ศาสนาอิสลาม ศาสนาอิสลามเป็ นศาสนาที่ยิ่งใหญ่ศาสนาหน่ึงของโลก นบัถือพระเป็ นเจา ้สูงสุดพระนามว่า " อัลลอฮ์" มีศาสดาพระนามว่า " มุฮัมมัด" เป็ นศาสนาที่มีหลักธรรมและหลักปฏิบัติที่ไม่แยก ออก จากการด าเนินชีวิต ศาสนาอิสลามจึงเป็ นธรรมนูญชีวิตของมุสลิมทุกคนและของสังคม ประวัติความเป็ นมา ศาสนาอิสลาม มีมุฮัมมัดเป็ นศาสดา พระองค์ประสูติเมื่อวันจันทร์ ที่20 เมษายน พ.ศ. 2313(ค.ศ. 570) ที่นครมักกะฮ์ ประเทศซาอุดีอาระเบีย ท่านเป็ นบุตรของนายอับดุลลอฮ์และนาง อามีนะฮ์ หลงัจากที่บิดามารดาถึงแก่กรรม ท่านก ็ อยใู่นความอุปการะของอบูฏอลิบผูเ ้ป็ นลุง ช่วงเวลาที่ ต้องติดตามลุงไปค้าขายในดินแดนต่างๆ ท าให้ท่านได้ประสบการณ์ชีวิตต่างๆ มากมาย ล้วน แล้วแต่ส่งเสริมให้ท่านมีความเฉลียวฉลาด คร้ันเมื่อท่านมุฮมัมดัมีอายไุด ้ 25 ปี อบูฏอลิบได้ส่งเสริมให้ไปท างานกับเศรษฐีนี่ผู้เป็ นหม้าย ชื่อ คอลียะฮ์ ด้วยอุปนิสัยส่วนตัวของท่านที่เป็ นคนซื่อสัตย์ โอบอ้อมอารี มีความสุภาพ อ่อนโยน และไม่เป็ นคนเจ้าชู้ เป็ นเหตุให้นางคอดียะฮ์เกิดความพอใจต่อมุฮัมมัด จึงให้พี่สาวของนางช่วย เจรจาขอแต่งงานกับท่านมุฮัมมัด พิธีสมรสระหว่างท่านมุฮัมมัดกับนางคอดียะฮ์จึงเกิดข้ึน และ ต่อมาได้มีบุตรด้วยกัน 6คน ในวัย 40 ปีของมุฮมัมดัเป็ นช่วงที่ท่านมีความสุขทางโลกอยา่งบริบูรณ ์ ดว ้ ยฐานะการเงิน ที่ดีข้ึน แต่ต้องการความสุขที่แท้จริงความสงบ ความเยือกเยน ็ ทางใจจึงปลีกตนไปเขา ้สมาธิที่ถ้า ฮิรอฮ ์ นานๆ คร้ังมุฮมัมดัจึงกลบัเขา ้ เมือง เพื่อหาเสบียงอาหารคืนหน่ึงขณะที่ท่านกา ลงัจา ศีลภาวนา และเพ่งสมาธิจิตอยนู่้นัก ็ บงัเกิด ประสบการณ ์ ทางจิตข้ึน โดยมีญิบรีล หรือ เทพบดีกาเบรียลมา บอกท่านว่า "อัลลอฮ ์ ทรงแต่งต้งัให ้ มุฮมัมดัเป็ นศาสนทูตของพระองค ์ แลว ้ คลี่มว ้ นลิขติของ พระอลัลอฮใ์ ห ้ มุฮมัมดัอ่าน เหตุอศัจรรยก ์ ็ บงัเกิดข้ึนเนื่องจากมุฮมัมดัเป็ น ผูไ้ ม่รู้ หนงัสือแต่กลบั สามารถอ่านลิขิตน้นั ได ้โดยตลอด เมื่อมุฮมัมดัอ่านไดค ้ วามแลว ้ญิบรีลก ็ หายไป คร้ันท่านไดส้ ติ แล้วก็บังเกิดความสนเท่ห์
รูปตัวอย่างภาษาอาหรับนามอัลลอฮ์ พระเป็ นเจ้าสูงสุดของศาสนา ดว ้ ยเกรงว่ามารมาก่อลวงให ้ หลงเชื่อจึงวิตกกงัวลระหวา่งน้นั ญิบริลก็ได้มาปรากฏองค์ให้เห็น อีกคร้ังแลว ้ กล่าววา่"จงลุกข้ึนเถิด จงสั่งสอนธรรม แห่งพระเป็ นเจ้าของท่านเถิด" ท าให้มุฮัมมัด หมดความข้องใจสงสัยอีกโดยเชื่อว่าตนเป็ น ศาสดา จึงเริ่มประกาศศาสนาเมื่อพระชนมายุได้ 80 พรรษา โดยมีจุดประสงค์ คือ สอนให้ศรัทธาในอัลลอฮ์อย่างเที่ยงแท้องค์เดียว สอนให้ประพฤติ ศีลธรรม จ าศีลภาวนา สอนให้ น าเพ็ญจริยวัตรนานัปการ สอนให้มีความเมตตา กรุณาต่อเพื่อน มนุษย์และสัตว์ดิรัจฉาน สอน ให้มีความสุจริตและถือความเสมอภาพเป็ นที่ต้งัสอนไม่ให้ กล่าวโทษใคร สอนให้ช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยากเป็ นภารกิจประจ าวัน สอน ไม่ให้เคารพบูชารูป ป้ันต่างๆ และให ้ ทา ลายรูปป้ันเหล่าน้นัสอนให ้ ตา หนิคนมงั่มีหรือคน เห ็ นแก่ตวั ศาสดามุฮมัมดัทรงเริ่มตน ้ ประกาศศาสนาแก่ญาติมิตรใกลเ ้ คียงก่อน แลว ้ จึงเผยแผ่ไปยงั ชาวเมืองมักกะฮ์ในเวลาต่อมา หลังจากประกาศ ศาสนาได้เพียง 3 ปี ซึ่งตรงกับปี พ.ศ.2365 ศาสดามุฮัมมัดต้องหลบหนีภัยคุณทามจากพวก ต่อต้านไปอยู่เมืองมะดีนะฮ์ เพราะว่าพระองค์ ทรงสอนให ้ นับถือบูชาอลัลอฮเ ์ป็ นพระเป็ นเจา ้ เพียงองคเ ์ ดียวให ้ เลิกเคารพบูชารูปป้ันเทพเจา ้ ท้งัหลายที่เชื่อกนัอยแู่ต่เดิม และสอนให ้ คนร่ ารวยมีความเมตตาต่อคนอนาถา ซ่ึงทา ใหช ้ าวเมือง บางส่วนที่เสียผลประโยชน์ โกรธแค้น ไม่พอใจ ศาสดามุฮัมมัดได้รวบรวมก าลังผู้นับถือศาสนาอิสลามออกจากเมืองมะดีนะฮ์ไปท าสงคราม กับ พวกเผ่ากุเรซแห่งนครมักกะฮ์ จนในที่สุดพระองค์ก็ยึดนครมักกะฮ์ได้ในปี พ.ศ. 1173พร ้ อมท้งั ให ้ ทา ลายรูปป้ันที่ขาวเมืองเคารพบูชาอยเู่ดิม และทรงสั่งสอนให ้ นบัถือศาสนาที่อลัลอฮพ ์ ระ เป็ นเจ้าเพียงองค์เดียวแลว ้ ทรงแต่งต้งัผูป้ กครองข้ึนใหม่เมื่อทุกสิ่งทุกอยา่ง เรียบร ้ อยพระองคก ์ ็ ทรงยกทพักลบัเมืองมะดีนะฮ ์ ความยิ่งใหญ่ของศาสดามุฮมัมดัแพร่ไปยงัเมืองห่างไกลทวั่ ไป ดงัน้นัอาณาจกัรต่างๆ จึงไดส้ ่งทูตมาเจริญสัมพันธไมตรี ยอมรับนับถือ ศาสนาอิสลามด้วย
แม้ศาสดามุฮัมมัด เป็ นผู้มีบุญญาธิการมากเพียงใด แต่พระองค์ก็ยังทรงประพฤติปฏิบัติองค์ เป็ น เหมือนเดิมที่เคยเป็ นมา คือ ประทับอยู่บ้านหลังเล็กๆ ทรงใช้ผ้าคลุมพระเศียรแทนมงกุฎ รูปถ้า ฮิรอฮเ ์ป็ นสถานที่ที่ศาสดามุฮา มดัไดร ้ บัโองการจากอลัลอฮเ ์ป็ นคร้ังแรก ทรงใช้มัสญิดเป็ นสถานที่รับแขกเมืองการที่พระองคท ์ รงถือสันโดษเช่นน้ีทา ให ้ ชาวมุสลิม ท้งัหลายมีความจงรักภกัดีต่อพระองคม ์ ากยงิ่ข้ึน พระองคท ์ รงปกครองประเทศอาหรับและเผย แผ่ศาสนาอิสลาม จนกระทงั่พระชนมายุ63 พรรษา พระองค์ทรงน าชาวมุสลิมจ านวน ประมาณ 150,000คน เดินทางจากเมืองมะดีนะห์ไปท าพิธีฮจัญท ์ ี่เมืองมกักะฮ ์ และก่อนจะเสร ็ จ สิ้นพิธี พระองคไ์ ดเ ้สด ็ จข้ึนไปบนยอดเขาอาราฟะเพื่อทรงแสดงธรรมสั่งสอนอิสลามิกชนเป็ น คร้ัง สุดทา ้ ยแลว ้ พระองคก ์ ็ ทรงสิ้นพระชนมเ ์ มื่อวนัที่7 มิถุนายน พ.ศ. 1175 หลงัจากศาสดามุฮมัมดัสิ้นพระชนมไ์ปแลว ้ ทายาทของพระองค ์ คือเคาะลีฟะฮ์หรือกาหลิบ หรือสุลต่าน ซ่ึงมีอา นาจเต ็ มท้งัทางอาณาจกัรและศาสนจกัรไดท ้ รงทา หนา ้ ที่เผยแผ่ศาสนา อิสลาม ต่อไป เคาะลีฟะฮอ ์ งคส ์ า คญัๆ ในระยะแรกมีดงัน้ี 1) อะบูบักร์หรืออาบูมากร (พ.ศ. 2375-1477) ได้รับเลือกให้เป็ นเคาะลีฟะฮ์องค์แรก อะบักได้ ทรงเริ่มขยายอา นาจในการท าสงครามแผ่ศาสนาอิสลามออกไปนอกดินแดน อาระเบีย เช่น อิรัก ซีเรีย เป็ นต้น 2) โอมาหรืออุมัร (พ.ศ. 2477-1187) ได้รับเลือกให้เป็ นเคาะลีฟะฮ์องค์ที่ 2โอมาไดท ้ รงเริ่มหา สงครามแผ่ศาสนาอิสลามออกไปแยกดินแดนอาระเบียและไดผ ้ ลสา เร ็ จอยา่งยิ่ง เพราะท าให้ชาว เปอร์เซียและอียิปต์หันมานับถือศาสนาอิสลาม
3) โอธมันหรืออุษมาน (พ.ศ. 1187-1191) ได้รับเลือกให้เป็ นเคาะลีฟะฮ์ องค์ที่ 3โอ มันได้ทรง ด าเนินงานเผยแผ่ ศาสนาอิสลาม โดยทางน่ากองทัพมุสลิมไป พิชิตอัฟกานิสถาน ตุรกี และตอน เหนือของ ทวีปแอฟริกาผลก ็ คือประชาชนในดินแดน เหล่าน้นั ไดเปลี่ยนใจมานับถือศาสนา ้ อิสลาม 4) อาลีหรืออลีย์ เป็ นเคาะลีฟะฮ์ องค์ที่ 4ผู้เป็ นบุตรเขยของนบีมุฮัมมัด อาลี ต้องทรงท า กายใน กับมูอารียา ซึ่งเป็ น พระญาติของโอธมัน ซึ่งมูอารียา ได้สังหารอา ใน พ.ศ. 1204แล้วจึงเป็ นเกาะ ลีฟะฮ์พร ้ อมกบัสถาปนาต้งัราชวงศโ์ อมายงัข้ึน จากน้นั ไดท ้ รง ท าสงครามแผ่ศาสนาอิสลาม ต่อไป มัสญิดนะบะวีย์ เมืองมะดีนะฮ์ เป็ นสถานที่ฝังพระศพของศาสดามุฮ ามัด การแตกแยกเป็ นนิกายต่างๆ ของศาสนาอิสลาม ไดเ ้ ริ่มต้งัแต่นบีมุฮมัมดัทรงสิ้นพระชนมแ ์ ลว ้ สาเหตุส าคัญที่สุดเกิดจากข้อคิดเห็นไม่ตรงกันเกี่ยวกับต าแหน่งผู้น าทางศาสนา มากกว่าอย่างอื่น นนั่คือฝ่ายหน่ึงมีความเห ็ นว่า ตา แหน่งผูน ้ า ทางศาสนาสืบต่อจากนบีมุฮมัมดัควรไดแ ้ กท่ายาท ของพระองค ์ คืออาลีอีกฝ่ายหน่ึงมีความเห ็ นว่าควรมาจากการเลือกต้งั การแตกแยกนิกายในสมยัแรกเริ่มมีเพียง2 นิกาย คือ ฝ่ ายที่นับถืออาลีเรียกตนเอง ว่า " นิกาย ชีอะห์" แปลว่า "สาวกหรือผูป้ ฏิบตัิตาม" ส่วนฝ่ายที่ตอ ้ งการให ้ ผูน ้ า ศาสนามาจากการเลือกต้งั เรียกตนเองว่า " นิกายคอราริช" แปลว่า " ผู้แยกออกไป" เกร็ดน่ารู้ สัญลักษณ์ของศาสนาอิสลาม ศาสนาอิสลามเป็ นศาสนาที่เคารพบูชาอัลลอฮ์องคเ ์ ดียวเท่าน้นั ไม่บูชารูปเคารพอื่นๆ ศาสนา อิสลามจึงไม่มสีัญลกัษณ ์ใด ๆ ให ้ศาสนิกชน นบัถือแต่พระจนัทร ์ คร่ึงเส้ียวและมีดาวอยขู่า ้ งบน ที่พบอยใู่นมสัดุล ทวั่ ไปน้นั ไม่ใช่สัญลกัษณ ์ ทางศาสนา เป็ นเพียงเครื่องหมายของอาณาจกัร
ออตโตมันเติร์ก ซึ่งเป็ นอาณาจักรอันยังใหญ่ในอดีต มีอ านาจครอบคลุม ยุโรป และตะวันออก กลางท้งัหมด ต้งัแต่พุทธศตวรรษที่21 เป็ นต้นมา กลุ่มประเทศมุสลิมที่เคยอยู่ในอ านาจของ อาณาจักรออตโตมันเติร์กจึงยึดเอาเครื่องหมายดังกล่าวเป็ นสัญลักษณ์ของตนในฐานะเป็ นชาว มุสลิม เหมือนกันสืบมา สัญลักษณ์มุสลิม คัมภีร์ ศาสนาอิสลามมีคัมภีร์อัลกุรอานและคัมภีร์หะดีษเป็ นคัมภีร์ส าคัญ ซึ่งได้บันทึกค าสอนต่างๆ ไว้ อย่างครบถ้วนและถูกต้อง ไม่มีการประชุมปรับปรุงหรือช าระใหม่ การศึกษาศาสนาอิสลามต้อง อาศยัคมัภีร ์ ท้งั2 น้ีจึงจะมีความสมบูรณ์ที่สุด 1) คัมภีร์อัลกุรอาน เป็ นคมัภีร ์ ของศาสนาอิสลามที่อลัลอฮป์ ระทานแก่ศาสดามุฮมัมดัผ่านมลาอิ กะฮน ์ ามบรีส เพื่อเป็ นสิ่งช้ีทางแก่มนุษยชาติมี30 ภาค (ญุซอ์) 114 บท (ซูเราะห์) 6,200กว่า โองการ (อายะฮ์) ปราชญ์มุสลิมแบ่งอัลกุรอานออกเป็ น 30 ภาค เพื่อให้มุสลิมใช้อ่าน ระหว่างถือ ศีลอดในเทศกาลเราะมะฎอน วันละบทครบ 30วันพอดี อัลกุรอานจ านวน 114 บทน้นัมี43 บท เรียกว่า " ซูเราะห์มักกียะฮ์" คือ บทที่ศาสดามุฮัมมัด ไดร ้ับขณะอยทู่ ี่นครมกักะฮแ ์ ละที่อื่นในช่วงก่อนอพยพไปสู่นครมะดีนะฮ ์ คัมภีร์อัลกุรอานเป็นคัมภีร์ส าคัญสูงสุดของศาสนา อิสลามซึ่งจารึกด้วยภาษาอาหรับเป็ นธรรมนูญชีวิตของอิสลาม
มีลกัษณะเป็ นบทส้ันๆ กล่าวถึงคา สอนเกี่ยวกบัเอกภาพของอลลอฮ์ ั ชีวิตโลกหน้า นรก สวรรค์ ความเจริญและความพินาศของชนชาติก่อนๆ ฯลฯ และอีก21 บท เรียกว่า " ซูเราะห์มะระนี ยะฮ์" คือ บทที่ศาสดามุฮัมมัดได้รับขณะอยู่ที่นคร มะดีนะฮ์ และที่อื่น ในช่วงหลังการอพยพไปสู่ นคร มะดีนะฮ์ มีลักษณะเป็ นบทยาวๆ กล่าวถึง สอนเกี่ยวกับการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ศาสนกิจ ครอบครัว ฯลฯ คัมภีร์อัลกุรอาน มีความส าคัญ คือ 1.อลัลอฮม ์ ีพระบญัชาให ้ เก ็ บรักษาไวบ ้ นสวรรคช ์ ้นัที่7 ชวั่กลัป์ 2. เป็ นคมัภีร ์ ที่พระเป็ นเจา ้ ทรงประกาคิดไวส้ า หรับเหตุการณ ์ ที่เกิดข้ึนในอดีตปัจจุบัน และ อนาคต 3.เป็ นคัมภีร์ที่อัลลอฮฺได้ทรงมอบให้ศาสดามุฮัมมัดโดยผ่านเทวทูตญิบริล และศาสดามุฮัม มัดทรงน ามาเผยแผ่ในเวลาต่อมา 4.เขียนดว ้ ยภาษาอาหรับ เน้ือหาบางตอนคลา ้ ยคลึงกบัคมัภีร ์ในศาสนายดูาห ์ และคริสต ์ ศาสนา ค าสอนเนน ้ ให ้ มุสลิมปฏิบตัิในสิ่งที่ถูกตอ ้ ง 5.เป็ นคัมภีร์ที่ประมวลหลักธรรม กฎหมาย สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์เป็ นต้น ไว้ ครบถ้วน 2) คัมภีร์หะดีษ เป็ นคมัภีร ์ ที่บนัทึกโอวาท ค่าสั่งสอน คา แนะนา และแบบอยา่งการดา เนินชีวิตของ ศาสดามุฮมัมดั ไวโ้ ดยตรง บนัทึกน้ีช่วยขยายความเขา ้ใจใน คมัภีร ์ อลักุรอ่านบางตอน ให ้ ชดัเจนยิ่งข้ึน เพื่อ ปลูกฝังศรัทธาให ้ เกิดแก่อิสลามกิชนยิ่งข้ึน เพราะขอ ้ ความส่วน ใหญ่จะเป็ นหลักธรรม ค าสอน กฎหมาย ระบบสังคม การปกครอง หลักปฏิบัติในการ ดา เนินชีวิต และมีการนา มา สั่งสอนเผยแผ่กนัต่อมา นิกาย การแยกนิกายของศาสนาอิสลามส่วนใหญ่จะเกิดจากความขัดแย้งทางการเมืองและการ ปกครอง มิได้อยู่ที่ความขัดแย้งเกี่ยวกับหลักค าสอนหรือในการปฏิบัติศาสนกิจ กล่าวคือ หลงัการละสังขารของศาสดามุฮมัมดัแลว ้ ก ็ มีปัญหาการต้งัผูน ้ า โลกมุสลิม ซ่ึงเป็ นผูน ้ า อาณาจักรเหมือน กับที่ศาสดามุฮัมมัดเคยเป็ น จึงท าให้เกิดปัญหาหาข้อยุติไม่ได้ น าไปสู่ การแยกตวัก่อต้งัเป็ นนิกาย ต่างๆ ที่สา คญัดงัน้ี
1.นิกายซุนนี เป็ นนิกายที่นับถือการปฏิบัติตามแนวทางของศาสดามุฮัมมัด กลุ่มมุสลิม นิกายน้ีเชื่อว่า ตนเองเป็ นผูเ ้ คร่งในแนวทางการปฏิบตัิตามคมัภีร ์ อลักุรอานและตาม วจนะของท่านศาสดารวมท้งัการให ้ ความเคารพเชื่อถือต่อกาหลิบหรือผูร ้ับตา แหน่ง ผู้น าต่อจากท่านศาสดาของตน 2.นิกายชีอะฮ์ เป็ นนิยายแรกที่ก่อตวัแยกออกจากชาวมสุลิมอื่นๆ โดยถือว่าตนเป็ นพวก เดียวกับอา ผู้เป็ นญาติ บุตรเขย และสาวกของศาสดามุฮัมมัด กลุ่มมุสลิมนิกายชีอะฮ์ถือ ว่าอาลีคนเดียวเท่าน้นัที่เป็ นกาหลิบที่ถูกตอ ้ ง 3.นิกายคอวาริช นิกายน้ีมีหลกัที่สา คญัอยวู่ ่า ตา แหน่งกาหลีบน้นัตอ ้ งมีการเลือกต้งัอยา่ง เสรี บุคคลที่ ได้รับเลือกจะเป็ นใครก็ได้ตามความเหมาะสม 4.นิกาซูฟี นิกายน้ีไม่ปรากฏผูใ้ หก ้ า เนิด มีแต่กล่าวถึงนกั ปราชญแ ์ ละผลงานของท่าน ซึ่ง เป็ นการ เน้นการช าระจิตใจให้บริสุทธิ์ ให้พสวดอธิษฐานขอบคุณพระเป็ นเจ้า ขอขมา โทษ และมีความ เกรงกลวัต่อพระองค ์ นิกายน้ีเนน ้ การปฏิบตัิอยา่งเคร่งครัด หลักค าสอน หลกัคา สอนที่สา คญัของศาสนาอิสลาม ไดแ ้ ก่หลกัศรัทธา ๖ ประการ ซึ่งเป็ นหลักที่ อิส ลามิกชนจะตอ ้ งยึดมนั่ ไวต ้ ลอดไป และหลกัปฏิบตัิ5 ประการ ซึ่งชาวมุสลิมจะต้อง ปฏิบตัิเป็ นเนืองนิจ นอกเหนือจากน้นัยงัมีขอ ้ ห ้ ามและหนา ้ ที่ที่ชาวมุสลิมตอ ้ งยึดถือ ปฏิบัติอีกมากด้วย หลักศรัทธา 6 ประการ ที่อิสลามกิชนตอ ้ งยึดถือปฏิบตัิมีดงัต่อไปน้ี 1.ศรัทธาในเอกภาพของพระเป็ นเจ้า ชาวมุสลิมทุกคนต้องมีศรัทธาในอัลลอฮ์ เพียงองค์ เดียวอลัลอฮเ ์ป็ นพระเป็ นเจา ้สูงสุด ผูท ้ รงสร ้ างทุกสรรพสิ่ง 2.ศรัทธาในเทวทูตของพระเป็ นเจ้า เทวทูตคือคนกลางระหว่างพระเป็ นเจ้า กญัศาสดาท้งัหลายเทวทูตในประวตัิศาสตร ์ ศาสนาอิสลามเรียกว่า “มลาอิกะฮเป็ น วิญญาณที่ มองด้วยตาไม่เห็น สัมผัสด้วยประสาทไม่ได้ เป็ นบ่าวรับใช้ของอัลลอฮ์โดย
เคร่งครัด เช่น เป็ นผูน ้ า พระโองการมาถา่ยทอดให ้ศาสดา บนัทึกความดีและความชวั่ ของมนุษย์ ติดตามมนุษย์ไป ตลอดชีวิต เป็ นต้น 3.ศรัทธาในคัมภีร์อัลกุรอาน ชาวมุสลิมทุกคนต้องยอมรับและมีศรัทธาใน คัมภีร์อัลกุ รอานว่าเป็ นพระวจนะของอลัลอฮ ์ ที่ทรงมอบแก่มนุษยโ์ ดยผ่านทางศาสดามุฮมัมดัเพอื่ จะประกาศให้ประชาชนได้ทราบถึงหลัก ค าสอนในหน้าที่อย่างน้อย 3 ประการ ดงัน้ี 3.1 หน้าที่ต่อพระเป็ นเจ้า คือ การมีศรัทธาต่อพระองค์ โดยแสดงออก ด้วยการปฏิบัติ วินัยบางประการที่ทรงบัญญัติ ไว้ เช่น การกล่าวค าปฏิญาณ การนมัสการ ประจ าวัน การถือศีล การบริจาคทาน การ บ าเพ็ญฮัจญ์ เป็ นต้น 3.2 หน้าที่ต่อเพื่อนมนุษย์ คือ หน้าที่ระหว่างเพื่อนมนุษย์ต่อมนุษย ์ไดแ ้ ก่หนา ้ ที่ของ บุตรที่ตอ ้ งเคารพเชื่อฟังบิดามารดา ซื่อสัตยต ์ ่อกนัรวมท้งัหนา ้ ที่ของมุสลิมที่ตอ ้ ง ช่วยเหลือเก้ือกูลญาติพี่นอ ้ งและเพื่อนบา ้ น และมีน้า ใจดีต่อเพื่อนมนุษยท ์ วั่ ไป 3.3 หน้าที่ต่อตนเอง คือ บุคคลมีหน้าที่รักษาสุขภาพอนามัย โดยรักษา ความสะอาดเป็น นิจ บริโภคอาหารที่มีประโยชน ์ งดเวน ้ สิ่งมึนเมาและให ้โทษ รวมถึงขยนัขนัแขง ็ ใน การศึกษาและการงาน 4. ศรัทธาต่อศาสนทูตหรือบรรดาศาสดาต่างๆ ชาวมุสลิมเชื่อว่าก่อนหนา ้ ที่อลัลอฮจ ์ ะ ทรงมอบคมัภีร ์ อลักุรอานให ้ศาสดามุฮมัมดัน้นัพระองคไ์ ดท ้ รงสถาปนาศาสดาต่างๆ ให ้ แก่มนุษยชาติตามเวลาและสถานการณ์ในประวัติศาสตร์มาทุกยุคทุกสมัย และมา สิ้นสุดที่ศาสดาคนสุดทา ้ ยคือศาสดามุฮมัมดั 5.ศรัทธาต่อวันปรโลก ศาสนาอิสลามเชื่อว่า เมื่อมนุษย์ตายแล้วดวงวิญญาณ ไม่ดับสูญ ยงัคงเร่ร่อนเสวยสุขทุกขอ ์ ยทู่ ี่บริเวณหลุมฝังศพจนกว่าจะถึงวนัสิ้นโลก หลงัจากรับฟัง คา พิพากษาแลว ้ จะไดเ ้ ขา ้ไปสู่ร่างใหม่ดว ้ ยเหตุน้ีชาวมุสลิมจึงมีคติความเชื่อว่า เมื่อตาย แลว ้ ตอ ้ งนา ศพไปฝังเท่าน้นัห ้ ามนา ไปเผาดว ้ ยไฟ ไม่ว่าจะเป็ นการตายดว ้ ยการทา อัตวินิบาตกรรม หรือการฆ่าตัวตาย ตายแบบผิดปกติ หรือตายอย่างธรรมดา ดังที่ศาสดา มุฮมัมดัไดท ้ รงสั่งไว้ว่าการลงโทษมนุษย์ด้วยไฟเป็ นหน้าที่ของพระเป็ นเจ้า มนุษย์ ลงโทษมนุษย์ด้วยไฟไม่ได้ เพราะว่า การลงโทษด้วยไฟเป็ นหน้าที่ของพระเป็ นเจ้า
6.ศรัทธาในกฎกา หนดสภาวะของอลัลอฮ ์ ชาวมุสลิมเชื่อว่าวิถีชีวิตของมนุษยน ์ ้นั อัลลอฮ์ได้ทรงลิขิตไว้เป็ นเกณฑ์ของแต่ละคนแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่ามนุษย์จะต้อง รอฟัง พระบัญชาของพระเป็ นเจ้าเพียงอย่างเดียว มนุษย์จะต้องมีความพยายามท าทุก อย่างให้ดีที่สุด แต่ในขณะเดียวกันมนุษย์ก็ต้องไว้วางใจในพระองค์ผู้น าทางชีวิตของแต่ ละคนด้วย หลักปฏิบัติ 5 ประการศาสนาอิสลามมีหลักปฏิบัติที่ส าคัญ 5 ประการ ดงัน้ี 1.การปฏิญาณตน ชาวมุสลิมทุกคนตอ ้ งมีศรัทธาเชื่อมนั่และเป็ นสักขีพยาน ในความ เป็ นเอกภาพของพระเป็ นเจ้ากับศาสนทูตของพระองค์ เพื่อยืนยันความเชื่อถือใน เอกภาพ ของอลัลอฮแ ์ ละเป็ นการให ้ คา มนั่สญัญาว่าตนจะเคารพภกัดีต่ออลัลอฮ์พระองค์ เดียวไม่น่าสิ่งใด มาเป็ นภาคีกบัพระองค ์ และให ้ คา มนั่สัญญาว่าศาสดามุฮมัมดัเป็ นศา สนทูตของพระองค์ ตนจะ ปฏิบัติตามค าสอนของอัลลอฮ์และศาสนทูตของพระองค์ ด้วย 2.การละหมาด คือ การนมัสการพระเป็ นเจ้า คัมภีร์อัลกุรอานก าหนดไว้ว่าชาว มุสลิม ท้งัชายและหญิงที่บรรลุนิติภาวะทางร่างกายหรือย่างเข้าสู่วัยหนุ่มสาวแล้วจะต้องท า ละหมาด วันละ 5 เวลาไดแ ้ ก่เวลารุ่งอรุณ เวลาบ่ายเวลาเยน ็ เวลาพลบค่า และเวลา กลางคืน ก่อนการละหมาดจะตอ ้ งชา ระร่างกายใหส้ ะอาด จุดมุ่งหมายของการละหมาด คือ เพื่อให้เกิดความอ่อนน้อมถ่อมตน เพื่อขัดเกลา จิตใจ และสอนให้รู้จักมารยาทใน การแสดง ความภักดี เพื่อให้รู้จักการตรงต่อหน้าที่และ ตรงต่อเวลา เพื่อให้ตระหนักถึง ความเสมอภาคไม่แบ่งช้นัวรรณะเพื่อให ้ เกิดความยา เกรงต่อความเกรียงไกรของพระ เป็ นเจ้า รักษาสัจจะ ซื่อตรง ไม่โลภ มีส านึกต่อความเป็ นธรรม 3.การถือศีลอด หลกัปฏิบตัิน้ีเป็ นมูลฐานขอ ้ หน่ึงที่ชาวมุสลิมทุกคนตอ ้ ง ปฏิบตัิ กา หนดข้ึนทุกปีเป็ นเวลา 1 เดือน กระท าในเดือนที่ 9 ตามปฏิทินจันทรคติของ ศาสนา อิสลาม เรียกว่า " เดือนรอมฎอนหรือ เราะมะฎอน" การถือศีลอด คือ การงดเว้นจาก การบริโภคและอื่นๆ ตามที่ก าหนดไว้แน่นอน
การละหมาดของชาวมุสลิม เป็ นการแสดงความเคารพต่อ พระเป็ นเจา ้ ท้งัร่างกายและ จิตใจ ซึ่งผู้ที่จะถือศีลอดได้จะต้องเป็ นผู้ที่มีอายุบรรลุศาสนภาวะ (อายุ 15 ปี ) มีสติสัมปชัญญะ มีร่างกาย สมบูรณ์ ยกเว้นคนชรา คนป่ วย หญิงมีครรภ์ หญิงแม่ลูกอ่อนที่ให้นมทารก หญิงมีประจ าเดือน คนท างานหนัก และคนที่อยู่ระหว่างการเดินทาง จุดมุ่งหมายของการถือศีลอด คือ เพื่อต้องการทดสอบความศรัทธาของชาวมุสลิม ที่มีต่อ พระเป็ นเจ้า เพื่อฝึ กอบรมจิตใจให้ตัดจากกิเลสและตัณหาต่างๆ เพื่อท าจิตใจให้บริสุทธิ์ พ้นจากอ านาจฝ่ ายต ่า เพื่อให้รู้รสชาติแห่งการมีขนัติอดกล้นัเพื่อให ้ รู้ รสชาติแห่งความ หิวโหยจะไดไ้ ม่เป็ นคนเห ็ นแก่ตวั 4.การบริจาคทรัพย์ตามศาสนบัญญัติ (ซะกาต) ชาวมุสลิมถือเป็ นหน้าที่ที่จะ ต้องสละ ทรัพย์ของตนในอัตราร้อยละ 2.5 เพื่อแบ่งปันให ้ แก่ผูท ้ี่พึงไดร ้ับ ซ่ึงไดแ ้ ก่ผูย ้ ากไร ้ ผูข ้ ดั สน เด็กก าพร้า ผู้มีหน้ีสินเพื่อกิจอนัชอบดว ้ ยศาสนาผูเ ้ป็ นมุสลิมโดยสมคัรใจผูเ ้ ผยแผ่ ศาสนาอิสลาม ผู้เดินทางที่ขาดทุนทรัพย 5.การประกอบพิธีฮัจญ์ ชาวมุสลิมที่มีสุขภาพแข็งแรงและมีทุนทรัพย์พอสมควร จะต้องเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ ณ มัสญิดอัลกะอฺบะฮ์ นครมักกะฮ์ ประเทศ ซาอุดีอาระเบีย ซ่ึงวิหารแห่งน้ีบรรพบุรุษของชาวอาหรับไดส้ ร ้ างไวเ ้ พื่อเป็ นที่สักการะ พระเป็ นเจ้า ผู้ที่มิใช่มุสลิม จะเข้าไปไม่ได้
ในเดือน 12 ตามปฏิทินอิสลาม มุสลิมที่มีความพร้อมจะ เดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ ณ เมืองมักกะฮ์เพื่อระลึกถึง พระเป็ นเจา ้ และแสดงท้งัภราดรภาพระหว่างมุสลิมดว ้ ยกนั 3) หลักจริยธรรมที่ชาวมุสลิมทุกคนควรถือปฏิบัติ หลักธรรมค าสอนของศาสนา อิสลามเกิดจากการผสมผสานของกฎบัญญัติในคัมภีร์อัลกุรอานกับวัตรปฏิบัติส่วน พระองค์ของ ศาสดามุฮัมมัด ชาวมุสลิมเชื่อว่าผู้นับถือศาสนาอิสลามที่จะให้บังเกิดผลดี อยา่งแทจ ้ ริงตอ ้ งปฏิบตัิตามหลกัจริยธรรมของศาสนาอิสลาม ดงัต่อไปน้ี ข้อควรเว้นทางกาย 1.ไม่กราบไหว้รูปเคารพ 2.ไม่เอนเอียงไปทางศาสนาอื่น 3.ไม่ดูหมิ่นคมัภีร ์ อลักุรอานและคา สั่งสอนของนบีมุฮมัมดั 4.ไม่ทา ความสกปรกให ้ เกิดแกคัมภีร์อัลกุรอานและพระนาม ของอัลลอฮ์ ่ 5.ไม่ประพฤติตนเป็ นอุปสรรคต่อผู้ประสงค์จะนับถือศาสนาอิสลาม 6.ไม่แสดงกิริยาท่าทางอันเกี่ยวกับศาสนพิธีของศาสนาอื่น ข้อควรเว้นทางวาจา 1ไม่พูดว่าตนได้เคยเห็นองค์อัลลอฮ์ 2.ไม่พูดว่าคนได้เคยสนทนากับองค์อัลลอฮ์ 3.ไม่พูดว่าองค์อัลลอฮ์ทรงมีความงดงาม 4.ไม่กล่าวหาหรี นินทาบรรดาพี่น้องมุสลิมว่าเป็ นผู้ปฏิบัติ นอกลู่นอกทาง 5. สิ่งที่ทา ไม่ไดอ ้ ยา่พูดว่าทา ได ้สิ่งที่ทา ไดอ ้ ยา่พูดว่าทา ไม่ได ้
ข้อควรเว้นทางใจ 1.ไม่สงสัยองค์อัลลอฮ์ว่าเป็ นผู้สร้างทุกสิ่งจริงหรือไม่ 2.ไม่สงสัยความเป็ นศาสนทูตของศาสดามุฮัมมัด 3.ไม่สงสัยว่าคัมภีร์อัลกุรอานไม่ใช่บทบัญญัติของอัลลอฮ์ 4.ไม่สงสัยว่าหลังจากมันบีมุฮัมมัด แล้วจะมีศาสนทูตอื่นๆ อีก 5.ไม่ครุ่นคิดว่าจะเลิกนับถือศาสนา อัลลาม 6.ไม่สงสัยเรื่องพิธีกรรมต่างๆ 4) ขอ ้ ห ้ ามสา หรับชาวมุสลมิที่ควรยึดถือปฏิบตัิมีดงัต่อไปน้ี 1. ห้ามกราบบุคคลทุกคน ไม่ว่าจะเป็ นบิดา มารดา เจ้านายหรือคนอื่นๆ กราบได้ เฉพาะ อลัลอฮอ ์ งคเ ์ ดียวเท่าน้นั 2. ห ้ ามทา นายหรือให ้ คนทา นายโชคชะตาและเรื่องไสยศาสตร ์ ท้งัหมด 3. ห้ามท าบุญสะเดาะเคราะห์ต่ออายุ 4. ห ้ ามเคารพรูปเคารพ เช่น รูปถ่ายรูปป้ัน อนุสาวรีย ์ เหรียญ เครื่องรางของขลัง เป็ นต้น 5. หา ้ มทา เสน่ห ์ ลงคาถาอาคม ท้งัในฐานะผูท ้ า เองและผูร ้ับทา จากผูอ ้ื่น 6. ห้ามกราบไหว้ธรรมชาติ เช่น ภูเขา ต้นไม้ ดวงดาว ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ เทวดา นางไม้ พระภูมิเจ้าที่ เป็ นต้น 7. ห้ามใช้เหตุผลหรืออารมณ์เหนือศรัทธา 8. ห้ามเป็ นและห้ามเที่ยวโสเภณี 9. ห้ามขายบริการและดื่มสุราเมรัยทุกชนิด 10. ห้ามบริโภคอาหารต้องห้าม เช่น สัตว์ทุกชนิดที่ตายเอง สัตว์ที่เชือดโดยมิได้ เปล่งพระนามอัลลอฮ์ สัตว์บูชายัญ เลือดสัตว์ทุกชนิด เป็ นตัน 11. ห้ามรับประทานเน้ือสุกร สัตวท ์ ี่ถูกนา ไปเซ่นไหว้พระเป็ นเจ้าหรือเทพเจ้าใน ศาสนาอื่น สัตว์ที่ถูกรัดคอให้ตายโดยมิได้เชือดให้เลือดไหล สัตว์ที่ถูกเชือดโดยไม่ได้ กล่าวนามของอัลลอฮ์สัตวท ์ ี่มีลกัษณะน่ารงัเกียจ สัตวท ์ ี่มีเข้ียวเล ็ บ สัตวเ ์ ล้ือยคลาน 12. ห ้ ามเรียกหรือเก ็ บดอกเบ้ีย
13. ห้ามเสี่ยงโชคหรือเล่นการพนันทุกชนิด 14. ห ้ ามประกอบอาชีพที่ไม่ชอบดว ้ ยศีลธรรมหรืออาชีพน้นัจะนา ประชาชนไปสู่ ความหายนะเช่น ต้งัโรงเหลา ้ บาร ์ อาบอบนวด ปล่อยเงินกูโ้ ดยวิธีเก ็ บดอกเบ้ียรับซ้ือ ของโจรเปิ ดสถานเริงรมย์ทุกชนิด เป็ นตัน 15. ห้ามใส่ผมของผู้อื่น ห้ามคุมก าเนิด ห้ามท าแท้ง 16. ห้ามตัวเองและผู้อื่นออกนอกทางของอัลลอฮ์ 17. ห้ามเปิ ดเผยส่วนน่าละอายในที่สาธารณะ 18. ห้ามแต่งกายผิดเพศ ผู้ชายห้ามใช้ผ้าไหมและทองเป็ นเครื่องประดับ ผู้หญิงห้ามใส่เส้ือผา ้ บางๆ และตอ ้ งแต่งกายปกคลุมให้มิดชิด 19. เมื่อชาวมุสลิมเสียชีวิตแล้วห้ามน าไปผ่าพิสูจน์ ห้ามน าไปเผา และห้ามไปร่วม พิธีศพของศาสนาอื่น 20. ห้ามขาดความสัมพันธ์กับญาติพี่น้อง ห้ามพูดปดนอกทางของอัลลอฮ์ ห้ามติฉิน นินทาว่ากล่าวผู้อื่นให้เสียหาย 5) สิ่งที่ชาวมุสลมิทุกคนควรปฏิบตัิมีดงัต่อไปน้ีกตญัญูและรักบิดามารดา เคารพ อ่อนน้อมต่อผู้มีเกียรติและผู้อาวุโส เมตตาสงสารและอุปการะผู้ที่ต ่ากว่า รู้จักเอาใจซึ่ง กันและกันและเอาใจเขามาใส่ใจเรา ประพฤติดีต่อเพื่อนบ้านใกล้เคียงและรักใคร่กลม เกลียวระหว่างญาติพี่น้อง พิธีกรรม พิธีกรรมที่สา คญั ในศาสนาอิสลาม มีดงัน้ี 1)การประกอบพิธีฮจัญ ์ ถือเป็ นพิธีกรรมที่เก่าแก่ของศาสนาอิสลาม ดา ว่า "ฮจัญ"์ แปลว่า "การเดินทางไปประกอบศาสนกิจของมุสลิมที่นครมักกะฮ์ ประเทศ ซาอุดีอาระเบียตามวัน เวลา และสถานที่ต่างๆ ที่ทางศาสนาก าหนดไว้" ซึ่งชาวมุสลิมถือ ว่าผู้ใดเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ด้วยเจตนาที่แน่วแน่และปฏิบัติครบถ้วนตามพิธีทุก ประการผูน ้้นัถือว่าเป็ นผูบ ้ ริสุทธ์ิดุจทารกแรกเกิด การเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์เรียกว่า "ฮะยี" ซึ่งมีความมุ่งหมายแท้จริงอยู่ที่การ นอบน้อมต่อพระเป็ นเจ้า และยังเป็ นการเจริญรอยตามแบบอย่างศาสดามุฮัมมัดที่เสด็จ มานมสัการสถานที่ศกัด์ิสิทธ์ิแห่งน้ีก่อนสิ้นพระชนม ์
คุณสมบัติของมุสลิมที่สามารถประกอบพิธีฮัจญ์ได้ คือ มีศรัทธาอย่างแท้จริง มีสุขภาพ และสติปัญญาสมบูรณ์ มีทรัพย์สินเพียงพอส าหรับการเดินทาง ได้ประกอบพิธีละหมาด ถือศีลอดและบริจาคซะกาตครบถ้วนแล้ว 2) การละหมาด หรือการนมาซ หมายถึง การขอพรต่ออัลลอฮ์ ถือเป็ นการปฏิบัติ ตามศาสดามุฮัมมัดที่ทรงถือเรื่องการสวดมนต์เป็ นกิจวัตรส าคัญที่สุดและเป็ นทางไปสู่ สวรรค์(การเข้าเฝ้าพระเป็ นเจ้า) โตยมีจุดมุ่งหมายส าคัญ คือ เพื่อช าระจิตใจตนเองให้ บริสุทธิ์ มุสลิมที่บรรลุนิติภาวะทางกายหรือย่างเข้าสู่วัยหนุ่มสาวจะต้องท าละหมาด ทุกวัน วันละ 5 เวลา คือเวลารุ่งอรุณ เวลาบ่าย เวลาเย็น เวลาพลบต ่า และ เวลากลางคืน ข้อปฏิบตัิของมุสลิมก่อนพิธีละหมาด ไดแ ้ ก่จะตอ ้ งชา ระร่างกายให ้สะอาดจากสิ่ง ปฏิกูลตามเงื่อนไขที่ศาสนาก าหนด แต่งกายดว ้ ยเส้ือผา ้สะอาดเรียบร ้อย สตรีจะต้องแต่ง กายให ้ มิดชิดเปิดเผยไดเ ้ ฉพาะใบหนา ้ และฝ่ามือและก่อนทา พิธีละหมาดจะตอ ้ งทา ความ สะอาดช าระจิตใจให้บริสุทธิ์ สถานที่ในการละหมาด ในวนัธรรมดาสามารถทา ไดท ้ วั่ ไป แต่จะตอ ้ งเป็ นสถานที่ ที่สะอาด แต่ส าหรับวันศุกร์และเทศกาลพิเศษจะต้องไปท าที่มัสญิด และเมื่อท าพิธี ละหมาดต้องหันหน้าไปทางทิศที่ต้งัของมสั ญิดอัลกะอ์บะฮ์ ประเทศชาอุดีอาระเบีย ซึ่งเรียกว่า "กิบลัต" (ส าหรับประเทศไทยจะหันหน้าไปทางทิศตะวันตก)