองทำงานระดับกวางมาก ทำใหไมมีเวลาพัฒนาชุมชน หมูบานตัวเอง ดังนั้นจำเปนตองทำกลุมยอยใหเขมแข็ง กลยุทธที่ตองนำมาใช คือ นโยบายเดินสองขาอยางสมดุล คือ ขณะ ขยายตัวออกนอก ตองไมล ืมพัฒนาหนวยยอยใหเข็มแข็งทุกดาน คือ ความเขาใจของสมาชิก การบริหารเงินทุน การจดัระบบแบงงาน นอกจากนี้เกณฑบางประการที่ใหภาพของความเข็มแข็งขององคกรชุมชนจากการนำเอาทัศนะของ นพ.ประเวศวสี, (2536) มาประยุกตเขากับองคประกอบตางๆ ขององคกรชุมชน ปรากฏวา 1. ตัวบุคคล/ทุนมนุษย : องคกรที่เขมแข็งขึ้น คือ องคกรที่จำนวนสมาชิก เพิ่มมากขึ้นในมิติ ของปจจุบัน และจะมีการสืบทอดสมาชิกใหมในมิติของอนาคต (เชิงปริมาณ) สวนมิติเชิงคุณภาพ คือ ความสามารถ ทักษะ ความรู และความคิด 2. ปริมาณและคุณภาพของกิจกรรม : ตองมลีักษณะตอเนื่องสอดรับกันเปนตาขาย 3. ปริมาณและคุณภาพของทุนสิ่งของและสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ : จากการเพิ่มของ ทุน เชน ปาธรรมชาติเพิ่มขึ้น สวนมิติดานคุณภาพ คือ ความยนืยงของทนุท้งัสอง 4. ทุนเพื่อน / เครือขาย : ดานปริมาณ คอืมีเครือขายกวางขวาง / เพิ่มแคไหน สวนดาน คุณภาพ คือ ความหลากหลายของเครือขาย 5. สถานภาพขององคกรชุมชน : ใชเกณฑอางอิงจากภายนอก คือ การประเมินจากกลุม ภายนอกที่เกี่ยวของวาไดใหการยอมรับ องคกรชุมชนนั้นมากนอยเพียงใด ระดับชุมชนหมูบาน รวมกิจกรรมทุกอยาง ระดับชมรม รวมบางกิจกรรม ระดับภาค รวมระดับการเรียนรู การสรางอำนาจตัวเอง กิจกรรมในแตละระดับของเครือขาย


22 5. สถานการณแหลงทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร จากการติดตามสถานการณแหลงทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพรทั้งสิ้น 51 แหง จากผล การศึกษาของอำนาจ และคณะ (2564) รวมกับคณะกรรมการสมาคมการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร ควบคูกับการกำหนดแหลงทองเที่ยวโดยชุมชนเพื่อจำแนกระดับชุมชน โดยพิจารณาจากศักยภาพ ความพรอม ในการรองรับนักทองเท่ยีว พัฒนาการ การบริหารจัดการและการเขารวมเปนชุมชน สมาชิกเครือขายฯ องคกร/ ทั้งเกาและใหม พบวา แหลงทองเที่ยวโดยชุมชนภายในจังหวัดชุมพรและจังหวัดระนอง ซึ่งเปนสมาชิกทั้งเกา และใหม จำนวน 51 แหง มี 38 แหงที่เอื้อตอการพัฒนาการทองเที่ยวโดยชุมชน โดยแบงเปนชุมชนระดับ 5 หมายถึง ชุมชนที่มีการรวมกลุมมีรูปแบบการบริหารจัดการ และกิจกรรมทองเที่ยวอยางตอเนื่อง จำนวน 16 ชุมชน/องคกร ระดับ 4 หมายถึง ชุมชนเพิ่งเริ่มตน มีการทำงานเตรียมความพรอม มีประสบการณรับ นักทองเที่ยวบางแตนอย จำนวน 4 ชุมชน/องคกร ระดับ 3 หมายถึง ชุมชนเพิ่งเริ่มตน มีการเตรียมความ พรอม แตยังไมมีนักทองเที่ยว หรอืมีนักทองเที่ยวนอยมาก จำนวน 12 ชุมชน/องคกร ระดับ 2 หมายถึง ชุมชน สนใจทำ แตยังไมริเริ่มดำเนินการดานการทองเที่ยว จำนวน 6 ชุมชน/องคกร และชุมชนระดับ 1 หมายถึง ทำ ไปแลวระดับหนึ่ง แลวชะลอ หรือระงับ หรือขาดการเปนสมาชิกภาพ หรือจากเหตุปจจัยอื่นๆ จำนวน 12 ชุมชน/องคกร ซึ่งหากพิจารณาจากชุมชนที่มีศักยภาพและความพรอมรองรับนักทองเที่ยว รวมถึงชุมชนที่มี การรวมกลุม และมีกิจกรรมทองเที่ยวอยางตอเนื่อง จำนวน 16 ชุมชน/แหง ประกอบดวย 1) ศูนยการเรียนรู ตามศาสตรพระราชา :ภายในโครงการพัฒนาพื้นที่แกมลิงหนองใหญตามแนวพระราชดำริ อำเภอเมือง 2) ชุมชนบานทองตมใหญ : โฮมสเตยทองตมใหญ อำเภอสวี 3) ชุมชนบานเกาะพิทักษ : โฮมสเตยเกาะพิทักษ อำเภอหลังสวน 4) ศูนยเรียนรูกสิกรรมธรรมชาติ (สวนลุงนิล) พืชคอนโด 9 ชั้น อำเภอทุงตะโก 5) ชุมชน บานคลองเรือ อำเภอพะโตะ 6) หนวยอนุรกัษและจัดการตนน้ำพะโตะ อำเภอพะโตะ 7) กลุมลองแพมาลิน อำเภอพะโตะ 8) หมูบานทองเที่ยวเชิงเกษตรเศรษฐกิจพอเพียง อำเภอทุงตะโก 9) กลุมการทองเที่ยวเชิง นิเวศตำบลบางสน อำเภอปะทิว 10) ชุมชนเหวโหลมโฮมสเตย อำเภอพะโตะ 11) ศูนยเรยีนรเูศรษฐกิจพอเพียงบานนอยกลางปาใหญอำเภอหลังสวน 12) ทองเที่ยวชุมชนบานแหลมนาว อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง 13) ชุมชนบานอาวคราม : แดนโดมโฮมสเตย อำเภอสวี 14) ชุมชนบานทุง มหา : ทุงมหากรุป นำเที่ยวดำน้ำ 15) กลุมธนาคารปูมาชุมชนบานหินกบ อำเภอปะทิว 16) ภูฟานาเล รี สอรท อำเภอเมือง (รายละเอียดดังตารางท่ี2) ตารางที่ 2 ระดับชุมชน พิจารณาจากศักยภาพ ความพรอมรองรับนักทองเที่ยว พัฒนาการ การบริหารจัดการ และการเขารวมเปนชุมชน / สมาชิกเครือขายฯทั้งเกาและใหม องคกร ชื่อชมุชน ระดับ5 ระดับ4 ระดับ3 ระดบั 2 ระดบั 1 หมายเหตุ 1. ศูนยการเรียนรูตามศาสตรพระราชา : ภายในโครงการพัฒนาพื้นที่แกมลิงหนองใหญ ตามแนวพระราชดำริ อำเภอเมือง อยูระหวางการปรับเปลยี่น รูปแบบการบริหารจัดการ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลง หนวยงานรับผิดชอบหลัก 2. ชุมชนบานทองตมใหญ : โฮมสเตยทองตม ใหญ อำเภอสวี


23 ชื่อชมุชน ระดับ5 ระดับ4 ระดับ3 ระดบั 2 ระดบั 1 หมายเหตุ 3. ชุมชนบานเกาะพิทักษ : โฮมสเตยเกาะ พิทักษ อำเภอหลังสวน 4. ศูนยเรียนรูกสิกรรมธรรมชาติ (สวนลุงนิล) พืชคอนโด 9 ชั้น อำเภอทุงตะโก ควบรวมหมูบานทองเที่ยว เช ิ ง เ ก ษ ต ร เ ศ ร ษ ฐกิ จ พอเพียงบานทอน-อม 5. ชุมชนบานคลองเรือ อำเภอพะโตะ 6. หนวยอนุรักษและจัดการตนน้ำพะโตะ อำเภอพะโตะ อ ย ู  ร ะ ห ว า งกา ร ป รั บ โครงสรางการปฏิบัติงาน ขององคกร 7. กลุมลองแพมาลิน อำเภอพะโตะ 8. หมูบานทองเที่ยวเชิงเกษตรเศรษฐกิจ พอเพียง อำเภอทุงตะโก 9. กลุมการทองเที่ยวเชิงนิเวศตำบลบางสน อำเภอปะทิว ผนวกเปนเครือขายการ ทองเที่ยวโดยชุมชนอำเภอ ปะทิว 10. กลุมทองเที่ยวเขาพอตามังเคร อำเภอพะ โตะ 11. ชุมชนเหวโหลมโฮมสเตย อำเภอพะโตะ 12. กลุมทองเที่ยวเชิงนิเวศทาสะทอน-ถ้ำเขา เงิน อำเภอหลังสวน 13. ศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงบานนอย กลางปาใหญ อำเภอหลังสวน 14. ชุมชนทองเที่ยวปลายคลอง อำเภอพะ โตะ 15. เครือขายครัวเรือนเศรษฐกิจพอเพียง อำเภอพะโตะ สถานะไมไดเปนแหลง ทองเที่ยวแตเปนองคกร 16. กลุมชาวมัคคุเทศกจังหวัดชุมพร สถานะไมไดเปนแหลง ทองเที่ยวแตเปนองคกร และขาดการประสานงาน จากแกนนำ 17. ชุมชนเกาะหาดทรายดำหนานอก อำเภอ เมือง จังหวัดระนอง


24 ชื่อชมุชน ระดับ5 ระดับ4 ระดับ3 ระดบั 2 ระดบั 1 หมายเหตุ 18. กลุมทองเที่ยวชุมชนผาเปดใจ-หุบผา กาแฟ อำเภอทาแซะ ขาดกระประสานงานจาก แกนนำชุมชน 19. บริษัทนำเที่ยวเชิงนิเวศ (จำลอง) และ กองกำลัง “เที่ยว” รับใชสังคม มหาวิทยาลัย แมโจ-ชมุพร 20. ชุมชนบานเกาะเตียบ อำเภอปะทิว ผนวกเปนเครือขายการ ทองเที่ยวโดยชุมชนอำเภอ ปะทิว 21. ชุมชนบานบอสำโรง อำเภอปะทิว 22. กลุมทองเที่ยวตามวิถีน้ำตกคลองหรั่ง อำเภอพะโตะ ขาดบุคลากรดำเนินการ และประสานงาน 23. อางศิลาโฮมสเตย อำเภอพะโตะ ขาดบุคลากรดำเนินการ และประสานงาน 24. กลุมชุมชนลุมน้ำรับรอ-วัดถ้ำรับรอ อำเภอทาแซะ ขาดบุคลากรดำเนินการ และประสานงาน 25. ชุมชนบานหลางตาง อำเภอพะโตะ 26. ชมรมรักษเรือใบโบราณอำเภอละแม 27. วิสาหกิจชุมชนกลุมทุเรียนคุณภาพบาน หวยทรายขาว อำเภอหลังสวน ขาดบุคลากรดำเนินการ และประสานงาน 28. กลุมเกษตรกรทำสวน 1 ไร 1 ครัวเลี้ยง ตัวได อำเภอหลังสวน ขาดบุคลากรดำเนินการ และประสานงาน 29. กลุมหัตถกรรมกิ่งไม รากไม อำเภอหลัง สวน ขาดบุคลากรดำเนินการ และประสานงาน 30. กลุมทองเที่ยวแกงกะอิ อำเภอทาแซะ ขาดบุคลากรดำเนินการ และประสานงาน 31. ทองเที่ยวชุมชนบานแหลมนาว อำเภอ สุขสำราญ จังหวัดระนอง 32. กลุมทองเที่ยวเชิงอนุรักษบานน้ำลอด : พรหมเวชโฮมสเตยอำเภอหลังสวน 33. ศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงเพลิน : ชุมพรคาบานา อำเภอปะทิว ปรับเปลี่ยนโครงสรางการ บริหารงานและปรับปรุง พื้นที่


25 ชื่อชมุชน ระดับ5 ระดับ4 ระดับ3 ระดบั 2 ระดบั 1 หมายเหตุ 34. เครือขายเยาวชนจากภูผาสูมหานที (ยค.ภม.) อำเภอพะโตะ ข า ด แ ก น น ำ ใ น ก า ร เชื่อมโยงเครือขาย 35. กลุมอนุรักษคลองทาทอง-คลองบาง มุด : คลองทาทองโฮมสเตย อำเภอหลัง สวน ข า ด แ ก น น ำ ใ น ก า ร เชื่อมโยงเครือขาย และ ปรับโครงสรางการทำงาน 36. ชุมชนบานอาวคราม : แดนโดมโฮมส เตย อำเภอสวี ข า ด แ ก น น ำ ใ น ก า ร เชื่อมโยงเครือขาย ซึ่งเขา รวมกับเครือขายฯ ไม ตอเนื่อง 37. ชุมชนบานทุงมหา : ทุงมหากรุป นำ เที่ยวดำน้ำ 38. ศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงบานทุง หงส อำเภอเมือง ข า ด แ ก น น ำ ใ น ก า ร เชื่อมโยงเครือขาย และอยู ในขั้นตอนดำเนินการ เชื่อมโยงเครือขายฯ 39. ชุมชนบานในไร : โฮมสเตยบานในไร อำเภอสวี ปรับเปลี่ยนหัวหนาสถานี พัฒนาปาชายเลนที่ 12 สงผลใหมีการปรับเปลี่ยน ระบบการบริหารจัดการ ภายใน 40. ชุมชนบานเขาคาย อำเภอทุงตะโก ข า ด แ ก น น ำ ใ น ก า ร เชื่อมโยงเครือขาย 41. กลุมรฤกษหลังสวน อำเภอหลังสวน ยกเลิกการดำเนินงาน เนื่องจากเปนสวนหนึ่งของ การจัดตั้งและงานวิจัยที่ ขาดความตอเนื่อง 42. ชุมชนบานในหยาน อำเภอพะโตะ ขาดการประสานงานจาก แกนนำชุมชนและอยูใน ขั้นตอนดำเนินการเชื่อมโยง เครือขายฯ 43. ชมรมการทองเที่ยวเชิงอนุรักษอำเภอ พะโตะ ขาดบุคคลากรดำเนินการ และประสานงาน 44. ศูนยเรียนร ูอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ บานลุงสานนท อำเภอทุง ตะโก เปนระดับครัวเรือน ขาดการ ประสานงานแตอยูในข้ันตอน ดำเนินการเชื่อมโยงเครือขาย


26 ชื่อชมุชน ระดับ5 ระดับ4 ระดับ3 ระดบั 2 ระดบั 1 หมายเหตุ 45. ศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงบาน พะงุน (บานปานวย) อำเภอสวี เปนระดับครัวเรือน ขาดการ ประสานงานแตอยูในข้ันตอน ดำเนินการเชื่อมโยงเครือขาย 46. ชุมชนประมงปากน้ำชุมพร บานริมน้ำ โฮมสเตย อำเภอเมือง สมาชิกใหม (พ.ศ. 2563) 47. กลุมธนาคารปูมาชุมชนบานหินกบ อำเภอปะทิว สมาชิกใหม (พ.ศ. 2563) 48. กลุมทองเที่ยวเชิงอนุรักษตำบลชุมโค อำเภอปะทิว สมาชิกใหม (พ.ศ. 2563) 49. ชุมชนปากน้ำละแม-ตลาดใตเคี่ยม อำเภอละแม สมาชิกใหม (พ.ศ. 2563) 50. ภูฟานาเล รีสอรท อำเภอเมือง สมาชิกใหม (พ.ศ. 2563) 51. KBACK สมาชิกใหม ประเภทองคกร หมายเหตุ ระดับ 5 หมายถึง ชุมชนที่มีการรวมกลุมมีรูปแบบการบริหารจัดการ และกิจกรรมทองเที่ยวอยางตอเนื่อง จำนวน 16 ชุมชน/องคกร ระดับ 4 หมายถึง ชุมชนเพิ่งเริ่มตน มีการทำงานเตรียมความพรอม มีประสบการณรับนักทองเที่ยวบางแตนอย จำนวน 4 ชุมชน/องคกร ระดับ 3 หมายถึง ชุมชนเพิ่งเริ่มตน มีการเตรียมความพรอม แตยังไมมีนักทองเที่ยว หรือมีนักทองเที่ยวนอยมาก จำนวน 12 ชุมชน/องคกร ระดับ 2 หมายถึง ชุมชนสนใจทำ แตยังไมริเริ่มดำเนินการดานการทองเที่ยว จำนวน 6 ชุมชน/องคกร ระดับ 1 หมายถึง ทำไปแลวระดับหนึ่ง แลวชะลอ หรือระงับ หรือขาดการเปนสมาชิกภาพ หรือจากเหตุปจจัย อื่นๆ จำนวน 12 ชุมชน/องคกร นอกจากนี้จากการที่คณะทำงานไดมีโอกาสเขารวมโครงการพัฒนาชุมชนทองเที่ยว OTOP นวัตวิถี จังหวัดชุมพร ในบางชุมชนผานทางสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดชุมพร พบวาชุมชนที่ไดรับการสงเสริมจาก กรมการพัฒนาชุมชน จำนวน 29 ชุมชน และชุมชนที่ดำเนินการผานองคการบริหารสวนจังหวัดชุมพร จำนวน 10 ชุมชน ซึ่งกระจายอยูทุกอำเภอของจังหวัดชุมพร โดยที่บางชุมชนมีความซ้ำซอนกัน แตทั้งนี้แผนงานวิจัย สามารถสรุปไดเบื้องตน ประมาณ 45 ชุมชน


27 5.1 ขอมูลเครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร การขับเคลื่อนองคกรเครือขายการทองเท่ยีวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร ดำเนินการผาน รูปแบบ “สมาคมการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร” ซึ่งไดรับการจดทะเบียนสมาคมฯ เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2556 โดยมีการดำเนินการตามปณิธาน จวบจนปจจุบัน ภายใตขอบังคับสมาคมฯ สรปุตามหมวดที่สำคัญ ดังน้ี 1) วัตถุประสงคของสมาคมการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร 1.1) เพื่อสงเสริม ชวยเหลือ และพัฒนาศักยภาพการทองเที่ยวโดยชุมชน ใหไดมาตรฐานตามขอบังคับ หรือระเบียบที่สมาคมการทองเที่ยวโดยชุมชนภาคใตกำหนด 1.2) กำหนดขอบังคับและมาตรฐานการจัดการทองเที่ยวโดยชุมชน เพื่อ เกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน 1.3) เพื่อสงเสริมอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมถึงการ อนุรักษประเพณี วัฒนธรรมทองถิ่น 1.4) เพื่อสรางการตลาดการทองเที่ยวโดยชุมชน ทั้งสงเสริมสินคาและ ผลิตภัณฑของชุมชน ใหเกิดการกระจายรายไดโดยยึดแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1.5) เพื่อใหเปนศูนยกลางและตัวแทนเครือขาย ขับเคลื่อนการทองเที่ยว โดยชุมชนในจังหวัดภาคใต 2) การดำเนินกิจการของสมาคมฯ 2.1) ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่ง ประกอบดวยบุคคลซึ่งทำหนาที่เปน ตัวแทนชุมชนที่เปนสมาชิก ทำหนาที่บริหารกิจการของสมาคมมีจำนวนอยางนอย 9 คน อยางมากไมเกิน 15 คน คณะกรรมการนี้ตองเปนสมาชิกสามัญที่ไดมาจากการเลือกตั้งของที่ประชุมใหญของสมาคม และใหผูที่ได เลือกตั้งจากที่ประชุมใหญ เลือกตั้งกันเองเปนนายกสมาคม 1 คน อุปนายก 4 คน และเลขานุการ 1 คน สำหรับตำแหนงกรรมการในตำแหนงอื่นๆ ใหนายกสมาคมเปนผูแตงตั้ง ผูที่ไดรับเลือกจากที่ประชุมใหญเขา ดำรงตำแหนงตางๆ ของสมาคม ตามที่ไดกำหนดไวซึ่งตำแหนงของกรรมการสมาคมมีตำแหนงและหนาที่ โดยสังเขปดังตอไปนี้ 2.1.1) นายกสมาคม ทำหนาที่เปนหัวหนาในการบริหารกิจการ ของสมาคม เปนผูแทนสมาคมในการติดตอกับบุคคลภายนอก และทำหนาที่เปนประธานในที่ประชุม คณะกรรมการ และการประชุมใหญของสมาคม 2.1.2) อุปนายก ทำหนาที่เปนผูชวยนายกสมาคมในการบริหาร กิจการสมาคมปฏิบัติตามหนาที่ที่นายกสมาคมไดมอบหมายและทำหนาที่แทนนายกสมาคมเมื่อนายกสมาคม ไมอยูหรือไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได แตการทำหนาที่แทนนายกสมาคมใหอุปนายกตามลำดับตำแหนงเปน ผูกระทำแทน 2.1.3) เลขานุการ ทำหนาที่เกี่ยวกับงานธุรการของสมาคม ทั้งหมดเปนหัวหนาเจาหนาที่ของสมาคมในการปฏิบัติกิจการของสมาคม และปฏิบัติตามคำสั่งของนายก สมาคม ตลอดจนทำหนาที่เปนเลขานุการในการประชุมตางๆ ของสมาคม


28 2.1.4) เหรัญญิก มีหนาที่เกี่ยวกับการเงินทั้งหมดของสมาคมเปน ผูจัดทำบัญชีรายรับรายจาย บัญชีงบดุลของสมาคม และเก็บเอกสารหลักฐานตางๆ ของสมาคมไวเพื่อ ตรวจสอบ 2.1.5) ปฏิคม มีหนาที่ในการใหการตอนรับแขกของสมาคม เปน หัวหนาในการจัดเตรียมสถานที่ของสมาคมและจัดเตรียมสถานที่ประชุมตางๆ ของสมาคม 2.1.6) นายทะเบียน มีหนาที่เกี่ยวกับทะเบียนสมาชิกทั้งหมดของ สมาคมประสานงาน กับเหรัญญิกในการเรียกเก็บเงินคาบำรุงสมาคมจากสมาชิก 2.1.7) ประชาสัมพันธ มีหนาที่เผยแพรกิจการและชื่อเสียงเกียรติ คุณของสมาคมใหสมาชิกและบุคคลโดยทั่วไปใหเปนที่รูจักแพรหลาย 2.2) กรรมการตำแหนงอื่น ๆ ตามความเหมาะสม ซึ่งคณะกรรมการ เห็นสมควรกำหนดใหมีขึ้นโดยมีจำนวนเมื่อรวมกับตำแหนงกรรมการขางตนแลว จะตองไมเกินจำนวนที่ ขอบังคับไดกำหนดไว แตถาคณะกรรมการมิไดกำหนดตำแหนงก็ถือวาเปนกรรมการกลาง 2.3) คณะกรรมการของสมาคมสามารถอยูในตำแหนงไดคราวละ 2 ป และ เมื่อคณะกรรมการอยูตำแหนงครบกำหนดตามวาระแลว แตคณะกรรมการชุดใหมยังไมไดรับอนุญาตใหจด ทะเบียนจากทางราชการ ก็ใหคณะกรรมการที่ครบกำหนดตามวาระรักษาการไปพลางกอนจนกวา คณะกรรมการชุดใหมจะไดรับอนุญาตใหจดทะเบียนจากทางราชการ และเมื่อคณะกรรมการชุดใหมไดรับ อนุญาตใหจดทะเบียนจากทางราชการเปนที่เรียบรอยแลว ก็ใหทำการสงและรับมอบงานกันระหวาง คณะกรรมการชุดเกาและคณะกรรมการชุดใหมใหเปนที่เสร็จสิ้นภายใน 30 วันนับตั้งแตวันที่คณะกรรมการชุด ใหมไดรับอนุญาตใหจดทะเบียนจากทางราชการ 5.2 สถานการณการขับเคลื่อนเครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร จากผลการรวมกันขับเคลื่อนองคกรเครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร เพื่อใหเกิดการพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวโดยชุมชนสูนโยบายทั้งในระดับพื้นที่ชุมชน และเครือขายระดับ จังหวัด เริ่มจากปพ.ศ. 2552 ซึ่งเปนการขับเคลื่อนงานในระยะเริ่มตนจึงสามารถขยับไดในระดับของการจัดเวที แลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางชุมชนในเครือขายฯ ซึ่งการปฏิบัติการสวนใหญอยูในระดับชุมชน ที่แตละชุมชนตอง ดำเนินการดานการจัดการการทองเที่ยวและดานอื่นๆ ที่เกี่ยวของภายในพื้นที่ตนเอง สงผลใหการปฏิบัติการ รวมระหวางชุมชนสมาชิกเครือขายฯ และหนวยงานภาคีเครือขายยังไมเปนรูปธรรม ดังนั้นองคกรเครือขายฯ จึงควรมีบทบาท คือ 1) เปนหนวยงานประสานหลักกับภาคีเครือขายตางๆ ที่มีสวนเกี่ยวของกับการพัฒนาการ ทองเที่ยวโดยชุมชนทั้งทางตรงและทางออม เชน สถาบันการศึกษา หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาค ประชาชน NGOs เปนตน 2) เชื่อมความสัมพันธและกระตุนความเข็มแข็งระหวางชุมชนสมาชิกเครือขายฯ โดยดำเนินการในลักษณะการประชุมสัญจรใหเกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณดานการจัดการ การทองเที่ยวและดานอื่นๆ ที่เกี่ยวของอยางตอเนื่อง ทั้งนี้กระบวนการดังกลาวเปนการสรางขวัญและกำลังใจ ในการทำงานใหกับชุมชนเจาภาพ และสงผลใหเกิดการกระตุนการมีสวนรวมในระดับพื้นที่ 3) พัฒนาระบบ


29 การตลาดแบบสงตอโดยพิจารณาจากศักยภาพในการรองรับดานการทองเที่ยว ระยะทาง การเดินทางที่ สามารถเชื่อมโยงภายในโครงขายฯ และความสัมพันธของกิจกรรมการทองเที่ยว เพื่อการสงตอนักทองเที่ยว ระหวางชุมชนสมาชิก 4) กระตุนการปฏิบัติการรวมกันระหวางชุมชนสมาชิกภายในเครือขายฯ และระหวาง องคกรเครือขายฯกับหนวยงานภาคีโดยมุงนำพาปณิธานรวมสูการปฏิบัติรวมกันในทุกระดับ ตั้งแตระดับพื้นที่ จนถึงระดับจังหวัด พรอมทั้งผลักดันใหแนวคิดการทองเที่ยวโดยชุมชนบรรจุในแผนยุทธศาสตรของหนวยงาน ตางๆ เพื่อใหเกิดความตอเนื่อง บทเรียนจากการขับเคลื่อนเครือขายฯ ในระยะตอมาจากปพ.ศ. 2556-2559 เปนกระบวนการ ในการเสริมสรางความเข็มแข็ง และความรวมมือระหวางชุมชนสมาชิกภายในองคกรเครือขายฯ รวมทั้งความ เขาใจดานการทองเที่ยวโดยชุมชนแกชุมชนสมาชิก ผานการดำเนินการแบบพี่ดูแลนอง โดยการเรียนรูรวมกัน ระหวางชุมชนสมาชิกที่มีการดำเนินการดานการทองเที่ยวมาเปนระยะเวลาหนึ่งและมีบทเรียนดานการจัดการ ที่สามารถถายทอดประสบการณสูชุมชนที่เพิ่งดำเนินการ หรอืชุมชนที่คิดจะดำเนินการดานการทองเที่ยว โดย กิจกรรมหลัก คือ การประชุมแบบสัญจร เปนการแลกเปลี่ยนเรียนรูบทเรียนการจัดการการทองเที่ยวโดยชุมชน ควบคูกับการสอดแทรกองคความรูจากแกนนำ นักวิชาการหรือหนวยงานภาคี และเปนการใหกำลังใจแกชุมชน สมาชิกที่เปนเจาภาพในการดำเนินการดานการทองเที่ยว นอกจากนี้ยังรวมกันวิภาครูปแบบการจัดการของ ชุมชนเจาภาพเพื่อใหเกิดการปรับปรุง แกไข และมีแนวทางการบริหารจัดการในอนาคต กระบวนการดังกลาว ยังสามารถกระตุนใหเกิดการขับเคลื่อนเครือขายยอย เชน เครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชนอำเภอพะโตะ เครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชนอำเภอปะทิว เปนตน และสงผลใหเกิดการแบงกลุมอำเภอที่มีพื้นที่เชื่อมโยง กัน ในการสงตอนักทองเที่ยว ดังนี้กลุมท่ี1 ครอบคลุมอำเภอละแม อำเภอหลังสวนและ อำเภอทงุตะโก กลุม ที่ 2 ครอบคลุมอำเภอประทิว อำเภอสวี และอำเภอเมือง และกลุมที่ 3 อำเภอพะโตะ เชื่อมโยงกับ อำเภอเมือง อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง ทั้งนี้เกิดการสงตอนักทองเที่ยวระหวางชุมชนสมาชิกเครือขายฯ โดยพิจารณา ตามความเหมาะสมของระยะทางและความสัมพันธของกิจกรรมการทองเที่ยว การขับเคลื่อนเครือขายฯ ในชวงพ.ศ. 2560-2563 สมาคมฯ มีการดำเนินกิจกรรมอยาง ตอเนื่องตามปณิธาน การใชการทองเที่ยวโดยชุมชนเปนเครื่องมือสูการอนุรกัษทรัพยากรธรรมชาติ-สิ่งแวดลอม สังคม-วัฒนธรรม พัฒนาคน-ชุมชนบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง ภายใตแผนการพัฒนาเครือขายการทองเที่ยว โดยชุมชนจังหวัดชุมพร ในนามองคกรเครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร (กทท.ดชช.ชพ) มี วัตถุประสงคเพื่อประสานความรวมมือและใหความชวยเหลือ ซึ่งกันและกันระหวางสมาชิกเครือขาย รวมทั้ง เปนการรวมกันสรางภูมิคุมกันดานการจัดการทองเที่ยวโดยชุมชน ใหเกิดความยั่งยืนแกชุมชนสมาชิกเครือขาย และขยายแนวคิดดังกลาวสูแหลงทองเที่ยวภายในจังหวัดชุมพร และพื้นที่เชื่อมโยงในจังหวัดใกลเคียง โดย ขับเคลื่อนตามกลยุทธดังตอไปนี้ 1) แผนงานการพัฒนาเครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดชุมพร วัตถุประสงคเพื่อประสานความรวมมือและใหความชวยเหลือ ซึ่งกันและกันระหวางสมาชิกเครือขาย รวมทั้ง เปนการรวมกันสรางภูมิคุมกันดานการจัดการทองเที่ยวโดยชุมชน ใหเกิดความยั่งยืนแกสมาชิกทุกชุมชน ภายในเครือขาย และขยายแนวคิดดังกลาวสูแหลงทองเท่ยีวอื่นๆ ตอไป และเพื่อใหเกิดการบริหารจัดการการ ทองเที่ยวที่ไดรับการยอมรับและความรวมมือจากทองถิ่นและทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ 2) แผนงานดาน การตลาดและประชาสัมพันธ วัตถุประสงคเพื่อกระตุนและสงเสริมการขายการทองเที่ยวโดยชุมชนสำหรับ กลุมตลาดเฉพาะ (niche market) เชน การทองเที่ยวเชิงสุขภาพ การทองเที่ยวผจญภัย และการทองเที่ยวเชิง นิเวศ 3) แผนงานพัฒนาขีดความสามารถขององคกรและบุคคลากร วัตถุประสงคเพื่อเปนการพัฒนาขีด


30 ความสามารถในการบริหารจัดการดานการทองเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดชุมพร และพัฒนาศักยภาพการใหบริการ ดานการทองเที่ยวที่มีคุณภาพ ทั้งในระดับพื้นที่ และระดับเครือขายภายในจังหวัด พรอมทั้งเปนการหนุนเสริม ศักยภาพของชุมชนสมาชิกภายในองคกรเครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร 4) แผนงานการ ติดตามและประเมินผลกระทบจากการทองเที่ยว วัตถุประสงคเพื่อใหประชาชนทองถิ่นภายในชุมชนสมาชิก เครือขายมีสวนรวมในการตัดสินคุณคาของกิจกรรมการทองเที่ยว โดยดำเนินการภายใตกระบวนการติดตาม และประเมินกระทบดานชีวกายภาพ ดานประสบการณนันทนาการ (ความพึงพอใจ) และดานคุณภาพชีวิต สวนการขับเคลื่อนเครือขายฯ ในชวงป 2564 และการกำหนดทิศทางในอนาคตรวมกันโดย ดำเนินการผานการประชุมเชิงปฏิบัติการเครือขายการทองเท่ยีวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร ณ อาคารแมโจสามัคคี มหาวิทยาลัยแมโจ-ชุมพร ดวยความมุงมั่นและศรัทธาที่จะใชการทองเที่ยวโดยชุมชนเปนสะพานเชื่อมสูการ อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ-สิ่งแวดลอม สังคม-วัฒนธรรม พัฒนาคน-ชุมชน กระตุนเศรษฐกิจฐานรากเศรษฐกิจหมุนเวียน โดยสิ่งที่จะจับมือกันกาวตอป 2564-2567 รวมกับภาคีเครือขายแบบองคาพยพภายใต กรอบยุทธศาสตร 1) ขับเคลื่อนเครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร 2) พัฒนาแหลงทองเที่ยวโดย ชุมชนใหมีความสอดคลองกับระดับมาตรฐานการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร 3) ประชาสัมพันธเพื่อ สรางการรับรูถึงคุณคาใหมบนฐานทุนเดิม 4) ประยุกตระบบสาระสนเทศกับการสื่อสารทุกมิติ 5) สำรวจและ การวิจัยจากภูผาสูมหานทีสูการพัฒนาศูนยศึกษาและพัฒนาการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร 6) โครงขายการทองเที่ยวโดยชุมชนผนวกแหลงทองเที่ยวหลัก 7) ระบบโลจิสติกเพื่อการเคลื่อนยายผลิตผล ทางการเกษตร สินคาและผลิตภัณฑทางการทองเที่ยว 8) ระบบสื่อความหมายเพื่อการสงเสริมคุณภาพ ประสบการณที่มีคุณภาพและการเปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิต ทั้งนี้จากกระบวนการประชุมโดยการชวนคุย คิด และปฏิบัติการรวม สรุปผลสำคัญดังนี้ 1) การปรับตัวในสภาวการณปจจุบัน จากสถานการณโครงการของทางราชการที่ รุมเราชุมชนในการเรงดำเนินการใหมีการพัฒนาแหลงทองเที่ยวโดยชุมชนตามนโยบายรัฐบาล บางชุมชน สามารถตอยอดการทำงานได แตบางชุมชนดำเนินการตอไปไมไดเพราะไมรูจะไปทิศทางไหนเนื่องจากหมด งบประมาณและขาดการหนุนเสริมตอเนื่อง ทั้งนี้ขอเสนอจากเวทีคือ ชุมชนตองยืนหยัดอยางมั่นคงตาม เปาหมายเดิมสวนหนึ่งใชกระบวนการเครือขายในการชวยขับเคลื่อนในพื้นที่เพราะจะตองชวยกันคิดและ ปฏิบัติการจากระดับพื้นที่สูเครือขายระดับตางๆ เชน ตำบล อำเภอ จังหวัด เปนตน ซึ่งจะตองสามารถตอรอง กับหนวยงานที่เขามาพรอมโครงการตางๆ เพื่อตอยอดสิ่งที่ทำใหสอดคลองกับความตองการของคนในชุมชน สวนกรณีสถานการณโควิด-19 แตละชุมชนที่พอมีประสบการณจากการพัฒนาที่ผานมา ก็สามารถปรับตัวได เปนอยางดีเพราะการทองเที่ยวโดยชุมชนถือเปนเครื่องมือหนึ่งในการพัฒนาชุมชน ซึ่งการปรับตัว โดยการ พัฒนาผลิตภัณฑใหมบนฐานทุนเดิม เพิ่มมาตรการเฝาระวังและติดตาม เพิ่มชองทางการจัดจำหนวยแบบ ออนไลนโดยมีทั้งสินคาและผลิตภัณฑทางการทองเที่ยวภายในชุมชน รวมสรางภูมิคุมกันภายในชุมชนโดยการ ใหความรูเพื่อไมใหตื่นตัวแตไมตื่นตูม สรางโอกาสใหมโดยการปรับปรุงสินคาและผลิตภัณฑ (rebrand) ดวย การหันมากำหนด Theme (เคาโครงเรื่อง) เพื่อการสรางประสบการณที่มีคุณคากับนักทองเที่ยว เชน จิบกาแฟ แลคลื่น สุขนี้ที่ละแม เปนตน มุงเนนใหเกิดเศรษฐกิจหมุนเวียนในระบบการพึ่งพาพึ่งพิงกัน ทั้งนี้นักเที่ยว กลุมเปาหมายหลักคือ นักทองเที่ยวชาวไทยที่เดินทางแสวงหาประสบการณทองถิ่น


31 2) ทิศทางการกาวตอจากฐานการเปลี่ยนแปลง [ระดมความคิดเห็นจากสิ่งที่มี สิ่ง ที่เปนและสิ่งที่จะปฏิบัติการรวมกันในอนาคต (รางปรับปรุงแผนการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร ป 2564-2567)] โดยเบื้องตนฝายเลขานุการสรุปยอนคืนขอมูล องคกรเครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัด ชุมพร มีบทบาท คือ 1) เปนหนวยงานประสานหลักกับภาคเีครือขายตางๆ ที่มีสวนเกี่ยวของกับการพัฒนาการ ทองเที่ยวโดยชุมชนทั้งทางตรงและทางออม เชน สถาบันการศึกษา หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาค ประชาชน NGOs สื่อมวลชน เปนตน 2) เชื่อมความสัมพันธและกระตุนความเข็มแข็งระหวางชุมชนสมาชิก เครือขายฯ โดยดำเนินการในลักษณะการประชุมสัญจรใหเกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณดาน การจัดการการทองเที่ยวและดานอื่นๆ ที่เกี่ยวของอยางตอเนื่อง ทั้งนี้กระบวนการดังกลาวเปนการสรางขวัญ และกำลังใจในการทำงานใหกับชุมชนเจาภาพ และสงผลใหเกิดการกระตุนการมีสวนรวมในระดับพื้นที่ 3) พัฒนาระบบการตลาดแบบสงตอโดยพิจารณาจากศักยภาพในการรองรับดานการทองเที่ยว ระยะทาง การ เดินทางที่สามารถเชื่อมโยงภายในโครงขายฯ และความสัมพันธของกิจกรรมการทองเที่ยว เพื่อการสงตอ นักทองเที่ยวระหวางชุมชนสมาชิก 4) กระตุนการปฏิบัติการรวมกันระหวางชุมชนสมาชิกภายในเครือขายฯ และระหวางองคกรเครือขายฯกับหนวยงานภาคีโดยมุงนำพาปณิธานรวม (เพื่ออนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ- สิ่งแวดลอม สังคม-วัฒนธรรม พัฒนาคน-ชุมพร กระตุนเศรษฐกิจฐานราก และกอเกิดเศรษฐกิจหมุนเวียน) สู การปฏิบัติรวมกันในทุกระดับ ตั้งแตระดับพื้นที่จนถึงระดับจังหวัด พรอมทั้งผลักดันใหแนวคิดการทองเที่ยว โดยชุมชนบรรจุในแผนยุทธศาสตรของหนวยงานตางๆ เพื่อใหเกิดความตอเนื่อง ซ่งึสามารถสรุปขอคิดเห็นจาก ผูเขารวมประชุมประเด็นที่เกี่ยวของกับทิศทางการกาวตอจากฐานการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ 2.1) การขับเคลื่อนเครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร เพื่อ ประสานความรวมมือและใหความชวยเหลือ ซึ่งกันและกันระหวางสมาชิกเครือขาย รวมทั้งเปนการรวมกัน สรางภูมิคุมกันดานการจัดการทองเที่ยวโดยชุมชน ใหเกิดความยั่งยืนแกชุมชนสมาชิก ภายในเครือขาย และ ขยายแนวคิดดังกลาวสูแหลงทองเที่ยวอื่นดวยการเชื่อมโยงกับแหลงทองเที่ยวที่มีการสงเสริมจากกรมการ พัฒนาชุมชน ภายใตโครงการชุมชนทองเที่ยว OTOP นวัตวิถี จังหวัดชุมพร ชุมชนที่ดำเนินการผานองคการ บริหารสวนจังหวัดชุมพร หรือชุมชน/องคกรชุมชน/เครือขายที่เกิดจากหนวยงานอื่นๆ เชน สำนักงานการ ทองเที่ยวและกีฬาจังหวัดชุมพร องคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) เครือขายการอนุรักษทรัพยากรทางทะเล และชายฝง เปนตน ทั้งนี้เพื่อการบูรณาการการทำงานรวมกันจากหนวยงานภาคีเครือขายที่เกี่ยวของ ไดแก เครือขายภาคประชาชน ภาควิชาการ ภาครัฐ NGOs สื่อสารมวลชนและภาคเอกชน ในการพัฒนาการ ทองเที่ยวโดยชุมชนใหสอดคลองตามความคาดหวังและความตองการของชุมชนหรือองคกรชุมชนภายใน จังหวัดชุมพร นอกจากนี้ควรผลักดันใหเกิดมาตรฐานการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร ผนวกกับมาตรฐาน การทองเที่ยวปลอดภัย ทั้งนี้กระบวนดังกลาวสวนหนึ่งดำเนินการผานการจัดประชุมสมาชิกเครือขาย ในทุก ๆ 3 เดือน แบบการประชุมสัญจร เพื่อใหเกิดกระบวนการเรียนรูรวมกันระหวางชุมชนสมาชิกเครือขาย และ รวมกันวิภาครูปแบบการจัดการการทองเที่ยวของสมาชิกชุมชนเจาภาพ และมีการประชุมคร้ังใหญ 1 ครั้งตอป โดยรูปแบบงานเปนมหกรรมการทองเที่ยวโดยชุมชน 2.2) การประยุกตเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อยกระดับการทองเที่ยวโดย ชุมชนจังหวัดชุมพรในทุกมิติ เชน พัฒนาระบบสื่อความหมาย การพัฒนาระบบฐานขอมูลดานการทองเที่ยว การสื่อสารองคกร เปนตน


32 2.3) ผลักดันแนวคิดการทองเที่ยวโดยชุมชนสูนโยบายทุกระดับเพื่อใชเปน เครื่องมือในการพัฒนาชุมชนซึ่งเปนรากฐานสำคัญสูการพัฒนาประเทศ 2.4) พัฒนา สงเสริม และประชาสัมพันธสินคาและผลิตภัณฑทางการ ทองเที่ยวโดยชุมชนอยางตอเนื่อง เนื่องจากเปนสวนหนึ่งในการกระตุนเศรษฐกิจฐานราก 2.5) การวิจัยและสำรวจทรัพยากรทั้งทางบกและทะเลเพื่อเปนฐานขอมูล สำคัญดานการติดตามและปรับตัวสูการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่มีผลตอการทองเที่ยว และการประกอบ อาชีพดานการเกษตรและการประมง หรือดานอื่นๆที่เกี่ยวของ 2.6) เคลื่อนยายสินคา-ผลิตภัณฑทางการทองเที่ยวและการเกษตรดวย ระบบโลจิสติกที่มีประสิทธิภาพสอดคลองกับบริบทจังหวัดชุมพร 2.7) เชื่อมโยงเสนทางการทองเที่ยวโดยชุมชนกับแหลงทองเที่ยวหลัก ภายในจังหวัดชุมพร 2.8) พัฒนาแหลงทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดดชุมพรเปนแหลงเรียนรูตลอด ชีพตามศักยภาพและความถนัดของแตละชุมชน ซึ่งสามารถตอยอดจากหลักสูตรการทองเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดชุมพร ซึ่งสมาคมการทองเที่ยวโดยชุมชนรวมกับมหาวิทยาลัยแมโจ-ชุมพร 2.9) การจัดตั้งศูนยศึกษาและพัฒนาแหลงทองเที่ยวโดยชุมชน ณ มหาวิทยาลัยแมโจ-ชุมพร โดยตอยอดกับหลักสูตรการทองเที่ยวจังหวัดชุมพร ดังนั้นกรอบแผนยุทธศาสตรการขับเคลื่อนเครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร ป พ.ศ. 2564-2567 มุงขับเคลื่อนประเด็นตางๆที่เกี่ยวของดังตอไปนี้ ประเด็นยอยที่ 1 การปรับตัวสูการเปลี่ยนแปลง สภาพอากาศภายในแหลงทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร ประเด็นยอย 2 ยกระดับการทองเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดชุมพรสูความเปนเมืองสุขภาวะที่ดี ประเด็นยอยที่ 3 เชื่อมโยงเสนทางการทองเที่ยวโดยชุมชนกับแหลง ทองเที่ยวหลักภายในจังหวัดชุมพร ประเด็นยอยที่ 4 ยกระดับมาตรฐานการทองเที่ยวโดยชุมชนสูความเปน สากลดวยเทคโนโลยีสารสนเทศ ประเด็นยอยที่5 บริหารจัดการเครือขายการทองเท่ยีวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร อยางยั่งยืน ประเด็นยอยที่ 6 เคลื่อนยายสินคาและผลิตภัณฑทางการทองเที่ยวที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมดวย ระบบโลจิสติก ประเด็นยอยที่ 7 จัดทำแผนและสรางระบบสื่อความหมายเพื่อการสงเสริมประสบการณที่มี คุณภาพของนักทองเที่ยวภายในแหลงทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร ซึ่งทุกประเด็นมีความสัมพันธและ สอดคลองกับเปาหมายของการทองเที่ยวอยางยั่งยืน และสอดคลองกับวัตถุประสงคการขับเคลื่อนเครือขายฯ (ดงัภาพท่ี3)


33 ภาพที่ 3 กรอบแผนยุทธศาสตรการขับเคลื่อนเครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร องคาพยพการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร ภาครัฐ สมาคมการทองเที่ยวโดยชุมชนจงัหวดัชุมพร การขับเคลื่อนเครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชนตนแบบ การพัฒนาการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร ควบคกูับการ พฒันาดานการเกษตรอยางยั่งยืน ประกอบดวยประเด็นรวม ดังนี้ประเด็นยอยที่ 1 การปรับตัวสูสถานการณการเปลี่ยนแปลงภายในแหลง ทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร ประเด็นยอย 2 ยกระดับการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพรสคูวามเปน เมืองสุขภาวะที่ดี ประเด็นยอยที่ 3 เชื่อมโยงเสนทางการทองเที่ยวโดยชมุชนกับแหลง ทองเที่ยวหลักภายในจังหวัดชุมพร ประเด็นยอยที่ 4 ยกระดับมาตรฐานการทองเที่ยวโดยชุมชนสูความเปน สากลดวยเทคโนโลยีสารสนเทศ ประเด็นยอยที่ 5 บริหารจัดการเครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัด ชมุพรอยางยั่งยืน ประเด็นยอยที่ 6 เคลื่อนยายสินคาและผลิตภัณฑทางการทองเที่ยวที่เปน มติรกับสิ่งแวดลอมดวยระบบโลจิสติก ประเด็นยอยที่ 7 จัดทำแผนและสรางระบบสื่อความหมายเพื่อการ สงเสริมประสบการณที่มีคุณภาพของนักทองเที่ยวภายในแหลงทองเที่ยว โดยชุมชนจังหวัดชุมพร วัตถุประสงค สงเสริม ชวยเหลือ และพัฒนาศักยภาพการทองเที่ยวโดย ชุมชน ใหไดมาตรฐานตามขอบังคับ หรอืระเบียบที่สมาคมการ ทองเที่ยวโดยชุมชนภาคใตกำหนด กำหนดขอบังคับและมาตรฐานการจัดการทองเท่ยีวโดย ชุมชน เพื่อเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน สงเสริมอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมถึงการอนุรักษประเพณีวัฒนธรรมทองถิ่น สรางการตลาดการทองเที่ยวโดยชุมชน ทั้งสงเสริมสินคา และผลิตภัณฑของชุมชน ใหเกิดการกระจายรายได โดยยึดแนว ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประสานภาคเีครือขายที่เกย่ีวของทุกภาคสวน และเปน หนวยงานประสานหลักในการสงตอเจตนารมณ/ปณธิานของ หลักการทองเที่ยวโดยชุมชนและการเกษตรอยางยั่งยืนจาก ระดับพื้นที่สูระดับนโยบายทกุหนวยงานที่เกี่ยวของดวยการมีสวนรวมของทุกภาคสวนแบบองคาพยพ ภาคเอกชน สถาบันการ ศึกษา สื่อสารมวล ชน NGOs ประชาชน เปาหมายของการทองเท่ยีวอยางยงั่ยืน


34 6. การศึกษาพฤติกรรมนักทองเที่ยวในแหลงทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร การศึกษาพฤติกรรมนักทองเที่ยวเกี่ยวกับความคิดเห็นและความตองการตอรูปแบบการ ทองเที่ยวโดยชุมชน (อำนาจ และคณะ, 2562) การเดินทางทองเที่ยวภายในจังหวัดชุมพรและแหลงทองเที่ยว เชื่อมโยงในจังหวัดใกลเคียง โดยใชแบบสอบถาม ประกอบดวย ตอนที่ 1 พฤติกรรมและรูปแบบการเดินทาง ตอนที่ 2 ความคิดเห็นและความตองการของนักทองเที่ยวตอรูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชน ตอนที่ 3 ขอมูลทั่วไป รวบรวมขอมูลจากตัวอยางนักทองเที่ยวที่เดินทางมาทองเที่ยวภายในแหลงทองเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดชุมพร จำนวน 627 ตัวอยาง ซึ่งผลการศกึษาจำแนกตามหัวขอ ดังนี้ 6.1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามประกอบดวย เพศ ชวงอายุที่อยูอาชีพ และรายไดสวนตัวตอเดือน สามารถสรุปผลขอมูลไดดงันี้ กลุมตัวอยางสวนใหญ เปน เพศหญิง คิดเปนรอยละ 61.2 รองลงมาเปนเพศชาย คิดเปนรอยละ 38.8 ดานอายุ พบวาสวนใหญมีอายุอยูในชวงอายุ 31 – 40 ป คิดเปนรอยละ 31.7 รองลงมาอยูในชวง 51 – 60 คิดเปนรอยละ 21.1 และชวงอายุ 41 – 50 ป คิดเปนรอยละ 19.1 ตามลำดับ ดานภูมิลำเนาของกลุมตัวอยางสวนใหญ อาศัยอยูในภาคใต คิดเปนรอยละ 42.4 รองลงมา อยู ภาค กลาง คิดเปนรอยละ 25.4 และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คิดเปนรอยละ 12.3 ตามลำดับ ดานอาชีพ พบวากลุมตัวอยางสวนใหญเปนนักเรียน/นักศึกษา คิดเปนรอยละ 26.2 รองลงมา ประกอบอาชีพ ขาราชการ/รัฐวิสาหกิจ คิดเปนรอยละ 21.7 และเกษตรกร/ประมง คิดเปนรอยละ 11.6 ตามลำดับ สำหรับรายไดตอเดือน พบวากลุมตัวอยางสวนใหญมีรายไดสวนตัวตอเดือนเฉลี่ยมากกวา 20,000 บาท คิดเปนรอยละ 33.5 รองลงมารายไดนอยกวา 10,000 บาท คิดเปนรอยละ 30.5 และรายไดระหวาง 10,000 – 15,000 บาท คดิเปนรอยละ 18.3 ตามลำดับ ตารางที่ 3 จำนวนและรอยละของขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยางชาวไทย ขอมูลทั่วไป จำนวน รอยละ เพศ หญิง 384 61.2 ชาย 243 38.8 ชวงอายุ 21 – 30 ป 44 7 31 – 40 ป 199 31.7 41 – 50 ป 120 19.1 51 – 60 ป 132 21.1 ต่ำกวา 20 ป 109 17.4 สูงกวา 60 ป 23 3.7 ที่อยู ภาคใต 266 42.4 ภาคกลาง 159 25.4 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 77 12.3 ภาคเหนือ 55 8.8


35 ขอมูลทั่วไป จำนวน รอยละ ภาคตะวันออก 49 7.8 ภาคตะวันตก 21 3.3 อาชีพ ขาราชการ/รัฐวิสาหกจิ 136 21.7 นักเรียน/นักศกึษา 164 26.2 พนักงานบรษิัท 75 12.0 เกษตรกร / ประมง 73 11.6 รับจาง 57 9.1 ลูกจางประจำ 33 5.3 พนักงานมหาวิทยาลัย 23 3.7 ลูกจางชั่วคราว 22 3.5 ธุรกิจสวนตัว 17 2.7 อื่นๆ เชน คาขาย , ฯลฯ 17 2.8 รายไดตอเดือน มากกวา 20,000 บาท 191 30.5 นอยกวา 10,000 บาท 115 18.3 10,000 – 15,000 บาท 111 17.7 15,000 – 20,000 บาท 210 33.5 6.2 ขอมูลการเดินทางทองเที่ยว ประกอบดวย ขอมูลแหลงชุมชนที่มาทองเที่ยว , กลุมในการ เดินทาง, จำนวนสมาชิก, ยานพาหนะในการเดินทาง, วัตถุประสงคในการเดินทาง, ระดับความพึงพอใจตอ เจาของบาน/ผูนำเที่ยว/วิทยากรของชุมชน, ลักษณะการทองเที่ยว, งบประมาณที่ตั้งไวในการทองเที่ยว, เหตุผลในการเลือกทองเที่ยว, ระดับความพึงพอใจตอการมาทองเที่ยวในครั้งนี้, ความคาดหวังในการกลับมา ใหมของนักทองเที่ยว และ ขอเสนอแนะอื่นๆ เพื่อการพัฒนาการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร โดยที่การ คิดรอยละ กรณีที่ผูตอบแบบสอบถามตอบไดมากกวา 1 ตัวเลือกจะเทียบจากจำนวนผูตอบแบบสอบถาม ทั้งหมด ผลการศกึษาพบวา กลุมตัวอยางสวนใหญ เดินทางมาทองเที่ยวที่บานทองตมใหญ คิดเปนรอยละ 22.5 รองลงมาคือ ศูนย เรียนรูตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงการพัฒนาพื้นที่หนองใหญตามแนวพระราชดำริคดิเปนรอยละ 23.9 และหมูบานทองเที่ยวเชิงเกษตรเศรษฐกิจพอเพียงโฮมสเตยบานทอน-อม คิดเปนรอยละ 21.9 ตามลำดับ ทั้งนี้เนื่องจากการทองเที่ยวโดยชุมชนมีการพัฒนาเสนทางทองเที่ยวรวมกัน ทำใหในการเดินทางทางมา ทองเที่ยวของนักทองเที่ยวในบางครั้งมีการทองเที่ยวมากกวา 1 ชุมชน ลักษณะการเดินทาง พบวากลุมตัวอยางสวนใหญ เดินทางมากับกลุมเพื่อน คิดเปนรอยละ 30.0 รองลงมาเปนกลุมเพื่อนรวมงาน คิดเปนรอยละ 21.9 กลุมครอบครัว คิดเปนรอยละ 16.1 ตามลำดับ สำหรับ จำนวนสมาชิกรวมเดินทางของกลุมตัวอยางสวนใหญ ต่ำกวา 10 คน (166 ราย คิดเปนรอยละ 36.3) รองลงมาจำนวนผูรวมเดินทาง 11 – 20 คน (78 ราย คิดเปนรอยละ 17.07) จำนวนผูรวมเดินทาง 31 – 40 คน (40 ราย คิดเปนรอยละ 8.75) จำนวนผูรวมเดินทาง 21 – 30 คน (34 ราย คิดเปนรอยละ 7.44) จำนวนผู รวมเดินทาง 201 – 300 คน (32 ราย คิดเปนรอยละ 7.00) จำนวนผูรวมเดินทาง 41 – 50 คน (29 ราย คิด เปนรอยละ 6.35) จำนวนผูรวมเดินทาง 51 – 100 คน (19 ราย คิดเปนรอยละ 4.16) จำนวนนักทองเที่ยว


36 101 – 200 คน (14 ราย คิดเปนรอยละ 3.06) และ จำนวนผูรวมเดนิทางมากวา 300 คน (2 ราย คิดเปนรอย ละ 0.44) ตามลำดับ ทั้งนี้มีผูไมระบุจำนวนผูรวมเดินทาง จำนวน 43 ราย คิดเปนรอยละ 9.41 ยานพาหนะในการเดินทาง พบวากลุมตัวอยางสวนใหญ เดินทางมากับรถบริษัททัวร คิดเปนรอยละ 32.4 รองลงมาใชรถสวนตัว/ครอบครัว/ญาติคิดเปนรอยละ 42.7 และ รถโดยสารประจำทาง คิดเปนรอยละ 6.9 ตามลำดับ วัตถุประสงคในการเดินทาง พบวากลุมตัวอยางสวนใหญมีวัตถุประสงคเพื่อพักผอน คิดเปนรอยละ 27.9 รองลงมาเพื่อเรียนรู ศึกษาและสัมผัสวิถีชุมชน คิดเปนรอยละ 26.0 รองลงมาเพื่อเรียนรู ศึกษา สัมผัส ธรรมชาติ คิดเปนรอยละ 21.5 ตามลำดับ โดยแหลงทองเที่ยวที่กลุมตัวอยางเดินทางไป เปนแหลงทองเที่ยว จุดหมายปลายทาง คิดเปนรอยละ 54.4 รองลงมา เปนแหลงทองเที่ยวหนึ่งภายในเสนทางทองเที่ยว คิดเปน รอยละ 45.6 ตามลำดับ งบประมาณที่กลุมตัวอยางตั้งไวในการเดินทางมาทองเที่ยวในครั้งนี้ สวนใหญ ตั้งงบประมาณไว 1,001 – 2,000 บาท คิดเปนรอยละ 26.3 รองลงมา ตั้งงบประมาณไว 2,001 – 3,000 บาท คิดเปนรอยละ 25.2 มากกวา 5,000 บาท คิดเปนรอยละ 19.5 ตามลำดับ เหตุผลหลักการเลือกไปเยือนแหลงทองเที่ยวของกลุมตัวอยาง สวนใหญคือ อาหาร คิดเปนรอยละ 41.6 รองลงมาคือกิจกรรม คิดเปนรอยละ 36.7 และสถานที่ทองเท่ยีว คิดเปนรอยละ 22.2 ตามลำดับ สำหรับความคิดเห็นตอการกลับมาเยี่ยมเยือนแหลงทองเที่ยวซ้ำในอนาคต พบวา กลุมนักทองเที่ยว สวนใหญจะกลับมาอยางแนนอน คิดเปนรอยละ 56.8 รองลงมาอาจจะกลับมาอีก คิดเปนรอยละ 42.4 และ จะไมกลับมาอีก คิดเปนรอยละ 0.8 ตามลำดับ ตารางที่ 4 จำนวนและรอยละของขอมูลการเดินทางทองเที่ยว และขอเสนอแนะจากนักทองเที่ยว ขอมูลการทองเที่ยว จำนวน รอยละ แหลงชุมชนที่มาทองเที่ยว (สามารถตอบไดมากกวา 1 แหลง) ศูนยเรียนรูตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงการพัฒนาพื้นที่ หนองใหญตามแนวพระราชดำริ 102 16.3 บานทองตมใหญ 186 29.7 หมูบานทองเที่ยวเชิงเกษตรเศรษฐกิจพอเพียงโฮมสเตยบาน ทอน-อม 118 18.8 เกาะพิทักษ 69 11.0 กลุมทองเที่ยวชุมชนเหวโหลมโฮมสเตย 53 8.5 บานคลองเรือ 32 5.1 กลุมทองเที่ยวโดยชุมชนตำบลบางสน 65 10.4 อื่นๆ เชน ถ้ำหมาแหงน เปนตน 2 .3 กลุมที่รวมเดินทางครั้งนี้ กลุมเพื่อน 118 30.0


37 ขอมูลการทองเที่ยว จำนวน รอยละ กลุมเพื่อนรวมงาน 137 21.9 กลุมครอบครัว 101 16.1 กลุมเพื่อนผสมครอบครวั 50 8.0 มากับบริษัททัวร 33 5.3 เดินทางคนเดยีว 8 1.3 อื่นๆ เชน คณะศึกษาดูงาน , มหาวิทยาลัย ฯลฯ 5 .8 จำนวนสมาชิกที่รวมเดินทาง 1 - 10 คน 11 – 20 คน 21 – 30 คน 31 – 40 คน 201 – 300 คน 41 – 50 คน 51 – 100 คน 101 – 200 คน มากกวา 300 คน ไมระบุ ยานพาหนะที่ใชในการเดินทางทองเที่ยว รถบริษัททัวร 203 32.4 รถสวนตัว / ครอบครัว / ญาติ 268 42.7 รถโดยสารประจำทาง 43 6.9 รถไฟ 8 1.3 รถมหาวิทยาลัย 21 3.3 รถโดยสารไมประจำทาง(เชาเหมา) 34 5.4 รถตูเชาเหมา 44 7.0 อื่นๆ เชน รถสวนราชการ ฯลฯ 6 1.0 วัตถุประสงคในการเดินทางครั้งนี้ เรยีนรูศึกษาและสัมผัสธรรมชาติ 135 21.5 เรยีนรูศึกษา สัมผัสวิถีชุมชน 163 26.0 พักผอน 175 27.9 ศึกษาดูงาน 109 17.4 ประกอบกิจกรรมทองเท่ยีวเชิงอนุรักษ 20 3.2 ประกอบกิจกรรมทองเท่ยีวอาสาสมัคร 24 3.8 อื่นๆ 1 .2 ประเภทแหลงทองเที่ยวในการเดินทางครั้งนี้ แหลงทองเที่ยวหนึ่งภายในเสนทางทองเที่ยว 286 45.6 จุดหมายปลายทาง 341 54.4


38 ขอมูลการทองเที่ยว จำนวน รอยละ งบประมาณที่ตั้งไวในการเดินทางมาทองเที่ยวในครั้งน้ี ต่ำกวา 1,000 บาท 165 26.3 1,001 – 2,000 บาท 158 25.2 2,001 – 3,000 บาท 122 19.5 3,001 – 4,000 บาท 36 5.7 4,001 – 5,000 บาท 57 9.1 มากกวา 5,000 บาท 89 14.2 เหตุผลในการเลือกทองเที่ยว (ตอบไดสูงสุด 3 ขอ) สถานที่ทองเที่ยว 139 22.2 กิจกรรม 230 36.7 อาหาร 261 41.6 อื่นๆ ที่พัก การใหบรกิาร เปนตน ความตองการกลับมาเยือนซ้ำ กลับมาอยางแนนอน 356 56.8 อาจจะกลับมา 266 42.4 ไมกลับมาอีก 5 .8 6.3 ความพึงพอใจตอเจาของบาน/ ผูนำเที่ยว/ วิทยากรของชุมชน เมื่อพิจารณาระดับความพึง พอใจตอเจาบาน/ผูนำเที่ยว/วิทยากรของชุมชนแลว พบวา กลุมตัวอยางพึงพอใจในระดับมากตอเทคนิคการ นำเสนอ ดานระดับความรูและดานบุคลิกภาพ คิดเปนรอยละ 53.6 53.1 และ 50.9 ตามลำดับ ตารางที่5 จำนวนและรอยละความพึงพอใจตอ เจาของบาน/ผูนำเที่ยว / วิทยากรของชุมชน รายการ ระดับความพึงพอใจ มากท่สีุด มาก ปานกลาง นอย ไมพึงพอใจ 1.ระดับความรูทไี่ดรับ 262 (41.8) 319 (50.9) 45 (7.2) 1 (.2) - 2. เทคนิคการนำเสนอ 226 (36.0) 336 (53.6) 64 (10.2) 1 (.2) - 3. การใหบริการ 297 (47.4) 229 (47.7) 29 (4.6) 2 (.3) - 4. บุคลิกภาพ 255 (40.7) 333 (53.1) 38 (4.6) 1 (.2) - 6.4 ความพึงพอใจตอการมาเยือนแหลงทองเที่ยว ผลการศึกษาระดับความพึงพอใจตอการมา ทองเที่ยวในครั้งนี้ พบวากลุมตัวอยาง มีระดับความพึงพอใจอยูในระดับมากที่สุดตออาหารและที่พัก คิดเปน รอยละ 86.3 และ 51.4 รองลงมามีความพึงพอใจในระดับมากตอสถานที่ทองเที่ยว กิจกรรมทองเที่ยว และ ดานการใหบริการ คดิเปนรอยละ 54.2 52.0 และ 47.2


39 ตารางที่ 6 จำนวนและรอยละความพึงพอใจตอการมาทองเที่ยวในคร้งันี้ รายการ ระดับความพึงพอใจ มากท่สีุด มาก ปานกลาง นอย ไมพึงพอใจ อาหาร 322 (51.4) 239 (38.1) 63 (10.0) - - กิจกรรม 206 (32.9) 326 (52.0) 93 (14.8) - - สถานที่ทองเที่ยว 216 (34.3) 340 (54.2) 69 (11.0) 2 (.3) - ที่พัก 541 (86.3) 85 (13.6) 1 (.2) - - การใหบริการ 292 (46.6) 296 (47.2) 37 (5.9) 2 (.3) - 6.5 ขอมูลชองทางการประชาสัมพันธ ประกอบดวย อุปกรณสื่อสารที่ใชงานประจำของนักทองเที่ยว , ชองทางที่ทำใหรูจักการทองเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดชุมพร, ความตองการชองทางประชาสัมพันธของ นักทองเที่ยว, ขอมูลในเว็บไซดของการทองเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดชุมพรที่นักทองเที่ยวตองการ และ ชองทาง รับขอมูลการประชาสัมพันธของการทองเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดชุมพร ที่นักทองเที่ยวตองการ กลุมตัวอยางสวนใหญ ใชโทรศัพทมือถือ / Smart Phone เปนอุปกรณสื่อสารที่ใชงานประจำ คิดเปน รอยละ 83.9 รองลงมาเปน คอมพิวเตอร คิดเปนรอยละ 10.0 Tablet คิดเปนรอยละ 4.2 ตามลำดับ ชองทางที่ทำใหนักทองเที่ยวรูจักการทองเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดชุมพร กลุมตัวอยางสวนใหญ รูจัก ผานทางเว็บไซด คิดเปนรอยละ 41.5 รองลงมาเปน เพื่อนแนะนำ คิดเปนรอยละ 27.4 และ Social Media (FB/IG/Line/Beetalk ฯลฯ) คิดเปนรอยละ 13.2 ตามลำดับ ขณะที่ความตองการชองทางประชาสัมพันธของ นักทองเที่ยว พบวากลุมตัวอยางสวนใหญตองการใหมีการเว็บไซดการทองเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดชุมพร (รวม ขอมูลทุกชุมชน) คิดเปนรอยละ 53.0 รองลงมาคือ Social Media (FB / IG /Line /Beetalk ฯลฯ) คิดเปน รอยละ 27.8 สื่อมวลชน (โทรทัศน/วิทยุ/หนังสือพิมพ) คิดเปนรอยละ 13.6 ตามลำดับ ตารางที่ 7 จำนวนและรอยละของขอมูลการชองทางการประชาสัมพันธ ขอมูลการชองทางการประชาสัมพันธ จำนวน รอยละ อุปกรณสื่อสารที่ใชงานประจำ (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) โทรศพัทมือถือ/Smart Phone 526 83.9 คอมพิวเตอร 63 10 Tablet 34 4.2 อื่นๆ เชน โทรทัศน 4 0.9 ทานรูจักการทองเที่ยวโดยชุมชน จ.ชุมพร ผานชองทางใด (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) เว็บไซด 283 45.1


40 ขอมูลการชองทางการประชาสัมพันธ จำนวน รอยละ เพื่อนแนะนำ 172 27.4 Social Media (FB / IG /Line /Beetalk ฯลฯ) 83 13.2 สื่อมวลชน (โทรทัศน/วิทยุ/หนังสือพิมพ) 48 7.7 แผนพับ/เอกสารประชาสัมพันธ 22 3.5 เว็บบอรด 6 1.0 อื่นๆ 13 2.1 ทานตองการใหการทองเที่ยวโดยชุมชน จ.ชุมพร พัฒนาชองทางประชาสัมพันธใดมากที่สุด (ตอบได มากกวา 1 ขอ) เว็บไซด การทองเที่ยวโดยชุมชน จ.ชุมพร (รวมขอมูลทุกชุมชน) 332 53.0 Social Media (FB / IG /Line /Beetalk ฯลฯ) 174 27.8 สื่อมวลชน (โทรทัศน/วิทยุ/หนังสือพิมพ) 85 13.6 แผนพับ/เอกสารประชาสัมพันธ 34 5.4 อื่นๆ 2 0.2 7. แนวคิดการพัฒนาโครงขายการทองเที่ยว (Looping system) การพัฒนาโครงขายการทองเที่ยวหรือ การทองเที่ยวแบบระบบเสนทางวงรอบ (looping system) เปน แนวคิดเริ่มตนมาจากการพัฒนาการทองเที่ยวในลักษณะ “เสนทาง (route) ” ซึ่งเปนระบบการพัฒนาการ ทองเที่ยว โดยไมคำนึงถึงเฉพาะจุดหรือแหลงทองเที่ยวแหงใดแหงหนึ่ง แตมุงพัฒนาแหลงทองเที่ยวเปนกลุม (cluster) โดยเนนแหลงทองเที่ยวที่อยูในเสนทางเดยีวกัน อาจดวยเหตุผลหลายประการ เชน จุดขายของแหลง ทองเที่ยวแหงใดแหงหนึ่งมีจุดเดนหรือระยะประกอบกิจกรรมไมนานเพียงพอตอความตองการของ นักทองเที่ยว จึงจำเปนตองเพิ่มจุดขายหลายๆแหงในเสนทางทองเที่ยวเดียวกัน ทำใหนักทองเที่ยวรูสึกคุมคา ตอการเดนิทางนั้นๆ และทำใหไมนาเบื่อหนายตอการเดินทางระยะนานๆเพียงเพื่อไปยังจุดหมายปลายทางแหง เดียว นอกจากนั้น การพัฒนาในภาพรวมของการเปนเสนทางทองเที่ยว ซึ่งมีจุดแวะเยี่ยมชมหลายแหง ยัง หมายถึงการกระจายรายไดสูชุมชนตางๆในเสนทางทองเที่ยวเพิ่มขึ้น เสนทางทองเที่ยวที่กำหนดขึ้นอาจเชื่อมโยงไดทั้งในมิติความสนใจของนักทองเที่ยวหรือเคาโครงเรื่อง (theme) ที่เปนจุดขายหลัก เชน เสนทางทองเที่ยวศิลปวัฒนธรรม เสนทางทองเที่ยวธรรมชาติ และเสนทาง ทองเที่ยววัฒนธรรมและการเกษตรชนเผา เปนตน หรือเชื่อมโยงดวยมิติของเวลาที่ใชในการเดินทางทองเที่ยว โดยการกำหนดโปรแกรมการทองเที่ยวตามระยะเวลาที่นักทองเท่ยีวสนใจ เชน ในเสนทางทองเที่ยวหนึ่ง ๆ อาจ มีการเดินทางทองเที่ยวประเภท 1 วัน หรือ 2 วัน 1 คืน หรือ 3 วัน 2 คืน ก็อาจเปนได ขึ้นกับจำนวนจุด ทองเที่ยว ระยะเวลาในการประกอบกิจกรรมทองเที่ยว และความใกลไกลของแหลงทองเที่ยวที่บรรจุไวใน โปรแกรม อยางไรก็ดี แนวคิดของการพัฒนาเสนทางทองเที่ยวแบบนี้ มาจากแนวคิดทางการตลาด เพื่อสราง แรงจูงใจใหนักทองเที่ยวสนใจเดินทางทองเที่ยวในเสนทางที่กำหนดไว ดวยแนวคิดดังกลาว จึงทำใหการ พัฒนาการทองเที่ยวไมสามารถจำกัดเฉพาะภายในตัวแหลงทองเที่ยวเทานั้น แตจำเปนตองใหความสนใจใน การจัดการ/พัฒนาการทองเที่ยวที่คลอบคลุมไปถึงการบริการตาง ๆ ที่จัดใหมีขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวกแก นักทองเที่ยว ใหความเพลิดเพลิน ความสุขและความปลอดภัย ระหวางการเดินทางดวย เชน การจัดการ


41 เสนทางทองเที่ยวที่สะดวกปลอดภัยสวยงาม ดวยการรักษาและจัดแตงภูมิทัศน การพัฒนาปายใหขอมูล จุดพัก รถ หองสุขา กำหนดเสนทางชมธรรมชาติ จุดชมวิว/ถายรูป เปนตน ดังนั้น อาจสรุปไดวา การพัฒนาการ ทองเที่ยวในลักษณะเปนเสนทางทองเที่ยวแบบนี้ จึงใหความสำคัญตอความตองการของนักทองเที่ยว สิ่ง อำนวยความสะดวกและบริการ ตลอดจนสภาพแวดลอมของเสนทางตั้งแตเริ่มตนออกเดินทางไปจนกระทั่ง สิ้นสุดการเดินทาง ทั้งนี้การพัฒนาการทองเที่ยวแบบเปนเสนทางประเภทไป-กลับในเสนทางเดียวกัน อาจทำให นักทองเที่ยวเกิดความเบื่อหนายในการเดินทางซ้ำในเสนทางเดมิดังนั้น แนวคิดของการพัฒนาเปนวงรอบ หรือ looping ของเสนทางทองเที่ยวจึงใชเปนกลไกสำคัญในการสรางแรงจูงใจตอโปรแกรมทองเที่ยว ในการ เดินทางเปนวงรอบไมซ้ำเสนทางเดิม โดยอาจเชื่อมตอการเดินทางดวยกิจกรรมที่หลากหลาย เชน การนั่ง รถยนตเชื่อมตอดวยการเดนิขี่จักรยาน หรอืลองแพ เปนตน ตามความเหมาะสมของทรัพยากรทองเที่ยวและ สภาพแวดลอม การพัฒนาเสนทางทองเที่ยวแบบวงรอบยังชวยใหสามารถออกแบบโปรแกรมทองเที่ยวที่มี ระยะเวลาในแหลงทองเที่ยวไดนานขึ้น และกระจายประโยชนจากการทองเที่ยวไปยังหมูบานหรือตำบลตาง ๆ ไดมากขึ้นกวาการเดินทางไป-กลับในเสนทางเดียวกัน ดังนั้น สรุปไดวา การพัฒนาการทองเที่ยวแบบวงรอบเปนแนวคิดในการสรางแรงจูงใจหรือจุดขาย ทางการทองเที่ยวในรูปแบบที่สนองความตองการของนักทองเที่ยว ตามกิจกรรมหรือความชอบที่นักทองเที่ยว สนใจ ตามระยะเวลาที่นักทองเที่ยวมี โดยเชื่อมโยงมิติทางดานภูมิศาสตรหรือเสนทางทองเที่ยวเขากับมิติดาน เคาโครงเรื่องหรือจุดขายทางการทองเที่ยว และเชื่อมโยงกับเวลาที่ใชในการเดินทางทองเที่ยว โดยพยายามให การเดินทางทองเที่ยวแตละครั้งไมซ้ำเสนทางเดียวกัน การพัฒนาการทองเที่ยวแบบเสนทางวงรอบนี้ ยังตองมี การพัฒนาและจัดการสภาพแวดลอม สิ่งอำนวยความสะดวกและการบริการตลอดเสนทาง ไมคำนึงถึงเฉพาะ ภายในแหลงทองเที่ยวเทานั้น แตมุงพัฒนาใหเปนระบบตั้งแตจุดเริ่มตนไปจนกระทั่งจุดสิ้นสุดการเดินทาง นั่นเอง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2549 : 22) 8. ขอมูลทั่วไปจงัหวัดชุมพร 8.1 ขอมูลทั่วไปจังหวัดชุมพร จังหวัดชุมพรตั้งอยูตอนบนสุดของภาคใตระหวางเสนละติจูดที่ 10 องศา 29 ลิปดาเหนือ และเสนลองติจูดที่ 99 องศา 11 ลิปดาตะวันออก หางจากกรุงเทพมหานครตามเสนทางรถยนตประมาณ 498 กิโลเมตรและเสนทางรถไฟสายใตประมาณ 476 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 3.75 ลานไร หรือ 6,010.849 ตาราง กิโลเมตร ชุมพรเปนจังหวัดแรกของภาคใตตอนบนฝงอาวไทยมีรูปลักษณะพื้นที่เรียวยาวตามแนวเหนือ-ใต มี ความยาวประมาณ 222 กิโลเมตร 8.2 อาณาเขต ทิศเหนือ ติดกับจังหวัดประจวบคีรีขันธ ทิศใตติดกับจังหวัดสุราษฎรธานี ทิศตะวันออก ติดกับอาวไทย ทิศตะวันตก ติดกับจังหวัดระนองและสหภาพพมา 8.3 โครงขายการทองเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดชุมพร และพื้นที่เชื่อมโยง จากศักยภาพของจังหวัดชุมพรที่มีทรัพยากรทองเที่ยวโดดเดนและมีความหลากหลาย ทั้ง ทรัพยากรทางธรรมชาติ และวัฒนธรรม รวมทั้งสามารถเดินทางเชื่อมโยงกับแหลงทองเที่ยวที่สำคัญอื่นทั้งสอง


42 ฝงทะเล อันไดแกชายฝงทะเลอาวไทยและชายฝงทะเลอันดามัน ทำใหกิจกรรมการทองเที่ยวสามารถเชื่อมโยง กันไดทั้งกิจกรรมทางบกและทางทะเล ประกอบกับมีการขับเคลื่อนการทองเที่ยวโดยชุมชนใหเกิดขึ้นอยางเปน รูปธรรม ภายใตเครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร จึงทำใหเกิดแนวคิดการพัฒนาการทองเที่ยวโดย ชุมชนแบบวงรอบ เพื่อการสรางแรงจูงใจหรือจุดขายทางการทองเที่ยวในรูปแบบที่สนองความตองการของ นักทองเที่ยว ตามกิจกรรมหรือความชอบที่นักทองเที่ยวสนใจ ตามระยะเวลาที่นักทองเที่ยวมี โดยเชื่อมโยงมิติ ทางดานภูมิศาสตร หรือเสนทางทองเที่ยวเขากับมิติดานเคาโครงเรื่องหรือจุดขายทางการทองเที่ยว และ เชื่อมโยงกับเวลาที่ใชในการเดินทางทองเที่ยว โดยพยายามใหการเดินทางทองเที่ยวแตละครั้งไมซ้ำเสนทาง เดียวกัน การพัฒนาการทองเที่ยวแบบเสนทางวงรอบนี้ ยังตองมีการพัฒนาและจัดการสภาพแวดลอม สิ่งอำนวย ความสะดวกและการบริการตลอดเสนทาง ไมคำนึงถึงเฉพาะภายในแหลงทองเที่ยวเทานั้น แตมุงพัฒนาใหเปน ระบบตั้งแตจุดเร่มิตนไปจนกระทั่งจุดสิ้นสุดการเดินทาง นั่นเอง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2549 : 22 ) ดังนั้นการพัฒนาโครงขายการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชน ภายในจังหวัดชุมพร เปนแนวคิดการ พัฒนาเสนทางทองเที่ยวในลักษณะของเสนทางทองเที่ยวแบบวงรอบ (looping) โดยมีอำเภอเมืองจังหวัด ชุมพรเปนศูนยกลาง เพื่อเชื่อมโยงกิจกรรมทองเที่ยวกับแหลงทองเที่ยวใกลเคียง ภายในอำเภอตาง ๆ และ แหลงทองเที่ยวเชื่อมโยงในจังหวัดใกลเคียง (รัศมีไมเกิน 60 กม.จากเขตจังหวัดชุมพร) ซึ่งผูศึกษาแบงเปน โครงขายการทองเที่ยวไดดังนี้ (ดังภาพที่ 3) 1. โครงขายการทองเที่ยวโดยชุมชน อำเภอเมือง – อำเภอทาแซะ – อำเภอปะทิว 2. โครงขายการทองเที่ยวโดยชุมชน อำเภอเมือง – อำเภอพะโตะ – อำเภอกะเปอร - อำเภอเมือง ระนอง 3. โครงขายการทองเที่ยวโดยชุมชน อำเภอเมือง – อำเภอสวี – อำเภอทุงตะโก – อำเภอหลังสวน – อำเภอละแม – อำเภอทาชนะ จังหวัดสรุาษฎรธานี 4. โครงขายการทองเที่ยวโดยชุมชน ภายในอำเภอเมืองจังหวัดชุมพร


43 ภาพที่ 4 โครงขายการทองเท่ยีวโดยชุมชนภายในจังหวัดชุมพร และพื้นที่เชื่อมโยง 2 1 3 4


44 นอกจากนี้จากผลการศึกษาของ อำนาจ และคณะ (2553 ) พบวา โครงขายการทองเที่ยวโดยชุมชน พิจารณาตามระดับศักยภาพและลำดับความสำคัญของแหลงทองเท่ียวโดยชุมชน รวมทั้งการเดินทางเชื่อมโยง กับแหลงทองเท่ยีวที่สำคัญอื่นทั้งสองฝงทะเล อันไดแกชายฝงทะเลอาวไทยและชายฝงทะเลอันดามัน ซึ่งคณะ ผูศึกษาจึงมีแนวทางในการพัฒนาโครงขายการทองเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดชุมพร ภายในเสนทางคมนาคมสาย หลัก ดังน้ ี 1. โครงขายการทองเที่ยวโดยชุมชนภายใน อำเภอเมือง – อำเภอปะทิว เปนเสนทาง ทองเที่ยวโดยชุมชนที่เนนการศึกษาระบบนิเวศชายฝงทะเล และแนวปะการัง เชื่อมโยงกับแหลงทองเที่ยวทาง ทะเลภายในอุทยานแหงชาติหมูเกาะชุมพร เชน เกาะแรด หลักแรด เกาะละวะ เกาะมาตรา เกาะลังกาจิว เกาะงามนอย เกาะงามใหญ เปนตน และแหลงทองเที่ยวโดยชุมชน ไดแก บานทุงมหา / ปากคลองโฮมสเตย หรือเชื่อมโยงชุมพรคาบานารีสอรท หรือ ศูนยเรียนรูตามศาสตรพระราชา ภายในโครงการพัฒนาพื้นที่หนอง ใหญฯ ซึ่งเปนเสนทางที่เหมาะสำหรับนักทองเที่ยวในการประกอบกิจกรรมภายใน 1 วัน หรือ พักคาง 2 วัน 1 คืน 2. โครงขายการทองเที่ยวโดยชุมชน อำเภอเมือง – อำเภอสวี – อำเภอทุงตะโก – อำเภอ หลังสวน – อำเภอละแม เปนเสนทางทองเที่ยวเลียบชายฝงทะเลที่ผานแหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพระดับสงู- ปานกลาง ดวยระยะทางเสนทางแบบวงรอบประมาณ 200 กิโลเมตร เหมาะสำหรับนักทองเที่ยวในการ ประกอบกิจกรรมภายใน 1 วัน หรือ พักคางระหวางเสนทาง แบบ 2 วัน 1 คืน หรือ 3 วัน 2 คืน ภายในแหลง ทองเที่ยวโดยชุมชน ไดแก โฮมสเตยบานในไร โฮมสเตยบานทองตมใหญ และโฮมสเตยชุมชนเกาะพิทักษ เสนทางดังกลาวนอกจากไดชมวิวทิวทัศนชายฝงทะเลอาวไทยแลว ยังสามารถศึกษาวิถีชีวิตและวัฒนธรรม ภายในแหลงทองเที่ยวโดยชุมชน และประกอบกิจกรรมทางเลือก เชน กิจกรรมดำน้ำตื้นเกาะคราม และเกาะ มัดหวาย นอกจากนี้เสนทางดงักลาวยังสามารถเดินทางเชื่อมโยงกับแหลงทองเที่ยวโดยชุมชนภายในจังหวัดสุ ราษฎรธานี ไดแก บานลีเล็ด และบานถ้ำผึ้ง 3. โครงขายการทองเที่ยวโดยชุมชน อำเภอเมือง– อำเภอพะโตะ เปนการเดินทางภายใน เสนทางที่คอนขางลาดชันและคดเคี้ยว มีทัศนียภาพที่สวยงามของภูเขาและทรัพยากรปาไม ดวยระยะทาง ประมาณ 115 กิโลเมตร และสามารถเดินทางเชื่อมโยงกับแหลงทองเที่ยวชายฝงทะเลอันดามัน หรือเดินทาง เปนวงรอบโดยผานจังหวัดระนอง ระยะทางประมาณ 300 กิโลเมตร เหมาะสำหรับนักทองเที่ยวในการ ประกอบกิจกรรมภายใน 1 วัน หรือ พักคางระหวางเสนทาง แบบ 2 วัน 1 คืน หรือ 3 วัน 2 คืน ภายในแหลง ทองเที่ยวโดยชุมชน ไดแก โฮมสเตยบานคลองเรือ โฮมสเตยบานหลางตาง และหนวยอนุรักษและจัดการตนน้ำ พะโตะ นอกจากนี้เสนทางดังกลาวมีศักยภาพในการศึกษาดูงานดานเกษตรอินทรีย ธนาคารตนไม และ เศรษฐกิจพอเพียง เชน ศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อชุมชนคนอยูกับปา ศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงบาน นอยกลาปาใหญ ศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงบานทอนอม และศูนยเรียนรูกสิกรรมธรรมชาติบานลุงนิล นอกจากนี้เสนทางดังกลาวยังสามารถเดินทางเชื่อมโยงกับแหลงทองเที่ยวโดยชุมชนภายในจังหวัดระนอง ไดแก บานมวงกลวง บานคลองนาคา และบานทะเลนอก 4. เครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดชุมพร ยังมีการเชื่อมโยงและการสงตอ นักทองเที่ยวโดยธรรมชาติของเพื่อนสมาชิกของเครือขายฯ ที่ดำเนินการภายใตเครือขายจากภูผาสูมหานที อัน ประกอบดวย เครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดชุมพร เครือขายกสิกรรมธรรมชาติ และเครือขาย ธนาคารตนไม ซึ่งเครือขายเหลานี้มีการขับเคลื่อนใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืนภายใตหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ดังนั้นแนวทางการพัฒนาโครงขายฯ คือ การเชื่อมโยงแหลงทองเที่ยวโดยชุมชนภายใตแนวคิด


45 เสนทางทองเที่ยวจากภูผาสูมหานทีหมายถึง การนำเสนอแหลงทองเที่ยวที่มีเอกลักษณแตกตางกันเพื่อเปนจุด ขายและเปนทางเลือกใหกับนักทองเที่ยว เชน เดินทางจากศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อชุมชนคนอยูกับปา บานคลองเรือ บานหลางตาง อำเภอพะโตะ สูแหลงทองเที่ยวทางทะเล เชน ชุมชนเกาะพิทักษ บานทองตม ใหญ บานในไร บานปากคลอง เปนตน 5. โครงขายการทองเที่ยวตามศาสตรพระราชา จากภูผาสูมหานที ดวยรูปแบบการ ขับเคลื่อนเครอืขายฯ โดยนอมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใชในกิจกรรมของชุมชนสมาชิก ซึ่งเห็น ผลเปนที่ประจักษ โดยที่ศาสตรพระราชาใหความสำคัญกับการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน บนพื้นฐาน ของการธำรงไวซึ่งภูมิปญญา วิถีชีวิต และวัฒนธรรมของแตละทองถิ่นนั้นๆ ซึ่งสอดคลองกับวัตถุประสงคของ เครือขายฯ ที่ตองการเผยแพรองคความรูดังกลาว ใหกับชุมชนอื่นๆ เพื่อใหเกิดการขยายผลทั่วประเทศ ทั้งนี้ ตลอดเสนทางทั้งสี่โครงขายเสนทางคมนาคมสายหลักสามารถแวะเยี่ยมชมศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงได ตลอดเสนทาง เชน ศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อชุมชนคนอยูกับปา , ศูนยเรียนรูบานนอยกลางปาใหญ, , บานลุงนิล , บานพี่นุย (วิถีจินตนา) , บานธรรมชาติวรรณภัสสร, หมูบานสมจี๊ด, โครงการพัฒนาพื้นที่หนอง ใหญตามพระราชดำริ เปนตน นอกจากนี้ผลการพัฒนาเสนทางการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนผานกระบวนการประชุมระดมความ คิดเห็นเพื่อกำหนดเสนทาง ควบคูกับการประเมิน วิพากษ และการสรุปผล โดยหวังใหเกิดคุณภาพ ประสบการณนันทนาการของนักทองเที่ยว ประกอบดวย 1) เสนทางจากภูผาสูมหานที 2) เสนทางสอง มหาสมุทร (จากอาวไทยสูอันดามัน) 3) เสนทางทองเที่ยวเชิงเกษตรเศรษฐกิจพอเพียง 4) เสนทาง 3 อ. (อาหาร – อากาศ – อารมณ) และ ตารางตวัอยางโปรแกรมการทองเที่ยว ดังนี้ 1) เสนทางจากภูผาสูมหานที ประกอบดวย เสนทางการเรียนรูที่ 1 อำเภอทาแซะ – อำเภอ ปะทิว – อำเภอเมือง เสนทางการเรียนรูที่ 2 อำเภอพะโตะ – อำเภอหลังสวน – อำเภอทุงตะโก – อำเภอสวี เสนทางการเรียนรูที่ 3 อำเภอพะโตะ – อำเภอสุขสำราญ (จังหวัดระนอง)


46 ภาพที่ 5 เสนทางจากภูผาสูมหานที แหล่งท่องเทียวโดยชุมชน É + อําเภอ


Click to View FlipBook Version