The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เสม็ดขาว สมุนไพร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sriwicha, 2022-08-17 08:38:49

เสม็ดขาว

เสม็ดขาว สมุนไพร

Keywords: เสม็ดขาว,สมุนไพร

เสมด็ ขาว

1. ลกั ษณะทั่วไปของเสมด็ ขาว
เสมด็ ขาวเป็นพชื ในทอ้ งถน่ิ มีในพ้ืนที่อนรุ กั ษพ์ ันธุกรรมพชื ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชมุ พร

และพืน้ ที่ใกล้เคียง คือป่าพรุคันธุลี สามารถนำมาทดลองได้ตลอดท้งั ใบสด ใบแก่ รวมท้ังเสมด็ ขาวเป็นพชื
ทเ่ี กอื บทกุ ส่วนของต้นสามารถนำมาใช้ประโยชนไ์ ด้ ดงั นี้

▪ ใบ นำมาตม้ กบั นำ้ ดื่มแทนน้ำชา หรือนำมาใชเ้ ปน็ อาหารสตั ว์ เชน่ ควาย และแพะ
▪ ใบ ดอก และยอดออ่ น นำมารับประทานเปน็ ผกั มีรสเผด็ เป็นผักจ้มิ กับน้ำพริก
▪ ใบสด นำมาใชก้ ลนั่ ทำเป็นน้ำมันหอมระเหยได้ (ใชเ้ ฉพาะยอดอ่อน ไมค่ วรใชใ้ บ

แก่เกินไป และต้องเก็บจากต้นท่ีอยบู่ นดอน นำ้ ไม่ท่วมขงั ) ซ่งึ จะมีกลิ่นคล้ายกับ
การบรู ที่เรยี กว่า “นำ้ มันเขียว” (Cajuput oil) หรือ “นำ้ มนั เสมด็ ”
▪ เนอ้ื ไมเ้ สม็ดขาว มีความคงทนตอ่ สภาพทีเ่ ปยี กชน้ื และในน้ำเค็มได้ดี จึงสามารถ
นำมาใชท้ ำเสาเขม็ สรา้ งบา้ น ทำเฟอรน์ เิ จอร์ ทำรัว้ และทำถ่านได้ดี
▪ เปลือกตน้ ใชม้ ุงหลงั คา ทำฝาบา้ นช่วั คราว ใชท้ ำหมนั เรือ ใชอ้ ุดรรู ่ัวของเรือ ทำ
ประทนุ เรือ ใชย้ อ้ มแหหรืออวน ใชห้ ่อกอ้ นไตส้ ำหรบั ใชจ้ ุดไฟ ซึ่งเปน็ ท่ีนิยมของ
ชาวประมง
▪ หากนำใบและเปลอื ก นำมาตำรวมกนั ใช้เปน็ ยาพอกแผลจะช่วยดูดหนองให้แหง้ ได้
หรือใช้ทาฆ่าเหา ฆ่าหมดั และไลย่ ุง


2. แนวคิดการพฒั นาผลิตภัณฑ์จากเสม็ดขาว

แ-อลนก้ำอมฮนั อหลอเ์ สมมร็ดะขเหาวยเสม็ดขาว เจล

- สมนุ ไพรไลแ่ มลงจากใบเสม็ดขาว
ย-ับสย้ังารเชส้ือกราดั ไสฟมทนุอไฟพธรอเรสามด็ ขาวเพอื่

การทำผลติ ภณั ฑ์จากเสมด็ ขาว (นำ้ มันหอมระเหยเสม็ดขาว เจลแอลกอฮอล์เสม็ดขาว สมนุ ไพรไล่

แมลงจากใบเสม็ดขาว และสารสกัดสมุนไพรเสม็ดขาวเพื่อยับยั้งเชื้อราไฟทอฟธอรา (Phytophthora
palmivora)ในทุเรียน)
เป็นการเพิ่มมูลค่าแก่พืชสมุนไพรในท้องถิ่น และร่วมสนองงานตามพระราชดำริ ในโครงการอนุรักษ์
พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.)
กระบวนการผลิตสามารถทำไดง้ ่าย ไม่ซบั ซอ้ นสามารถผลติ ได้ในระดบั ครัวเรือนและชมุ ชน ดังน้ี

1. นำ้ มันท่ีสกดั ได้จากใบ

- สำหรับใชภ้ ายใน ใชร้ ับประทานเปน็ ยาขบั ลม แกจ้ ุกเสียด ท้องอืด ทอ้ งข้ึน ถา้ กิน-
มาก”yuvbbn

- สำหรบั ใช้ภายนอก ทำเป็นยาหม่องแก้ปวดศรี ษะ ปวดหู และใช้อดุ ฟนั แกป้ วดฟัน รกั ษา
โรคผิวหนัง ใช้ฆา่ เช้อื โรค และช่วยรักษาสิว ใช้เป็นยาทาแก้ปวดเม่ือย บวม ทาแกเ้ คล็ด รักษาโรคไขข้อ
อกั เสบ ใชท้ าไลย่ ุง ฆ่าหมัด ฆ่าเหา และฆ่าแมลง

2. องค์ประกอบทางเคมี
องค์ประกอบทางเคมีของนำ้ มันหอมระเหยจากใบเสมด็ ขาวที่เกบ็ จากพน้ื ท่ีมหาวทิ ยาลัยแม่

โจ้-ชมุ พร ดว้ ยวธิ กี ารกลั่นดว้ ยน้ำ นำ้ มนั หอมระเหยท่ีได้อาจเรียกว่า น้ำมันเขยี ว และจากการวิเคราะห์
องค์ประกอบทางเคมีด้วยเทคนิค GC-MS พบ แอลฟา-เทอร์พโิ นลีน (α-Terpinolene), แกมมา-เทอร์
พินนี (γ-Terpinene), แอลฟา-เทอร์พนิ ีน (α-Terpinene) และ ยจู นี อล (Eugenol) เป็นสารหลกั
สำหรบั วิธีการใชก้ ารสกดั สามารถเลือกใชว้ ธิ ีการสกัดสารอย่างง่ายมาใช้ประโยชน์ เชน่ การสกัดด้วยตวั ทำ
ละลาย การกลั่นดว้ ยน้ำหรือไอน้ำ
3. ผลิตภัณฑ์

1) น้ำมนั หอมระเหยเสมด็ ขาว
กรรมวิธีในการทำผลิตน้ำมันสมุนไพรเสม็ดขาวอย่างง่าย คือ ขั้นตอนแรกทำการผสมน้ำมัน
ทั้ง 4 ชนิด เข้าด้วยกัน (น้ำมันหอมระเหยใบเสม็ดขาว น้ำมันใบเสม็ดขาวสกัด น้ำมันใบเตยสกัด และ
น้ำมันใบย่านางสกัด) จากนั้นนำน้ำมันสมุนไพรผสมจากขั้นตอนแรก มาผสมเข้ากับเมนทอล พิมเสน
การบูร น้ำมันเปปเปอร์มิ้น น้ำมันระกำ น้ำมันกานพลู น้ำมันอบเชย แล้วกวนให้เข้ากัน จากนั้นนำมา

บรรจขุ วด เพอื่ เกบ็ รักษาหรือรอการจำหน่ายต่อไปทง้ั น้ี รูปแบบของผลิตภัณฑ์ เปน็ ของเหลวบรรจุในขวด
แก้วหรือบรรจภุ ณั ฑอ์ ื่นๆที่มีความสวยงาม ใช้งา่ ย

ภาพท่ี 1 น้ำมนั สมนุ ไพรเสม็ดขาวและวธิ ีการทำอยา่ งง่าย
2) เจลแอลกอฮอล์เสม็ดขาว
2.1 ส่วนประกอบสำหรับเจลแอลกอฮอล์ 700 มลิ ลลิ ิตร มีดังนี้
1) 95% เอทลิ แอลกอฮอล์ (95% Ethyl alcohol)
2) คารโ์ บพอล 940 (Carbopol 940) (หนา้ ที่ สารประกอบให้เกิดเจล)
3) ไตรเอทาโนลามนี (Triethanolamine,TEA) (หนา้ ที่ สารประกอบใหเ้ กิดเจล

และสารปรบั กรด-ดา่ ง
4) นำ้ ดมื่ บรรจขุ วดท่วั ไป (น้ำ RO) หรือ นำ้ รอ้ น หรือน้ำตม้
5) กลีเซอรนี (หนา้ ที่ สารให้ความช่มุ ชื้น)
6) น้ำมันหอมระเหยจากใบเสม็ดขาว

2.2 วธิ กี ารเตรยี มเจลแอลกอฮอล์ เข้มข้น 75% V/V
ตวงนำ้ รอ้ น จำนวน 147 มิลลิลิตร คอ่ ยๆ โปรย คารโ์ บพอล 940 จำนวน 1.86 กรมั ลง
ไป แล้วใชแ้ ท่งแก้วหรือเคร่ืองกวนขนม กวนให้กระจายตัว จนไม่มีผงสีขาวของคารโ์ บพอล เหลืออยู่ (ใช้
แทง่ แกว้ หรอื ไมพ้ าย กวนใหผ้ สมกนั เลก็ นอ้ ย) จากนน้ั ตวง 95% เอทิล แอลกอฮอล์ จำนวน 550 มิลลลิ ติ ร
ผสมลงไปพร้อนกวนใหเ้ ขา้ กนั และ ใสไ่ ตรเอทาโนลามีน (TEA) จำนวน 2 มิลลิลิตร, กลีเซอรนี จำนวน 3

มิลลลิ ติ ร, น้ำมนั หอมระเหยเสมด็ ขาว 2 มลิ ลิลิตร และสตี ามชอบ ลงในขัน้ ตอนน้ี แลว้ กวนใหเ้ ข้ากัน ก็จะ
ได้เจลแอลกอฮอลท์ ี่พร้อมใชง้ าน

3) สมุนไพรไล่แมลงจากใบเสมด็ ขาว
โดยใช้ใบเสม็ดขาวแก่อบแห้งบดละเอียด ที่เก็บได้จากบริเวณพื้นที่ป่าอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อัน
เนอ่ื งมาจากพระราชดำรฯิ มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้-ชมุ พร มาล้างใหส้ ะอาดและอบให้แห้งแลว้ บดใหเ้ ปน็ ผงละเอียด
จากนัน้ สกัดดว้ ยตัวทำละลาย 95% เอทานอล ดว้ ยวิธมี าเซอเรช่ัน (maceration) เป็นเวลา 3 วัน ทำการสกัด
ซ้ำอีก 2 ครั้ง จากนั้นกรองสารสกัดแล้วนำสารสกัดที่ได้ไประเหยตัวทำละลายออกจนแห้ง จากนั้นนำสาร
สกัดหยาบใบเสม็ดขาวที่ได้ วิเคราะห์หาองค์ประกอบทางเคมีด้วย GC-MS พบว่า มีสารบางตัวที่มีคุณสมบัติ
ในการเปน็ สารสกัดจากพืชในการควบคุมแมลงศตั รูพืชได้ ได้แก่ Spathulenol, Caryophyllene oxide, β-
Selinene มีรายงานว่าสารสกัดหยาบใบเสม็ดขาวสามารถยับยั้งการกินของหนอนใยผัก ควบคุมการวางไข่
ของด้วงถั่วเขียวได้ (สมชัย, 2538) และมีรายงานสารสกัดหยาบความเข้มขน้ 100 200 400 และ 800 ppm
สามารถยับยั้งเชื้อราโรคพืช Fusarium oxysporum, Collectotricum gleosporides, Phytopthora
parasitica และ Phythium delicense ได้ บนอาหารแข็ง PDA (นาตยา, 2553) ประสิทธภิ าพของสารสกัด
ใบเสม็ดขาว ซึ่งสกัดด้วยเอทธานอลให้ประสิทธิภาพที่ดีที่สุดในการฆ่าแมลง และไล่แมลง ได้แก่ มอดแป้ง
ด้วงงวงขา้ วโพด ดว้ งถ่วั เขยี ว หนอนใยผกั หนอนกระทผู้ ัก และ หนอนกระทูห้ อม (นฤมล, 2546)

ภาพท่ี 2 วิธีการสกดั สารจากใบเสมด็ ขาวด้วยวิธีมาเซอเรชนั่ (maceration)

ภาพที่ 3 สารสกัดเสมด็ ขาวมีสารออกฤทธ์ทิ ป่ี ้องกนั กำจดั โรคและแมลงในดอกหนา้ วัว
4. สารสกัดสมุนไพรเสม็ดขาวเพ่ือยบั ยั้งเชอื้ ราไฟทอฟธอรา (Phytophthora palmivora)
เชอ้ื ไฟทอฟธอรา เปน็ จุลินทรียข์ นาดเล็กจนมองไม่เหน็ ดว้ ยตาเปล่า อาศัยอยู่ในดนิ เช้ือไฟทอฟธอรา

อาจมหี ลายชนดิ ทเ่ี ข้าทำลายทุเรยี นมีชอ่ื ว่า Phytophthora palmivora (ไฟทอฟธอรา ปาลม์ มิโวลา) เชอื้ จะ
สามารถสรา้ งสปอร์พิเศษมผี นังหนา (chlamydospores) ทีท่ นสภาพแวดล้อมได้ดี มชี ีวติ อยใู่ นดนิ ได้นาน
ภายใตส้ ภาวะทไ่ี ม่เหมาะกบั การเจริญเตบิ โตของเช้อื ไฟทอฟธอรา เช่น อากาศแหง้ แล้ง ดนิ ขาดน้ำ เมอื่ ดนิ ได้นำ้
ในหน้าฝน เชอ้ื กจ็ ะเจริญเติบได้ตอ่ ไป ดังนนั้ ในชว่ งหน้าแล้ง โรคจะไม่ระบาด ไมม่ โี รคไฟทอฟธอราบนตน้
ทุเรียน แต่เมือ่ เข้าหน้าฝน โรคจะระบาดรุนแรงมากขนึ้ (จากงานวิจยั วทิ ยานิพนธ์ ปริญญาโท
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)

สำหรบั วธิ ีการทำสารสกดั สมุนำหรเสม็ดขาว มีกระบวนการ ดงั น้ี
1. เตรยี มตัวอย่างพชื เสม็ดขาวและเชื้อไฟทอฟธอรา
2. ศกึ ษาพัฒนาเทคนิคการเตรยี มเช้ือไฟทอฟธอราและตัวอยา่ งสารสกดั เสมด็ ขาวจากส่วนต่างๆ
3. ทดลองเชอื้ ราไฟทอฟธอราโดยการยับยั่งตัวอยา่ งดว้ ยสารสกัดเสมด็ ขาว
4. การเพาะเลย้ี งเนอ้ื เยื่อเสม็ดขาว

5. เกบ็ วิเคราะหข์ ้อมูล
6. สรุปผล และขยายผลเพ่อื นำไปใช้ประโยชน์

ภาพท่ี 4 วธิ กี ารสกดั สมนุ ไพรเสม็ดขาวเพื่อยบั ยง้ั เชือ้ ราไฟทอฟธอรา (Phytophthora palmivora)

ภาพที่ 5 การลดสารเคมใี นสวนทุเรียนด้วยสกัดสมนุ ไพรเสม็ดขาวเพ่ือยับย้งั เช้ือราไฟทอฟธอรา
(Phytophthora palmivora)

4. การรบั รองและจดอนุสทิ ธิบัตร
ผลิตภัณฑ์สปา “น้ำมันสมุนไพรซึ่งมีส่วนผสมน้ำมันหอมระเหยและน้ำมันใบเสม็ดขาวสกัด”

ได้รบั การรับรองอนสุ ิทธบิ ัตร สาขาวทิ ยาการทเี่ กย่ี วข้องกบั การประดษิ ฐ์ การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้อง
กับวิทยาศาสตร์สาขาเคมี โดยอธิบายถึงการนำน้ำมันหอมระเหยและน้ำมันจากใบเสม็ดขาวมาใช้ในการ
ผลิตภณั ฑ์นำ้ มนั สมุนไพรเสมด็ ขาว

- สามารถสบื ค้น (Key Word) : ผลิตภัณฑ์สปา, นำ้ มนั หอมระเหยเสม็ดขาว, ใบเสมด็ ขาว,
นำ้ มันนวดสมนุ ไพร, น้ำมันเสม็ดขาว, นำ้ มนั สมนุ ไพร, นำ้ มันเสมด็

- สาขาวิทยาการทเ่ี ก่ียวข้องกับการประดิษฐ์
การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์สาขาเคมี โดยอธิบายถึงการนำน้ำมันหอมระเหยและ
น้ำมนั จากใบเสมด็ ขาวมาใช้ในการผลติ ภณั ฑ์นำ้ มนั สมนุ ไพรเสมด็ ขาว
- รายละเอียดโดยย่อ

ผลิตภัณฑ์น้ำมันสมนุ ไพรเสม็ดขาว จากการประดิษฐน์ ีม้ ีส่วนประกอบหลัก คือ น้ำมันใบเสมด็
ขาวสกัด, น้ำมันหอมระเหยจากใบเสม็ดขาว ด้วยวิธีการกลั่นด้วยไอน้ำ น้ำมันสมุนไพรฤทธิ์เย็น และ
น้ำมันหอมระเหยชนิดต่าง ๆ ซึ่งมีขั้นตอนการผลิตหลัก ๆ 4 ขั้นตอน ตั้งแต่การกลั่นน้ำมันหอมระเหย
จากใบเสม็ดขาว การสกัดน้ำมันใบเสม็ดขาวและสมุนไพรฤทธ์เย็นด้วยน้ำมัน ขั้นตอนการผสม ซึ่ง
กระบวนการผลิตสามารถทำได้ง่าย ไม่ซับซ้อนสามารถผลิตได้ในระดบั ครัวเรือน ชุมชน เพื่อเพิ่มมูลค่าแก่
พืชสมุนไพรในท้องถิ่น และร่วมสนองงานตามพระราชดำริ ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอัน
เนอื่ งมาจากพระราชดำริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (อพ.สธ.)


Click to View FlipBook Version