The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือ (เทียนหอม)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sukanya Thilampoon, 2022-10-09 22:08:51

คู่มือ (เทียนหอม)

คู่มือ (เทียนหอม)

คู่มอื
กระบวนการถ่ายทอด
เพอ่ื สร้างทกั ษะด้านอาชีพ (เทยี นหอม)

ศูนยเ์ รียนรู้การพฒั นาสตรีและครอบครัวภาคเหนือ จังหวดั ลาปาง
กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว

คานา

ศูนยเ์ รียนรูก้ ารพัฒนาสตรีและครอบครวั ภาคเหนือ จังหวัดลาปาง (ศสค.ลาปาง) จัดทาคู่มือ
กระบวนการถ่ายทอดเพ่ือสรา้ งทักษะดา้ นอาชีพ (เทียนหอม) ขึน้ โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือใหบ้ ุคลากรของ ศสค.
ลาปาง สามารถนาองคค์ วามรูใ้ นค่มู ือไปถ่ายทอดหรือเสริมสรา้ งทกั ษะดา้ นอาชีพใหแ้ ก่กล่มุ เป้าหมายสตรีและ
ครอบครวั รวมทงั้ กลมุ่ เปา้ หมายของภาคีเครือข่ายในกระทรวง พม. ในเขตพนื้ ท่รี บั ผดิ ชอบไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
รวมทงั้ สอดคลอ้ งกับนโยบายของ รฐั มนตรีว่าการกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์ (นาย
จุติ ไกรฤกษ์) ในการสง่ เสรมิ อาชีพใหม่ หลงั วิกฤตการณโ์ ควิด-19 โดยคานึงถึงอาชีพท่ีเป็นท่ีตอ้ งการของตลาด
การสรา้ งความเป็นอตั ลกั ษณป์ ระจาทอ้ งถ่ิน เพ่ิมมลู ค่าของผลิตภณั ฑ์ ใชผ้ ลิตภณั ฑท์ ่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม
และไม่เป็นอนั ตรายต่อสขุ ภาพ ตลอดจนเป็นองคค์ วามรูใ้ หบ้ ุคลากรนาค่มู ือไปปรบั ใชใ้ นกระบวนการถ่ายทอด
เพ่อื สรา้ งทกั ษะดา้ นอาชพี

คู่มือฉบบั นี้ จัดทาขึน้ เพ่ือเป็นความรูพ้ ืน้ ฐาน สามารถนาความรูแ้ ละทักษะดา้ นอาชีพ (เทียน
หอม) ใหก้ ลมุ่ เปา้ หมายหรือผสู้ นใจนาไปประยุกตใ์ ชห้ รือนาไปขยายผลใหก้ บั สตรีหรือบคุ คลในครอบครวั ท่ีประสบ
ปัญหาทางดา้ นสงั คมในพืน้ ท่ีต่อไป ทา้ ยนีศ้ สค.ลาปาง ขอขอบคณุ ท่ีปรกึ ษานายวรภพ น่ิมปลืม้ วิทยากรสอน
การทาเทียนหอมจาก Rose Vill Farm จังหวัดเชียงใหม่ และผูช้ ่วยศาสตราจารยศ์ รีชนา เจริญเนตร สาขา
ออกแบบหัตถอุตสาหกรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตรศ์ ูนยล์ าปาง ผูใ้ หค้ าแนะนา
ถ่ายทอดความรูใ้ หก้ บั บุคลากรของ ศสค.ลาปาง

ศนู ยเ์ รียนรูก้ ารพฒั นาสตรีและครอบครวั ภาคเหนือ จงั หวดั ลาปาง
เมษายน 2565



สารบัญ

หนา้

คานา ก

สารบัญ ข

สว่ นที่ 1 ความเป็ นมา 1

วธิ ีการดาเนนิ กจิ กรรมของ ศสค.ลาปาง ก่อนจดั ทาคมู่ ือ 2

วตั ถุประสงค์ 2

ส่วนที่ 2 แนวคิด ทฤษฎเี กี่ยวกบั กระบวนการถา่ ยทอดเพื่อสร้างทักษะด้านอาชีพ (เทยี นหอม) 3

2.1. แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกบั ความรูแ้ ละการจดั การความรู้ 3

2.2. แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกบั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั 5

2.3. แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกบั วิธีการถา่ ยทอดของผสู้ อน 6

สว่ นท่ี 3 ความรู้เบือ้ งตน้ เกย่ี วกบั เทยี นหอมและวัสดอุ ปุ กรณ์ 7

3.1. ความเป็นมาของ “เทยี น” 7

3.2. วสั ดอุ ปุ กรณป์ ระกอบการทาเทยี นหอม 9

ส่วนท่ี 4 วธิ ีการทาเทยี นหอม 20

4.1. การทาเทียนหอมเพ่อื สขุ ภาพ 20

4.2. การทาเทียนแทง่ 22

4.3. วิธีการทาดอกไมต้ กแตง่ เทียนหอมอย่างง่าย 25

4.4. วธิ ีการใชแ้ ละดแู ลเทียนหอม 27

สว่ นที่ 5 การเตรียมการสอน 30

5.1. รูปแบบการจดั กิจกรรม 30

5.2. ขนั้ ตอนก่อนการดาเนนิ การจดั ฝึกอบรม 31

5.3. ขนั้ ตอนดาเนนิ การจดั ฝึกอบรม 33

5.4. ขนั้ ตอนหลงั การฝึกอบรม 34



สว่ นท่ี 1
ความเป็ นมา

ความเป็ นมา
ตามคาส่ังกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ท่ี 498/2564 ลงวันท่ี 3

สิงหาคม พ.ศ. 2564 แต่งตงั้ คณะทางานโครงการอ่นุ ใจอาสา พฒั นาอาชีพ โดยมีนางสาวสนุ ีย์ ศรีสง่าตระกูล
เลิศ รองอธิบดีกรมกิจการสตรีและสถาบนั ครอบครวั เป็นประธานคณะทางาน ซ่งึ โครงการดงั กล่าวเป็นความ
ร่วมมือระหว่างกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์ AIS Academy และบรษิ ัท เลิรน์ ดิ จากดั
ดาเนนิ การงานโครงการอ่นุ ใจอาสา พฒั นาอาชพี จดั ใหม้ กี าร Workshop ผ่านระบบออนไลนอ์ ยา่ งตอ่ เน่อื ง โดย
กาหนด Workshop ครงั้ ท่ี 2 หลกั สตู รเทียนหอมอโรมา เพ่ือสขุ ภาพ ในวนั ศกุ รท์ ่ี 27 สิงหาคม โดยมีเจา้ หน้าท่ี
ศูนยเ์ รียนรูก้ ารพัฒนาสตรีและครอบครวั ภาคเหนือ จังหวัดลาปาง (ศสค.ลาปาง) เขา้ ร่วมการ Workshop
หลกั สตู รเทียนหอมอโรมาเพ่ือสุขภาพ ประกอบกบั ขอ้ ส่งั การ รมว.กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคง
ของมนุษย์ ในการส่งเสริมอาชีพในลกั ษณะเพ่ิมมูลค่าใหแ้ ก่ผลิตภัณฑท์ ่ีเป็นอัตราลักษณ์ของแต่ละจังหวัด
ประกอบกับปัจจุบนั ความตอ้ งการในการดูแลสุขภาพกาลังเป็นค่านิยม จึงมองเห็นถึงโอกาสในการพัฒนา
ผลิตภณั ฑโ์ ดยการเพ่ิมมลู ค่า เช่น จงั หวดั ลาปางมีเซรามิกมาก จึงนาเทียนหอมเพ่ือสขุ ภาพใสใ่ นภาชนะท่ีเป็น
เซรามิก ซง่ึ เทียนหอมมีคณุ ลกั ษณะเฉพาะท่ใี หค้ วามหอมเพ่ือผ่อนคลาย เป็นตน้ จงึ มอบหมายให้ ศสค.ลาปาง
เป็นผใู้ หค้ วามรูก้ ารฝึกอบรมหลกั สตู รการทาเทียนหอมเพ่ือสขุ ภาพ ซง่ึ ขณะนนั้ บคุ ลากรของ ศสค.ลาปาง ไมไ่ ด้
มีความรู้ในเร่ืองการทาเทียนหอมดังกล่าว จึงได้เชิญวิทยากรภายนอกมาสอนการทาเทียนหอมให้กับ
กล่มุ เป้าหมาย ซ่งึ มีค่าใชจ้ ่ายสงู ในการฝึกอบรมแต่ละครง้ั จึงไดห้ ารือไปยงั กองคุ้มครองและพฒั นาอาชีพ โดย
ไดร้ บั การตอบรบั ในการสนับสนุนส่งบุคลากรของ ศสค.ลาปาง จานวน 2 คน เขา้ ร่วมอบรมหลกั สูตรการทา
เทียนหอมเพ่ือสขุ ภาพ เม่ือวนั ท่ี 2 กุมภาพันธ์ 2565 ณ Rose Ville Farm อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ เพ่ือ
เป็นการพฒั นางานดา้ นการสง่ เสรมิ อาชีพ และพฒั นาผลิตภณั ฑด์ า้ นการทาเทียนหอมในรูปแบบท่ีหลากหลาย
และสามารถประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนินงานดา้ นการฝึกอาชีพใหม้ ีประสิทธิภาพ พรอ้ มนี้ บุคลากรดังกล่าวได้
ถ่ายทอดองคค์ วามรูใ้ หบ้ ุคลากรภายใน ศสค.ลาปาง จานวน 8 คน สาหรบั ไปสง่ เสรมิ พฒั นาอาชพี การทาเทียน
หอมเป็นแนวทางเดียวกนั ใหแ้ ก่กล่มุ เป้าหมายในเขตพืน้ ท่ีรบั ผิดชอบ จานวน 5 จังหวดั ไดแ้ ก่ จงั หวดั ลาปาง
จงั หวดั สโุ ขทยั จงั หวดั กาแพงเพชร จงั หวดั พจิ ติ ร และจงั หวดั เพชรบรู ณ์ ไดน้ าไปใชป้ ระกอบอาชพี ตอ่ ไป

วิธีการดาเนินกิจกรรมของ ศสค.ลาปาง ก่อนจัดทาคู่มอื
เน่ืองจากบคุ ลากรของ ศสค.ลาปาง ยงั ไมม่ ีความรูใ้ นการทาเทียนหรือ จึงไดก้ าหนดรูปแบบการจดั

กิจกรรม ออกเป็น 2 สว่ น
1. การถ่ายทอดความรูจ้ ากวิทยากรผมู้ ีความชานาญ เพ่ือเสรมิ ตอ่ ความรูใ้ หว้ ิทยากรของ ศสค.ลาปาง
2. วิทยากรของ ศสค.ลาปาง ถ่ายทอดความรูท้ กั ษะดา้ นการทาเทียนหอมใหก้ บั กลมุ่ เป้าหมาย

วิธกี ารจดั กจิ กรรม

การถ่ายทอดความรูจ้ ากวทิ ยากรผมู้ ี วิทยากรของ ศสค.ลาปาง ถ่ายทอด
ความชานาญ เพ่ือเสรมิ ต่อความรู้ ความรูท้ กั ษะดา้ นการทาเทียนหอม
ใหว้ ิทยากรของศนู ยเ์ รียนรูฯ้ ใหก้ บั กลมุ่ เปา้ หมาย
กลมุ่ เปา้ หมาย 1. ผรู้ บั การฝึกอาชพี ในสถาบนั
1. ครูฝึกอาชีพของ ศสค.ลาปาง 2. ผรู้ บั การฝึกอาชพี ในชมุ ชน
2. บคุ ลากรท่สี นใจของ ศสค.ลาปาง 3. กลมุ่ ผทู้ ่สี นใจ โดยสมคั รเป็น
รายบคุ คลเพ่ือฝึกอบรมในโอกาสต่าง


วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่อื รวบรวมองคค์ วามรูเ้ กี่ยวกบั เทยี นหอมต่าง ๆ
2. เพ่อื เป็นองคค์ วามรูใ้ หบ้ คุ ลากรไปสง่ เสรมิ พฒั นาอาชพี เป็นแนวทางเดียวกนั ใหแ้ กก่ ลมุ่ เปา้ หมายนาไปใช้
ประกอบอาชีพต่อไป

2

ส่วนที่ 2
แนวคดิ ทฤษฎีเก่ียวกับกระบวนการถ่ายทอดเพอื่ สร้างทักษะด้านอาชพี (เทยี นหอม)

ศสค.ลาปาง ไดน้ าแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกบั กระบวนการถ่ายทอดเพ่ือสรา้ งทกั ษะดา้ นอาชพี (เทยี นหอม)
จากการศกึ ษาและทดลองนาทฤษฎีมาใช้ จานวน 3 ทฤษฎี ไดแ้ ก่ ทฤษฎีเกี่ยวกบั ความรูแ้ ละการจดั การความรู้
ทฤษฎที ่เี ก่ียวกบั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั และทฤษฎที ่เี ก่ียวกบั วธิ ีการถ่ายทอดของผสู้ อน

2.1. แนวคิดและทฤษฎเี ก่ียวกับความรู้และการจัดการความรู้
ความหมายของความรูแ้ ละประเภทของความรู้ ความรูเ้ ป็นส่ิงจาเป็นสาหรบั มนษุ ยท์ กุ คนในโลก

ใบนีแ้ ละความรูไ้ ด้อยู่คู่กับโลกมาช้านาน ทั้งความรูท้ ่ีเป็นรูปธรรมและความรูท้ ่ีเป็นนามธรรม มนุษยเ์ ป็นผู้
แสวงหาความรูแ้ ละคน้ พบความรู้ แทจ้ รงิ แลว้ ความรูจ้ งึ เกิดจากการเรียนรูก้ ารฝึกฝน ทดลอง ประสบการณแ์ ละ
มกี ารแลกเปลยี่ น เรยี นรูซ้ ง่ึ กนั และกนั จนเกดิ เป็นองคค์ วามรูใ้ หม่ ๆ ขนึ้ มาเพ่อื ใชใ้ นการพฒั นาตนเองและองคก์ ร

ความรูจ้ ึงเป็นทรพั ยากรทางเศรษฐกจิ ท่มี ีอทิ ธิพลอยา่ งสาคญั และเป็นปัจจยั ชขี้ าดของ ความได้
เปรยี บในการแข่งขนั ในศตวรรษท่ี 20 เป็นยคุ ท่มี ีการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงมากท่ีสดุ ท่ี เคยมมี าเพราะสงั คม
เป็นสงั คมแหง่ การเรียนรู(้ knowledge-based society) และเกดิ พนกั งานท่ีใชภ้ มู ิปัญญา (knowledge worker)
มจี านวนเพม่ิ ขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ ในประเทศท่พี ฒั นาแลว้ ทกุ ประเทศ 15 ความรูท้ ่จี ะนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการทางาน
(knowledge in application) หรือท่ีเรียกว่า “สังคมแห่ง การเรียนรู้” เป็นสังคมท่ีประกอบด้วยแก่นสาร
สาระสาคัญท่ีการจัดการ การเร่ิมต้นสังคมแห่งความรู้นั้นในปัจจุบัน หลายองค์กรใช้กลยุทธ์การพัฒนา
ทรัพยากรบุคคลใหม้ ีความรูเ้ กิดทักษะต่าง ๆ เพ่ือใชป้ ระโยชน์ในการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลสงู สดุ และพฒั นาต่อเน่ืองตลอดชีวิต ทรพั ยากรบคุ คลในฐานะท่ีเป็นทรพั ยส์ ินอนั มีค่าย่ิงขององคก์ ร
และ “ความรู”้ ซ่ึงมีอยู่ในตัวบุคคล ความรูข้ ององคก์ รในการทางานสรา้ งสรรค์ นวัตกรรม (innovation) เพ่ือ
สรา้ งความไดเ้ ปรียบทางการแข่งขัน การสรา้ งนวัตกรรมในองคก์ ร จาเป็นตอ้ งมีการพฒั นากระบวนการจดั การ
ความรู้ ทกุ คนสามารถนาความรูไ้ ปเพ่ือใชพ้ ฒั นา กระบวนการจดั การความรูแ้ ละสามารถนาความรูไ้ ปเพ่ือใช้
พฒั นาส่ิงใหม่ ๆ ใหเ้ กิดประสิทธิภาพในการผลิตและการบริการ ทุกองคก์ รจึงตอ้ งเรียนรูท้ ่ีจะทางานอย่างชาญ
ฉลาดบนพืน้ ฐานของทนุ ปัญญาและความรู้ (นา้ ทิพย์ วภิ าวนิ , 2546, น. 16)

ความหมายของความรู้ ไดม้ ีนกั วิชาการไดใ้ หค้ วามหมายของความรูไ้ วด้ งั นี้
Senge (1990, p. 3) ไดใ้ หน้ ิยามของความรู้หมายถึงความสามารถท่ีนาไปสู่การกระทาท่ีมี
ประสิทธิภาพ
Davenport & Prusak (1998, p. 53) ไดก้ ล่าวว่า ความรูห้ มายถึงกรอบของการผสมผสานกัน
ของประสบการณค์ ่านิยม บริบท สารสนเทศและการรู้แจง้ ท่ีช่าชอง ทาใหเ้ กิดกรอบงานสาหรบั การประเมินคา่
และการประสานประสบการณก์ บั สารสนเทศใหม่ ๆ ซ่งึ สิง่ เหลา่ นเี้ กิดขนึ้ และถกู นาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ของผรู้ ู้
บดินทร์ วิจารณ์ (2553, น. 35) ได้ให้นิยามของความรูไ้ ว้ว่า ทรัพย์สินขององค์กรอันได้แก่
ประเพณีวฒั นธรรม เทคโนโลยีการปฏิบตั ิงาน ระบบปฏิบตั ิงานตา่ ง ๆ บนพืน้ ฐานของความรูข้ องความชานาญ
สานักงานรบั รองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (2553, น. 37) ไดใ้ ห้ ความหมาย
ของความรูไ้ วว้ ่า ส่ิงท่ีส่งั สมมาจากการศึกษา การคน้ ควา้ การไดย้ ิน การไดฟ้ ัง การคิด หรือปฏิบตั ิความเขา้ ใจ
ประสบการณร์ วมทงั้ ความสามารถเชิงปฏิบตั ิและทกั ษะท่ไี ดร้ บั มาจาก องคก์ รและการเรียนรูใ้ นแตล่ ะสาขา
ราชบัณฑิตยสถาน (2554, น. 243) ได้ให้ความหมายของความรู้คือ สิ่งท่ีส่ังสมมาจาก
การศกึ ษาเลา่ เรียน การคน้ ควา้ หรือประสบการณร์ วมทงั้ ความสามารถเชิงปฏิบตั ิและทกั ษะส่ิงท่ี ไดร้ บั มาจาก
การไดย้ นิ ไดฟ้ ัง การคดิ หรือการปฏิบตั คิ วามเขา้ ใจหรือสารสนเทศท่ไี ดร้ บั จากประสบการณ์
กล่าวโดยสรุป ความรูค้ ือผลท่ีไดจ้ ากการเรียนรูก้ ารศึกษาค้นคว้า ประสบการณ์และ ความ
ชานาญของบุคลแต่ละคนท่ีส่งั สมมาทางตา หู จมกู ลิน้ กาย และใจ (อายตนะภายนอกทงั้ 6) แลว้ นาความรู้
เหล่านั้นมาแลกเปล่ียนเรียนรูซ้ ่ึงกันและกันจนเกิดเป็นองค์ความรูใ้ หม่เพ่ือนาไปใชใ้ นการพัฒนาทรพั ยากร
บคุ คลและพฒั นาองคก์ รใหเ้ ป็นองคก์ รแหง่ ความรูแ้ ละเกิดการสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม
ประเภทของความรู้ Nonaka & Takeuchi (1995, p. 12-14) ได้แบ่งความรู้ออกเป็ น 2
ประเภท คอื ความรูท้ ่แี จง้ ชดั (explicit knowledge) และความรูท้ ่อี ย่ใู นตวั บคุ คล (tacit knowledge)
- ความรูท้ ่ีแจง้ ชดั (explicit knowledge) นนั้ เป็นความรูท้ ่ีจับตอ้ งได้ (objective) และมีเหตผุ ล
(rational) สามารถแสดงผ่านออกไดท้ างคาพูดและตัวเลขทั้งยังแบ่งปันได้ในรูปแบบของข้อมูล สูตรทาง
วทิ ยาศาสตรท์ ฤษฎีการ แกป้ ัญหา คมู่ อื ฐานขอ้ มลู และอ่นื ๆ อกี มากมาย ซ่งึ สามารถนามาประยุกตใ์ ชร้ ่วมกบั
ระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศได้

4

- ความรูแ้ บบภายในตัวบุคคล (tacit knowledge) นนั้ เป็นความรูเ้ ฉพาะตัว (subjective) และ
ความรูเ้ ชิงประสบการณ์ (experiential) ยากท่จี ะถา่ ยทอดหรือแบ่งปันใหผ้ ูอ้ ่ืนไดโ้ ดยง่าย ตวั อยา่ ง ของความรูท้ ่ี
อยู่ภายในตัวบุคคลไดแ้ ก่ความรูค้ วามชานาญ ความเช่ืออุดมคติคุณค่า และรูปแบบ ความคิดท่ีหย่ังรากลึกอยู่
ภายในตวั เรา

2.2. แนวคิดและทฤษฎเี กยี่ วกับการเรียนการสอนทเี่ น้นผเู้ รยี นเป็ นสาคญั
1) ความหมายการเรียนการสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั
การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคญั คือ แนวการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ใหผ้ ูเ้ รียน

สรา้ งความรูใ้ หม่และส่ิงประดิษฐ์ใหม่โดยการใชก้ ระบวนการทางปัญญา (กระบวนการคิด) กระบวนการทาง
สังคม (กระบวนการกลุ่ม) และให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์และมีส่วนร่วมในการเรียน สามารถนาความรูไ้ ป
ประยกุ ตใ์ ชไ้ ดโ้ ดยผูส้ อนมีบทบาทเป็นผูอ้ านวยความสะดวกจัดประสบการณ์ การเรียนรูใ้ หผ้ เู้ รียน การจดั การ
เรียนการสอนท่ีเนน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคัญตอ้ งจัดใหส้ อดคลอ้ งกับความ สนใจ ความสามารถและความถนัดเน้น
การบรู ณาการความรูใ้ นศาสตรส์ าขาตา่ ง ๆ ใชห้ ลากหลาย วธิ ีการสอนหลากหลายแหลง่ ความรูส้ ามารถพฒั นา
ปัญญาอย่างหลากหลายคือ พหปุ ัญญา รวมทงั้ เนน้ การวดั ผลอยา่ งหลากหลายวิธี (พมิ พนั ธเ์ ดชะคปุ ต,์ 2550)

2) การเรียนรูข้ องผเู้ รยี น มตี วั บ่งชที้ ่บี อกถงึ ลกั ษณะการเรยี นรูข้ องผเู้ รียนประกอบดว้ ย
2.1) การเรียนรูอ้ ย่างมีความสขุ อันเน่ืองมาจากการจัดการเรียนรูท้ ่ีคานึงถึงความ แตกต่าง

ระหว่างบุคคล คานึงถึงการทางานของสมองท่ีส่งผลต่อการเรียนรูแ้ ละพัฒนาการทาง อารมณข์ องผู้เรียน
ผเู้ รียนไดเ้ รียนรูเ้ ร่ืองท่ีตอ้ งการเรียนรูใ้ นบรรยากาศท่ีเป็นธรรมชาติ บรรยากาศ ของการเอือ้ อาทรและเป็นมิตร
ตลอดจนแหลง่ เรยี นรูท้ ่หี ลากหลายนาผลการเรยี นรูไ้ ปใชใ้ นชวี ิตจรงิ ได้

2.2) การเรียนรูจ้ ากการไดค้ ิดและลงมือปฏิบตั ิจริง หรือกล่าวอีกลกั ษณะหนึ่งคือ “เรียน ดว้ ย
สมองและสองมือ” เป็นผลจากการจดั การเรียนรูใ้ หผ้ เู้ รียนไดค้ ิด ไมว่ า่ จะเกิดจากสถานการณ์ หรอื คาถามก็ตาม
และไดล้ งมือปฏบิ ตั จิ รงิ ซ่งึ เป็นการฝึกทกั ษะท่สี าคญั คือ การแกป้ ัญหา ความมี เหตผุ ล

2.3) การเรียนรูจ้ ากแหล่งเรียนรูท้ ่ีหลากหลาย และเรียนรูร้ ่วมกบั บุคคลอ่ืน เป้าหมาย สาคญั
ดา้ นหนึ่งในการจัดการเรียนรูท้ ่ีเนน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคัญคือ ผูเ้ รียนแสวงหาความรูท้ ่ีหลากหลาย ทงั้ ในและนอก
มหาวทิ ยาลยั ทงั้ ท่ีเป็นเอกสารวสั ดสุ ถานท่ี สถานประกอบการบคุ คลซ่งึ ประกอบดว้ ย เพ่อื น กลมุ่ เพ่อื นหรือผเู้ ป็น
ภมู ิปัญญาของชมุ ชน

5

2.4) การเรียนรูแ้ บบองคร์ วมหรือบรู ณาการเป็นการเรียนรูท้ ่ีผสมผสานสาระความรูด้ า้ นต่าง ๆ
ไดส้ ดั สว่ นกนั รวมทงั้ ปลกู ฝังคณุ ธรรม ความดีงามและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคใ์ นทกุ วชิ าท่ี จดั ใหเ้ รยี นรู้

2.5) การเรียนรูด้ ว้ ยกระบวนการเรียนรูข้ องตนเอง เป็นผลสืบเน่ืองมาจากความเขา้ ใจ ของ
ผสู้ อนท่ียดึ หลกั การว่าทกุ คนเรียนรูไ้ ดแ้ ละเปา้ หมายท่ีสาคญั คือพฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีความสามารถท่ี จะแสวงหา
ความรูไ้ ดด้ ว้ ยตนเอง ผสู้ อนจึงควรสงั เกตและศกึ ษาธรรมชาติของการเรียนรูข้ องผเู้ รียนว่า ถนดั ท่ีจะเรียนรูแ้ บบ
ใดมากท่ีสุด ในขณะเดียวกนั กิจกรรมการเรียนรูจ้ ะเปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนไดว้ างแผนการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง การ
สนบั สนุนใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนรูด้ ว้ ยกระบวนการเรียนรูข้ องตนเอง ผเู้ รียนจะไดร้ บั การฝึกดา้ นการจดั การแลว้ ยงั ฝึก
ดา้ นสมาธิความมีวินยั ในตนเอง และการรูจ้ กั ตนเอง มากขนึ้

2.3. แนวคิดและทฤษฎีเกย่ี วกบั วิธกี ารถ่ายทอดของผสู้ อน
วิธีการสอนโดยการลงมือปฏิบัติ (Practice) หมายถึง วิธีสอนท่ีใหป้ ระสบการณ์ตรงกับ

ผูเ้ รียน โดยการใหล้ งมือปฏิบตั ิจรงิ เป็นการสอนท่ีม่งุ ใหเ้ กิดการผสมผสานระหว่างทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ วิธี
ปฏิบตั ิ ใหผ้ ูเ้ รียนไดล้ งมือฝึกฝนหรือปฏิบตั ิจริง ลกั ษณะสาคัญ การลงมือปฏิบัติมักดาเนินการภายหลังการ
สาธิต การทดลองหรอื การบรรยาย เป็นการฝึกฝนความรูค้ วามเขา้ ใจจากทฤษฎที ่เี รยี นมาโดยเนน้ การฝึกทกั ษะ

ข้ันตอนการสอน
1. ขนั้ เตรียม ผสู้ อนกาหนดจดุ มงุ่ หมายของการฝึกปฏบิ ตั ิ รายละเอยี ดของขนั้ ตอน การทางาน
เตรียมส่อื ตา่ ง ๆ เช่น วสั ดอุ ปุ กรณ์ เครื่องมือใบงานหรือค่มู อื การปฏบิ ตั ิงาน
2. ขนั้ ดาเนินการ ผสู้ อนใหค้ วามรูแ้ ละทกั ษะท่เี ป็นพืน้ ฐานในการปฏบิ ตั ิ มอบหมาย งานท่ปี ฏบิ ตั ิ
เป็นกลมุ่ หรือรายบคุ คล กาหนดหวั ขอ้ การรายงาน หรือการบนั ทกึ ผลการปฏิบตั งิ านของ ผเู้ รยี น
3. ขนั้ สรุป ผสู้ อนและผเู้ รียน ช่วยกนั สรุปกจิ กรรมการปฏบิ ตั งิ าน
4. ขนั้ ประเมนิ ผล สงั เกตพฤตกิ รรมของผูเ้ รยี น เชน่ ความสนใจ ความรว่ มมอื ความเป็นระเบยี บ
การประหยดั การใชแ้ ละการเก็บรกั ษาเครื่องมอื และการตรวจผลงาน เช่น คณุ ภาพของงาน ความรเิ ร่มิ ความ
ประณีตสวยงาม

6

ส่วนท่ี 3
ความรู้เบือ้ งต้นเก่ยี วกบั เทยี นหอมและวัสดอุ ปุ กรณ์

3.1 ความเป็ นมาของ “เทยี น”

ประวัติของเทียนมีหลายแหล่ง บา้ งว่าเร่ิมตน้ เม่ือ 2,200 ปีก่อนในประเทศจีน เทียนสมยั นนั้ ทาจากไข
ปลาวาฬ บา้ งก็ว่าทางยุโรปมีเทียนใชม้ าแต่ยุคโบราณเหมือนกนั ทาจากไขมันพืช ไขมนั สตั วแ์ ละขีผ้ งึ้ โดยใชแ้ ก่น
ของพืชเป็นไสเ้ ทียน เชน่ ตน้ กก

เม่ือเทียบไขมันสัตวก์ ับขีผ้ ึง้ แลว้ ขีผ้ ึง้ มีคุณภาพดีกว่ามาก เผาไหมส้ ะอาดกว่า เกิดควันนอ้ ยกว่า กลิ่น
ดีกว่าเทยี นขผี้ งึ้ จึงมรี าคาแพง มีใชแ้ ตใ่ นบา้ นเศรษฐี หรอื ในพิธีทางศาสนาในโบสถค์ รสิ ต์ เปลวไฟสงู มาก ๆ ก็ทา
ใหเ้ กิดเขมา่ มากไปดว้ ยจึงตอ้ งคอยตดั ไสไ้ มใ่ หย้ าวมาก

ต่อมาใน ค.ศ. 1848 เจมส์ ยงั นกั เคมีชาวสก็อต กล่นั ไขพาราฟิ นไดจ้ ากถ่านหิน พาราฟิ นท่ีไดน้ นั้ เผา
ไหมด้ ี ไมม่ กี ล่นิ ราคาถกู ใชผ้ ลติ เทยี นไดค้ ราวละมาก เทยี นจากพาราฟินจงึ เรม่ิ เป็นท่นี ิยม

สาหรบั ประเทศไทยสนั นิษฐานว่า มีการใชเ้ ทียนมาตงั้ แต่สมัยก่อนสโุ ขทัย เน่ืองจากมีการถวายเทียน
เขา้ พรรษาประจาปี ซ่งึ จดั เป็นพิธีใหญ่มาอยา่ งตอ่ เน่อื ง

เทยี นหอม

เทียนหอม คือ เนือ้ เทียนท่ีนามาเพ่ิมนา้ มนั หอมระเหย และแต่งแตม้ สีสนั ใหส้ วยงาม เม่ือจดุ แลว้ จะให้
กล่ินหอมของอโรม่า ปัจจุบนั นอกจากนิยมใชใ้ นวงการสปาแลว้ ยงั นามาใชจ้ ุดในบา้ นเพ่ือเพิ่มความหอม และสรา้ ง
บรรยากาศผ่อนคลายใหแ้ กผ่ อู้ าศยั อีกดว้ ย

ปัจจบุ นั เทียนหอมมีหลายชนิด มีการใชแ้ ม่พิมพเ์ พ่ือขึน้ รูปทรงต่าง ๆ ท่ีมีลวดลายสวยงาม เติมสี เติม
นา้ หอมกล่ินท่ีหลากหลาย จนไดร้ บั ความนิยมในการฐานะผลิตภณั ฑเ์ ครื่องหอมชนิดหนึ่ง นามาจดุ ร่วมกบั อโรม่า
เพ่ือใหก้ ล่ินหอมท่ีผ่อนคลายในสปา ก่อนจะนามาใชอ้ ย่างแพร่หลายในบา้ นเรือน ซ่ึงมีขนาดและราคาแตกต่างกนั
ออกไป

ประโยชนข์ องเทียนหอมนอกจากจะใหแ้ สงสว่าง ทาใหผ้ ่อนคลาย และช่วยดบั กล่ินไม่พึงประสงคแ์ ลว้ ยงั
สามารถใชต้ กแต่งสถานท่ีต่าง ๆ ใหส้ วยงาม ในปัจจบุ นั เทียนหอมยงั เป็นสินคา้ ท่ไี ดร้ บั ความนยิ ม ทกุ คนสามารถฝึก ทา
เทียนหอมใชเ้ อง และหากมีความชานาญอาจนาไปสู่การสร้างอาชีพเพ่ือเพิ่มรายได้สาหรับขายผ่านช่องทาง
ออนไลนต์ า่ ง ๆ ไดอ้ ีกดว้ ย
ความหมายของเทยี นแตล่ ะสี

เทยี นสีขาว หมายถึง ความจรงิ ใจ ความบรสิ ทุ ธิ์
เทยี นสีแดง หมายถึง ความรกั สขุ ภาพ ความเขม้ แข็ง ความกลา้ หาญ
เทยี นสีเขียว หมายถึง เงนิ โชค ความอดุ มสมบรู ณ์ ม่งั มี
เทยี นสดี า หมายถงึ ความไมล่ งรอยกนั การปกป้อง การต่อตา้ น
เทยี นสสี ้ม หมายถึง การดงึ ดดู การกระตนุ้ การปลกุ เรา้
เทยี นสเี หลอื ง หมายถึง การเรียนรู้ ความม่นั ใจ การสรา้ งสรรค์
เทยี นสีชมพู หมายถึง ความรกั ศลี ธรรม เกียรติยศ ศกั ดิศ์ รี มิตรภาพ ความโรแมนติก

8

เทยี นสีมว่ ง หมายถงึ พลงั ความกา้ วหนา้ ทางธุรกิจ ความทะเยอทะยาน ความกระตือรอื รน้

เทยี นสฟี ้า หมายถึง ความอดทน สขุ ภาพ

เทยี นสนี ้าเงนิ หมายถงึ ความซมึ เศรา้ ไม่แนน่ อน

เทยี นสีเงนิ หมายถึง โทรจติ ความฝัน

เทยี นสที อง หมายถงึ เทพ พลงั ความสาเรจ็

3.2 วสั ดุอปุ กรณป์ ระกอบการทาเทยี น ดังนี้

การทาเทยี นหอมธรรมชาติ การทาเทยี นแท่ง
- ซอยแวก็ ซ์ หรือไขถ่วั เหลอื ง (Soy wax) - ซอยแวก็ ซ์ หรือไขถ่วั เหลือง (Soy wax)
- ปาลม์ แว็กซ์ หรือไขปาลม์ (Palm wax) - ปาลม์ แว็กซ์ หรือไขปาลม์ (Palm wax)
- บแี ว็กซ์ หรือไขผงึ้ (Bee wax) - บีแว็กซ์ หรือไขผงึ้ (Bee wax)
- ไมโครแว็กซ์ (Micro wax) - พาราฟิน หรือเคโรซีน (Paraffin)
- ภาชนะสาหรบั ใสเ่ ทยี น - ไมโครแว็กซ์ (Micro wax)
- ไสเ้ ทยี น - ภาชนะสาหรบั ใสเ่ ทียน
- นา้ มนั หอมระเหย - ไสเ้ ทียน
- นา้ มนั หอมระเหย

1. ซอยแวก็ ซ์ หรือ ไขถ่วั เหลือง (Soy wax)
ซอยแว็กซ์ ไขถ่ัวเหลือง คือ ไขพืช ผลิตจากน้ามันของถ่ัวเหลืองท่ีเหมาะสมสาหรับการทาเทียน

ธรรมชาติ เทียนท่ีผลิตจากไขถ่วั เหลืองเป็นท่ีไดร้ บั การนิยม สามารถสูดดมไดโ้ ดยไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย
ดว้ ยคณุ สมบตั ิของไขและความปลอดภยั จากวตั ถุดบิ ธรรมชาติ ไม่มีควนั ระหว่างการใชง้ าน

9

2. ปาลม์ แวก็ ซ์ หรือ ไขปาลม์ ทาเทยี น (Palm wax)
ผลิตจากไขปาลม์ ท่ีผ่านการแยกไข Fraction จากกระบวนการกล่นั นา้ มันปาลม์ Refinery Process

เหมาะสาหรบั การทาเทียน ทดแทนแว็กซจ์ ากเคมี เช่น พาราฟิ น ไมโครแว็กซเ์ ป็นอย่างมาก Palm Wax ถือเป็น
วัตถุดิบท่ีทาจากธรรมชาติจึงเหมาะสมอย่างย่ิงต่อการทาเทียนหอมธรรมชาติ เพ่ือสุขภาพอย่างแทจ้ ริง มี
คณุ สมบตั ิทาใหเ้ ทยี นเหนียวรวมเป็นเนอื้ เดียวกนั

3. บีแว็กซ์ หรอื ไขผงึ้ (Bee wax)
บีแว็กซ์ หรือ ไขผึง้ Bee wax ไขผึง้ ท่ีบริสุทธิ์จากธรรมชาติจะทาใหไ้ ดผ้ ลิตภัณฑต์ ่าง ๆ จากไขผึง้ นั้น

มีคณุ ภาพกายภาพและทางเคมสี งู กวา่ ผลิตภณั ฑท์ ่ไี ด้ จากไขเทียม ไขผงึ้ นอกจากนาไปทาเทียนไขแลว้ ยงั ใชท้ า
เทียน มคี ณุ สมบตั ิกนั นา้ เนอื้ เทียนมนั วาว และมีสารหลอ่ ลน่ื ทาใหเ้ ทยี นออกจากพมิ พไ์ ดง้ ่าย

4. พาราฟิ น (Paraffin)
พาราฟิน เป็นผลิตภณั ฑป์ ิโตรเลยี มซ่งึ กล่นั แยกออกจากนา้ มนั ดบิ จดุ หลอมเหลวประมาณ 47 - 64

องศาเซลเซยี ส จดุ เดือดประมาณ 150 - 275 องศาเซลเซียส มคี ณุ สมบตั ิช่วยในการขึน้ รูปทรงของเทยี นใหค้ ง
รูปไดน้ าน

10

5. ไมโคร แวก็ ซ์ หรือ Micro Crystalline Wax
ไมโคร แว็กซ์ คือ กากนา้ มนั ชนิดหน่ึงโดยท่วั ไปผลิตจากพืช ซ่งึ มีคณุ สมบตั ิทาใหเ้ ทียนมีความเหนียว

เพ่ือท่ีจะหล่อหรือปั้น ให้เป็นรูปแบบต่าง ๆ ไดง้ ่าย และทาให้ผิวเทียนมีความเงางามไม่ว่าจะทาเป็นสีใด
บางครง้ั ยงั ใชล้ ะลายสที ่ลี ะลายยาก เช่นสีสะทอ้ นแสง อตั ราสว่ นในการใชง้ านในการทาเทียน คือ 5 – 10%

6. ภาชนะสาหรับใสเ่ ทยี น
หลักการเลือกภาชนะสาหรับใส่เทียนหอมของเราก็คือ ควรเลือกภาชนะท่ีทนต่อความรอ้ นได้ดี

เน่ืองจากจะต้องจุดไปเป็นระยะเวลานาน โดยควรเลือกเป็นภาชนะประเภทแก้ว, เซรามิก หรือโลหะ มี
คุณสมบตั ิในการรกั ษากล่ินหอมของเทียนไดน้ านและทนความรอ้ น ส่วนภาชนะท่ีไม่ควรเลือกมาใชเ้ ลยคือ
พลาสตกิ , ไม้ และเครอื่ งป้ันดินเผา

7. ไส้เทยี น แบ่งเป็น 3 ชนิด ดงั นี้
7.1 ไสเ้ ทยี นไม้ หรือ Wood Wick ทามาจากไมจ้ รงิ แลว้ ตดั ใหเ้ ป็นแผ่นบาง ๆ โดยไสไ้ มจ้ ะชว่ ยกระจาย

ความรอ้ นไดไ้ กล ทาใหไ้ ขของเทียนละลายไดเ้ ท่ากนั ทงั้ หมดในเวลาอนั สนั้ โดยไมท่ าใหเ้ กิดหลมุ ตรงกลาง เวลาจุด
เทียน ทาใหห้ นา้ เทียนสวย แถมยงั ถือเป็นวสั ดธุ รรมชาติ จึงปลอดภยั ไมป่ ลอ่ ยสารเผาไหมท้ ่เี ป็นอนั ตราย ควร
เลือกไสเ้ ทียนใหเ้ หมาะสมกบั ภาชนะ

11

7.2 ไสเ้ ทียนจากฝา้ ยหรือป่าน เป็นไสเ้ ทียนท่เี ป็นท่ีนยิ ม หาซอื้ ง่าย และช่วยใหเ้ ทียนสามารถเผาไหมไ้ ด้
อยา่ งต่อเน่ือง

7.3 ไสเ้ ทยี นสาเรจ็ รูปท่มี าพรอ้ มกบั ฐานโลหะ เพ่ือความสะดวกในการติดตงั้ ได้

ไส้เทียน เป็นส่วนประกอบท่ีสาคญั มาก ทาจากเสน้ ดา้ ย (ฝา้ ยหรือป่ าน) ฟ่ันเป็นเกลียว ทาหนา้ ท่ีเป็น
แหลง่ เชือ้ เพลิงและตวั ดดู ซบั ขีผ้ งึ้ เหลวหรือพาราฟิ นเหลวใหข้ ึน้ ไปตามตวั ไสเ้ ทียน เพ่ือใหเ้ กิดการเผาไหมอ้ ย่าง
ต่อเน่ือง ไสเ้ ทียนตอ้ งชบุ สารปอ้ งกนั ไฟ เพ่ือไม่ใหถ้ ูกเผาไหมเ้ รว็ เกินไป และตอ้ งเคลือบสารติดไฟง่ายเพ่อื ใหจ้ ดุ
ไฟติดดว้ ยเนือ้ เทียน ทาจากพาราฟิ นหรือขีผ้ งึ้ พาราฟิ นเป็นผลิตภณั ฑท์ ่ีเหลือจากกระบวนการแยกนา้ มนั ดิบ
หรือก๊าซธรรมชาติ ในพาราฟิ นมีสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนหลายชนิด ชาวบา้ นมกั เรียกว่าขีผ้ งึ้ นา้ มนั หรือขผี้ งึ้
ถว้ ยตามรูปรา่ งท่ีมจี าหน่ายในทอ้ งตลาด สว่ นขผี้ งึ้ คือ ไขท่ผี งึ้ ขบั ออกมา เพ่อื นาไปใชส้ รา้ งและซ่อมแซมรงั ผงึ้ ขผี้ งึ้ เป็น
ของผสมของสารต่างๆ เช่น สารไฮโดรคารบ์ อน สารโมโนเอสเทอร์ สารไดเอสเทอร์ และอ่ืน ๆ อีกหลายชนิด เนือ้ ขีผ้ งึ้ มี
ความเหนยี วและอ่อนตวั ไดง้ ่ายเม่ือไดร้ บั ความรอ้ นไมม่ ากนกั นามาเปลีย่ นรูปรา่ งไดง้ า่ ย เม่อื ใชใ้ นการฟ่ันเทียน
กเ็ พียงแคค่ ลงึ กอ้ นขผี้ งึ้ รอบไส้ เวลาจดุ เทยี นขผี้ งึ้ จะมีกล่ินหอมอ่อน ๆ จากขผี้ งึ้ ดว้ ย แต่ขผี้ งึ้ ในธรรมชาติมี
นอ้ ยลงเรื่อย ๆ ราคาก็สงู มาก จึงตอ้ งนาพาราฟินมาหลอมและหลอ่ เป็นเทียน ท่ตี อ้ งใชว้ ธิ ีหลอ่ เพราะขผี้ งึ้ พาราฟิน

13

แข็งและเปราะ ไมส่ ามารถนามาฟ่ันดว้ ยมอื ได้ เทยี นสาหรบั แกะสลกั ลวดลายจงึ ตอ้ งผสมขผี้ งึ้ ธรรมชาติเพ่อื เพ่ิมความ
เหนียวเม่ือเราจดุ เทียน ไสเ้ ทียนจะลกุ ไหม้ ความรอ้ นของเปลวไฟทาใหเ้ นือ้ เทียนไขบรเิ วณโคนไสเ้ ทียนเกิดการ
หลอมเหลว และถกู ดดู ซบั เขา้ ไปในตวั ไสเ้ ทียน บางสว่ นท่ถี กู ดดู ซบั จะระเหยกลายเป็นไอ เน่อื งจากความรอ้ นจากเปลวไฟ
และบางสว่ นจะถกู เผาไหมไ้ ปพรอ้ มกบั ไสเ้ ทียน เปลวเทียนท่ีเกิดขึน้ เป็นการเผาไหมข้ องเนือ้ เทียนไม่ไดเ้ กิดจากการ
เผาไหมข้ องไสเ้ ทียนโดยตรง

จรงิ หรือทวี่ ่ากนั วา่ “เทยี นไข” อันตรายต่อสุขภาพ
ในความเรืองไสวของเปลวไฟ ท่ีนอกจากจะช่วยส่องสว่าง ขบั ไลค่ วามมืด และยงั ประโยชนด์ า้ นจิตใจ
นนั้ นกั วิทยาศาสตรย์ งั พบ “อนั ตราย” แฝงอย่ใู นเทียนไขดว้ ย มีรายงานของผเู้ ช่ียวชาญจากมหาวิทยาลยั แห่งรฐั เซาท์
คาโรไลนา สหรฐั อเมรกิ าว่า เทยี นพาราฟิ นจะปล่อยควันพษิ ทเี่ พม่ิ ความเส่ยี งตอ่ การเป็ นมะเรง็ ปอดและ
หอบหืด ขณะท่ีควันเทียนท่ีทาจากไขพืชจากถ่ัวเหลืองไม่พบสารพิษนี้ ควันพิษท่ีปล่อยออกมานี้ พบสารเคมี
หลายชนดิ เชน่ โทลอู ีนและเบนซีน ซง่ึ เกดิ ขนึ้ เม่ือเผาไหมใ้ นอณุ หภมู ิท่ีไม่สงู พอ ทาใหโ้ มเลกลุ อนั ตรายซง่ึ เป็นสาร
กอ่ มะเรง็ ถกู ปล่อยออกมา หากจดุ เทยี นจานวนมากในท่ที ่ีอากาศถ่ายเทไมด่ ี เชน่ ในหอ้ งนา้ บนโตะ๊ อาหาร เป็น
ประจาทกุ วนั นานหลายปี จะยงิ่ เพิม่ ความเสย่ี งตอ่ การเป็นมะเรง็
สว่ นไสเ้ ทียนท่ีสว่ นใหญ่ทาจากดา้ ยฟ่ันเป็นเกลียว มีคาเตือนเก่ียวกบั สารผสมในไสเ้ ทียนว่า อาจจะมี
สารพิษเจือปนอยู่หลงั การฟอกสีดา้ ยดิบ และมีตะก่วั ท่ีใส่มาเพ่ือใหไ้ สเ้ ทียนคงรูปและตงั้ ตรงอยู่ไดเ้ วลาท่ีเนือ้ เทียน
ละลายหลงั การจดุ ไฟ เม่อื ไสเ้ ทียนท่มี ีตะก่วั ผสมอย่เู ผาไหม้ จะปลอ่ ยสารตะก่วั ออกมาในอากาศ การใชต้ ะก่วั กบั
ไส้เทียนเพ่ิงจะมีในช่วง 40 ปีท่ีผ่านมานี้เอง ในปี ค.ศ. 1974 สมาคมเทียนนานาชาติของสหรัฐอเมริกา
(National Candle Association หรือ NCA) จึงไดเ้ รียกรอ้ งและมีการลงนามในสัญญาใหบ้ ริษัทท่ีผลิตเทียน
ยกเลิกการใชต้ ะก่วั ในไสเ้ ทียน การหายใจเอาควนั ท่ีเกิดจากการเผาไหม้ ของสงั กะสีในปรมิ าณมากๆ ก็ทาให้
เกิดโรคไขค้ วันโลหะ (Metal Fume Fever) คือมีอาการคล่ืนไส้ อาเจียน เป็นไข้ และอาจมีสีผมและผิวหนัง
เปลยี่ นไป นอกจากนี้ ยงั พบการใชด้ บี กุ ผสมในไสเ้ ทียนแทน ดีบกุ อาจจะไม่มคี วามเป็นพษิ แต่ทงั้ ในสงั กะสีและ
ดบี กุ มีสารตะก่วั ปนเปื้อนอยเู่ ล็กนอ้ ย และการตรวจสอบก็ทาไดย้ าก
8. สนี า้ มันผสมเทยี น หรือ สีเทยี น สีต่าง ๆ สาหรบั แต่งสเี ทยี น (ใสห่ รือไมใ่ สก่ ็ได)้

14

9. นา้ มันหอมระเหย
นา้ มนั หอมระเหยเป็นผลผลิตจากการสกดั พชื สมนุ ไพรนานาชนิด ซ่งึ อาจสกดั มาจากส่วนใดสว่ นหนง่ึ ของ

พชื นนั้ ๆ เช่น ผล ดอก ใบ เมลด็ เปลือก กา้ น ฯลฯ แตล่ ะชนดิ มคี ณุ สมบตั แิ ตกต่างกนั

คณุ สมบตั ขิ องนา้ มนั หอมระเหย สาหรับกล่ินดอกไมใ้ นประเทศไทย แตล่ ะชนิดดงั นี้
1. นา้ มนั หอมระเหย กลิน่ ดอกปีบ (Cork Tree Essential Oil)

คณุ สมบัติ
• ช่ือพฤกษศาสตร:์ Phellodendron
• นา้ มนั หอมระเหย กลน่ิ ดอกปีบ เป็นอโรม่าท่จี ดั อยใู่ นกลมุ่ พชื สมนุ ไพรจากธรรมชาติ
• สรรพคณุ ช่วยรกั ษาอาการหอบหืด หอบเหน่อื ย ทาใหร้ ะบบการหายใจดีย่งิ ขึน้
• ใชผ้ สมไดด้ กี บั ยคู าลิปตสั , เปปเปอรม์ นิ ต,์ ทีทรี

2. นา้ มนั หอมระเหย กลิ่นดอกโมก (Moke Essential Oil)
คุณสมบตั ิ
• นา้ มนั หอมระเหย กลิ่นดอกโมก เป็นกล่ินของดอกไมท้ ่หี อมรญั จวนใจ รูส้ กึ ผ่อนคลาย
15

• คณุ ประโยชน์ รูส้ กึ อยากพกั ผอ่ น ช่วยทาใหน้ อนหลบั สบาย จติ ใจสงบ เหมาะสาหรบั ผทู้ ่ฝี ึกน่งั
สมาธิ

• ใชผ้ สมไดด้ กี บั กลนิ่ ต่าง ๆ ดงั นี้ มะลิ (Jasmine) อญั ชนั (Butterfly Pea) ดอกบวั (Lotus)

3. นา้ มนั หอมระเหย กล่นิ มะลิ (Jasmine Essential Oil)
คุณสมบัติ
• ช่ือพฤกษศาสตร:์ Jasminum Grandiflorum
• นา้ มนั หอมระเหย กลิ่นมะลิ เป็นอโรมา่ ท่จี ดั อย่ใู นจาพวกดอกไม้ เป็นตระกลู พชื สมนุ ไพร ท่ใี ห้

กลนิ่ หอมสดช่ืน ตดิ กล่ินเนือ้ ไมห้ นอ่ ย ๆ ขนึ้ จมกู เม่ือสดู ดม
• สรรพคณุ ช่วยบรรเทาอาการซมึ เศรา้ ผ่อนคลายความตงึ เครยี ด วิตกกงั วล และอาการทาง

จิตใจตา่ ง ๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี
• นา้ มนั หอมระเหยอโรม่า กลิ่นมะลิ ใชผ้ สมไดด้ ีกบั กล่นิ ตา่ ง ๆ ดงั นี้ มะกรูด, ดอกคาโม

มายล,์ ตะไครห้ อม, เจอเรเน่ียม, ลาเวนเดอร์ , มะนาว , สม้ , พิมเสน, โรสแมรี่, และกระดงั งา

16

4. นา้ มนั หอมระเหย กลิ่นตะไครห้ อม (Citronella Essential Oil)
คณุ สมบัติ
• ช่ือพฤกษศาสตร:์ Cymbopogon Winterianus
• นา้ มนั หอมระเหย กลน่ิ ตะไครห้ อม เป็นพชื ท่ใี หก้ ลน่ิ อโรม่าอย่ใู นจาพวกตระกลู สม้ มะนาว และ

อ่นื ๆ กลิ่นของตะไครห้ อมจะใหก้ ล่นิ คลา้ ยมะนาวแต่จะอ่อนน่มุ กว่า
• สรรพคณุ หากนามาทาผิวจะสามารถลดการติดเชือ้ ได้ ช่วยลดกล่นิ กาย ลดความมนั บนหนงั

ศีรษะ ไลแ่ มลงบนิ ได้ กลิ่นของนา้ มนั หอมระเหยอโรม่า กลิ่นตะไครห้ อม สามารถใชไ้ ลย่ ุงไดด้ ีอกี ดว้ ย
และเม่ือนาไปแช่ตวั จะช่วยผ่อนคลายกลา้ มเนอื้ ลดอาการปวดเม่ือย เม่ือยลา้ ของกลา้ มเนอื้ ลงได้

• ตะไครห้ อม (Citronella) มีลกั ษณะและสรรพคณุ ใกลเ้ คียงกบั ตะไครบ้ า้ น (Lemongrass) นยิ ม
นามาใชไ้ ลแ่ มลงบนิ ไดแ้ ละยุง

• ใชผ้ สมไดด้ ีกบั กลิ่นตา่ งๆ เหลา่ นี้ มะกรูด สม้ มะนาว ลาเวนเดอร์ ไมส้ น ไมซ้ ดี าร์
(Cedarwood) เจอเรเนียม (Geranium)

5. นา้ มนั หอมระเหย กลิ่นกหุ ลาบ
คณุ สมบัติ
• นา้ มนั หอมระเหย กลน่ิ กหุ ลาบ เป็นอโรม่าท่จี ดั อย่ใู นจาพวกดอกไม้ ท่ใี หก้ ลน่ิ หอมสดช่ืน
• สรรพคณุ ช่วยบาบดั อารมณใ์ นทางลบ คลายความเครียดไดด้ ี ลดความวติ กกงั วลหรือความ

เหน่อื ยลา้ ทงั้ รา่ งกาย จติ ใจ และอารมณ์ โดยกล่ินหอม ๆ ของกหุ ลาบยงั ช่วยใหน้ อนหลบั งา่ ยขนึ้ เลือดลม
ไหลเวยี นดี และสมองมีการจดจาท่ีดีขนึ้

17

6. นา้ มนั หอมระเหย กลิ่นมะกรูด
• นา้ มนั หอมระเหย กลิ่นมะกรูด เป็นอโรมา่ ท่จี ดั อยใู่ นจาพวกตะกลู สม้ มะนาว และอ่นื ๆ
• สรรพคณุ สดู ดมมะกรูด จะช่วยใหร้ ะดบั ฮอรโ์ มนคอรต์ ิซอล (ฮอรโ์ มนความเครยี ด) ลดต่า ลง

อีกทงั้ กลิ่นหอมของมะกรูดยงั ช่วยใหป้ รบั สมดลุ อารมณใ์ หผ้ ปู้ ่วยดา้ นสขุ ภาพจิตในทางการแพทย์

7. นา้ มนั หอมระเหย กล่ินเปลอื กสม้
• นา้ มนั หอมระเหย กลนิ่ มะกรูด เป็นอโรม่าท่จี ดั อยใู่ นจาพวกตะกลู สม้ มะนาว และอ่นื ๆ
• สรรพคุณ สดู ดมกลิ่นเปลือกสม้ ในระหว่างการทางานท่ีเครียดๆ จะช่วยใหม้ ีความวิตกกงั วล

นอ้ ยลง ทางการแพทยม์ ีการศึกษาพบว่า กล่ินเปลือกสม้ อาจมีส่วนช่วยบาบดั ภาวะผิดปกติทางจิตใจ
จากเหตกุ ารณร์ ุนแรง (Posttraumatic Stress Disorder / PTSD) ซง่ึ เป็นโรคท่จี ดั อย่ใู นกล่มุ โรควิตกกงั วลชนิด
หน่งึ

18

8. กลน่ิ สะระแหน่ (มิน้ ต)์
• นา้ มนั หอมระเหย กลิ่นมะกรูด เป็นตระกลู พืชสมนุ ไพร ท่ใี หก้ ลิน่ หอมสดช่ืน
• สรรพคณุ กลิ่นมิน้ ต์ มสี ว่ นช่วยปลกุ การตนื่ ตวั แกง้ ่วง ชว่ ยใหม้ ีสมาธิและสรา้ งความจาไดด้ ี

นอกจาเป็นยาช่วยขบั ลม ขบั เหง่ือลดความรอ้ น ระบายความรอ้ น แกไ้ ขห้ วัด รกั ษาอาการทอ้ งอืด ขับ
เลือดท่ีค่งั คา้ งภายในร่างกาย ชงนา้ รอ้ นดื่มช่วยย่อยอาหาร

19

สว่ นท่ี 4
วธิ ีการทาเทยี นหอม

4.1 การทาเทยี นหอมเพื่อสุขภาพ หมายถงึ วัตถุดิบทใี่ ช้ในการทาเทยี นหอมเป็ นวัสดทุ ม่ี าจาก
ธรรมชาตทิ ัง้ หมด ประกอบดว้ ย

1) ไสเ้ ทียนทาจากเชือกฝา้ ย 100 เปอรเ์ ซ็นต์
2) ไขถ่วั เหลือง (soy wax)
3) ไขผงึ้ (bee wax)
4) นา้ มนั หอมระเหย เป็นผลผลิตจากการสกดั พืชสมนุ ไพรนานาชนดิ ซง่ึ อาจสกดั มาจากสว่ นใดสว่ น

หนงึ่ ของพืชนนั้ ๆ เช่น ผล ดอก ใบ เมลด็ เปลือก กา้ น ฯลฯ แตล่ ะชนิดมีคณุ สมบตั ิแตกตา่ งกนั
วิธีการทาเทยี นหอมเพ่ือสุขภาพ แยกเป็ น 2 ข้ันตอน

1. วธิ ที าการทาไส้เทยี น
1) นาเชือกฝา้ ยมาตม้ ใหเ้ ดือด อาจใสน่ า้ ยาลา้ งจา้ นเล็กนอ้ ย และนามาผ่งึ ใหแ้ หง้ สนิท
2) ตดั เชือกใหม้ ีความยาวกว่าภาชนะท่จี ะใชบ้ รรจุ และผกู ปลายเชือกกบั กา้ นไม้
3) ละลายไขถ่วั เหลืองดว้ ยความรอ้ น โดยใสใ่ นภาชนะทนไฟ อาจเป็นโถแกว้ หรือโถเซรามคิ เคลือบสีขาว
4) แลว้ วางในกระทะนา้ เดือด เชน่ เดยี วกบั การตนุ๋ แต่ไมต่ อ้ งปิดผา ใชไ้ มค้ นใหล้ ะลายเป็นนา้ เหลว
5) จ่มุ เชือกฝา้ ยลงในนา้ ไขถ่วั เหลอื ง จ่มุ ซา้ กนั ประมาณ 3 ครงั้ แลว้ ทงิ้ ไวใ้ หแ้ หง้ ไสเ้ ทยี นจะแขง็
6) ล็อกไสเ้ ทียนดว้ ยกระดมุ โลหะ เพ่อื ใชเ้ ป็นฐานยดึ ติดกบั เนอื้ เทียน ไม่ใหล้ อยขนึ้ ขณะเนือ้ เทียนละลาย

2. วธิ กี ารทาเนือ้ เทยี น วิธที าดังนี้
1) ช่งั ไขถ่วั เหลืองใหไ้ ดน้ า้ หนกั ตามสตู ร (คานวณนา้ หนกั ตามจานวนท่จี ะทา) นาไปใสภ่ าชนะทน

ไฟ ใชไ้ ม้ คนใหล้ ะลายเป็นเนอื้ เดียวกนั แลว้ ยกลง
2) ตงั้ พกั ใหอ้ นุ่ คือ มีความรอ้ นไมเ่ กิน 70 องศาเซลเซียส เพ่อื ไม่ใหม้ ีผลตอ่ นา้ มนั หอมระเหย

วธิ ีการทดสอบอยา่ งง่าย ๆ คือ ใหใ้ ชน้ ิว้ สมั ผสั กบั ภาชนะและนบั 1 ถึง 10 หากทนได้ แสดงว่าใชไ้ ดแ้ ลว้
3) หยดนา้ มนั หอมระเหยลงไป
4) หยอ่ นไสเ้ ทยี นไขท่ีเตรียมไว้ ลงไป ใหไ้ สเ้ ทยี นอย่ตู รงกลางขวด โดยใชไ้ มต้ ะเกียบช่วยพยงุ ไว้

จนกระท่งั เนอื้ เทียนแข็งตวั
5) เทสว่ นผสมทงั้ หมด ลงในขวดบรรจทุ ่เี ตรียมไว้ ควรใชข้ วดสีชา ปอ้ งกนั การสลายของนา้ มนั หอม

ระเหย เน่ืองจากนา้ มนั ชนดิ นไี้ วตอ่ แสง

6) หลงั จากเนือ้ เทียนแข็งตวั ดีแลว้ ใหใ้ ชก้ รรไกรตัดไสเ้ ทียนใหต้ ่ากว่าปากขวด และเช็ดทาความ
สะอาด ปากขวดท่อี าจจะเลอะขผี้ งึ้ ดว้ ยกระดาษทชิ ชแู หง้ อย่างระมดั ระวงั และปิดฝาใหแ้ นน่

7) ติดฉลากบอกกล่ินท่ขี า้ งขวด ซง่ึ ฉลากนสี้ ามารถออกแบบใหส้ วยงามและน่าใชต้ ามไอเดียแตล่ ะคน

สตู รการทาเทียนใสภ่ าชนะ (ขนาด 100 กรัม) ปริมาณ (กรัม)
1) สตู รท่ัวไป 20
ท่ี รายการ 30
1 ปาลม์ แว็กซ์
ประมาณ 10 – 20
2 พาราฟิน 40

3 นา้ หอม รวม 100

4 ซอยแว็กซ์

2) สตู รธรรมชาติ รายการ ปรมิ าณ (กรัม)
ที่ ไขผงึ้ 20
1 นา้ หอม
ซอยแว็กซ์ ประมาณ 10 – 20
2 60

3 รวม 100

3) สูตรตกแต่ง รายการ ปริมาณ (กรัม)
ท่ี

1 ปาลม์ แว็กซ์ 20

2 ซอยแว็กซ์ 80

รวม 100

(สตู รนไี้ มน่ ิยมใสก่ ลิ่นนา้ หอม เน่ืองจากสามารถนาไปตกแต่งเทียนกล่ินต่าง ๆ ได)้
หมายเหตุ ทกุ สตู รท่ที าขนาด 100 กรมั ตอ้ งผสมรวมกนั ทกุ อย่างใหไ้ ด้ 100 กรมั ไมเ่ กนิ จากนี้

21

เทคนิคการทาเทยี นหอม
1. การใส่นา้ มนั หอมระเหยลงในเนือ้ เทียน ควรอย่ทู ่ีอณุ หภูมิไม่เกิน 70 องศา เพราะจะทาใหก้ ลน่ิ หอม

ของนา้ มนั ระเหยมีประสิทธิภาพมากท่สี ดุ หากใสน่ า้ มนั หอมระเหยลงในเนือ้ เทียน ในอณุ หภมู ิเกิน 70 องศา จะ

ทาใหค้ วามหอมของกลนิ่ ลดลง

2. ใหน้ าภาชนะมาวางเรียงชิดกัน แลว้ ค่อย ๆ หยอดเทียนลงในภาชนะ เพ่ือเป็นการรกั ษาอุณหภูมิ

ความรอ้ นใหก้ ระจายคงท่ี และควรทาในหอ้ งท่ีมีอณุ หภมู ิคงท่ี ไม่หนาวเย็นเกินไป เพ่ือป้องกนั ไม่ใหเ้ ทียนมีชอ่ ง

อากาศภายในภาชนะ

3. ถา้ หยอดเทยี นแลว้ รอใหแ้ หง้ แลว้ หนา้ เทียนไม่เรียบ แกไ้ ขโดยใชเ้ ครือ่ งเป่ าลมรอ้ นละลายหนา้ เทียน

เพ่อื ใหเ้ รียบหรอื มีเสน้ สกปรกใหใ้ ชท้ ่คี บี คบี ออก แลว้ รอใหแ้ ข็งตวั อกี ครง้ั ก่อนออกจากพมิ พ์
4.2 การทาเทียนแท่ง หมายถึง วัตถุดิบท่ใี ช้ในการทาเทยี นเป็ นวัสดทุ ่ีมาจากธรรมชาติและบางสว่ นมี
ส่วนผสมจากสารเคมี ประกอบดว้ ย

1) แมพ่ ิมพ์

2) พาราฟิน

3) ไมโครแว็กซ์

4) ไขปาลม์

5) ไขถ่วั เหลือง (soy wax)

วธิ กี ารทาเทยี นแท่ง
1. เตรียมหมอ้ ใสน่ า้ ประมาณตงั้ ไฟใหเ้ ดอื ดสาหรบั รอตงั้
2. เตรียมถว้ ยปีกเกอรห์ รือถว้ ยทนความรอ้ นใส่พาราฟิ นกับไมโครแว็กซ์ ใส่ไขปาลม์ และไขถ่วั เหลืองใน

ถว้ ยปีกเกอรห์ รือถว้ ยทนความรอ้ น แลว้ นา้ ไปตงั้ บนนา้ เดือดในหมอ้ ท่ีเตรียมไว้ ใชแ้ ท่งแกว้ หรือแท่งไม้คนให้
ละลายเป็นเนือ้ เดียวกนั แลว้ เติมสี (สีเทียนหรือสีนา้ มนั ) คนจนละลายเขา้ เป็นเนือ้ เดียวกนั หลงั จากนนั้ ยกถว้ ย
ดงั กลา่ วลง

3. พกั รอจนอณุ หภูมิตอ้ งไมเ่ กิน 70 องศา แลว้ เติมนา้ หอม คนใหล้ ะลายเป็นเนือ้ เดียวกนั พรอ้ มตกั หยอด
หรือเทลงในพิมพท์ ่ใี สไ่ สเ้ ทยี นไวแ้ ลว้

4. ปล่อยทิง้ ไว้ให้แข็งตัว (อาจนาเข้าตู้เย็น) พอเย็นสนิท เคาะออกจากพิมพ์หรือจะทิง้ ไว้ให้เย็นใน
อณุ หภมู ิหอ้ ง ประมาณ 3 ช่วั โมงหรือมากกว่านนั้

22

สตู รการทาเทียนแทง่ มีหลายสตู รซึ่งแตล่ ะสูตรสามารถปรับเปล่ยี นไดต้ ามความเหมาะสม ดังนี้
สตู รท่ี 1

ที่ รายการ ปรมิ าณ (กรัม)

1 พาราฟิน 50

2 ปาลม์ แวก็ ซ์ 15

3 ไมโครแว็กซ์ 10

4 นา้ หอม ประมาณ 10 – 15

5 ซอยแว็กซ์ 15

รวม 100

สูตรที่ 2

ที่ รายการ ปรมิ าณ (กรัม)
1 พาราฟิน 20
2 ขผี้ งึ้ แท้ 20
3 ไมโครแว็กซ์ 10
4 ปาลม์ แวก็ ซ์ 20
5 นา้ หอม
6 ซอยแว็กซ์ ประมาณ 10 – 15
20

รวม 100

หมายเหตุ ทกุ สตู รท่ที าขนาด 100 กรมั ตอ้ งผสมรวมกนั ทกุ อย่างใหไ้ ด้ 100 กรมั ไม่เกินจากนี้ ถา้ ตอ้ งการทา

มากขนึ้ ก็คานวณเพม่ิ ตามสตู รหลกั 100 กรมั

การตกแต่งดว้ ยดอกไมแ้ ห้ง
- ตอ้ งตกแต่งหนา้ เทียนในระหวา่ งท่เี ทยี นเร่มิ แข็งตวั (สงั เกตสที ่ขี ่นุ ขนึ้ ) ปักเขา้ หนา้ เทียนใหส้ วยงาม
- ใสใ่ นเนอื้ เทียนโดยการเทเทียนลงในภาชนะเรียบรอ้ ยแลว้ ใสด่ อกไมแ้ หง้ ท่ีตอ้ งการลงไปแลว้ ใชป้ ากคีบ

กดดอกไมใ้ หจ้ มลงไปในเทียน รอจนกวา่ เทียนจะแข็งตวั

23

เทคนิคการทาเทยี นหอม
1. การใส่นา้ มนั หอมระเหยลงในเนือ้ เทียน ควรอย่ทู ่ีอณุ หภมู ิไมเ่ กนิ 70 องศา เพราะจะทาใหก้ ลิ่นหอม

ของนา้ มนั ระเหยมีประสิทธิภาพมากท่สี ดุ หากใสน่ า้ มนั หอมระเหยลงในเนือ้ เทียน ในอณุ หภมู ิเกนิ 70 องศา จะ
ทาใหค้ วามหอมของกลน่ิ ลดลง

2. ใหน้ าภาชนะมาวางเรียงชิดกัน แลว้ ค่อย ๆ หยอดเทียนลงในภาชนะ เพ่ือเป็นการรกั ษาอุณหภูมิ
ความรอ้ นใหก้ ระจายคงท่ี และควรทาในหอ้ งท่ีมีอณุ หภมู ิคงท่ี ไม่หนาวเย็นเกินไป เพ่ือปอ้ งกนั ไม่ใหเ้ ทียนมีช่อง
อากาศภายในภาชนะ

3. ถา้ หยอดเทยี นแลว้ รอใหแ้ หง้ แลว้ หนา้ เทียนไม่เรียบ แกไ้ ขโดยใชเ้ ครื่องเป่ าลมรอ้ นละลายหนา้ เทียน
เพ่อื ใหเ้ รียบหรือมีเสน้ สกปรกใหใ้ ชท้ ่คี บี คบี ออก แลว้ รอใหแ้ ข็งตวั อกี ครงั้ ก่อนออกจากพิมพ์

4. การนาเทยี นแทง่ ออกจากพมิ พ์ มี 2 แบบ คอื
4.1. แบบแท่ง เชน่ แท่งพลาสติก อลมู ิเนียม แท่งพวี ีซี กระดาษ เป็นตน้
1) ควรรอจนแม่พิมพเ์ ย็นสนิท หากคุณพยายามนาเทียนออกก่อนท่ีขีผ้ ึง้ จะเซ็ตตัวจนหมด

พืน้ ผิวของเทียนอาจฉีกขาดและแตกได้ ทิง้ แม่พิมพไ์ วบ้ นพืน้ ผิวเรียบท่ีจะไม่เสียหายในขณะท่ีแม่พิมพย์ ังอุ่น
อยู่ อาจใชเ้ วลาสกั ครู่เพ่ือใหแ้ มพ่ ิมพเ์ ย็นตวั หลงั จากนนั้ เคาะแทง่ เทียนรอบ ๆ แลว้ ดงึ ไสเ้ ทยี นขึน้ อย่ากระแทก
แม่พมิ พก์ บั เคานเ์ ตอรห์ รือพนื้ ผวิ แขง็ อ่นื ๆ เพราะอาจทาใหเ้ ทยี นเสยี หายได้

2) กรณีท่ที าวธิ ีท่ี 1 แลว้ ดงึ ไมอ่ อก ใหด้ งึ ไสเ้ ทียนแทน หากการแตะบนแม่พิมพไ์ ม่เพียงพอท่ีจะ
ทาใหเ้ ทียนหลดุ ออก ค่อย ๆ ดงึ ไสเ้ ทียน อย่าใชแ้ รงมากเกินไปเม่ือดึงไส้เทียน อาจทาใหไ้ สเ้ ทียนหลดุ ออกจาก
เทียน

3) กรณีท่ีทาวิธีท่ี 2 แลว้ ยงั ดึงไม่ออก ให้นาแม่พิมพไ์ ปแช่เย็น การวางแม่พิมพใ์ นตเู้ ย็นจะช่วย
เร่งกระบวนการทาความเย็นช่วยใหข้ ีผ้ งึ้ เซ็ตตัวและแยกตวั ออกจากแม่พิมพ์ พลิกแม่พิมพท์ ุก ๆ 10 - 30 นาที
(ระยะเวลาแช่เย็นตามขนาดของเทียน เช่น ขนาดเล็กประมาณ 5 – 10 นาที ขนาดใหญ่ประมาณ 10- 30
นาที) เพ่ือใหแ้ น่ใจว่าแม่พิมพแ์ ละเทียนเย็นเท่า ๆ กนั ตรวจสอบแม่พิมพเ์ ป็นระยะ และจะตอ้ งนาออกจาก
ตเู้ ย็นทนั ทีท่ีสมั ผสั ได้ ตรวจสอบใหแ้ น่ใจว่าแม่พิมพจ์ ะเย็นลงจนถึงอุณหภูมิหอ้ งก่อนท่ีจะวางลงในตเู้ ย็น หาก
อณุ หภมู ิเปลยี่ นแปลงรุนแรงเกินไปเทยี นอาจแตกได้

24

4) ใชน้ า้ เดือดเพ่อื ขจดั เทยี นท่ตี ดิ อย่ใู หห้ มด สดุ ทา้ ยหากไดล้ องทาตามทงั้ หมดขา้ งตน้ แลว้ และ
ไม่สามารถลบเทยี นออกไดอ้ าจตอ้ งลดการสญู เสีย วางแม่พิมพล์ งในจานโลหะท่เี ต็มไปดว้ ยนา้ เดอื ดและรอให้
เทียนอ่อนตวั หลงั จากนนั้ ไม่ก่ีนาทีค่อยดงึ แท่งเทยี นได้

4.2. แบบยาง เช่น แบบยางพาราทรงกลม ทรงเหลีย่ ม เป็นตน้
1) แตะท่ีดา้ นลา่ งของแม่พิมพย์ าง พลิกแมพ่ มิ พก์ ลบั ดา้ นโดยใหช้ อ่ งเปิดคว่าลง ใชน้ วิ้ แตะเบา

ๆ ท่ดี า้ นลา่ งของแมพ่ มิ พซ์ ง่ึ จะทาใหเ้ ทยี นหลดุ คอ่ ย ๆ แตะไปเร่ือย ๆ ไมง่ นั้ แท่งเทยี นอาจหลดุ เรว็ เกินไป
2) หากเทียนหลดุ ออกยาก ใหน้ าแม่พิมพใ์ นช่องแช่แข็งเป็นเวลาหา้ นาที นาออกหลงั จากหา้

นาทีแลว้ ลองนาเทียนออก หากยงั ไม่ขยบั ใหท้ งิ้ ไวใ้ นชอ่ งแชแ่ ขง็ อกี หา้ นาที
4.3 วิธีการทาดอกไมแ้ หง้ ตกแตง่ เทียนหอมอย่างงา่ ย มี 4 วธิ ีดังนี้

1. การทาดอกไมแ้ หง้ ดว้ ยการตากดอกไม้ แบบคว่าหวั ลง ทาดอกไมแ้ หง้ ใหย้ งั คงฟอรม์ และรูปทรงท่ี
สวยงาม ทาไดง้ ่าย ๆ ดว้ ยการนาเชือกไปมดั กบั กา้ นของดอกไม้ แลว้ แขวนกลบั หวั ลง พยายามหาหอ้ งที่มี
อากาศถ่ายเทไดอ้ ย่างสะดวก เพราะหอ้ งที่มีอากาศถ่ายเทนนั้ จะช่วยป้องกันการเกิดเชือ้ ราท่ีกลีบของดอกได้
ปลอ่ ยคว่าทิง้ ไวอ้ ย่างนนั้ เป็นเวลาประมาณ 2 – 3 สปั ดาห์ ดอกไมท้ ่ีเคยสดก็จะแหง้ สนิท และกา้ นของดอกก็
จะตงั้ ตรง ไม่หกั งอ

25

2. การทาดอกไมแ้ หง้ ดว้ ยการแช่สารดูดความชืน้ สารดดู ความชืน้ หรือ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ซิลิกา้ เจล
คือสารที่ใส่ถุงเล็ก ๆ ที่ติดมากบั ห่อขนม, กลอ่ งรองเทา้ , กระเป๋ า หรือ ผลิตภณั ฑท์ ี่ตอ้ งการความแหง้ หาก
ตอ้ งการใชจ้ านวนมาก สามารถหาซือ้ ซิลิกา้ เจลได้ ตามรา้ นขายเคมีท่ัวไป ขอ้ ดีของซิลิกา้ เจล คือ สามารถใช้
งานซา้ ไดเ้ รื่อย ๆ จนกว่าจะหมดอายุ หรือ เสื่อมประสิทธิภาพไป แต่กว่าจะถึงวนั ท่ีใชง้ านไม่ได้ใชเ้ วลานาน
จนกว่าซิลิกา้ เจลสีจางลง วิธีการทาดอกไมแ้ หง้ จากซิลิกา้ เจลนนั้ ทาไดโ้ ดยเร่มิ จากนาสารดูดความชืน้ หรือ ซิ
ลิกา้ เจล ใส่ในภาชนะทรงสงู จากนัน้ ตัง้ ดอกไมใ้ หต้ รง และอยู่ในทรงที่เราตอ้ งการ จากนัน้ เริ่มเทสารดดู
ความชืน้ หรือ ซิลิกา้ เจล ใหส้ งู เพียงพอท่ีจะกลบดอกไมจ้ นมิด จากนนั้ ปิดฝาภาชนะ ใหด้ อกไมอ้ ยู่กบั ซิลิกา้
เจลต่อไปอีกประมาณ 3 – 7 วนั เพียงเท่านี้ ก็จะไดด้ อกไมแ้ หง้ แบบสมบูรณ์ ที่ไม่มีความชืน้ หลงเหลืออยู่
หรือถา้ อยากจะเก็บเฉพาะตัวดอก ก็สามารถตดั กา้ นออก แลว้ ใสใ่ นภาชนะท่ีไม่ตอ้ งสงู มาก แลว้ แช่ดอกไมใ้ น
สารดดู ความชืน้ ก็ไดเ้ ช่นกนั

3. การทาดอกไมแ้ หง้ จากไมโครเวฟ และสารดดู ความชืน้ วิธีการทาดอกไมแ้ หง้ วิธีนี้ เหมาะสาหรบั ผูท้ ่ี
ตอ้ งการใชด้ อกไมแ้ หง้ แบบรอรบั ไดเ้ ลย ไม่ตอ้ งใชเ้ วลารอนาน ๆ เป็นอาทิตย์ โดยการหาภาชนะที่สามารถ
เขา้ ไมโครเวฟได้ จากนนั้ เทสารดดู ความชืน้ ลงไป วางดอกไมท้ ่ีตัดกา้ นแลว้ ใหเ้ หลือความยาวประมาณ 2 นิว้
แลว้ นาเขา้ ไมโครเวฟประมาณ 1 – 2 นาที เพียงเท่านีก้ ็จะไดด้ อกไมแ้ หง้ แบบรวดเร็ว ทนั ใจ แต่ภาชนะท่ีใส่ทา
ดอกไมแ้ หง้ จากไมโครเวฟไม่ควรนามาใชใ้ ส่อาหารต่อ เพ่ือความปลอดภัยของร่างกายของเรา

26

4. การทาดอกไมแ้ หง้ ดว้ ยวิธีการทบั ดอกไม้ ดว้ ยหนงั สือ เลือกดอกไมท้ ี่อยากเก็บไว้ แลว้ ตดั กา้ นออก
จากนนั้ จดั ฟอรม์ ใหส้ วย แลว้ วางลงในกระดาษทิชชู่ หรือกระดาษท่ีผิวแหง้ ไม่มีความเงามนั แลว้ ก็นาไปสอด
ไวใ้ นหนงั สือเลม่ หนาอีกครงั้ หรืออาจจะใหก้ ล่อง หรือ แผ่นไมห้ นกั ๆ วางทบั ลงอีกทีก็ได้ ทิง้ ไวป้ ระมาณ 2
อาทิตย์ ก็จะไดด้ อกไมแ้ หง้ ท่ีบางเรียบ

3.4 วิธีการใช้และดูแลเทยี นหอม จดุ เทยี นหอมอยา่ งไรใหห้ อมกระจายและใชง้ านไดน้ าน
1. การจดุ เทยี น
เม่ือจุดเทียนหอมแลว้ ควรปล่อยใหเ้ ทียนไดล้ ะลายไปจนกว่าหนา้ เทียนจะละลายสม่าเสมอกนั ก่อนท่ี

จะดบั เพ่ือช่วยใหห้ นา้ เทียนเรียบไม่ใหก้ ลายเป็นหลมุ การจดุ เทียนโดยการจุด ๆ ดบั ๆ นนั้ ไม่ส่งผลดีกบั เทียน
หอมและไม่ได้ ช่วยประหยดั เนอื้ เทียนแต่อยา่ งใด เพราะจะทาใหก้ ารหลอมละลายของเนือ้ เทียนไม่สมบรู ณแ์ ละ
ถือเป็นการสิน้ เปลืองมากกว่าการจุดแบบปกติดว้ ย ซ่งึ ระยะเวลาการจุดท่ีเหมาะสมจะอยู่ประมาณ 2 - 3 ช่วั โมง
หรือใหส้ งั เกตวา่ แอง่ นา้ ตาเทยี นจะละลายสดุ ชนขอบแกว้

27

2. การวางเทยี นให้ถกู ตาแหน่ง
1. วางตาแหนง่ เทียนในระดบั ท่ตี ่ากวา่ จมกู
2. วางในจดุ ท่ไี มม่ ลี ม
3. วางหา่ งจากตวั ผใู้ ชป้ ระมาณ 1 – 2 เมตร

3. หม่ันเล็มไสเ้ ทยี นหลังใช้งานเสรจ็
ในกรณีท่ีจดุ เทียนจนเปลวเทียนดบั ลง หลงั จากเทียนเย็นสนิทดีแลว้ ใหใ้ ชก้ รรไกรเล็มไสเ้ ทียนจนเหลอื

ประมาณ 1/4 นิว้ เพ่ือใหก้ ารจุดครงั้ ต่อไปเทียนหอมของเรายงั คงส่งกลน่ิ หอมไดเ้ หมอื นเดิม แต่หากไสเ้ ทียนถกู
เล็มสนั้ เกินไป ใหแ้ กโ้ ดยการจุดเทียนอีกครง้ั จนหนา้ เทียนละลาย จากนนั้ ใหร้ ินนา้ ตาเทียนทิง้ ทาซา้ ซกั 2 - 3
ครง้ั ไสเ้ ทียนจะกลบั มายาวขนึ้ จนสามารถจดุ ไดต้ ามปกติ

4. วิธกี ารดับเทยี น มี 2 วิธี ได้แก่
1. ดบั โดยการใชฝ้ าปิด การดบั เทียนหอมโดยการเป่ า

เหมือนกบั เทยี นท่วั ๆ ไปนนั้ ถือเป็นการสรา้ งความเสยี หายใหก้ บั
เทยี นหอมได้ เน่ืองจากจะทาใหเ้ กิดควนั ดาและเกิดกลิ่นเหมน็ ไหม้
ได้ วธิ ีการดบั เทียนงา่ ย ๆ คือการใชฝ้ าปิดเทียน ปิดลงไปไดเ้ ลย ฝา
ปิดเทียนจะชว่ ยกน้ั ไม่ใหอ้ ากาศเขา้ ไปขา้ งในเทียนหอมและทาให้
ไฟดบั ลงในท่สี ดุ

28

2. ดบั โดยแช่ใสเ้ ทยี น นอกจากนยี้ งั เป็นการถนอมเทียนหอมไม่ใหก้ ลิ่นฟ้งุ ออกมา รวมถงึ ไมใ่ หเ้ ศษฝ่นุ และ
สิ่งสกปรกตกลงไปบนหนา้ เทียนอกี ดว้ ย แตห่ ากไมม่ ีฝาปิดเราสามารถดบั เทียนไดด้ ว้ ยการเอยี งแกว้ เทยี นเพ่ือให้
นา้ ตาเทียนไหลมาดบั เปลวไฟกไ็ ดห้ รอื จะใชล้ วดหรือสอ้ มดนั ไสเ้ ทยี นใหจ้ มลงในนา้ ตาเทยี นก็ไดแ้ ลว้ ค่อยจดั ไส้
เทียนใหต้ งั้ ขึน้ ใหม่

อยา่ ลืมว่าหลงั จากใชง้ านเทียนหอมเสรจ็ ควรปิด
ฝาภาชนะทกุ ครงั้ เพ่ือปอ้ งกนั การระเหยของกลิ่นไม่ให้
หายไป และเพ่อื ปอ้ งกนั ฝ่นุ ผงและแมลงตา่ ง ๆ ท่จี ะตกลงไป
บรเิ วณผวิ หนา้ เทยี นซ่งึ จะทาใหเ้ ทยี นมรี อยสกปรก
นอกจากนยี้ งั ควรเก็บเทยี นหอมใหห้ ่างจากความชืน้ ความ
รอ้ น และแสงแดด

29

สว่ นท่ี 5
การเตรียมการสอน

5.1. รูปแบบการจดั กิจกรรม ออกเป็ น 2 ส่วน
1. การถา่ ยทอดความรูจ้ ากวิทยากรผมู้ ีความชานาญ เพ่ือเสรมิ ตอ่ ความรูใ้ หว้ ิทยากรของศสค.ลาปาง
2. วิทยากรของศสค.ลาปาง ถ่ายทอดความรูท้ กั ษะดา้ นการทาเทยี นหอมใหก้ บั กลมุ่ เป้าหมาย

วธิ ีการจดั กิจกรรม

การถา่ ยทอดความรจู้ าก วทิ ยากรของศสค.ลำปาง ถ่ายทอด
วทิ ยากรผ้มู ีความชำนาญ เพ่ือ ความรู้ทักษะด้านการทำเทยี นหอม
เสริมตอ่ ความรู้ให้วิทยากรของ ให้กับกลุม่ เป้าหมาย
ศสค.ลำปาง กลมุ่ เปา้ หมาย 1. ผูร้ ับการฝกึ อาชีพในสถาบัน
1. ครูฝึกอาชีพของศสค.ลำปาง 2. ผูร้ บั การฝึกอาชพี ในชมุ ชน
2. บคุ ลากรท่สี นใจของศสค. 3. กล่มุ ผทู้ ่สี นใจ โดยสมคั รเป็น
ลำปาง รายบุคคลเพ่ือฝกึ อบรมในโอกาสตา่ ง ๆ

5.2. ข้ันตอนกอ่ นการดาเนินการจัดฝึ กอบรม ประกอบด้วย
1) ตดิ ต่อประสานงาน
1.1. ตดิ ตอ่ หน่วยงานในพืน้ ท่ี (กรณีฝึกอาชีพในชมุ ชน) โดยประสานงาน ทางโทรศพั ทเ์ ป็นการเบือ้ งตน้

และแจง้ จัดส่งหนังสืออย่างเป็นทางการทางไปรษณีย์ โดยมีรายละเอียดขอความ อนุเคราะหใ์ หศ้ สค.ลาปาง
ประสานงานกบั กลมุ่ เป้าหมายท่ีเขา้ อบรม/ผเู้ ขา้ อบรม และใหแ้ จง้ รายช่ือผเู้ ขา้ อบรม พรอ้ มแบบตอบรบั การเขา้
อบรม สง่ กลบั มายงั ศสค.ลาปาง

1.2. ทาหนงั สอื เชิญประธานพธิ ีเปิด/ปิด และเตรียมคากลา่ วเปิด/ปิดการฝึกอบรม จดั ทากาหนดการพิธี
เปิด/ปิด เตรียมผกู้ ลา่ วรายงาน พธิ ีกรในพิธีเปิด/ปิด

2) จดั เตรียมเอกสารต่าง ๆ
2.1 จดั เตรยี มประกาศนยี บตั รท่จี ะมอบใหผ้ เู้ ขา้ อบรม จดั เตรียมแฟม้ / กระเป๋ า สาหรบั ผเู้ ขา้ อบรม ไดแ้ ก่

กาหนดการ รายละเอยี ดโครงการ เนอื้ หาหลกั สตู ร สมดุ โนต้ และปากกา
2.2 จดั เตรียมเอกสารสาหรบั ลงทะเบยี น ไดแ้ ก่ รายช่อื ผเู้ ขา้ อบรมสาหรบั ลงช่ือเขา้ อบรม และเจา้ หนา้ ท่ี

รบั ลงทะเบียน
2.3 จดั เตรยี มเอกสารท่ใี ชใ้ นการฝึกอบรม ไดแ้ ก่ เอกสารประกอบการบรรยาย รายวิชา แบบประเมินผล

ความพงึ พอใจ แบบทดสอบกอ่ น – หลงั ฝึกอบรม ประวตั ิวทิ ยากร เอกสารทางการเงิน
3) จดั เตรียมสถานท่ี และอปุ กรณ์
3.1 สารวจสถานท่ี ท่จี ะใชใ้ นการจดั ฝึกอบรมใหเ้ หมาะสมกบั จานวนของผเู้ ขา้ รบั การอบรม จดั ใหม้ ี

สงิ่ อานวยความสะดวกเหมาะสมแกก่ ารจดั ฝึกอบรมตามสมควร จดั เตรียมว่าจา้ งอาหาร
3.2 จดั เตรียมโสตทศั นปู กรณ์ / วสั ดตุ ่าง ๆ ในการอบรม และท่ีใชใ้ นการจดั กจิ กรรม
3.3 จดั ทาปา้ ยต่าง ๆ ท่เี กี่ยวขอ้ ง ไดแ้ ก่
- ปา้ ยโครงการ
- ปา้ ยบอกสถานท่ีอบรม
- ปา้ ยลงทะเบียน
- ปา้ ยช่ือวิทยากร

5.3. ข้ันตอนดาเนินการจัดฝึ กอบรม ประกอบด้วย
1) รบั ลงทะเบียน ในแบบฟอรม์ ลงทะเบียนท่ีศนู ยเ์ รียนรูฯ้ เตรียมไว้ และติดตามผเู้ ข้าอบรมตามแบบตอบ

รบั ท่ไี ดร้ บั กลบั มา เตรยี มกระเป๋ า / แฟม้ / เอกสารสาหรบั ผเู้ ขา้ รบั อบรม
2) จดั เตรียมเอกสารประกอบการฝึกอบรมทกั ษะอาชีพดา้ นเทยี นหอม
3) จดั เตรียมรถรบั – สง่ วิทยากร และผเู้ ขา้ รบั การฝึกอาชีพ ตามเวลานดั หมาย
4) จดั เตรยี มอาหาร/อาหารวา่ งและเครือ่ งด่มื สาหรบั ผเู้ ขา้ รบั การอบรม วทิ ยากร และ ผสู้ งั เกตการณ์
5) เตรยี มวทิ ยากร และกิจกรรมสารองเผ่อื เวลาไม่เป็นไปตามท่ีกาหนด
6) ทดสอบก่อนฝึกอบรม (Pre - test) โดยตอ้ งดาเนินการใหเ้ สรจ็ สิน้ กอ่ นวิทยากรเร่มิ บรรยาย

31

7) การดาเนินการพธิ ีเปิดการฝึกอบรม ดงั นี้
- พิธีกรดาเนนิ รายการ / ตอ้ นรบั ผเู้ ขา้ อบรม
- ผจู้ ดั กลา่ วรายงานประธาน
- ประธานกลา่ วเปิดการอบรม
- พิธีกรกลา่ วขอบคณุ ประธาน
- พิธีกรแนะนาวทิ ยากร
- วทิ ยากรเขา้ สเู่ นอื้ หาหลกั สตู รการทาเทียนหอม
- พธิ ีกรขอบคณุ วทิ ยากร

8) เก็บภาพกจิ กรรม และบรรยากาศในการฝึกอบรม เพ่อื จดั เก็บเป็นขอ้ มลู และ ทาขา่ วประชาสมั พนั ธ์
9) สงั เกตการณฝ์ ึกอบรม และอานวยความสะดวกแก่ผเู้ ขา้ รบั การอบรมในเร่ืองตา่ ง ๆ เช่น แนะนาหอ้ งนา้
10) เตรยี มเอกสารการเงนิ และค่าตอบแทนวทิ ยากร
11) ทดสอบหลงั การฝึกอบรม (Post - test) เพ่อื วดั ผลการฝึกอบรมว่าบรรลุ วตั ถปุ ระสงค์ และเป็นไปตาม
ตวั ชวี้ ดั หรือไม่
12) ประเมนิ ผลความพงึ พอใจในการเขา้ รบั การฝึกอบรม
13) เตรยี มใบประกาศเพ่อื มอบแก่ผเู้ ขา้ รบั การอบรมท่ผี ่านการฝึกอบรม
14) ดาเนนิ การพธิ ีปิดการฝึกอบรม ดงั นี้

- กลา่ วขอบคณุ วทิ ยากร
- พธิ ีมอบประกาศนียบตั ร โดยประธานในพธิ ี
- ประธานกลา่ วปิด การอบรม

การดาเนินการฝึกอบรม รูปแบบการจัดอบรมควรสอดคลอ้ งกับหลกั สูตร และเนือ้ หาการจัด
อบรมผดู้ าเนนิ การจดั ฝึกอบรม ถือวา่ เป็นผใู้ หบ้ ริการจะตอ้ งมีจิตบรกิ าร ถือว่าเป็นสว่ นหน่งึ ท่สี าคญั เป็นอยา่ งย่ิง
ท่ี จะทาใหก้ ารอบรมประสบความสาเร็จและสรา้ งความประทับใจใหผ้ เู้ ขา้ รบั การอบรมการมีทัศนคติท่ีถกู ตอ้ ง
ต่อการใหบ้ ริการ ลกู คา้ ถือเป็นหวั ใจสาคญั ผใู้ หบ้ รกิ ารท่ดี ีตอ้ งมีความรูใ้ นหลกั สตู รท่จี ดั อบรม สรา้ งภาพลกั ษณ์
ท่ดี แี กห่ น่วยงานไมเ่ พียงแตป่ ระทบั ใจผจู้ ดั ฝึกอบรมเทา่ นนั้ ยงั ช่นื ชมไปถึงหนว่ ยงานของผจู้ ดั อบรมอีกดว้ ย

32

5.4. ขั้นตอนหลงั การฝึ กอบรม ประกอบด้วย
1) นาแบบประเมนิ ผลความพงึ พอใจท่ีไดร้ บั จากผเู้ ขา้ รบั การอบรม นามาวเิ คราะหป์ ระเมนิ ผลในหวั ขอ้ ต่าง

ๆ ไดแ้ ก่ ดา้ นวิทยากร ดา้ นอาหาร ดา้ นสถานท่ี/บรรยากาศ ดา้ นอปุ กรณโ์ สต เพ่ือนาผล ท่ไี ดม้ าใชใ้ นการ
พฒั นาการจดั ฝึกอบรมต่อไป

2) นาแบบทดสอบ Pre-test, Post-test มาประเมนิ ผลความรูข้ องผเู้ ขา้ รบั การอบรมว่า หลงั จากท่ไี ดร้ บั การ
อบรมไปแลว้ มคี วามรูเ้ พิม่ มากขนึ้ หรือไม่

3) ประเมนิ ผลติดตามหลงั การอบรมเพ่ือใหไ้ ดท้ ราบว่า หลงั จากท่ผี ่านการอบรมไปแลว้ ผเู้ ขา้ รบั การอบรม
นนั้ สามารถนาความรูท้ ่ไี ดร้ บั ไปใชจ้ รงิ และมีปัญหา อปุ สรรคหรือไม่

จะเหน็ ไดว้ ่าการประเมินผลหลงั การอบรมนนั้ เป็นส่งิ สาคญั อย่างยง่ิ ท่จี ะเป็นตวั วดั วา่ การ
อบรมว่าประสบความสาเรจ็ หรือไม่ และตอ้ งแกไ้ ขในส่วนใดบา้ ง ในการประเมนิ ผลตอ้ งมีการประเมนิ แต่ละ
ปัจจยั และนาผลประเมินไปพฒั นาการจดั ฝึกอบรมต่อไป โดยในการจดั อบรมจะตอ้ งประเมนิ ความคมุ้ คา่ กบั
งบประมาณ เวลา และการเดินทางดว้ ย

ศสค.ลาปาง ไดด้ าเนนิ การมอบหมายงานใหแ้ ก่ ผปู้ ฏิบตั งิ านรบั ผิดชอบในหนา้ ท่ตี ่าง ๆ กนั
ภายใตก้ ารบรหิ ารโครงการฝึกอบรมโดยแบง่ เป็น 3 ขนั้ ตอน คือ ขนั้ ตอนก่อนการดาเนินการจดั ฝึกอบรม ขนั้ ตอน
การจดั ฝึกอบรม และขนั้ ตอนหลงั การฝึกอบรม ดงั ท่ีไดก้ ล่าว มาแลว้ ขา้ งตน้ จากการบรหิ ารโครงการตามรูปแบบ
ดงั กลา่ ว ทาใหศ้ สค.ลาปาง ลดปัญหาในเรื่องความไมพ่ รอ้ มในการปฏบิ ตั งิ านดา้ นตา่ ง ๆ ลงไปไดอ้ ยา่ งมาก
เน่อื งจากการปฏิบตั ิงานตามขนั้ ตอนทีละขนั้ ทาใหผ้ ปู้ ฏิบตั เิ ขา้ ใจงา่ ย และมคี วามครบถว้ นในทุก ๆ ดา้ นของการ
ฝึกอบรม ก่อให้ เกิดประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั งิ านมากย่ิงขึน้
ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับ

1. กระบวนการถ่ายทอดความรูเ้ พ่ือสรา้ งทักษะอาชีพดา้ นเทียนหอม ทาใหผ้ ูร้ บั การถ่ายทอด
ความรูฯ้ มที กั ษะอาชีพใหม่ ๆ เพ่ือใชใ้ นการประกอบอาชีพ มรี ายได้ เลีย้ งดคู รอบครวั

2. เกดิ สมั พนั ธภาพท่ีดี ระหวา่ งบคุ ลากรในองคก์ ร กลมุ่ อาชพี ในชมุ ชน และกลมุ่ เปา้ หมายสตรี
หรือบคุ คลในครอบครวั ท่ปี ระสบปัญหาทางสงั คมท่เี ขา้ รว่ มกจิ กรรม

3. กระบวนการถ่ายทอดเพ่ือสรา้ งทกั ษะอาชีพ เป็นหลกั การทางานท่ีจะนาไปส่ผู ลสาเรจ็ มีกระบวนการ
คดิ ท่เี ป็นระบบ เป็นการปฏิบตั งิ านอย่างมขี นั้ ตอน

33

ปัจจัยเสยี่ ง
1. วิทยากรกระบวนการถ่ายทอดความรูเ้ พ่ือทกั ษะอาชพี ดา้ นเทียนหอม อาจจะมีประสบการณ์

ในการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหนา้ นอ้ ย
2. งบประมาณสนบั สนนุ รายการวสั ดุ - อปุ กรณใ์ นการทาเทยี นหอมอโรมา ราคาค่อนขา้ งสงู

ขอ้ เสนอแนะ
1. การจดั กิจกรรม ควรเนน้ กล่มุ เป้าหมายสตรีหรือบคุ คลในครอบครวั ท่ีประสบปัญหา ในดา้ น

การประกอบการชีพ และการทางานเพ่อื เป็นรายไดเ้ สรมิ ใหแ้ กค่ รอบครวั
2. การจดั กิจกรรม ควรเป็นกิจกรรมท่ีไดล้ งมือปฏิบตั ิจริง เพ่ือเม่ือเกิดปัญหาจะไดถ้ ามและหา

หนทางแกไ้ ขชิน้ งานใหอ้ อกมาสวยงาม

ความย่ังยืนของผลงาน
1. กระตนุ้ และสนบั สนนุ นากระบวนการถ่ายทอดองคค์ วามรู้ ทกั ษะในการทาเทียนหอม ต่อ

ยอดในการฝึกอาชีพทงั้ ในสถานบนั และในชมุ ชน
2. กลมุ่ เปา้ หมายทงั้ ในสถาบนั และในชมุ ชน สามารถนาไปประกอบเป็นอาชีพ เพ่อื สรา้ งรายได้

ใหแ้ ก่ครอบครวั
เอกสารประกอบการสอนการทาเทยี นหอม

Workshop : การทาเทยี นหอม

วตั ถุดบิ
1. พาราฟิน : ราคาถกู สามารถทางานเทียนท่ีตอ้ งการเลน่ สี และความใสไดด้ ี
2. ขผี้ งึ้ ธรรมชาติ ชนิดดงึ สีและความชนื้ ออกแลว้
3. ไมโครแว๊ก : ทามาจากกากนา้ มนั พชื ชว่ ยใหเ้ นอื้ เทียนมคี วามเหนียว ผิวเนียนมคี วามเงางาม
4. นา้ หอม : ใหก้ ล่ินหอม เป็นสารสงั เคราะห์
5. นา้ มนั หอมระเหย : ใหก้ ล่ินหอม มีคณุ สมบตั ิเป็นอโรม่า บาบดั ดว้ ยกล่ิน
6. ซอยแว๊ก : ผลติ มาจากถ่วั เหลือง มคี วามอ่อนโยนต่อผวิ เป็นมิตรต่อสงิ่ แวดลอ้ ม มีความเป็นพิษต่าเม่ือเผา
ไหมส้ ามารถยดึ ติดกบั ภาชนะไดด้ ี

34

การเตรยี มไส้เทยี น

1. ตม้ ขีผ้ งึ้ ใหห้ ลอมท่ีอณุ หภมู ิ 75 - 85 องศาเซลเซยี ส
2. นาเชอื กฝ้ายท่เี ตรียมไวแ้ ช่ลงในขผี้ งึ้ หลอมนาน 30 นาที
3. นาเชือกฝา้ ยมาแขวนใหแ้ หง้

การทาเทยี นใสใ่ นภาชนะโดยใช้ ซอยแว๊ก (ไขมนั ถ่ัวเหลอื ง)

วตั ถดุ ิบ

1. ซอยแว๊ก (ไขมนั ถ่วั เหลอื ง) 85%

2. บแี ว๊ก 5% (เพ่อื ใหเ้ ทยี นหอมไหมช้ า้ ลงจะใสห่ รือไม่ใสก่ ็ได)้

3. นา้ หอม 10%

ข้ันตอนวธิ ที า

1. ทาการหลอม ซอยแว๊ก ใหล้ ะลายท่อี ณุ หภมู ิ 70 - 85 องศาเซลเซียส โดยใชก้ ารตนุ๋ ดว้ ยนา้ รอ้ น

2. เม่ือไขมนั ถ่วั เหลืองไดอ้ ณุ ภมู ิ 70 - 85 องศาเซลเซียส ใหย้ กลงจากเตา และรอใหอ้ ณุ ภมู ติ ่ากว่า 70 องศา

เซลเซียส เติมนา้ หอมและกวนใหเ้ ขา้ กนั

3. เทเนือ้ เทยี นลงในภาชนะท่ีเตรียมไว้

การทาแผน่ เทียนหอมปรับอากาศ

วตั ถดุ ิบ
1. พาราฟิน 80%
2. ไมโครแวกซ์ 10%
3. นา้ หอม 10%

ข้นั ตอนวิธที า
1. หลอมพาราฟิน และไมโครแวกซ์ ใหล้ ะลายเขา้ กนั ดี

2. รอใหพ้ าราฟิน และไมโครแวกซ์ ท่ลี ะลายแลว้ อณุ หภมู ิต่ากว่า 70 องศาเซลเซียส เติมนา้ หอมและกวนใหเ้ ขา้ กนั
3. เทลงแมพ่ มิ พ์ จดั ประดบั ตามความเหมาะสม

35

แบบทดสอบกอ่ นเรียน
หลกั สตู รการทาเทยี นหอมเพอ่ื สุขภาพ ระยะส้ัน 1 วัน
วันท.่ี ............................................. เวลา .................................. น.

ณ ศนู ยเ์ รยี นรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวภาคเหนือ จังหวดั ลาปาง

1. เทียนหอม สว่ นมากนามาใชป้ ระโยชนใ์ นเรื่องใด 6. คณุ สมบตั ิท่ีดี Soy Wax (ไขถ่วั เหลือง) คอื ขอ้ ใด
ก. ใหแ้ สงสว่าง ก. ใหค้ วนั นอ้ ย
ข. ใชต้ กแตง่ ข. ชว่ ยระบายนาหอมไดด้ ี
ค. ใชส้ รา้ งบรรยากาศใหร้ ูส้ กึ ผ่อนคลาย ค. ช่วยดดู ซบั กลิน่

2. การดบั เทยี นหอม ควรดบั ดว้ ยวธิ ีใด 7. เทยี นเจล ต่างจากเทียนท่ีทาจาก Soy Wax
ก. การเป่า อย่างไร
ข. ปิดฝาครอบ ก. กล่ินของเทยี น
ค. ตดั ใสเ้ ทียน ข. ลกั ษณะของเทยี น
ค. ปรมิ าณของเทยี น
3. การจดุ เทยี นหอมครงั้ แรก ควรจดุ อย่างไร
ก. จดุ นานเท่าไหรก่ ไ็ ด้ 8. การจดุ เทยี นหอม ควรจดุ ทงิ้ ไวป้ ระมาณกี่ช่วั โมง
ข. จดุ ไวจ้ นเทยี นดบั เอง ก. 1 ช่วั โมง
ค. จดุ ทงิ้ ไวป้ ระมาณ 2 – 3 ช่วั โมง ข. 2 ช่วั โมง
4. การเลือกไสเ้ ทียน ควรเลือกแบบใด ค. 3 ช่วั โมง
ก. ไนลอน
ข. ใยธรรมชาติ 100 เปอรเ์ ซน็ ต์ 9. ไขถ่วั เหลอื ง ไดม้ าจากอะไร
ค. ใยสงั เคราะห์ ก. พืช
5. เทียนหอมใด ชว่ ยในการไลย่ งุ ข. ปิโตรเลยี่ ม
ก. เทียนหอมมะลิ ค. ปาลม์
ข. เทียนหอมกหุ ลาบ
ค. เทยี นหอมตะไคร้ 10. การจดั วางเทยี นหอม ควรวางอย่างไร
ก. วางไวใ้ นจดุ ท่ีอากาศถ่ายเทเสมอ
ข. วางในมมุ อบั
ค. วางไวบ้ นตู้
36

แบบทดสอบหลังเรียน
หลกั สตู รเทยี นหอมเพอื่ สุขภาพ ระยะสนั้ 1 วัน
วนั ท.่ี ....................................... เวลา ................................. น.

ณ ศนู ยเ์ รยี นรู้การพัฒนาสตรแี ละครอบครัวภาคเหนือ จังหวดั ลาปาง

1. การจดั วางเทยี นหอม ควรวางอย่างไร 6. การเลอื กไสเ้ ทียน ควรเลือกแบบใด
ก. วางไวใ้ นจุดท่ีอากาศถ่ายเทเสมอ ก. ไนลอน
ข. วางในมมุ อบั ข. ใยธรรมชาติ 100 เปอรเ์ ซ็นต์
ค. วางไวบ้ นตู้ ค. ใยสงั เคราะห์

2. การจดุ เทียนหอมครง้ั แรก ควรจดุ อยา่ งไร 7. การจดุ เทียนหอม ควรจดุ ทงิ้ ไวป้ ระมาณก่ีช่วั โมง
ก. จดุ นานเท่าไหรก่ ็ได้ ก. 1 ช่วั โมง
ข. จดุ ไวจ้ นเทียนดบั เอง ข. 2 ช่วั โมง
ค. จุดทงิ้ ไวป้ ระมาณ 2 – 3 ช่วั โมง ค. 3 ช่วั โมง

3. เทียนหอม ส่วนมากนามาประโยชนใ์ นดา้ นใด 8. ไขถ่วั เหลือง ไดม้ าจากอะไร
ก. ใหแ้ สงสว่าง ก. พืช
ข. ใชต้ กแตง่ ข. ปิโตรเลีย่ ม
ค. ใชส้ รา้ งบรรยากาศใหร้ ูส้ ึกผ่อนคลาย ค. ปาลม์

4. เทียนหอมใด ชว่ ยในการไลย่ งุ 9. การดบั เทยี นหอม ควรดบั ดว้ ยวธิ ีใด
ก. เทยี นหอมมะลิ ก. การเป่ า
ข. เทียนหอมกหุ ลาบ ข. ปิดฝาครอบ
ค. เทียนหอมตะไคร้ ค. ตดั ไสเ้ ทียน
10. เทยี นเจลตา่ งจากเทยี นท่ที าจาก Soy Wax อยา่ งไร
5. คณุ สมบตั ทิ ่ีดีของ Soy Wax (ไขถ่วั เหลอื ง) คือขอ้ ใด ก. กลิ่นของเทียน
ก. ใหค้ วนั นอ้ ย ข. ลกั ษณะของเนือ้ เทยี น
ข. ชว่ ยระบายนา้ หอมไดด้ ี ค. ปรมิ าณของเทยี น
ค. ช่วยดดู ซบั กลิ่น

37

เฉลยคาตอบแบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน

หลักสตู รเทยี นหอมเพื่อสุขภาพ ระยะส้นั 1 วนั

คาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน คาตอบแบบทดสอบหลังเรยี น

1. ค. 1. ก.

2. ข. 2. ค.

3. ค. 3. ค.

4. ข. 4. ค.

5. ค. 5. ก.

6. ก. 6. ข.

7. ข. 7. ก.

8. ก. 8. ก.

9. ก. 9. ข.

10. ก. 10. ข.

38

เอกสารอา้ งองิ

- ค่มู ือปฏิบตั ิงาน กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั งานวิชาการ มหาวิทยาลยั ราชภฏั
พิบลู สงคราม พ.ศ. 2553 (นา้ ทิพย์ วิภาวนิ , 2546, น. 16), Senge (1990, p. 3), Davenport & Prusak (1998,
p. 53), บดนิ ทร์ วจิ ารณ์ (2553, น. 35), สานกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา (2553, น.
37), ราชบณั ฑติ ยสถาน (2554, น. 243), พิมพนั ธเ์ ดชะคปุ ต,์ 2550
- https://archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2556/mba40856kg_ch2.pdf แนวคิด ทฤษฎีท่เี กี่ยวขอ้ งกบั การจดั การ
ความรู้ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่
- ขอขอบคณุ แหลง่ ท่ีมา Webs.rmutl.ac.th
- ขอขอบคณุ แหลง่ ท่ีมา https://mgronline.com
- ขอขอบคณุ แหลง่ ท่ีมา - https://www.thairath.co.th

- https://www.aladinplaza.com › smarty
- ขอขอบคณุ แหลง่ ท่ีมา https://readalert.co › Id
- ขอขอบคณุ แหลง่ ท่ีมา - https://medthai.com

- https://www.aromascented.com
- ขอขอบคณุ แหลง่ ท่ีมา https://women.trueid.net


Click to View FlipBook Version