The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กิจกรรม “การสำรวจความหลากหลายของหอยสองฝาและแนวทางการจัดการทรัพยากรบริเวณชายหาดทะเลหน้ามหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร อำเภอละแม จังหวัดชุมพร”
ภายใต้ โครงการ “การสำรวจและรวบรวมเพื่อจัดทำระบบฐานข้อมูลทรัพยากรชีวภาพชายฝั่งทะเลบริเวณแนวปะการังหินตื้น (หินละแม) และภูมิปัญญาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร”

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sriwicha, 2020-10-03 11:53:37

หอยสองฝา

กิจกรรม “การสำรวจความหลากหลายของหอยสองฝาและแนวทางการจัดการทรัพยากรบริเวณชายหาดทะเลหน้ามหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร อำเภอละแม จังหวัดชุมพร”
ภายใต้ โครงการ “การสำรวจและรวบรวมเพื่อจัดทำระบบฐานข้อมูลทรัพยากรชีวภาพชายฝั่งทะเลบริเวณแนวปะการังหินตื้น (หินละแม) และภูมิปัญญาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร”

Keywords: หอยสองฝา,มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร

หอยสองฝา

อาจารย์นาตาลี อาร์ ใจเย็น
มหาวิทยาลัยแมโ่ จ้ - ชมุ พร

หอยเสียบ ชือ่ สามญั (common name) : Wedge shell

เป็นหอยทะเลที่มีเปลือกแข็ง ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) : Donax faba
รูปทรงคล้ายสามเหลี่ยมซึ่งมี
มุมโค้งมนบนเปลือกมีเส้นแสดง วงศ์ (Family) : Pharidae
การเจริญตามความยาวของ
ลำตัว ส่วนมากมักมีสีเหลือง ขนาด : พื้นที่บริเวณหาดหน้ามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรมีขนาดตามความ
อ่อนหรือสีขาวเป็นพื้นและมี กว้าง คือ 1.5 - 3เซนติเมตร
น้ำตาลคาดเป็นเส้นหรือเป็น
แถบกระจายอยู่ทั่วไป แต่ละตัว แหล่งที่พบ : หอยเสียบฝังตัวอยู่ในทราย ตามบริเวณที่มีเขตน้ำขึ้นลง
จะมีลวดลายสีสนั ต่างกัน ส่วนมากพบอยู่บริเวณชายหาด

ประโยชน์ : ประกอบอาหารตามท้องถิ่นนิยม เช่น ดองน้ำปลา ผัดกะเพรา
ผดั พรกิ กับโหระพา หรือเอายำกับมะมว่ งและนำ้ พริกเผา

สรรพคุณ : หอยเสียบมีน้ำ โปรตีน เฮปาทีน (hepatine) ไขมัน ปูน และ
ทองแดง หอยเสียบมีสรรพคณุ ชว่ ยแก้พิษพยาธิ หากมีอาการอึด
อัด แน่นท้องและหน้าอก แขนขาไม่มีเรี่ยวแรง ไม่สบายเพราะไม่
เคยชินกับดินฟ้าอากาศ ให้กินหอยเสียบจะช่วยบำบัดอาการได้
นอกจากนี้ หอยเสียบยังใช้ขบั ปัสสาวะ บำบัดโรคดีซ่าน เพิ่มการ
ขบั หลง่ั นำ้ นม แก้รอ้ นใน แก้เจ็บคอ ขบั เสมหะ และอาการมีเหง่ือ
มากในเด็ก

1

หอยตลับ ชือ่ สามญั (common name) : Wedge shell

หอยตลับหรือเรียกว่าหอยตลับ ชือ่ วิทยาศาสตร์ (Scientific name) : Meretrix meretrix (L., 1758)
ลาย หอยขาว เปลือกหนา มี
รูปร่างคล้ายรูปไข่ ซึ่งมีหลายสี วงศ์ (Family) : Veneridae
สว่ นมากมีสีขาว หรือนำ้ ตาลเงา
บางตัวมีลวดลายบนผิวเป็นลาย ขนาด : พื้นที่บริเวณหาดหน้ามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรมีขนาดตามความ
ซิกแซก มีสีน้ำตาลเงา บานพับ กว้าง คือ 3 - 8เซนติเมตร
เช่น หอยตลับลาย เปลือกเป็น
ลายละเอียดสีเหลืองบนพื้นขาว แหล่งที่พบ : ชายฝั่งทะเลในบริเวณที่เป็นทรายละเอียดปนโคลนในเขตน้ำ
ห อย ตลับเห ลือง เปลือกสี ขนึ้ -ลง โดยฝังตัวอยใู่ ต้พ้ืนทรายลึกประมาณ 5 - 7 ซม.
นำ้ ตาลแดง มีลายเปน็ เส้นขนาน
ก ั บ ข อ บ เ ป ล ื อ ก ห อ ย ต ลั บ ประโยชน์ : ประกอบอาหาร เครือ่ งประดับ
เปลือกจะหนา ผิวเปลือกเป็น
มนเงาสวยงาม มีสแี ละลวดลาย สรรพคุณ : อุดมไปด้วยแร่ธาตุแมกนีเซียม และโพแทสเซียมที่สามารถช่วย
ต่าง ๆ กัน การจำแนกโดยใช้ ลดความดันโลหิตได้
ลักษณะเส้นเว้าลึกเกือบเป็น
คร่งึ วงกลม ที่มา: https://www.wongnai.com/food-tips/8-types-of-mollusca?ref=ct

2

หอยแครง

ฝาของหอยค่อนข้างกลม
เปลือกหนา ด้านนอกของ
เปลือกเป็นสันโค้งด้านละ 20
สัน ด้านบนของสันจะสูงแล้ว
ลาดลงไปถึงฝาเปิดปิด มีร่อง
ลกึ ทีเ่ ปลอื กและบานพบั เปลือก
ที่มีลักษณะเป็นเส้นตรง และมี
ฟันละเอียดที่บานพับจำนวน
มาก โดยปกติเปลือกมีสีน้ำตาล
อมดำ

ชื่อสามญั (common name) : Cockle
ชือ่ วิทยาศาสตร์ (Scientific name) : Anadara granosa
วงศ์ (Family) : Arcidae
ขนาด : พื้นที่บริเวณหาดหน้ามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรมีขนาดตามความ

กว้าง คือ 5-7เซนติเมตร
แหล่งทีพ่ บ : พืน้ ท้องทะเลชายฝั่งตืน้ ๆ ทีเ่ ปน็ โคลนหรอื โคลนเหลว
ประโยชน์ : อาหาร เมนตู า่ งๆ หอยแครงลวก, ยำหอยแครง
สรรพคุณ : ป้องกนั ภาวะโลหติ จางได้เป็นอย่างดี ยืดอายกุ ารเสือ่ มสภาพของ

ผวิ พรรณ
ที่มา : https://www.wongnai.com/food-tips/8-types-of-mollusca?ref=ct

3

หอยแครงบิด ชือ่ สามัญ (common name) : Blood clam

เปลือกหอยคล้ายรูปสี่เหลี่ยม ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) : Trisidos semitorta (Lamarck, 1819)
ฝาหอยทั้งสองฝามีขนาดไม่
เท่ากัน ฝาหอยซ้ายมีขนาดใหญ่ วงศ์ (Family) : Arcidae
กว่าฝาหอยขวา โดยฝาหอยขวา
อยู่บนฝาหอยซ้าย ฝาหอยซ้าย ขนาด : พื้นที่บริเวณหาดหน้ามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรมีขนาดตาม
มีรอยบิดมากกว่าฝาหอยขวา ความกว้าง คือ 1.5 - 3เซนติเมตร
ทางด้านท้ายมีขนาดใหญ่และ
กว่ากว่าทางด้านหน้ามาก ผิด แหลง่ ที่พบ : ชายฝงทะเลที่เปนทราย
เปลือกหอยภายนอกปกคลุม
ด้วยเส้นใยที่หนาคล้ายไหมสี ประโยชน์ : รับประทานสามารถทำได้ทุกเมนูเช่นเดียวกับหอยชนิดอื่นไม่ว่า
น้ำตาล บานพับตรงมีฟันเล็กฟ จะต้ม นึ่ง หรือแกงอย่างเมนู แกงกะทิหอยบิดกับใบชะพลู หอย
เป็นจำนวนมากแต่ไม่เท่ากัน บิดนง่ึ +น้ำจ้มิ ซีฟู้ด หรอื หอยบิดชบุ แป้งทอด
แ ล ะ ม ี ข น า ด เ ล ็ ก เ ร ี ย ง เ ป็ น
ระเบียบอยู่บนบานพับ บริเวณ สารอาหาร : สารอาหารต่างๆและวิตามินหลากหลายชนิดที่ส่งผลดีให้กับ
ตรงกลางบานพับมีลักษณะ ร่างกายอย่างวีตามินบีรวม 1,2,3,5,6,12และ ธาตุเหล็ก
คล้ายหวี แคลเซียม ทองแดง สังกะสี และไอโอดีน

สรรพคุณ : ทำให้รา่ งกายไมอ่ ่อนเพลีย ช่วยทำลายสารพิษจากมลพิษต่างไป
ป้องกันและบำรุงภาวะโลหิตจางบำรุง เล็บ ผิวหนัง และเส้นผม
ปรับสภาพผิวหนังให้ดูดีขึ้น รักษาและบำรุงข้ออักเสบต่างไป มี
แคลอรี่ต่ำเหมาะสำหรับลดความอ้วนควบคุมสมดุลเกลือแร่ใน
รา่ งกายปรับสมดลุ ระบบทางเดินอาหารให้ปกติ

ทีม่ า : https://steemit.com/thai/@plam/-15712e6ca0412

4

หอยนางรม ชือ่ สามัญ (common name) : Oyster

ลักษณะของหอยนางรม เป็น ชือ่ วิทยาศาสตร์ (Scientific name) : Crassostrea gigas
หอยสองฝา ทั่วไปฝาทั้งสองมี
ขนาดไม่เท่ากัน ฝาข้างซ้ายมี วงศ์ (Family) : Ostraeidae
ขนาดใหญ่ เปลือกแบ่งเป็น 3
ชั้น ชั้นในสุดบางมีสีคล้ายมุก ขนาด : พืน้ ที่บริเวณหาดหน้ามหาวิทยาลัยแมโ่ จ้-ชมุ พรมีขนาดตามความ
แ ล ะ เ ร ื อ ง แ ส ง ช ั ้ น น อ ก ส ุ ด มี กว้าง คือ ประมาณ 9-20 ซ.ม.เซนติเมตร
ลักษณะเป็นแผ่นบางมักจะหลุด
ลอกออกบ่อย ๆ ชั้นกลางเป็น แหล่งที่พบ : ส่วนใหญ่หอยชนิดน้ีสามารถพบได้ปากแม่น้ำชายฝ่ัง หรอื
ส่วนประกอบหลักของเปลือก บริเวณที่มโี ขดหนิ และในแนวหินปะการัง แต่ในพื้นที่บริเวณ
หอยคล้ายชอล์ก เปลือกของ หาดหน้ามหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชมุ พรสว่ นใหญ่พบลกั ษณะของ
หอยนางรมเปลี่ยนไปตาม เปลือกบริเวณบนหาดทราย
สภาพแวดลอ้ ม
ประโยชน์ : ประกอบอาหาร เช่น หอยนางรมทรงเครื่อง ยำหอยนางรม

สรรพคุณ : เพิม่ สมรรถภาพทางเพศ, ลดระดับไขมันในเลือด

ที่มา : https://www.wongnai.com/food-tips/8-types-of-mollusca?ref=ct

5

6

กจิ กรรม “การสำรวจความหลากหลายของหอยสอง
ฝาและแนวทางการจัดการทรัพยากร
บริเวณชายหาดทะเลหน้ามหาวิทยาลัยแม่
โจ้ - ชุมพร อำเภอละแม จงั หวดั ชมุ พร”

ภายใต้ โครงการ “การสำรวจและรวบรวมเพื่อ
จัดทำระบบฐานข้อมูลทรัพยากรชีวภาพ
ชายฝั่งทะเลบริเวณแนวปะการังหินตื้น (หิน
ละแม) และภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ มหาวทิ ยาลัย
แมโ่ จ้ - ชมุ พร”

7


Click to View FlipBook Version