The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภายใต้โครงการ การสำรวจและรวบรวมเพื่อจัดทำระบบฐานข้อมูลทรัพยากรชีวภาพชายฝั่งทะเลบริเวณแนวปะการังน้ำตื้น(หินละแม) และภูมิปัญญาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sriwicha, 2020-11-29 02:43:31

ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการอนุรักษ์ทรัพยากรชีวภาพชายฝั่งทะเล มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร

ภายใต้โครงการ การสำรวจและรวบรวมเพื่อจัดทำระบบฐานข้อมูลทรัพยากรชีวภาพชายฝั่งทะเลบริเวณแนวปะการังน้ำตื้น(หินละแม) และภูมิปัญญาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร

Keywords: ภูมิปัญญาท้องถิ่น ,อนุรักษ์ทรัพยการชีวภาพชายฝั่ง

ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น

ในการอนุรักษท์ รัพยากรชีวภาพชายฝัง่ ทะเล มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้ - ชมุ พร

อาจารย์ ดร.เชษฐ์ ใจเพชร 0
มหาวิทยาลัยแมโ่ จ้ - ชุมพร

ธนาคารไขห่ มกึ

เจ้าของภมู ิปญั ญา
นายสมชาย เซ่งต้ี และ
ชาวประมงในพืน้ ที่

บ้านทะเลงาม หมูท่ ี่ ๙
ตำบลสวนแตง อำเภอละแม
จงั หวดั ชมุ พร

ธนาคารไข่หมึกของชาวประมงพื้นบ้านได้มีการจัดทำขึ้นเพื่อ
ต้องการที่จะขยายพันธ์ปลาหมึกในท้องทะเลซึ่งในธนาคารไข่หมึก
ของบ้านทะเลงาม เป็นธนาคารไข่หมึกแห่งแรกของประเทศไทยใน
การจัดทำครั้งนี้นายสมชาย เซ่งตี้และชาวประมงในพื้นที่ ได้รับการ
สนับสนุนข้อมูลทางวิชาการความรู้เฉพาะทางเกี่ยวกับธนาคาร
ป ล า ห ม ึ ก จ า ก อ า จ า ร ย ์ ค ณ ะ ว ิ ท ย า ศ า ส ต ร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และได้รับการสนับสนุนงบประมาณ
จากศูนย์วิจัยและพัฒนนาประมงทะเลอ่าวไทยตอนกลาง (ชุมพร)
ในการตัดสินใจที่จะทำครั้งแรกนั้นมีความรู้สึกไม่มีความมั่นใจมาก
นักวา่ จะสำเรจ็ แต่มคี วามมัน่ ใจในตัวอาจารย์และเจา้ หนา้ ที่จากกรม
ประมงว่าจะสามารถทำได้แน่นอนประกอบกับการทำในครั้งแรกน้นั
ได้ประสบความสำเรจ็ เป็นอยา่ งมากเป็นเพราะได้เหน็ ลูกหมึกจำนวน
มากว่ายน้ำเต็มทั่วกระชังทำให้ครั้งแรกผ่านไปได้ด้วยดี จึงมีการทำ
คร้ังต่อไปขึน้ มาเลือ่ ยๆ

1

โดยการทำธนาคารไข่หมึกนั้นจะ อยู่รอดได้มาก หลังจากที่ได้มีการใส่ไข่หมึกที่
ประกอบไปด้วย ลอบหมึกซึ่งเป็นเครื่องมือที่ ยังคงเหลือหรือตกค้างลงนั้นใช้ระยะเวลา
สำคัญในการดักจับปลาหมึกซึ่งจะมีลักษณะโค้ง ประมาณ 6-9 วันเพื่อรอให้มีการฝักตัวและจะ
เปน็ รูปครึง่ วงกลมจะมีช่องเปิด ให้ปลาหมึกได้เข้า พบกบั ลูกหมกึ จำนวนมากในบริเวณกระชังน้ันเอง
ไปข้างในได้ง่าย อีกทั้งยังมีถุงสีขาวริ้วๆเพื่อใช้ใน ปัจจุบันได้ประสบความสำเร็จเป็นอย่างยิ่งเพราะ
การล่อให้ปลาหมึกเข้าลอบนั้นเองหลักจากที่มีไข่ ได้เป็นตัวอย่างในการทำธนาคารไข่หมึกให้กับ
หมกึ แล้ว เหลือจากหมึกที่ตกค้างและได้มีการเอา หลายๆที่ อีกทั้งเป็นการขยายพันธ์ปลาหมึกใน
ไปใส่ในตาข่ายอวนซึ่งในการทำครั้งแรกนั้นได้ใช้ ท้องทะเลได้มากขึ้นกว่าในอดีตเป็นจำนวนมาก
ทุ่นลอยน้ำลูกเล็ก ๆ สีขาวใส่ในอวนอันเล็ก ๆ ทำ ทั้งนี้อยู่ที่คุณภาพของน้ำและทิศทางของแรงลม
เป็นถุงเป็นช่อๆเพื่อให้ทุ่นได้ลอยตัวขึ้นซึ่งส่งผล ในทะเลด้วยหากระยะเวลานั้นน้ำในทะเล หากน้ำ
เสียเพราะไข่หมึกได้มีการลอยไปตามกระแสน้ำ ทะเลเน่าเสียจะส่งผลกระทบทำให้ไข่หมึกใน
ทั้งนี้ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพของไข่หมึก กระชังมีโอกาสที่จะรอดค่อนข้างน้อยและขึ้นอยู่
มาเรื่อยๆ อาจเป็นเพราะในการใช้งานด้วยทุ่นทำ กบั สภาพแวดล้อม
ให้นายสมชายและชาวประมงไม่มีความถนัดใน
การใช้งานจากนั้นได้มีการเปลีย่ นมาเป็น ท่อพีวีซี จากการสำรวจธนาคารไข่หมึกของ
ขนาดวงใหญ่ ใส่ในถุงอวนแบบดั้งเดิมแต่เอาไว้ ชาวประมงในพื้นที่ หมู่9บ้านทะเลงามพบว่า
ตรงกลางของอวน ซึ่งทำให้ไข่หมึกได้กระจายตัว ธนาคารไข่หมึกแห่งนี้คือที่แรกของประเทศไทย
ไปทั่วอวนส่งผลความลำบากในการใช้งานเช่นกัน และได้รบั ผลสำเร็จจากการทำต้ังแต่คร้ังแรกซึ่งมี
และในปัจจุบันได้มีการเปลี่ยนแปลงเป็นใช้แค่ถุง ผู้ให้ความรู้รวมไปถึงผู้สนับสนุนในการทำ
อวนเพียงอย่างเดียวและนำมาผูกไว้กับตัวกระชัง ธนาคารไข่หมึกคืออาจารย์คณะวิทยาศาสตร์
โยตัวกระชังจะมีขาดกวางยาง 3*2*2 เมตร เป็น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และศูนย์วิจัย
จำนวน 2 กระชัง ซึ่งมีการใช้อวนโพลีเอทธิลีนสี และพัฒนนาประมงทะเลอ่าวไทยตอนกลาง
แดง จะมีขนาดของตาอวน 0.5 เซนติเมตร กั้น (ชุมพร) นั้นเองเป็นการสร้างธนาคารไข่หมึกขึ้น
เป็นคอกสี่เหลี่ยมรอบ ๆ ตัวกระชังไว้เพื่อความ เพื่อต้องการขยายพันธ์ปลาหมึกในท้องทะเล
สะดวกสบายในการใช้งานได้อย่างแท้จริงซึ่งการ เพราะในอดีตพื้นที่แหง่ นี้พบปลาหมึกจำนวนน้อย
วางกระชังลอบหมึกจะมีการวางระหว่างแนว แต่ปัจจุบันพบปลาหมึกในท้องทะเลมากขึ้นซึ่งใน
ปะการังในทะเล มีระยะห่างจากฝั่ง ประมาณ 2- การทำนนั้ ได้มีการเปลี่ยนแปลงอุปกรณ์มาเลื่อยๆ
3 ไมล์ทะเล และระดับน้ำมีความลึกประมาณ 4 ทั้งนี้เพื่อความสะดวกและความถนัดของ
เมตร เพื่อเป็นการขยายพันธ์ได้ง่ายและมีความ ชาวประมงนั้นเอง

2

ข้นั ตอนการทำธนาคารไขห่ มึก 3. ในการที่จะปล่อยหมึกลงในกระชังนั้น
ต้องใส่ไข่หมึกที่เหลอื ใสล่ งในอวนตาข่ายอันเลก็ ๆ
1. ข้ันตอนแรกทำลอบหมกึ ซึ่งเป็น ที่มีขนาดอวนตาข่ายแต่ละอันไม่เท่ากันอยู่ที่การ
เครือ่ งมือดกั จับปลาหมกึ ลักษณะโครงลอบโค้ง คาดคะเน
เป็นโค้งรปู ครึง่ วงกลม ใช้อวนโพลีเอทธิลีน ขนาด
ตาอ้วน 2.2 นิว้ หุ้มโดยรอบและมีชอ่ งปิด ให้หมกึ
เข้าไปภายในใช้ และใช้ถงุ พลาสตกิ สีขาวตัดเปน็
รวิ้ ๆ เพื่อลอ่ ให้ปลาหมึกเข้าลอบ

4. นำไข่หมึกใส่ลงในอวนตาข่ายเรียบร้อย
เพื่อที่จะนำไปผกู ไว้กบั กระชังไข่หมกึ น้ันเอง

2. ลักษณะของไข่หมึก จะมีลักษณะกลมๆ 5. กระชงั ซึ่งขนาดของกระชังนั้นจะมีขนาด
สีขาวขุ่น ถ้าหากหมึกมาวางไข่ทีล่ อบด้านบนหรือ 3x3x2 เมตร ซึ่งตามมุมจะประกอบไปด้วยถังน้ำ
ด้านลา่ งสามารถดึงเชือกปรับได้ทันที่และนี้คือภูมิ 200 ลิตร เพื่อให้ตัวกระชังได้ลอยน้ำ โดยใช้เวลา
ปัญญาท้องถิ่นที่เกิดขึ้นจากความชำนาญและ ในการเพาะไข่หมึกในกระชังโดยประมาณ 3-9
ความเคยชินในการลอบและจะพบไข่หมึกที่ได้จะ วันนั้นเอง
มีอยู่ 2 ประเภทด้วยกันคือ ไข่หมึกหอม และไข่
หมกึ กระดอง สว่ นใหญจ่ ะได้เปน็ หมึกหอม

3

6. ในการเพาะไข่หมึกจะเป็นระยะเวลา3-
9 วันหากได้ไข่หมึกที่กำหนดตามระยะเวลา
ดังกล่าวแล้วจะมีปลาหมึกที่ตัวเล็กและสามารถ
ออกนอกตาข่ายเพื่อไปเติมโตในทะเลได้และนี้คือ
การขยายพันธข์ องธนาคารไขห่ มึกน้ันเอง

4

เรอื ใบโบราณ

เจ้าของภมู ิปญั ญา
นายบุญพบ นาคแก้ว
(ที่ปรึกษาชมรมรักษ์เรือใบ
โบราณ)
บ้านแหลมสันติ หมทู่ ี่ ๕
ตำบลละแม อำเภอละแม

เรือใบโบราณ กำเนิดขึ้นสมัยก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2
เปน็ พาหนะทีส่ ำคญั ของประชาชนที่อาศัยอยบู่ ริเวณชายฝั่ง เพื่อการ
สัญจรทางทะเลซึ่งสมัยนั้นใช้ในการขนของ ขนสินค้ามาขาย และ
ประกอบอาชีพด้านการประมง โดยการนำผืนผ้าดิบมาดดั แปลงเปน็
ใบเรือ เพื่อรับกับกระแสลมให้เกิดแรงขับ ประกอบกับการใช้หาง
เสือให้สามารถแล่นเรือไปในทิศทางที่ต้องการ แต่ปัจจุบันมีการนำ
เทคโนโลยีต่างๆ มาปรับใช้ทดแทนวิธีดังกล่าว ส่งผลให้เรือใบ
โบราณค่อยๆ เลือนหายไปจากความทรงจำ และ ไม่มีการนำมาใช้
อีก (ชมรมรกั ษเ์ รือใบโบราณละแม,2563)

5

ดังนั้นจากการที่พื้นที่อำเภอละแมและ อดีตจนถึงปัจจุบันที่มีคุณค่าแก่การศึกษาและ
อำเภอใกล้เคียง เคยมีการใช้เรือใบโบราณอีกทั้ง อนรุ ักษไ์ ว้
ในปัจจุบัน ยังคงมีผู้มีประสบการณ์ในการต่อเรือ
และทำใบเรือ ขณะเดียวกันมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ข้นั ตอนการต่อเรือใบโบราณ
ชุมพร เป็นหน่วยงานด้านการบริการวิชาการและ
การศึกษา มุ่งให้เกิดกิจกรรมการเรียนรู้ ฟื้นฟู 1. การทำเรือใบแต่ละครั้งขั้นตอนเริ่มแรกเลยคือ
และเผยแพร่ศิลปะวัฒนธรรมของชาติ จึงเกิด การหาไม้ที่แข็งแรงและทนทานดั่ง เช่น ไม้
แนวคิดร่วมระหว่างคณาจารย์ในมหาวิทยาลัยฯ ตะเคียนทอง ไม้สัก ไม้เคี่ยมนั้นเอง ซึ่งส่วนใหญ่
และกลุ่มชาวบ้านในพื้นที่ผู้สนใจเรื่องเรือใบ จะใช้ไม้ตะเคียนทองเพราะมีความแข็งแรง แน่น
โบราณจัดตั้ง “ชมรมรักษ์เรือใบโบราณละแม” หนาทนทานต่อแดด ลม น้ำทะเล เปน็ ไม้ที่หาได้ใน
เพื่อร่วมกันอนุรักษ์และฟื้นฟูภูมิปัญญาท้องถิ่น พื้นที่ตำบลละแม แต่ต้องมีอายุของไม้ 10 ปีขึ้น
ประเภทเรอื ใบโบราณ โดยเสนอผ่านกิจกรรมเปิด เท่านั้นเพื่อความแข็งแรงและไม้เคี่ยมเป็นอีกพนั ธ์
โลกทะเลละแม ครั้งที่ 1 ด้วยการจัดการแข่งขัน ไม้ที่หาง่ายที่สุดเพราะอยู่ตามชายทะเลทั่วไป
เรือใบโบราณขึน้ เมื่อปี พ.ศ. 2543 จนปัจจบุ ั เลือกไม้ที่เหมาะสมกับการทำเรือใบโบราณได้
แล้วหลังจากนั้นเลื้อยไม้เป็นแผ่นๆเพื่อที่จะ
จากการสำรวจพบว่า เรือใบโบราณในเขต โครงสรา้ งส่วนต่าง ๆของเรือ
พื้นที่ตำบลละแมนั้นในอดีตนั้นมีไว้สำหรับการ
ขนส่งสินค้าทางทะเลนั้นเองเพราะเป็นการสันจร 2. หลังจากที่ได้ไม้แล้วตั้งโครงสร้างเรือให้เป็น
ทีส่ ะดวกในอดีต ประกอบกบั พืน้ ที่ตำบลละแมอยู่ กระดกู งดู งั่ รูปส่วนนเี้ ปน็ สว่ นสำคญั ของเรือเพราะ
ติดชายฝั่งทางทะเลทำให้สะดวกมากไม่ว่าจะเป็น หากไม้ในส่วนของโครงกระดูกงูไม่แน่นพอ
การขนสินค้ามาขาย หรือใช้สอยในชีวิตประจำวัน ส่วนประกอบอื่นก็ไม่สำเร็จได้เช่นกัน ขั้นตอน
ไม่จะเป็นการหาปลาในทะเล แต่ในปัจจุบันนั้นได้ ต่อไปคือการทำแคมเรือ ส่วนที่ใช้สำหรับกัน
มีวิวัฒนาการเปลี่ยนแปลงขึ้นมาเลื่อยๆโดยการ
ติดเครื่องยนต์ที่ตัวเรือเพื่อเพิ่มความเร็วและใช้
งานได้สะดวกและมีการเปลี่ยนรูปทรงของเรือ
ขึ้นมาเลื่อยๆแต่ทั้งนี้เรือใบโบราณมีความสำคัญ
กบั พืน้ ที่ในละแมมากเพราะคือภมู ิปญั ญาต้ังแต่ใน

6

กระแทกตัวเรือ เปรียบเสมือนกันชนของรถ ทำ
โดยใช้ไม้ชนิดเดียวกันกับที่ลำเรือ ขนาดตาม
ความยาวของเรือโดยใช้ตะปูตอกยึดติดกับลำเรือ
จากหัวมาท้าย

3. หางเสือเรือ ใช้สำหรับบังคับทิศทางเรือ มี 5. การใส่ใบเรือ ในอดีตใบเรือจะทำโดยใช้ผ้าดิบ
ส่วนประกอบคือ คันจับมีไว้สำหรับบังคับหางเรือ นำมาย้อมกับเปลือกไม้ตะบูนเพื่อความสวยงาม
ทำด้วยเหลก็ ทนทาน แต่ในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงมาใช้ผ้า
ร่มอทน เพราะผ้าร่ม น้ำนักเบา ไม่อุ้มน้ำ ทำ
ความเร็วดี และเก็บลมได้มากกว่าผ้าดิบ โดยนำ
ผ้าร่มมาตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู ตามขนาดที่
ต้องการ เมือทุกอย่างเสร็จสมบูรณ์สามารถแล่น
เรือในทะเลได้ ทั้งนี้เรือใบขึ้นอยู่กับลมในการแล่น
เรือ

4. การทำที่ใส่เสาใบเรือ ทำจากไม้แผน่ เดียวเจาะ
เป็นรูตรงกลางแผ่นไม้สำหรับใส่เสาใบเรือ โดย
บากใหเ้ ป็นชอ่ งดา้ น ซ้าย-ขวา

7

หอยจบั วาย

เจา้ ของภมู ิปญั ญา
บ้านแหลมสนั ติ หมู่ที่ ๕
ตำบลละแม อำเภอละแม

เริม่ ต้นนายประยงค์ ฤทธิโสม หรอื ลงุ เที่ยง เปน็ ชาวประมง
ในพืน้ ที่หมู่ที่5 ตำบลละแม อำเภอละแม จังหวดั ชุมพร ซึง่ ลุงเทีย่ งได้
เริ่มทำเครื่องมือประมงลอบหมึกสายขึ้นมาหรือที่ชาวบ้านเรียกกัน
ว่า กุ๊งกิ๊งเพื่อนำไปไว้ใช้จับหมึกสายในช่วงเดือนมีนาคม-เดือน
เมษายน ซึ่งอุปกรณช์ นิดนี้ลุงเที่ยงได้เริ่มคิดทำขึ้นมาด้วยตัวเองโดย
การสังเกตวิธีการทำของชาวบ้านในสมัยก่อนมา แต่ส่วนมากใน
ปจั จบุ ันนชี้ าวบ้านได้นำวธิ ีการทำเครือ่ งมอื ประมงลอบหมึกสายด้วย
วิธีการที่ทนั สมัยกว่า เชน่ ใชข้ วดในการทำเคร่อื งมอื ประมงลอบหมึก
สายแทนหอยสงั ขใ์ นปัจจบุ ันแต่ลงุ เที่ยงยังใช้การทำเคร่ืองมือประมง
ลอบหมึกสายโดยใช้หอยสังข์ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าหอย
จุกพราหมณ์ เพราะหอยชนิดนี้มีเปลือกหนา ทนต่อการกระแทก
โดยลุงเที่ยงได้นำมาตัดปลายขอบด้านหัวออกเพราะจะทำไห้เมื่อ
วายเข้าไปแล้วสามารถเข้าไปได้ง่ายแล้วจะทำไห้น้ำในตัววาย
สามารถไหลออกมาง่ายตัดด้านท้ายเพื่อใหน้ ้ำหนกั ท้ังสองข้างสมดุล
กัน และตัดขอบเปลือกด้านท้องให้เรียบเพื่อไม่ให้เกิดความคมของ
หอยสังข์ โดยวิธีการตัดนั้นจะใช้บล็อคตะปูเพื่อไว้ยึดหอยทั้ง4มุม
เพื่อไม่ให้หอยสังข์เคลื่อนตอนตัด และจะตัดด้วยเครื่องเจียรไฟฟ้า
หรอื ทีช่ าวบ้านนิยมเรียกกนั วา่ ลูกหมู

8

และเจาะรูด้านท้ายสำหรับร้อยกับเชือกคร่าว ขัน้ ตอนการทำหอยจบั วาย
เชือกคร่าวใช้เชือกไยยักษ์ (Polypropylene) ด้วย
สวา่ นไฟฟ้า เส้นผ่านศูนย์กลาง 4 มมเชือกห่างกัน 1. หอยจุกพราหมณ์ หรือ หอยสังข์จุกพราหมณ์
ประมาณ 2 เมตร เป็นตัวล่อให้หมึกสายเข้ามา (Noble volute) เป็นหอยทะเลฝาเดียว ขนาด 5-
อาศัย ผูกเข้ากับเปลือกหอยลักษณะเป็นราวต่อ 15 ซม. เปลือกหนา ผิวเรียบ สีน้ำตาลอ่อนลาย
กัน ( นคเรศ ยะสขุ : 2555 : ออนไลน์ ) ซิกแซกสีน้ำตาลเข้ม อาศัยตามหาดโคลนในเขต
น้ำขึ้นน้ำลง ความลึกประมาณ 15-20 เมตร ที่
เมื่อร้อยหอยสังข์เสร็จแล้วเรานำที่ร้อย เลือกใช้หอยสังข์ เพราะหอยชนิดนี้มีเปลือกหนา
เชือกแล้วทั้งหมดนำมาใส่ลงไปในภาชนะที่จะ ทนต่อการกระแทกและหอยชนิดนี้ยังมีตัวใหญ่
นำไปใช้ใส่หอยสังขท์ ี่เจาะรพู ร้อมทีจ่ ะนำไปวางลง พอที่จะดักจับหมึกสายได้ ( กรมทรัพยากรทาง
ในทะเลประมาณ160-200ตัว โดยการวางลุง ทะเลและชายฝั่ง(กรมทรัพยากรทางทะเลและ
เที่ยงจะออกไปวางกับเรือเล็ก โดยจะออกไปวาง ชายฝั่ง:. 2563: ออนไลน์:) จากการศึกษาพบว่า
จากฝั่งประมาณ14ไมล์วางลอบเป็นแถวขนานกับ การนำหอยสังข์มาตัดแล้วทำเป็นเครื่องมือดักจบั
ชายฝั่งซึ่งมีระยะห่างประมาณ2เมตร ซึ่งใช้ทุ่น ตัวหมึกสายนั้นเป็นภูมิปัญญาชาวบ้านของคนใน
ปูนซีเมนต์ยึดหัวและท้ายแถวเพื่อป้องกันการ พื้นที่หมู่ที่5 ตำบลละแมอำเภอละแม จังหวัด
เคลื่อนที่ของแนวลอบ ผูกทุ่นธงต่อกับทุ่น ชุมพร ที่นำมาใช้ในการทำเป็นเครื่องมือดักจับ
ปูนซีเมนต์เพื่อแสดงตำแหน่งของลอบเมื่อปล่อย หมึกสายในการเลือกหอยสังข์มาตัด 3 ส่วนออก
ห อ ย สั ง ข ์ ล ง ท ะ เ ล ห ม ด แ ล ้ ว เ ร า จ ะ ป ล ่ อ ย ไ ว้ ให้ได้ขนาดเล็กลงเพื่อทำให้ตัวหมึกสายเข้าไปใน
ประมาณ 2 วันจะกู้ที่นึงเมื่อครบ 2 วันแล้วเราก็ หอยสังข์ได้สะดวก
เก็บขึ้นมาโดยวิธีการเกบ็ จะใช้วิธีการสาวขึ้นมาไว้
บนเรือ เมื่อเราได้หอยมาแล้วเราจะเห็นตัวหมึก
ออกมาจากหอยสังข์แล้วเราก็จะทำไห้หมึกสาย
นั้นออกมาโดยมีเทคนิคอยู่ 3 อย่างคือ 1. ปล่อย
ให้หมึกสายออกมาเองโดยธรรมชาติ 2. ใช้น้ำจืด
โดยการจุ่มลงไปในถังน้ำจืด แล้วหมึกจะรีบ
ออกมาจากเปลือกหอยเพราะหมึกสายจะไม่ถูก
กบั น้ำจดื 3. ใช้นำ้ เค็มหรอื น้ำทีม่ คี วามเข้มข้นสงู

9

2. วิธีการตดั นน้ั จะใช้บล็อคตะปเู พื่อไว้ยึดหอยทั้ง 3. เจาะรูด้านท้ายสำหรับร้อยกับเชือกคร่าว
4มุมเพื่อไม่ให้หอยสังข์เคลื่อนตอนตัด และจะตัด เชือกคร่าวใช้เชือกไยยักษ์ (Polypropylene) ด้วย
ด้วยเครื่องเจียรไฟฟ้า หรือที่ชาวบ้านนิยมเรียก สว่านไฟฟ้า เส้นผ่านศูนย์กลาง 4 มม เชือกห่าง
กันว่า ลูกหมู ขั้นตอนในการตัดหอยสังข์มีอยู่ 3 กันประมาณ 2 เมตร เปน็ ตัวลอ่ ใหห้ มกึ สายเข้ามา
ขั้นตอน คือ 2.1.ตัดปลายขอบด้านหัวออกเพราะ อาศัย ผูกเข้ากับเปลือกหอยลักษณะเป็นราวต่อ
จะทำไห้เมื่อวายเข้าไปแล้วสามารถเข้าไปได้ง่าย กัน เมื่อร้อยหอยสังข์เสร็จแล้วเรานำที่ร้อยเชือก
แล้วจะทำไหน้ ้ำในตวั วายสามารถไหลออกมาง่าย แล้วทั้งหมดนำมาใส่ลงไปในภาชนะที่จะนำไปใช้
2.2.ตัดด้านท้ายเพื่อให้น้ำหนักทั้งสองข้างสมดุล ใส่หอยสงั ข์ที่เจาะรพู ร้อมที่จะนำไปวางลงในทะเล
กัน 2.3.ตัดขอบเปลือกด้านท้องให้เรียบเพื่อไม่ให้ ประมาณ160-200ตัว(ประยงค์ ฤทธิโสม :.
เกิดความคมของหอย(ประยงค์ ฤทธิโสม : 2563 2563:) จากการสังเกตเหน็ ว่าการทีเ่ ราเจาะรูเพื่อ
) จากการศกึ ษาจะเห็นวา่ เครือ่ งมือที่ใชใ้ นการตัด ร้อยเชือกนั้นจะเกิดความสะดวกในการนำหอย
หอยสังข์นั้นจะใช้บล็อคตะปูเพื่อยึดตัวหอยเอาไว้ สังข์ที่เจาะรูร้อยเชือกเสร็จแล้วจะนำลงไปปล่อย
แล้วใช้ ลูกหมตู ัดส่วนหวั สว่ นท้าย ส่วนกลางออก ในทะเลได้สะดวก และยังสะดวกในการเก็บขึ้นมา
เพื่อให้ตัวหมึกสายสามารถเข้าไปได้ง่ายจะเห็นได้ อีกด้วย เมื่อหอยชำรุดเราสามารถเปลีย่ นตัวหอย
ว่าหอยสังข์มีขนาดเล็กลงเพื่อให้สะดวกต่อการ ได้เนื่องจากเราผูกเชือกไว้แบบคลายตัวสามารถ
จับหมึกสายหรือเป็นการเพิ่มจำนวนในตระกร้า ปล่อยได้ ซึ่งเหมาะแก่การเปลี่ยนตัวหอยสังข์ที่
จาก 160-200 ตวั เพื่อสะดวกในการวางและเกบ็ ชำรดุ และใส่หอยตวั ใหมเ่ ข้าไปแทนได้

10

4. วางลอบเป็นแถวขนานกับชายฝั่งซึ่งมี 6. เมื่อเราได้หอยมาแล้วเราจะเห็นตัวหมึก
ระยะห่างประมาณ2เมตร ซึ่งใช้ทุ่นปูนซีเมนต์ยึด ออกมาจากหอยสังข์แล้วเราก็จะทำไห้หมึกสาย
หัวและท้ายแถวเพือ่ ป้องกนั การเคลือ่ นที่ของแนว น้ันออกมาโดยมีเทคนิคอยู่ 3 อย่างคอื
ลอบ ผูกทุ่นธงต่อกับทุ่นปูนซีเมนต์เพื่อแสดง
ตำแหน่งของลอบเมื่อปล่อยหอยสังข์ลงทะเล 1) ปล่อยให้หมึกสายออกมาเองโดย
หมดแล้วเราจะปล่อยไว้ประมาณ 2 วันจะกู้ที่นึง ธรรมชาติคือเมื่อหมึกขาดน้ำเค็มมันจะคลาน
(ประยงค์ ฤทธิโสม :. 2563:) ออกมาเองตามธรรมชาติ

5. เมือ่ ครบ 2 วนั แล้วชาวประมงก็ใช้เรอื เล็ก หรือ 2) ใช้น้ำจืดโดยการจุ่มลงไปในถังน้ำจืด
เรือใหญอ่ อกทะเลลงไปเก็บหอยขึ้นมาโดยวิธีการ เนื่องจากสภาพน้ำที่หมึกไม่คุ้นเคยมันก็จะคลาน
เก็บจะใช้วิธีการสาวขึ้นมาไว้บนเรือ โดยเก็บตอน ออกมาทนั ทีเพราะหมกึ สายจะไม่ถูกกบั น้ำจืด คือ
จะมีคนประมาณ 2-3 คน คนนึงจะเป็นคนเก็บ การใช้นำเค็มฉีดเข้าไปในหอยสังข์เพื่อให้ตัวหมึก
หอยขึ้นมา อีกคนเขาอาจจะถือหางเสือเพื่อไป ออกมา
ตามเส้นที่เก็บ โดยการเก็บขึ้นมาขึ้นมาบนเรือจะ
ใช้วธิ ีการสาวขึน้ มา 3) ใช้น้ำเค็มหรือน้ำที่มีความเข้มข้นสูง
จากการศึกษาจะเห็นว่า การนำตัวหมึกออกมมา
จากตัวหอยนั้นจะมีวิธีการที่จะทำไม่เหมือนกัน
แล้วแต่ชาวบ้านบางคนวา่ เขาจะเลือกใช้วิธีไหนแต่
การนำตวั หมกึ ออกมานั้นมีเทคนิคอยู่ 3 อย่าง คือ
ปล่อยให้หมึกสายออกมาเองโดยธรรมชาติ คือ
เมื่อหมึกขาดน้ำเค็มมันจะคลานออกมาเองตาม
ธรรมชาติ ในส่วนทีใ่ ช้นำ้ จดื โดยการจุ่มลงไปในถัง
น้ำจืด เนื่องจากสภาพน้ำที่หมึกไม่คุ้นเคยมันก็จะ
คลานออกมาทันที และใช้นำ้ เค็มหรือน้ำที่มีความ
เข้มข้นสูง คือการใช้นำเค็มฉีดเข้าไปในหอยสังข์
เพือ่ ให้ตัวหมกึ ออกมา

11

เครือ่ งมือประมง
พน้ื บ้าน

เจ้าของภูมิปัญญา มิปัญญาท้องถิน่ หมู่ที่ 4 บ้านทรายคือเคร่อื งจกั สาน นับวา่ เป็นงาน
หตั ถกรรมท้องถิ่น ที่อยู่ค่กู ับวิถีชีวติ ของคนในท้องถิน่ ไทยมาตง้ั แต่
บ้านทราย หมทู่ ี่ 4 โบราณเนือ่ งจากชีวติ ความเป็นอยใู่ นแบบสังคมเป็นวิถีชีวิตที่
ตำบลละแม อำเภอละแม พึ่งพาฃฃฃฃ
จงั หวดั ชุมพร

ภูมิปัญญาท้องถิ่นหมู่ที่ 4 บ้านทรายคือเครื่องจักสาน นับว่าเป็น
งานหัตถกรรมท้องถิ่น ที่อยู่คู่กับวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่นไทยมาตั้งแต่
โบราณเนื่องจากชีวิตความเป็นอยู่ในแบบสังคมเป็นวิถีชีวิตที่พึ่งพา
ธรรมชาติจำเป็นต้องใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือในการดำรงชีพ เช่น
อุปกรณ์ห่อหุ้มอาหาร น้ำ หรืออุปกรณ์ในการจับสัตว์น้ำเพื่อนำมาเป็น
อาหารในการดำรงชีพ ฯลฯ ท้ังนไี้ ด้จดั ทำขนึ้ จากวสั ดุจากธรรมชาติไม้ไผ่
หรือหวาย จากฝีมือความคิด ภูมิปัญญาของชาวบ้านมีลักษณะรูปทรง
แตกต่างกันไปตามแต่ละท้องถิ่น การจักรสารนั้นมีมานานตั้งแต่ในอดีต
สืบทอดกันมาเลื่อยๆจนถึงปัจจบุ ันเรียกได้วา่ มีความสำคญั มากอย่างยิ่ง
เพราะทำให้ภูมิปัญญาท้องถิ่นนั้นได้สืบทอดมายาวนานซึ่งในการจักร
สารนั้นจะมีรูปแบบลวดลายที่ได้รบั ความสนใจ ประกอบไปด้วยการจักร
สารจากไม้ไผ่และหวายน้ันมีความแข็งแรงและทนทาน ซ่งึ ได้ใช้ประโยชน์
จากการจักรได้เยอะไม่ว่าจะเป็นตะกร้าที่นำไม้ไผ่มาสาร หรือแม้กระทั้ง
เครอ่ื งมือทางการประมงน้ำจืดน้ันเอง

12

ในการทำเครื่องจักสารครั้งนี้เป็นการสอนมา 2. นำเชือกมาถักกับไม้ ซึ่งลายที่ถักชื่อลายว่า
เป็นรุ่นต่อรุ่นและนายฉะอ่อ/น ตโลกาล คือรุ่น ลายขดั นั้นเอง ในการถกั จะถักเปน็ วงกลม
สุดท้ายของตระกลู เพราะไม่มีใครสืบทอดตอ่ ในการ
สารเนื่องจากเด็กรุ่นใหม่ไม่ให้ความสำคัญกับภูมิ 3. หลังจากนั้นกางสว่ นไม้ที่ได้ถักออกแล้วเปิด
ปัญญาท้องถิ่นกันสักเท่าไหร่อาจะเป็นเพราะคิดว่า ด้านในใส่เหล็กไว้ตรงกลาง และผูกกับไม้ไผ่ เพื่อยึด
หากซื้อพวกสำเร็จรูปอาจจะสะดวกและง่ายกว่าใน ไม่ให้เหล็กหลดุ จากไม้
การทำเครื่องจักรสารครงั้ นี้คอื สุ่มจบั ปลาน้ันเอง สุ่ม
จับปลามีความสำคัญต่อชาวประมงพื้นบ้านใน
สมัยกอ่ นมากสมยั ก่อนคนรุน่ เก่าใช้สมุ่ จบั ปลาในการ
หาเลยี้ งชีพ และในการหาอาหารประทงั ชีวติ

จากการสำรวจพบว่าในหมู่ 4 บ้านทรายทอง
มีภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สำคัญคือ การจักสาร นั้นเอง
เป็นการใช้วัสดุธรรมชาติไม่ว่าจะเป็นไม่ไผ่,หวาย ใน
การทำเครื่องจักสารเป็นการสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่นใน
การจักสารจะมีลายเฉพาะของเครื่องใช้ต่าง ๆ
ด้วยกนั ซึง่ ในการทำสมุ่ จับปลาน้ันมีลายเฉพาะน้ันคือ
“ลายนกปล้าว” ในการถักซึ่งใช้เชือกถักเพื่อให้เกิด
ลวดลายขึน้ ในสุม่ จบั ปลาน้ันเอง

ขน้ั ตอนการทำเครื่องมือประมงพ้นื บา้ น

1. รอไม้ไผแ่ ห้งหลงั จากนั้นเหลาไม้ไผใ่ ห้เป็นซ่ีๆ
คล้ายๆไม้เสียบลูกชิ้นนั้นเอง ไม้ที่เหลาได้นั้นเองเพ่ือ
นำไม้นี้ไปทำสุ่มดักปลานั้นเองซึ่งมาขนาดความสูง
20 เซนติเมตร

12

4. หลังจากที่ผูกเหล็กยึดกับไม้ซี่เล็ก ๆแล้ว 5. หลงั จากถักระหว่างหลางเพอ่ื ให้ยึดให้ตวั สุ่ม
หลังจากนั้นใช้เชือกถกั เปน็ ผูกข้นึ ผูกลงไปเลื่อยๆรอบ เสรจ็ หลังจากนั้นทางที่ตรงหวั เป็นการถกั เรม่ิ ก่อนจะ
เหล็กข้างนอก หลังจากใช้วิธีการผูกถักขึ้นลงเสร็จ ขึ้นลายนกปล้าว "การถักลายนกปล้าว" คือเป็นการ
น้ันช่วยให้สุ่มดกั ปลา แน่นและมีความคงทน ถัก 3 รอบด้วยกันเพื่อความแข็งแรงและคงทน.
หลังจากถักลายนกปล้าวครบ3 ครั้ง คือการทำสุ่ม
ดักปลาที่เสรจ็ สมบูรณ์

13

ธนาคารปมู ้า

เจา้ ของภมู ิปัญญา
บ้านแหลมสนั ติ หมทู่ ี่ ๕
ตำบลละแม อำเภอละแม
จงั หวดั ชุมพร

ปูม้า เป็นปูทะเลชนิดหนึ่ง อยู่ในสกุล Portunusลักษณะทั่วไปแบ่ง
ออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนตัว ส่วนอก และส่วนท้อง ส่วนหัวและอก
จะอยู่ติดกัน มีกระดองหัวอยู่ตอนบน ทางด้านข้างทั้งสองของ
กระดองเป็นรอยหยักคล้ายฟันเลื่อย ลักษณะเป็นหนามแหลมข้าง
ละ 9 อัน ขามีทั้งหมด 5 คู่ คู่แรกเปลี่ยนแปลงไปเป็นก้ามใหญ่เพื่อ
ใช้ป้องกันตัวและจับอาหาร ขาคู่ที่ 2-4 มีขนาดเล็ก ปลายแหลม ใช้
เป็นขาเดิน ขาคู่สุดท้าย ตอนปลายมีลักษณะเป็นใบพายใช้ในการ
ว่ายน้ำ ขนาดกระดองสามารถโตเต็มที่ได้ราว 15-20 เซนติเมตร
(ศนู ยว์ ิจยั และพัฒนาการเพาะเลี้ยงสตั ว์น้ำชายฝ่งั ระยอง ปมู ้า,2560
: ออนไลน)์
ชือ่ สามัญภาษาองั กฤษ : Blue swimming crab, Flower crab, Blue

crab
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Portunuspelagicus

14

ลักษณะปมู า้ วงจรชีวิตและระยะของปูม้า ในช่วงที่ไข่ปู
ม้า 10-15 วัน หรือประมาณ 2 สัปดาห์ ยังมี
ปูม้า เป็นปูทะเลชนิดหนึ่ง อยู่ในสกุล ลักษณะเป็นไข่ที่มีขนาดเล็ก โดยแม่ปู 1 ตัว
Portunus ลักษณะทั่วไปแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ (ขนาดกระดองกว้าง 9.15-18.84 ซม. ) จะมีไข่
ส่วนตัว ส่วนอก และส่วนท้อง ส่วนหัวและอกจะ ประมาณ 229,538 ถึง 2,859,061 ฟอง (
อยู่ติดกัน มีกระดองอยู่ตอนบน ทางด้านข้างทั้ง สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ , 2561 :
สองของกระดองเป็นรอยหยักคล้ายฟันเลื่อย 7) แล้วเข้าช่วงที่ไข่ปูม้าเปลี่ยนเป็นระยะซูเฮียซึ่ง
ลักษณะเป็นหนามแหลมข้างละ 9 อัน ขามี ในระยะนี้จะอยู่ประมาณ 10-15 วัน หรือ
ทั้งหมด 5 คู่ คู่แรกเปลี่ยนแปลงไปเป็นก้ามใหญ่ ประมาณ 2 สัปดาห์ เช่นกัน หลังจากนั้นเริ่ม
เพื่อใช้ป้องกันตัวและจับอาหาร ขาคู่ที่ 2-4 มี เปลี่ยนในทางกายภาคมีหาง ก้าม และส่วนหัวจะ
ขนาดเลก็ ปลายแหลม ใช้เปน็ ขาเดิน ขาคู่สุดท้าย ได้อยา่ งชัดเจนจนนำไปสรู่ ะยะตัวปู โดยมีลักษณะ
ตอนปลายมีลักษณะเป็นใบพายใช้ในการว่ายน้ำ เปน็ รปู ปมู ากขึ้นแล้วพัฒนามาเปน็ ลกู ปูม้าวยั ออ่ น
ขนาดกระดองสามารถโตเต็มที่ได้ราว 15-20
เซนติเมตร ขนั้ ตอนการทำธนาคารปมู ้า
1. การเลีย้ งปมู ้า
ซึ่งปูม้าตัวผู้ มีก้ามยาวเรียว มีสีฟ้าอ่อน วิธีที่ 1 : การเลี้ยงปูม้าในกระชัง ในแบบ
และมีจุดขาวตกกระทั่วไปทั้งกระดองและก้าม
พื้นท้องเป็นสีขาว จับปิ้งเป็นรูปสามเหลี่ยมเรียว ดั้งเดิมของชาวบ้านเป็นการเลี้ยงปมู ้าเพศเมียโดย
สูง ปูม้าตัวเมีย มีก้ามสั้นกว่ากระดอง และก้ามมี ทำกระชังไว้ในทะเลใกล้เคียงเรือของตนเองซึ่งจะ
สีฟ้าอมน้ำตาลอ่อนและมีจุดขาวตกกระทั่วไปทั้ง เป็นการเลี้ยงในพื้นที่ของใครของมัน (กรมพัฒนา
กระดองและก้าม เมื่อถึงฤดูกาลวางไข่ ปูม้าตัว ชุมชน กระทรวงมหาดไทย, 2561 :ออนไลน์)
เมียจะมีไข่ติดอยู่บริเวณรยางค์ซึ่งเคยเป็นขาว่าย
น้ำในระยะวัยอ่อน โดยในระยะแรกไข่จะอยู่ วิธีท่ี 2 : การเลีย้ งปูม้าโดยในถังพลาสติก
ภายในกระดองต่อมากระดองทางหน้าท้องเปิด สีฟ้า ใช้สายออกซิเจนให้กับปูเพศเมียเพื่อทำการ
ออกทำให้เห็นไข่ชัดเจน จึงเรียกปูม้าลักษณะนี้ว่า ฟักไข่เป็นตัว เมื่อปูเพศเมียฟักไข่เป็นตัวแล้วทำ
ปูม้าทีม่ ไี ข่นอกกระดอง(นายสุชาติ แสงอรุณ,นาย
เริงศักดิ์ รตั นพิ ล : 2563)

15

การเปิดก็อกด้านล่างเพื่อปล่อยลงสู่ทางท่อ ไหล 3. การเพาะตัวปูม้า คือ จะเน้นไข่สีดำโดย
ลงสู่ทะเลในระดับที่น้ำทะเลขึ้นหากน้ำทะเลตื้นที่ นำปูเพศเมียมาเลี้ยงในถังพลาสติกสีฟ้าและให้
นำลูกปูม้าที่ฟักแล้วใส่ลงถังก่อนแล้วรอให้น้ำขึ้น ก๊าซออกซิเจนโดยใช้ระยะเวลาฟักไข่1-3 วัน จึง
ปลอ่ ยลงส่ทู อ่ ใหไ้ หลลงทะเลหรือหากอยใู่ กล้เคียง ฟักเป็นตัวแล้วปล่อยลงสู่ทะเล หากเกิน 5 วันไป
ทะเลสามารถนำถังไปปลอ่ ยลกู ปมู ้าลงสทู่ ะเล แล้วไข่ยงั ไม่ฟักเปน็ ตวั แสดงวา่ ไข่เนา่ แล้ว

2. ระยะเวลาการเพาะตัว แม่ปูที่มีไข่นอก 4. การเลี้ยงแบบหกั จับปิ้ง คือ ทำการจับป้งิ
กระดองจะแบ่งสีไข่ออกเป็น 4 สี คือ “สีส้ม ไข่ปูเพศเมียที่ไข่สีดำที่ล้นกระดองหน้าท้อง มา
เหลือง” ซึ่งเป็นระยะแรกของไข่ปูม้า ในการ เลี้ยงใส่ถังพลาสติกสีฟ้า ใช้สายออกซิเจนในการ
วิวัฒนาการของลูกปูสู่ระยะซูเอีย (Zoea) ที่เป็น เลี้ยงแม่ปูม้าเพศเมียเมื่อไข่ปูม้าฟักตัวประมาณ
ระยะแรกของลูกปูที่สามารถปล่อยลงสู่ทะเลได้ 2-3วัน ทำการเปิดก๊อกข้างล่างถังพลาสติกสีฟ้า
โดยจะใช้เวลาประมาณ 4-5 วัน “สีน้ำตาล” ใช้ ให้ลูกปมู ้าทีฟ่ ักตัวแล้ว ไหลทางทอ่ ส่ทู ะเล
เวลาพัฒนาการพร้อมฟักที่ 2-4 วัน“สีเทา” ใช้
เวลาในการพัฒนาการพร้อมฟักที่ 1-3 วัน และ 5. การปลอ่ ยปมู ้า
สุดท้าย “สีดำ” ใช้ระยะเวลาพร้อมฟัก 1-2 วัน วิธีที่ 1 : นำถังไปปล่อยลูกปูม้าในทะเล
และแม้จะพบไข่สีเทาและสีดำในท้องแม่ปูที่ตาย
แล้ว แต่ก็ยังมีโอกาสฟักออกมาเป็นตัวอยู่ โดยใน ในกรณีที่น้ำ
แม่ปู 1 ตัว ที่มีขนาดความกว้างกระดอง 9.15 – ตื้น หรือ
18.84 เซนติเมตร จะผลิตไข่ได้จำนวน 230,000 ก ร ณ ี อ ยู่
– 290,000 ฟ อ ง ( ด ร . ว ิ ก ิ จ ผ ิ น ร ั บ ,2563 : ใกล้เคียง
ออนไลน)์ บริเวณ
ชายหาด
ทะเล

วิธีท่ี 2 : การเปิดก๊อก จำทำการเปิดก๊อก
น้ำให้ลูกปูไหล
ล ง ท า ง ท ่ อ ไ ป สู่
ท ะ เ ล ท ี ่ มี
ระดับน้ำทะเล
พอดีหรือทะเล
สูง

16

17

12


Click to View FlipBook Version