The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือบริหารงานกลุ่มบริหารงานบุคคล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือบริหารงานกลุ่มบริหารงานบุคคล

คู่มือบริหารงานกลุ่มบริหารงานบุคคล

คมู่ ือบรหิ ารงาน
กลมุ่ บริหารงานบุคคล

โรงเรยี นสกี ัน (วัฒนานนั ท์อปุ ถัมภ)์
เขตดอนเมอื ง จงั หวัดกรุงเทพมหานคร
สังกดั สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา กรงุ เทพมหานครเขต 2
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

2

คำนำ

คู่มือปฏิบัติงานกลุ่มงานบริหารงานบุคคลโรงเรียนสีกัน (วัฒนานันท์อุปถัมภ์) ฉบับนี้ จัดทำขึ้น
เพื่อเสริมสร้างความเขา้ ใจแก่ครแู ละบคุ ลากรในโรงเรียน ในการปฏิบัติหน้าท่ีการให้บรกิ ารและการจัดการศึกษา
แก่นักเรียน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายโดยจัดทำให้สอดคล้องกับโครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนตามแนวทาง
การกระจายอำนาจสู่สถานศึกษาของ สพฐ. กลุ่มบริหารงานบุคคลได้จัดกรอบงานให้ครอบคลุมกับภาระงาน
ที่กลุ่มปฏิบัติอยู่เดิมและเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับสภาพของโรงเรียนในการจัดการศึกษา และให้บริการ
ทางการศึกษา ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาและระบบประกันคุณภาพการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
โดยมุ่งหวังว่าภาระงานท่ีปฏบิ ตั ิจะบรรลุตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายและวิสยั ทัศนท์ ก่ี ำหนดไว้ทุกประการ ตลอดจน
ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีความพงึ พอใจต่อการปฏิบัตงิ านของกลุ่มงานบริหารงานบุคคล คู่มือฉบับนี้ ได้บรรจุเนื้อหา
สาระเพียงขอบข่ายงาน (พรรณนางาน : Job descriptions) ตามกรอบงานทบี่ รรจไุ วใ้ นโครงสร้างการบริหารงาน
วิธปี ฏิบัติงาน เปน็ มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน และคณะทำงานยินดี นอ้ มรับขอ้ เสนอแนะท่เี ป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม
และโรงเรยี นทุกประการ ขอขอบคณุ ผู้มีสว่ นรว่ มในการจัดทำใหค้ ำแนะนำ ข้อเสนอแนะ และขอบคณุ คณะทำงาน
ในกลุ่มงานบริหารงานบุคคล ทุกท่านที่ได้ปฏิบัติหน้าที่ร่วมกันอย่างมุ่งมั่น อุทิศ ทุ่มเทอย่างดียิ่ง คณะผู้จัดทำ
กลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล โรงเรียนสกี ัน (วัฒนานันท์อุปถมั ภ)์

คณะผจู้ ัดทำ
กลุ่มบริหารงานบคุ คล
โรงเรียนสกี ัน (วัฒนานันท์อปุ ถัมภ)์

3

สารบัญ

4

โรงเรยี นสกี นั (วฒั นานนั ท์อุปถัมภ์)

วิสยั ทศั น์
โรงเรยี นสกี นั (วฒั นานนั ท์อปุ ถมั ภ)์ เปน็ องคก์ รแห่งการเรียนรู้ คู่คณุ ธรรมตามแนววิธีพทุ ธจติ อาสา

พัฒนาส่มู าตรฐานสากล บนพ้ืนฐานความเป็นไทย ใสใ่ จส่งิ แวดลอ้ ม นอ้ มนำศาสตรพ์ ระราชา
พันธกิจ
1. พฒั นาการจดั การศึกษาขั้นพ้นื ฐานอย่างมคี ุณภาพตามมาตรฐานสากล
2. สง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์บนพน้ื ฐานความเปน็ ไทย
3. เสรมิ สร้างคุณภาพชวี ิต รบั ผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
4. นอ้ มนาํ ศาสตร์พระราชา ส่กู ารพฒั นาคุณภาพชีวิตทย่ี ่ังยืน
5. พัฒนาระบบบริหารจดั การทเ่ี น้นการมีส่วนร่วม การบรู ณาการการจัดการศกึ ษา และเสรมิ สร้าง

ความรับผดิ ชอบต่อคณุ ภาพการศึกษา
เปา้ ประสงค์
1. โรงเรยี นจดั การศกึ ษาทมี่ ีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานและมาตรฐานสากล
2. นกั เรยี นมีความรู้ และทกั ษะในศตวรรษที่ 21 ส่กู ารประกอบอาชีพในอนาคต
3. นักเรียนน้อมนาํ ศาสตร์พระราชามาใช้ในการดาํ เนนิ ชวี ติ มีคุณธรรมจริยธรรม มีความภาคภมู ิใจ

ในความเปน็ ไทย รับผดิ ชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
4. ครแู ละบุคลากรได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ
5. โรงเรยี นมรี ะบบการบริหารจัดการสถานศกึ ษาที่มีคุณภาพ
6. โรงเรียนเปน็ สงั คมแหง่ การแลกเปล่ียนเรยี นรู้และสานสมั พนั ธ์ชมุ ชน
กลยุทธ์
1. พฒั นานกั เรียน ให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานและหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี งสู่คณุ ภาพระดับมาตรฐานสากล
2. ส่งเสรมิ นกั เรียนให้มพี ัฒนาการและทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 อย่างมีคุณภาพและเหมาะสมตามวยั
3. สง่ เสรมิ ให้นักเรียนดำเนนิ ชวี ิตตามศาสตร์พระราชา มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม มคี วามภาคภูมิใจใน

ความเปน็ ไทย รับผดิ ชอบต่อสงั คมและสงิ่ แวดล้อม
4. ส่งเสรมิ พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ให้มสี มรรถนะและความเช่ียวชาญทางวชิ าชีพ

มวี ฒั นธรรมการทางานท่มี งุ่ เน้นคณุ ภาพและความเปน็ เลศิ
5. มีการบริหารจัดการศกึ ษาแบบมสี ่วนร่วม เน้นการทำงานแบบบรู ณาการ มเี ครอื ข่ายการบริหาร

จัดการกระจายอำนาจและความรับผดิ ชอบ สู่กลุ่มบรหิ ารและกลุ่มสาระการเรียนรู้

5

6. มีการพัฒนานวัตกรรม ระบบข้อมูลสารสนเทศ และงานวิจัยเพื่อการบริหารจัดการศึกษาอย่าง
มีประสิทธิภาพ เอกลักษณข์ องโรงเรยี น โรงเรียนวถิ พี ทุ ธ จิตอาสา อตั ลกั ษณข์ องโรงเรียน จดั การศึกษาโดยยดึ หลัก
ศลี สมาธิ ปัญญา

เอกลักษณ์ของโรงเรียน โรงเรียนวิถีพทุ ธ จติ อาสา
อตั ลักษณ์ของโรงเรียน จัดการศกึ ษาโดยยึดหลกั ศลี สมาธิ ปัญญา

ภาระหน้าทก่ี ารบริหารงานในโรงเรยี น 4 ฝ่าย

ตามกฎกระทรวงซึ่งกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา
พ.ศ. 2550 อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 5 และมาตรา 39 วรรคสองแห่งพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษา แห่งชาติ
พ.ศ. 2542 (ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับที่ 2 พ.ศ.2545) รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้ “ให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการหรอื เลขาธิการคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐานพิจารณา ดำเนินการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาในด้านวิชาการ
ด้านงบประมาณ ด้าน การบรหิ ารงานบคุ คล และดา้ นการบริหารทั่วไปไปยังคณะกรรมการเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา
สำนักงาน เขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา หรอื สถานศึกษาในอำนาจหนา้ ทขี่ องตน แลว้ แตก่ รณีในเร่อื งดงั ต่อไปน”้ี

ดา้ นการบรหิ ารงานบุคคล

มีภาระหน้าที่ 20 อยา่ งด้วยกันคอื
3.1 การวางแผนอตั รากำลัง
3.2 การจัดสรรอตั รากำลงั ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
3.3 การสรรหาและบรรจแุ ตง่ ตง้ั
3.4 การเปลยี่ นตำแหนง่ ให้สงู ข้ึน การย้ายข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 3
3.5 การดำเนนิ การเก่ยี วกบั การเลื่อนขน้ั เงินเดอื น
3.6 การลาทกุ ประเภท
3.7 การประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน
3.8 การดำเนนิ การทางวนิ ยั และการลงโทษ
3.9 การสัง่ พกั ราชการและการสัง่ ใหอ้ อกจากราชการไวก้ อ่ น
3.10การรายงานการดำเนนิ การทางวนิ ัยและการลงโทษ
3.11 การอทุ ธรณ์และการรอ้ งทกุ ข์
3.12 การออกจากราชการ
3.13 การจัดระบบและการจัดทำทะเบียนประวตั ิ
3.14 การจัดทำบัญชีรายชอื่ และใหค้ วามเห็นเกีย่ วกับการเสนอ ขอพระราชทานเครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณ์
3.15 การสง่ เสริมการประเมนิ วทิ ยฐานะขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา

6

3.16 การส่งเสริมและยกย่องเชิดชเู กยี รติ
3.17 การส่งเสรมิ มาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวชิ าชพี
3.18 การส่งเสรมิ วนิ ยั คณุ ธรรมและจริยธรรมสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
3.19 การรเิ รม่ิ สง่ เสรมิ การขอรับใบอนุญาต
3.20 การพฒั นาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา การดำเนนิ การทเี่ กี่ยวกบั การบริหารงาน

บุคคลใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายว่าดว้ ยการนัน้
การบริหารงานบุคคล

หมายถงึ การหาทางใช้คนทอ่ี ยู่ร่วมกันในองคก์ รนน้ั ๆ ใหท้ ำงานได้ผลดที ่สี ดุ สน้ิ เปลืองค่าใชจ้ ่ายน้อย
ทสี่ ุดในขณะเดียวกนั กส็ ามารถทำให้ผ้รู ่วมงานมคี วามสุขมีความพอใจ ทจ่ี ะใหค้ วามร่วมมือและทำงานร่วมกบั
ผู้บรหิ าร เพ่อื ให้งานขององค์กรนนั้ ๆ สำเร็จลุลว่ งไปด้วยดี
แนวคดิ

1) ปัจจัยทางการบรหิ ารท้งั หลายคนถือเป็นปัจจยั ทางการบริหารที่สำคัญทีส่ ดุ
2) การบรหิ ารงานบุคคลจะมีประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลผ้บู รหิ ารจะตอ้ งมีความรู้ ความเขา้ ใจและ
มคี วามสามารถสงู ในการบริหารงานบุคคล
3) การจัดบคุ ลากรให้ปฏบิ ตั งิ านไดเ้ หมาะสมกบั ความรูค้ วามสามารถจะมีสว่ นทำให้บุคลากร
มีขวัญกำลังใจ มีความสขุ ในการปฏิบตั ิงาน สง่ ผลให้งานประสบผลสำเรจ็ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
4) การพัฒนาบคุ ลากรใหม้ ีความรู้ความสามารถอยา่ งสม่ำเสมอและตอ่ เนื่องจะทำให้บุคลากร
เปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมและกระตือรอื ร้นพฒั นางานให้ดยี ิ่งข้นึ
5) การบรหิ ารงานบคุ คลเนน้ การมสี ่วนร่วมของบุคลากรและผู้มีสว่ นได้เสยี เป็นสำคัญ

ขอบเขตการบริหารบุคลากรในโรงเรียนกำหนดไว้ 4 ประการ ดังนี้
1. การแสวงหาบุคลกร
2. การบำรุงรกั ษาบคุ ลกร
3. การพัฒนาบคุ ลกร
4. การให้บุคลากรพน้ จากงาน
ขอบเขตเหล่านีอ้ ธบิ ายโดยสงั เขป ดงั น้ี
1. การแสวงหาบคุ ลากร หมายถงึ วิธีการใหไ้ ดบ้ คุ คล ท่เี หมาะสมกับงาน โดยปกติ หมายถึง กระบวนการรบั

สมัคร และบรรจุแต่งตง้ั บุคลากร ในการบริหารโรงเรียนในระบบ การศกึ ษาไทย ครูใหญ่มีบทบาทนอ้ ยมาก ในดา้ น
การรับสมัคร หรอื บรรจแุ ต่งต้ังบคุ ลากร อำนาจเหลา่ น้ี มักจะเป็นอำนาจในระดับสูง เชน่ ระดับผู้ว่าราชการจงั หวดั
หรอื ระดบั กรม เจ้าสงั กัด ครูใหญ่ไมม่ ีโอกาสพิจารณาคัดเลือกบคุ ลากรเท่าท่คี วร อย่างไรกต็ าม ผูบ้ ริหารโรงเรียนท่ี
มโี อกาสในการคัดเลอื กบุคลากรควรมหี ลกั เกณฑ์ในการคัดเลอื ก หลักเกณฑโ์ ดย ทว่ั ไป คอื

7

1.1 ควรคดั เลอื กบุคลากรทมี่ คี วามรับผดิ ชอบ มีระเบยี บ เสยี สละ รักษา เกยี รติยศ ช่อื เสยี ง สนใจในงาน
บริหาร และมีความภมู ิใจในโรงเรียน

1.2 ควรคดั เลือกบุคลากรท่ีมคี วามสามารถ ซึ่งแบ่งออกเปน็ 2 อยา่ ง คือ ความสามารถทั่วไป และ
ความสามารถเฉพาะ

2. การบำรุงรักษาบุคลากร ผู้บริหารโรงเรยี นมหี นา้ ทด่ี แู ลบคุ ลากรในโรงเรียนเพ่อื ให้ บคุ ลากรในโรงเรียน
มปี ระสทิ ธภิ าพในการทำงานสง่ิ จงู ใจในรกั ษาบคุ ลกรมหี ลายประการเช่น

2.1 สิ่งจูงใจทเ่ี ป็นวตั ถุ เชน่ เงนิ รางวลั สิง่ จูงใจท่เี ป็นวัตถุนผี้ ูบ้ ริหารตอ้ ง พจิ ารณาอย่างรอบคอบ ว่าควรให้
ลกั ษณะใด เมื่อไร และใชห้ ลกั อะไรในการพิจารณา

2.2 สิ่งจูงใจท่ีเป็นสภาพของการทำงาน เชน่ สวสั ดิการของครู บรรยากาศใน การทำงาน
2.3 ส่งิ จงู ใจทเี่ ป็นโอกาส หมายถงึ การใหโ้ อกาสไดร้ บั ความก้าวหนา้ ในหนา้ ท่ี การงาน
2.4 สิง่ จูงใจท่ีเปน็ การพัฒนาวิชาชีพ เชน่ การเปดิ โอกาสใหไ้ ปดงู าน การอบรม ศึกษาตอ่

3. การพัฒนาบุคลากร คือ การกระตนุ้ ให้บุคลากรในโรงเรยี นทำงานในหนา้ ที่ดว้ ย ความขยนั หม่ันเพยี ร
มพี ลงั ใจในการทำงาน การพัฒนาบคุ ลากรทางด้านการสอน อาจจะทำ ได้โดยการสง่ เสรมิ การลาศึกษาต่อ
การอบรม การสมั มนา การประชุมปรึกษาหารอื การวิจัย การศึกษาด้วยตนเอง เปน็ ตน้

4. การให้บุคลากรพ้นจากหน้าท่กี ารงาน เปน็ กระบวนการสุดทา้ ยของการบริหาร บุคลากร การให้บคุ ลากร
พน้ จากงานมสี าเหตุหลายประการ เชน่ การลาออก การย้าย หรือโอน การให้ออก เกษียณอายุ หรอื การลดจำนวน
บุคลกรใหเ้ หมาะสมกบั ปรมิ าณงาน เปน็ ตน้ การให้พน้ จากงานดว้ ยสาเหตุปกติ เชน่ การเกษียณอายุไม่ใครม่ ปี ัญหา
แต่การให้บคุ ลากรพน้ จากงานดว้ ยสาเหตุพเิ ศษ เชน่ การขอโอน การให้ออกเพราะผิดวินยั การลดจำนวนบคุ ลกร
ผูบ้ ริหารโรงเรยี นต้องพจิ ารณาอย่างรอบคอบ และตดั สนิ ใจโดยให้กระทบกระเทอื นต่อการดำเนนิ งานในโรงเรียน
ใหน้ ้อยทีส่ ุด สถาบันพัฒนาผู้บริหารการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2528 : 18-19) ไดใ้ ห้ ความหมาย ขอบข่าย
และหน้าท่ีของบุคลากรไว้ดงั นี้
ขอบขา่ ยงานบคุ ลกรในโรงเรียนจะประกอบด้วยภาระงานหลัก 4 ประการ คอื

1. การจัดบคุ ลากรเขา้ ปฏิบตั ิงาน
2. การพัฒนาและธำรงรักษาบคุ ลากร
3. การรกั ษาระเบยี บวินัย
4. การประเมินผลการปฏิบตั ิงานของบคุ ลากร
บทบาทหนา้ ท่ีโดยทวั่ ไปของงานบคุ ลากรมดี งั ตอ่ ไปนี้
1. จดั โครงสร้าง การบริหารบุคลากรให้เป็นระบบ
2. ปฐมนเิ ทศเกี่ยวกบั การปฏิบตั ิตามระเบียบการปฏิบัติงานในโรงเรียน
3. กำหนดบทบาทหนา้ ท่ขี องบุคลากรแต่ละคนให้ชดั เจน

8

4. มอบหมายงานตามความรคู้ วามสามารถของบุคลากร
5. ควบคมุ กำกบั ตดิ ตามและนเิ ทศบุคลากรให้ปฏิบตั งิ านเต็มความสามารถและ เป็นไปตาม

จุดประสงคข์ องโรงเรียน
1. สง่ เสริมขวัญและกำลงั ใจในการปฏิบตั ิงานของบคุ ลากร
2. ส่งเสรมิ และสนบั สนุนให้บคุ ลากรศึกษาหาความรู้เพมิ่ เติมและพฒั นาทกุ รปู แบบ
3. ดูแลและดำเนินการเกย่ี วกบั สวัสดกิ ารของบุคลากร
4. ดำเนนิ การประเมนิ ผลเปน็ ระยะ ๆ ตามลักษณะของงาน
5. ดำเนินการเกี่ยวกับการเข้ารับราชการและออกจากราชการของบคุ ลากรในโรงเรียน

9

กลมุ่ งานบริหารงานบคุ คล

10

กล่มุ บริหารงานบุคคล

กล่มุ งานบุคคล
หวั หนา้ กลุ่มบริหารงานบุคคล/รองผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล
หนา้ ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบ

1. เปน็ คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียน
2. พฒั นาระบบบริหารของกล่มุ บริหารบคุ คลให้มปี ระสิทธิภาพโดยเน้นการมีส่วนรว่ ม
3. จัดบุคลากรรับผดิ ชอบการดำเนินงานในงานตา่ งๆ ในกลุ่มบริหารบุคคล
4. กำหนดหน้าท่แี ละความรับผิดชอบในการปฏิบตั งิ านของกลุ่มบริหารบุคคลให้สอดคล้องกบั วิสยั ทศั น์
พนั ธกิจ และเป้าประสงคข์ องโรงเรียน
5. วางแผนและดำเนนิ การนิเทศ กำกับ ติดตาม ให้การดำเนินงานต่างๆของกลุ่มบรหิ ารงานบุคคลมี
ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล
6. ส่งเสรมิ และสนับสนนุ ครูให้มีความรู้ ความสามารถในปฏบิ ตั ิงานในกลมุ่ บรหิ ารบคุ คลอย่างมี
ประสิทธภิ าพ
7. ประสานงาน ใหค้ วามช่วยเหลอื ชว่ ยแกไ้ ขปญั หา และเป็นท่ปี รึกษาให้ครปู ฏิบตั ิงานในกลมุ่ บริหาร
บคุ คลใหส้ ามารถปฏิบัตงิ านได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
8. ประสานงานกับผูป้ กครอง ชมุ ชน และครูที่ปรึกษาในการแกไ้ ขปญั หาด้านพฤติกรรมของนกั เรียน
9. เปน็ ผนู้ ำในการแกป้ ัญหาทางด้านบรหิ ารบุคคลและร่วมในการดำเนนิ งานต่างๆ ของกลุ่มบรหิ ารบคุ คล
ให้ปฏิบัติงานดว้ ยความราบรื่น
10. สรปุ ประเมนิ ผลการดำเนนิ งานของกลุม่ บริหารงานบุคคลและจดั ทำเอกสารสรปุ ผลการดำเนนิ งาน
ของกลมุ่ บรหิ ารบคุ คลบุคคลเสนอผู้บริหาร
11. ปฏิบตั ิหนา้ ทีอ่ ่ืนๆ ตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย
1. งานสำนักงานกลุ่มบริหารงานบุคคล
1.1 แนวทางปฏบิ ัติ/หนา้ ที่และความรับผดิ ชอบ
1. ดำเนนิ การงานธรุ การประจำสำนักงาน
2. ดูแลจดั การงานสารบรรณ (งานรบั -ส่งหนังสือ บนั ทกึ ข้อความ ร่างหนงั สือ พิมพห์ นงั สือ)
3. ศึกษา วเิ คราะห์ ระบบบริหารงานพัสดุ เพือ่ ใหก้ ารปฏิบัติงานเปน็ ไปตามระเบยี บ กฎหมาย มติ
คณะรัฐมนตรี และคำส่งั ท่ีเก่ียวข้อง
4. ดำเนนิ การจัดหาพัสดุโดยวิธีตา่ งๆ เพ่ือให้ได้พัสดุเปน็ ไปตามแผนการจดั ซือ้ จัดจา้ ง และถกู ตอ้ ง
ตามระเบยี บ กฎหมาย มติคณะรัฐมนตรี และคำสงั่ ที่เก่ียวข้อง
5. ดำเนินการจัดทำบญั ชพี ัสดุ การจดั ทำทะเบียนการเบกิ จา่ ย การควบคมุ พัสดุ การจดั ทำรายงานประจำปี
การตรวจสอบรายงานประจำปี เพ่อื ใช้เป็นขอ้ มูลในการบริหารงานพสั ดุอย่างมีประสิทธภิ าพ

11

6. ตรวจสอบ จัดทำข้อผูกพนั และดำเนินการบรหิ ารสญั ญา เพ่อื ใหก้ ารบรหิ ารสญั ญาถกู ตอ้ ง ครบถ้วนตาม
ระยะเวลาเปน็ ไปตามขอ้ กำหนดเงอื่ นไขของสัญญาและใชเ้ ปน็ หลักฐานอา้ งอิง

7. ดำเนินการจำหน่ายพัสดทุ หี่ มดความจำเปน็ หมดอายกุ ารใช้งานและท่ีเส่ือมสภาพเพื่อให้เปน็ ไปตาม
ระเบียบ ลดภาระการใช้จ่ายในการเกบ็ รกั ษาและสามารถวางแผนจัดหาพัสดุทดแทน

8. ให้คำปรึกษา และขอ้ เสนอแนะทเ่ี ป็นประโยชนใ์ นการปฏิบตั งิ าน ถา่ ยทอดความรู้และแก้ปัญหาต่างๆ
ท่ีเกิดขึ้นใหแ้ ก่คณะกรรมการในสายงาน หรือกลุ่มงานที่เกยี่ วขอ้ งเพือ่ ให้มีความเข้าใจและสามารถปฏิบัติงาน ได้
อยา่ งถูกต้องสมบรู ณ์ และมปี ระสิทธภิ าพ

9. ปฏิบัตงิ านร่วมกบั หรอื สนบั สนุนการปฏบิ ัตงิ านของหนว่ ยงานอ่ืนท่ีเกย่ี วข้องหรอื ได้รับมอบหมาย เพ่ือให้
การดำเนนิ งานเปน็ ไปตามเป้าหมายทกี่ ำหนด

10. ประสานงานและดแู ลตดิ ตามประเมนิ ผล จดั ทำข้อเสนอแนะและแนวทางปรับปรงุ การปฏบิ ัติงานของ
บุคลากร
1.2 จัดเตรยี มวาระการประชมุ และเอกสารการประชมุ ในการประชุมครแู ละบคุ ลากรในกลุ่มบรหิ ารงานบุคคล

1. จัดทำรายงานการประชมุ ภายหลังเสร็จสิ้นการประชมุ ครแู ละบุคลากรในแตล่ ะครั้ง
2. จดั ทำแบบฟอร์มในการตดิ ต่อทางราชการตา่ งๆ เพ่ือใหผ้ รู้ บั บรกิ ารได้รับความสะดวกในการตดิ ตอ่ ราชการ
กับทางโรงเรยี น
3. ปฏบิ ตั ิงานอ่นื ๆ ตามทีไ่ ด้รับมอบหมาย

2. งานอัตรากำลัง สรรหา บรรจุแตง่ ตั้ง

แนวทางปฏิบตั ิ/หนา้ ทแี่ ละความรับผิดชอบ
2.1 ดำเนนิ การสรรหาเพอ่ื บรรจบุ คุ คลเขา้ รับราชการเป็นขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาใน
สถานศกึ ษาเป็นอำนาจหนา้ ท่ขี องผู้มอี ำนาจตามมาตรา 53
แนวทางการปฏิบตั ิ

การสอบแขง่ ขัน การสอบคดั เลอื กและการคัดเลอื กในกรณีจำเป็นหรือมเี หตุพิเศษในตำแหนง่ ครผู ูช้ ว่ ย ครู
และบคุ ลากรทางการศึกษาอื่นในสถานศึกษา ใหด้ ำเนินการตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารที่ ก.ค.ศ.กำหนด

2.2 การจา้ งลกู จา้ งประจำและลกู จา้ งช่ัวคราว
แนวทางการปฏิบตั ิ

1. กรณีการจา้ งลูกจ้างประจำและลูกจา้ งชั่วคราวโดยใชง้ บประมาณใหด้ ำเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี
กระทรวงการคลังหรือตามหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารที่ ก.ค.ศ. กำหนด

2. กรณกี ารจา้ งลูกจา้ งประจำและลูกจ้างชวั่ คราวกรณีอื่นนอกเหนือจากขอ้ 1) สถานศกึ ษาสามารถดำเนนิ การ
จ้างลูกจา้ งประจำและลกู จา้ งชั่วคราวของสถานศึกษาได้ โดยใช้เงินรายได้ของสถานศกึ ษา ภายใตห้ ลักเกณฑ์และ
วธิ ีการท่ีสถานศึกษาได้ โดยใชเ้ งนิ รายไดข้ องสถานศึกษา ภายใตห้ ลักเกณฑแ์ ละวิธีการทส่ี ถานศึกษากำหนด

12

2.3 การรกั ษาราชการแทนและรักษาการในตำแหนง่
แนวทางการปฏิบัติ

กรณที ไ่ี มม่ ีผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศกึ ษา หรือมีแตไ่ มอ่ าจปฏิบตั ริ าชการไดใ้ หร้ องผ้อู ำนวยการ
สถานศึกษารกั ษาราชการแทน ถ้ามีรองผู้อำนวยการสถานศึกษาหลายคนใหผ้ ้อู ำนวยการสำนักงานเขตพืน้ ที่
การศกึ ษา แตง่ ตงั้ รองผอู้ ำนวยการสถานศึกษาคนใดคนหนึ่งรกั ษาราชการแทน ถ้าไม่มผี ู้ดำรงตำแหน่งรอง
ผอู้ ำนวยการ ใหส้ ถานศึกษาเสนอขา้ ราชการที่เหมาะสม ใหผ้ ู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา แตง่ ตั้ง
ขา้ ราชการในสถานศึกษาคนใดคนหนึง่ เปน็ ผู้รักษาราชการแทน (มาตรา 54 แห่งกฎหมายระเบยี บบริหารราชการ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

กรณตี ำแหนง่ ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตำแหนง่ ใดว่างลงหรอื ผ้ดู ำรงตำแหนง่ ไมส่ ามารถ
ปฏิบัตหิ น้าท่รี าชการได้ ให้ผู้มอี ำนาจสัง่ บรรจแุ ละแต่งตั้งตามมาตรา 53 สัง่ ใหข้ า้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการ
ศกึ ษารกั ษาการในตำแหน่ง (มาตรา 68 แห่งกฎหมายวา่ ด้วยระเบียบขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา)

2.4 การเลอื่ นขน้ั เงนิ เดอื นข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
2.4.1 การเล่ือนขัน้ เงินเดอื นกรณปี กติและกรณีพเิ ศษ
แนวทางการปฏิบตั ิ

1. ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษาแตง่ ต้งั คณะกรรมการพจิ ารณาความดีความชอบของข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษาในสถานศกึ ษา

2. คณะกรรมการพจิ ารณาความดคี วามชอบพจิ ารณาตามกฎ ก.ค.ศ.ว่าด้วยการเลอื่ นขั้นเงินเดือน
3. ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษาพิจารณาสัง่ เลื่อนข้นั เงนิ เดือนขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา กรณสี ง่ั
ไมเ่ ลอ่ื นข้นั เงินเดือนใหแ้ ก่ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาในสถานศึกษา ตอ้ งช้ีแจงเหตใุ ห้ข้าราชการครู
และบคุ ลากรทางการศกึ ษาดังกล่าวทราบ กรณีเล่ือนขน้ั เงินเดอื นกรณพี เิ ศษ แก่ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการ
ศกึ ษาทถ่ี ึงแกค่ วามตายอันเนอ่ื งมาจากการปฏบิ ัตหิ น้าท่รี าชการใหร้ ายงานไปยงั สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา เพ่อื
ดำเนนิ การตามหลกั เกณฑ์และวธิ ีการท่ี ก.ค.ศ.กำหนด
4. รายงานการสงั่ เลื่อนและไมเ่ ล่ือนขัน้ เงนิ เดอื นของขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาไปยัง
สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา เพือ่ จัดเก็บขอ้ มลู ลงในทะเบยี นประวตั ิตอ่ ไป
2.5 การเพม่ิ คา่ จา้ งลูกจา้ งประจำและลูกจ้างช่ัวคราว
แนวทางการปฏิบัติ
กรณีการเพิ่มคา่ จ้างลกู จา้ งประจำและลกู จ้างชั่วคราวโดยใช้เงินงบประมาณให้ดำเนินการ ตามหลักเกณฑ์
และวธิ กี ารที่กระทรวงการคลังหรือตามหลกั เกณฑ์และวิธีการที่สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
กำหนด กรณีการเพิ่มคา้ จ้างลูกจา้ งประจำและลกู จา้ งช่ัวคราวกรณีอืน่ นอกเหนอื จากสถานศึกษาสามารถ
ดำเนินการ จา้ งลกู จ้างประจำและลกู จ้างชั่วคราวของสถานศกึ ษาได้ โดยใช้เงินรายได้ของสถานศึกษา ภายใต้
หลักเกณฑแ์ ละวิธีการทีส่ ถานศึกษากำหนด

13

2.6 การดำเนนิ การเกยี่ วกับบญั ชีถือจา่ ยเงินเดือน
แนวทางการปฏบิ ตั ิ
ดำเนินการตามที่กระทรวงการคลังกำหนด
2.7 เงินวทิ ยฐานะและคา่ ตอบแทนอื่น
แนวทางการปฏิบตั ิ
ดำเนินการตามท่กี ระทรวงการคลังกำหนด
2.8 การขอมบี ตั รประจำตวั เจ้าหนา้ ที่ของรัฐ
แนวทางการปฏิบตั ิ

1) ผขู้ อมีบตั รกรอกรายละเอยี ดข้อมูลส่วนบคุ คลต่าง ๆ โดยมีเอกสารหลกั ฐานทเ่ี ก่ยี วข้อง
2) ตรวจสอบเอกสารความถกู ต้อง
3) นำเสนอผู้มีอำนาจลงนามในบตั รประจำตวั โดยผ่านผบู้ ังคบั บัญชาตามลำดับ โดยคมุ ทะเบยี นประวตั ิไว้
4) สง่ คืนบตั รประจำตัวถงึ สถานศึกษา
2.9 งานออกจากราชการ
การลาออกจากราชการ
แนวทางการปฏิบัติ
1) ผู้อำนวยการสถานศึกษาพิจารณาอนุญาตการลาออกจากราชการของครผู ้ชู ่วย ครู และบุคลากร
ทางการศึกษาอนื่
2) รายงานการอนุญาตการลาออกไปยังสำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา
การให้ออกจากราชการ กรณีไม่พน้ ทดลองปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีราชการหรือไมผ่ ่านการเตรียมความพร้อมและ
พัฒนาอย่างเขม้ ตำ่ กวา่ เกณฑท์ ่ี ก.ค.ศ.กำหนด
แนวทางปฏิบัติ/หนา้ ทแ่ี ละความรับผิดชอบ
1) ดำเนนิ การใหข้ ้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ทดลองปฏบิ ตั ิหน้าทรี่ าชการ หรือเขา้ รบั การ
พฒั นาอยา่ งเขม้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการตามทก่ี ำหนดในกฎ ก.ค.ศ.กำหนด
2) ดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติงานตามหนา้ ท่ีและความรบั ผิดชอบท่ีกำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนด
ตำแหน่ง
3) ผู้อำนวยการสถานศึกษาสง่ั ให้ผูท้ ไ่ี มผ่ า่ นการประเมนิ การทดลองปฏิบัตริ าชการหรือเตรียมความพร้อม
และพัฒนาอยา่ งเขม้ ออกจากราชการ
4) รายงานสำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาทราบ
2.10 ปฏบิ ตั งิ านอื่นๆ ตามทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย

3. งานทะเบยี นประวัติและบำเหน็จความชอบ

แนวทางปฏิบัติ/หนา้ ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบ

14

3.1 งานทะเบยี นประวัติ
การจดั ทำและเกบ็ รักษาทะเบียนประวัตขิ า้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาและลูกจา้ ง

แนวทางปฏิบตั ิ
1) สถานศกึ ษาจดั ทำทะเบียนประวตั ขิ องขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน ๒ ฉบบั
2) สถานศึกษาเกบ็ ไว้ ๑ ฉบบั ส่งไปเกบ็ รกั ษาไวท้ ี่สำนักงานเขตพน้ื ท่ี ๑ ฉบับ
3) เปลี่ยนแปลง บนั ทึกขอ้ มูล ลงในทะเบียนประวตั ิ
4) จัดทำทะเบียนประวตั ิครแู ละบคุ คลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา

3.2 งานเคร่อื งราชอสิ ริยาภรณ์
แนวทางปฏิบัติ

1) ตรวจสอบผ้มู ีคุณสมบตั คิ รบ สมควรได้รับการเสนอขอพระราชทานเครอื่ งราชอิสริยาภรณ์
2) ดำเนินการในการเสนอขอพระราชทานเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์และเหรยี ญจักรพรรดมิ าลาแก่ขา้ ราชการ
ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาในสังกดั ตามหลักเกณฑ์และวธิ กี ารที่กฎหมายกำหนด
3) จัดทะเบียนผู้ไดร้ ับเคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณแ์ ละเหรยี ญจักรพรรดมิ าลา เครอื่ งราชอิสรยิ าภรณ์
ดเิ รกคุณาภรณแ์ ละผู้คนื เครื่องราชอิสรยิ าภรณ์
3.3 รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านตามแบบบนั ทกึ ความดี แบบประเมินตนเองและแบบรายงานผลการ
ปฏิบัตงิ าน
3.4 ปฏบิ ตั ิงานอ่นื ๆ ตามที่ได้รบั มอบหมาย

4. งานวินัยและการรักษาวินยั

แนวทางปฏิบัต/ิ หนา้ ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบ
4.1 ดแู ล กำกับ ติดตามและสรุปรายงานการปฏิบตั ิงาน การไปราชการ การลา การมาสาย และวินัยการมา
ปฏบิ ัติงานของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาตอ่ ผู้บงั คบั บัญชา พร้อมท้งั ติดตามให้เป็นไปตามระเบยี บ และจดั ทำ
สารสนเทศอย่างเป็นระบบ
4.2 จัดรวบรวมเอกสารเกี่ยววินยั และการรักษาวนิ ยั ของข้าราชการครูและบคุ ลากรในโรงเรียน
จดั ทำแฟม้ ข้อมลู เกีย่ วกบั การทำผิดเกีย่ วกบั วนิ ัยของข้าราชการครูและบคุ ลากรในโรงเรียน
4.3 จดั อบรมให้ความรู้ เสรมิ สร้างวนิ ัยแกข่ ้าราชการและบุคลากรทางการศกึ ษาภายในโรงเรียน เพอื่ ใหป้ ฏบิ ัติ
หน้าที่ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
ขนั้ ตอนและวิธีการดาเนินการ
กรณีความผดิ วินยั ไม่รา้ ยแรง

แนวทางการปฏบิ ตั ิ
1) ผู้อำนวยการสถานศกึ ษาแต่งตงั้ คณะกรรมการ เพอื่ ดำเนนิ การสอบสวนให้ได้ความจริงและความยุติธรรม

15

โดยไม่ชกั ช้าเมอื่ มีกรณอี นั มมี ูล ท่ีควรกลา่ วหาว่าข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาในสถานศึกษากระทำผิด
วินัยไมร่ า้ ยแรง

2) ผู้อำนวยการสถานศกึ ษาสง่ั ยุตเิ รอื่ งในกรณที ีค่ ณะกรรมการสอบสวนแล้วพบว่าไมไ่ ดก้ ระทำผิดวนิ ยั หรือส่งั
ลงโทษภาคทณั ฑ์ ตดั เงินเดือน หรอื ลดข้นั เงินเดอื น ตามท่ีคณะกรรมการสอบสวนแล้วพบวา่ มคี วามผดิ วนิ ยั ไม่
รา้ ยแรง

3) รายงานการดำเนนิ งานทางวนิ ยั ไม่ร้ายแรงไปยังสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
กรณคี วามผดิ วินยั ร้ายแรง
แนวทางการปฏิบัติ

1) ผู้มีอำนาจส่งั บรรจุและแตง่ ตงั้ ตามมาตรา 53 แห่งกฎหมายระเบียบขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการ
ศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนกรณอี นั มมี ลู ว่าขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษากระทำผดิ วนิ ัยอยา่ ง
รา้ ยแรง ตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารท่ีกำหนดในกฎ ก.ค.ศ.

2) ผมู้ อี ำนาจสงั่ บรรจแุ ละแต่งตงั้ ตามมาตรา 53 แห่งกฎหมายระเบยี บขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการ
ศกึ ษา เสนอผลการพจิ ารณาให้ อ.ก.ค.ศ.เขตพืน้ ที่พิจารณาลงโทษ

3) ผมู้ ีอำนาจสัง่ บรรจุและแตง่ ตง้ั ตามมาตรา 53 แหง่ กฎหมายระเบียบขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการ
ศึกษา สั่งลงโทษปลดออกหรอื ไลอ่ อกตามผลการพจิ ารณาของ อ.ก.ค.ศ.เขตพนื้ ที่

4) รายงานการดำเนนิ งานทางวนิ ยั ไปยังสำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษา
การอทุ ธรณ์
การอุทธรณก์ รณีความผดิ วินยั

แนวทางการปฏิบัติ
กรณีการอทุ ธรณ์ความผดิ วนิ ยั ทไี่ มร่ า้ ยแรง ให้ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาย่นื เรอื่ งขออุทธรณ์

ต่อ อ.ก.ค.ศ. เขตพนื้ ที่ภายใน 30 วนั นบั แต่วันท่ไี ด้รบั แจง้ คำสงั่ ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารท่ี ก.ค.ศ. กำหนด
กรณกี ารอทุ ธรณ์ความผิดวินัยรา้ ยแรง ให้ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาย่ืนเรอ่ื งขออทุ ธรณต์ ่อ

ก.ค.ศ. ภายใน 30 วัน นบั แต่วนั ทไ่ี ด้รับแจ้งคำสงั่ ตามหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารท่ี ก.ค.ศ. กำหนด
การร้องทกุ ข์

แนวทางการปฏบิ ตั ิ
กรณีขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาถกู สั่งใหอ้ อกจากราชการให้ร้องทุกข์ต่อ ก.ค.ศ.

ภายใน 30 วนั นบั แตว่ นั ท่ีไดร้ ับแจ้งคำส่งั
กรณีขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาไมไ่ ดร้ บั ความเป็นธรรมหรือมคี วามคับขอ้ งใจเนือ่ งจากการ

กระทำของผูบ้ ังคับบญั ชา หรอื การแตง่ ตัง้ คณะกรรมการสอบสวนทางวนิ ยั ให้รอ้ งทกุ ข์ต่อ อ.ก.ค.ศ. เขตพน้ื ท่ีหรือ
ก.ค.ศ.แล้วแต่กรณี
การเสริมสรา้ งและการป้องกนั การกระทำผดิ วินัย

16

แนวทางการปฏบิ ตั ิ
1) ให้ผอู้ ำนวยการสถานศึกษาปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างทด่ี ีต่อผู้ใต้บังคบั บญั ชา
2) ดำเนนิ การให้ความรู้ ฝกึ อบรมการสรา้ งขวญั และกำลังใจการจูงใจ ฯลฯ ในอันทจี่ ะเสริมสรา้ งและพัฒนา

เจตคติ จิตสำนึก และพฤติกรรมของผู้ใตบ้ ังคับบัญชา
5. งานพัฒนาคร/ู บุคลากรและเสริมสร้างประสทิ ธิภาพการปฏิบตั ิราชการ

แนวทางปฏิบัติ/หนา้ ท่ีและความรับผิดชอบ
การพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
5.1 การพัฒนาก่อนมอบหมายการปฏบิ ตั ิหน้าที่

แนวทางปฏิบตั /ิ หนา้ ที่และความรับผดิ ชอบ
1) ผู้อำนวยการสถานศกึ ษาดำเนินการปฐมนเิ ทศ แก่ผ้ทู ี่ได้รับการสรรหา และบรรจุแต่งต้ังเปน็ ข้าราชการ
ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา
2) แจ้งภาระงานมาตรฐานคุณภาพงาน มาตรฐานวิชาชีพ จรรยาบรรณวชิ าชีพ เกณฑก์ ารประเมนิ ผลงาน
ฯลฯ แก่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศกึ ษา ก่อนมีการมอบหมายหน้าท่ใี ห้ปฏิบัตงิ าน
3) ดำเนินการติดตาม ประเมินผลและจดั ใหม้ ีการพัฒนาตามความเหมาะสมและต่อเนอ่ื ง
5.2 การจัดอบรมและสง่ เสรมิ พัฒนาศกั ยภาพครูและบคุ ลากรทางการศึกษา

ดำเนินการประเมนิ และพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา กอ่ นแตง่ ต้งั ใหด้ ำรงตำแหนง่
ตำแหนง่ ครู และเลอื่ นเป็นวิทยฐานะชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ เชีย่ วชาญ ตามหลักสูตรและเป็นไปตาม
มาตรฐานการพฒั นาตามหลักเกณฑ์ท่ี ก.ค.ศ. กำหนด

แนวทางปฏิบตั ิ
1) ประสานกับส่วนราชการ และบคุ ลากรท่ีเกี่ยวขอ้ งเพ่ือเตรยี มดำเนนิ การพฒั นา เช่น รายช่ือผเู้ ขา้ รับการ
พฒั นา กำหนดระยะเวลา งบประมาณ อาคารสถานที่ ฯลฯ
2) ศกึ ษาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตร คูม่ อื หลักเกณฑ์และวธิ กี าร ดำเนนิ การพฒั นา
3) ดำเนินการพฒั นาตามกระบวนการและขั้นตอน อยา่ งเป็นระบบให้บรรลุ จดุ ประสงค์ของหลกั สตู รที่
กำหนด
4) อำนวยความสะดวกแก่วทิ ยากร ผูเ้ ขา้ รบั การพัฒนาและผูเ้ กยี่ วขอ้ งตลอด โครงการ
5) ใหค้ ำปรึกษาแนะนำและแกป้ ญั หาที่เกิดข้ึนในการดำเนนิ การพฒั นา
6) กำกบั และควบคมุ เวลาการเข้ารับการพัฒนาของผู้เขา้ รบั การพฒั นา
7) วเิ คราะห์และสรุปผลการประเมนิ วทิ ยากรรายบคุ คล
8) วเิ คราะห์และสรปุ ผลการประเมนิ โครงการ

17

9) รายงานผลการดำเนนิ การพัฒนา (แบบรายงานผลการดำเนนิ การพัฒนา) ให้ผู้บงั คบั บัญชาดำเนิน
การพัฒนาหรอื เพอ่ื ดำเนนิ การตอ่ ไป

5.3 ประเมินผลการดำเนนิ งานและจดั ทำแนวทางการพฒั นาการปฏบิ ัตงิ านขา้ ราชการครูและบคุ ลากร
ทางการศึกษา

แนวทางปฏิบตั ิ
1) ศกึ ษารายละเอียดการวดั และประเมินผลตามหลกั เกณฑท์ กี่ ำหนดไวใ้ น หลกั สูตร และแบบประเมิน

ต่างๆ ทก่ี ำหนดไว้
2) จดั เตรยี มเอกสารแบบประเมนิ ต่างๆ ตามทกี่ ำหนดไว้ในแบบประเมินตามหลกั เกณฑ์
3) ชี้แจงและทำความเข้าใจรายละเอยี ดการวัดและประเมนิ ผลตามหลักเกณฑ์ ทก่ี ำหนดไวใ้ นหลกั สตู ร

และแบบประเมนิ ต่างๆ ทก่ี ำหนดไวแ้ ก่ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาและผู้เก่ยี วขอ้ ง
4) รายงานผลการดำเนินการวัดและประเมินผลให้ ผู้บงั คบั บัญชาดำเนินการพฒั นาหรือเพื่อดำเนนิ การ

ต่อไป

5.4 จัดโครงการและกจิ กรรมเพือ่ สรา้ งขวัญและกำลังใจตามขอบขา่ ยงานทกี่ ำหนดไวแ้ ก่ครแู ละบคุ ลากร
ทางการศึกษา

แนวทางปฏิบัติ/หน้าทแ่ี ละความรบั ผิดชอบ
1) สำรวจความตอ้ งการหรอื จัดตามโครงการตามวตั ถปุ ระสงคท์ ก่ี ำหนด
2) ดำเนนิ ตามขั้นตอนและกิจกรรมทก่ี ำหนดและประเมนิ ผล
3) รายงานผลการดำเนินการวดั และประเมินผลให้ ผู้บังคับบญั ชาดำเนนิ การพฒั นาหรือเพ่ือดำเนินการ

ตอ่ ไป

6. แผนงานกลุม่ บรหิ ารงานบุคคล
หนา้ ท่ีและความรับผดิ ชอบ

1. จดั ทำแผนหรือโครงการสำหรบั งานวิเคราะหง์ บประมาณและแผนปฏิบัตกิ ารของกลุม่ บริหารงาน
บคุ คล

2. จดั ประชมุ นำเสนอแผนปฏิบตั ริ าชการประจำปงี บประมาณ เสนอขอ ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการ
กลมุ่ บริหารงานบคุ คล

3. ชว่ ยเหลอื ประสานงาน กำกบั ควบคุม ดูแล ตรวจสอบ เพ่อื ใหเ้ กิดการดำเนนิ งานตามแผนงานประจำปี
อยา่ งมีประสิทธิภาพ

4. สรปุ และประเมนิ ผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัติราชการประจำปีของโรงเรยี น
5. จัดทำปฏิทินตามแผนปฏิบตั ริ าชการประจำปงี บประมาณ รวบรวมแผนโครงการ กจิ กรรมของกลุ่ม
บริหารงานบคุ คลและประสานแผนของโรงเรยี นกบั กลุ่มงานทเี่ กี่ยวขอ้ ง
6. จดั ทำเอกสารแบบฟอรม์ สรปุ งานตา่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วข้องกบั แผนงานกลุ่มบริหารงานบุคคล

18

7. ติดตามรวบรวมข้อมูล สรปุ ผลและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงาน รายงานผลงานประจำปีของกลมุ่
บริหารงานบุคคลตอ่ ผู้บังคับบัญชา

8. ปฏิบัติหน้าทอ่ี ืน่ ๆ ตามทไ่ี ด้รบั มอบหมาย
7. งานส่งเสรมิ กิจกรรมนักเรยี น

แนวทางปฏิบัติ/หนา้ ท่แี ละความรบั ผดิ ชอบ

1. เป็นท่ีปรึกษาของรองผ้อู ำนวยการเก่ยี วกับกลุม่ งานบริหารกจิ กรรมนักเรยี น
2. รว่ มจดั ทำแผนงาน/โครงการ วางแผนการดำเนนิ งานและกำหนดปฏทิ นิ กลมุ่ งานบรหิ ารกจิ กรรม
นกั เรียน
3. กำกบั นเิ ทศ ติดตามงานทกุ งานกลุ่มงานบริหารกิจการนกั เรยี นให้ดำเนนิ ไปอยา่ งเปน็ ระบบตาม
ระเบียบของทางราชการและตามแผนงาน/โครงการ
4. กำกบั ดแู ล กล่นั กรองเอกสาร ในสำนกั งานกลมุ่ งานบรหิ ารกิจการนักเรียน เสนอความคดิ เหน็ เพือ่
ปฏิบตั หิ รือสั่งการอนญุ าตหรอื อนุมัติแลว้ แตก่ รณี
5. เป็นกรรมการพจิ ารณาความผดิ ของนักเรียนที่ประพฤตผิ ดิ ระเบียบวนิ ยั ของโรงเรยี นกับคณะกรรมการ
กลุ่มงานบรหิ ารกจิ กรรมนกั เรยี น
6. ให้คำแนะนำในด้านความประพฤติของนักเรยี น และครู-อาจารยใ์ ห้สามารถปรับตัวเข้ากบั สงั คม และ
ระเบียบ วฒั นธรรมประเพณี
7. บริหารและบังคับบัญชาตามสายงานทรี่ ับผิดชอบ
8. วางแผนและจัดให้มกี ารรวบรวมข้อมูล สถิติเก่ียวกบั งานกลุ่มงานบริหารกิจการนักเรียนใหเ้ ปน็ ปัจจบุ นั
เพอ่ื ปอ้ งกนั และแก้ไข
9. ติดตอ่ ประสานงานกับผปู้ กครอง ตดิ ตามแก้ไขพฤตกิ รรมทไ่ี ม่เหมาะสมของนักเรียน
10. ช่วยเหลือและใหบ้ รกิ ารนักเรียนทม่ี ีปัญหาตามโอกาสอนั ควร
11. จดั ทำสถติ ิ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของนกั เรียนเพ่อื แกไ้ ขปรังปรงุ ตอ่ ไป
12. ตดิ ตามและประเมินผลงานฝ่ายกิจการนักเรียนและรายงานตามสายงาน
13. ปฏิบัตหิ น้าทีอ่ ่นื ตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย
8. งานระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี นและเครอื ขา่ ยผู้ปกครอง

งานระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน

งานพฒั นาระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น
1. จดั ทำคำส่งั แตง่ ตั้งคณะกรรมการระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี นของโรงเรียน
2. จดั ทำเอกสารท่เี กย่ี วขอ้ งกับระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรียนให้กบั ครูทป่ี รึกษา
3. ตรวจสอบการโฮมรูมของครูทีป่ รึกษาประจำชั้นเก่ยี วกับระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น
4. ปฐมนิเทศนักเรียนทกุ ระดบั ชน้ั
5. จดั ใหม้ กี ารประชุมผู้ปกครองนักเรียน ในชั้นเรยี นภาคเรียนละ 1 คร้ัง
6. ประสานงานกับหัวหน้าระดับช้ัน ในการกำกบั ดแู ลการปฏิบัตงิ านของครทู ปี่ รกึ ษา

19

7. ประสานครทู ป่ี รึกษาเพอื่ ออกเยี่ยมบา้ นนักเรยี นตามความเหมาะสม
8. ติดตาม สรปุ ประเมินผล และรายงานการดำเนินงาน / โครงการต่อผทู้ ี่เกย่ี วข้อง
9. ปฏิบัติงานอื่นทไี่ ดร้ บั มอบหมาย
งานเครอื ข่ายผ้ปู กครอง
หนา้ ที่และความรบั ผิดชอบ
1. ประสานงานกบั ผเู้ กยี่ วขอ้ งในการดำเนนิ งานตามระเบียบว่าดว้ ยเครอื ขา่ ยผปู้ กครอง
2. ดำเนนิ การเพอื่ ให้ไดม้ าซ่ึงคณะกรรมการเครือขา่ ยผปู้ กครอง
3. ประสาน วางแผน และดำเนนิ กิจกรรมตา่ งๆ รว่ มกับคณะกรรมการเครือข่ายผ้ปู กครอง
4. ประสานกบั หัวหน้าระดับชน้ั ครทู ปี่ รกึ ษาเพือ่ รว่ มพัฒนางานเครอื ข่ายผปู้ กครองนกั เรยี น
5. รวบรวมข้อมูลต่างๆ ของคณะกรรมการเครอื ข่ายผปู้ กครองและข้อมูลเก่ียวกับการดำเนนิ กิจกรรมต่างๆ
เพื่อประชาสมั พันธ์ให้ผปู้ กครองทราบ
6. ประสานความรว่ มมือกบั คณะกรรมการเครือขา่ ยผปู้ กครองในการแกป้ ัญหานกั เรียนระหวา่ งบา้ นกบั
โรงเรยี น
7. จดั ประชมุ และรว่ มประชุมกบั คณะกรรมการเครือขา่ ยผู้ปกครองเพ่อื รว่ มแกป้ ญั หาเกย่ี วกับพฤติกรรม
นกั เรยี น
8. สรปุ ประเมนิ ผลและรายงานการปฏิบัติงานเกย่ี วกบั งานเครอื ขา่ ยผปู้ กครอง
ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่อี น่ื ๆ ตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย

9. งานสง่ เสริมคุณธรรมจรยิ ธรรมนักเรยี น
จดั กิจกรรมส่งเสริมระเบยี บวนิ ยั นกั เรยี นในทกุ ๆ ดา้ น จัดกจิ กรรมส่งเสริมคณุ ธรรมจรยิ ธรรมให้แก่

นกั เรียนอย่างตอ่ เนอื่ ง ประสานงานกับกลุ่มงาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ หรือองคก์ รและหน่วยงานต่าง ๆ ควบคุมและ
วางแผน ใหน้ ักเรียนได้เขา้ รว่ มกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมตามโอกาสอนั ควร กำหนดกจิ กรรมที่ส่งเสริม
คุณธรรม จรยิ ธรรม แกน่ กั เรยี นอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ให้กำลังใจ ยกย่อง เชดิ ชนู กั เรยี นทมี่ ีความประพฤตดิ ี มีคุณธรรม
จรยิ ธรรมใหป้ รากฏต่อสาธารณชน และงานอืน่ ๆ ทีท่ างโรงเรยี นมอบหมาย

หนา้ ทแี่ ละความรบั ผิดชอบ
1. จัดทำแผนงาน / โครงการเพ่อื ปลกู ฝงั คุณธรรม จริยธรรม
2. จดั กจิ กรรมเพื่อปลูกฝังคณุ ธรรม จริยธรรมแก่นกั เรยี น
3. ประสานงานกบั วดั ต่างๆ เพื่อสง่ เสรมิ กิจกรรมทางศาสนาและฝึกอบรมดา้ นศีลธรรม จริยธรรมแก่

นักเรียน
4. จดั กิจกรรมยกย่อง / ประกาศเกียรติคณุ ใหก้ ำลังใจนักเรียนทป่ี ระพฤติ และเปน็ แบบอยา่ งที่ดกี ับ

นกั เรียน
5. จดั กิจกรรมทีส่ ่งเสรมิ ความเป็นผนู้ ำ และผู้ตามที่ดใี หก้ ับนกั เรยี น

20

6. จัดใหน้ ักเรียนไดฝ้ กึ ปฏิบัติ และปฏิบัติธรรมทางพทุ ธศาสนาเปน็ ประจำอย่างนอ้ ยสัปดาห์ละ 1 ครงั้
รวมทัง้ วนั สำคญั ทางศาสนา

7. จดั กิจกรรมส่งเสรมิ เกย่ี วกบั ประเพณแี ละวฒั นธรรมอนั ดีงาม
8. ประชาสัมพนั ธเ์ กี่ยวกับกิจกรรมต่างๆ เพอ่ื ส่งเสริมความเปน็ ผ้มู คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม
9. ประเมินผลกิจกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ ม จากพฤตกิ รรมนกั เรยี น
สรปุ และประเมินผลการปฏบิ ัติงาน รายงานผลต่อผูบ้ ังคับบญั ชา
10. งานสภานกั เรียนและสง่ เสริมประชาธปิ ไตย
1. วางแผน ดำเนนิ งานและจดั ต้ังสภานักเรยี นใหเ้ ป็นไปตามรปู แบบและหลกั เกณฑ์ทกี่ ำหนด

2. จดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้เกี่ยวกบั ประชาธปิ ไตยโดยการเลือกตงั้ ประธาน และคณะกรรมการนกั เรยี น
การทำงานรูปแบบสภานกั เรียน

3. ปลูกฝังเจตนคตทิ ี่ดเี กีย่ วกบั การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยแก่นกั เรียนในรูปแบบต่างๆอยา่ งถูกตอ้ ง
ตามหลักการภายใตก้ ฎหมาย

4. วางแผนฝึกอบรมนกั เรยี นทีเ่ กี่ยวกับการใชส้ ิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคและหนา้ ท่ตี ามระบบ
ประชาธิปไตยในการรกั ษาไว้ซ่งึ ประโยชน์ท้งั ปวงของโรงเรียน

5. สรปุ และประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงาน รายงานผลต่อผบู้ ังคับบญั ชา
6. ปฏิบตั ิหน้าท่ีอน่ื ๆ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย
11. งานระดับชน้ั นักเรยี น
หน้าทแ่ี ละความรบั ผิดชอบ
ดูแล กำกับและตดิ ตามงานหัวหนา้ ระดับให้เปน็ ไปตามนโยบายและแผนทีว่ างไว้
หนา้ ทแ่ี ละความรับผิดชอบ
งานหัวหน้าระดบั
1. รว่ มประชมุ หารอื ออกคำส่งั แตง่ ตงั้ หวั หนา้ ระดบั และครูทีป่ รึกษาประจำชนั้ ในแต่ละปกี ารศึกษา
2. ดำเนินกจิ กรรมเกยี่ วกับงานกิจการนกั เรยี นในระดับชน้ั ใหเ้ ป็นไปตามแผนปฏิบัตงิ าน ทก่ี ำหนด
3. ประสานงานกับครทู ่ปี รกึ ษา และผ้ปู กครองนักเรียน เพอื่ ร่วมแก้ไขพัฒนานกั เรยี นทม่ี ี พฤตกิ รรมทไ่ี ม่
เหมาะสมกับสภาพนกั เรยี น
4. ชีแ้ จง กฎระเบียบ ข้อบงั คับของโรงเรยี นให้นกั เรียนในระดบั ให้เข้าใจและชดั เจน ง่ายต่อการ ปฏบิ ัติ
5. อบรม ตรวจ ควบคมุ ดูแล แก้ไข เกีย่ วกับความประพฤตขิ องนักเรยี นในระดับตามนโยบายและแผนกลมุ่
งานบริหารงานบุคคล
6. จัดทำระเบียนความประพฤติ ตรวจเช็ค ควบคุม การเข้ารว่ มกิจกรรม ของนกั เรียนบริเวณโรงเรยี นเป็น
ปัจจุบัน
7. ควบคมุ กำกับดแู ลการมาเรียน การลา การมาสายของนักเรยี น โดยสง่ หนงั สอื ถึงผปู้ กครองเมอ่ื นักเรยี น
ขาดเรยี น 3 วันข้ึนไป

21

8. จัดแบ่งนักเรียน ครู ไปร่วมพิธีหรอื กิจกรรมกับทางราชการ ทั้งรฐั พิธีและราชพธิ หี รอื กจิ กรรมกับ ทาง
ราชการ ท้งั รัฐพธิ ีและราชพธิ ี

12. งานคณะนกั เรยี น
การจัดแบ่งนกั เรยี นออกเป็น 5 คณะกำหนดช่อื สปี ระจำคณะ

2. การจดั ครแู ละนกั เรียนสังกัดคณะมหี ลกั เกณฑ์ ดงั นี้
2.1 แบ่งนักเรยี นแต่ละระดับช้นั เปน็ 5 คณะ นกั เรยี นหอ้ งเดียวกันจะต้องสงั กัดคณะเดยี วกัน มคี รทู ส่ี ังกดั

คณะนน้ั ๆ เปน็ ท่ีปรกึ ษาห้องละ 1 คน
2.2 การแบง่ ครูทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ให้สังกัดคณะสีทกุ คณะๆละ เท่าๆกนั ซง่ึ ประกอบดว้ ยหวั หน้าคณะ

รองหวั หนา้ คณะครูที่ปรึกษานักเรียน และให้หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรเู้ ปน็ ที่ปรกึ ษาคณะ
2.3 คณะกรรมการมี 2ประเภท คอื
2.3.1 คณะกรรมการครใู นคณะ ประกอบดว้ ย
- หวั หน้าคณะ
- รองหวั หน้าคณะ
- ปกครองคณะ
- กจิ กรรมคณะ
- สวัสดกิ ารคณะ
- ประชาสมั พันธค์ ณะ
- เหรญั ญิกคณะ
- เลขานุการคณะ

3. อำนาจหนา้ ทข่ี องบุคลากรในคณะ
3.1 อำนาจหน้าท่ีของหัวหน้าคณะ
1. ทำหนา้ ทปี่ กครองครูและนกั เรียนในคณะ
2. ทำหนา้ ทเี่ ปน็ ครูแนะแนวให้นกั เรยี นในคณะของตนโดยประสานงานกบั ครแู นะแนวของโรงเรียน
3. จัดครูปฏิบัตหิ น้าทเ่ี วรประจำวัน
4. จัดและสง่ เสรมิ กจิ กรรมเสริมหลักสูตร ตามนโยบายของโรงเรียน
5. ควบคมุ ดแู ล และติดตามผลการปฏิบัติงานของคณะนกั เรยี นใหด้ ำเนนิ ไปตามนโยบายของโรงเรียน
6. ติดต่อผ้ปู กครองนกั เรียนทม่ี ปี ัญหา บนั ทึกเสนอโรงเรียนเพ่ือหาแนวทางแก้ปัญหา
7. เสนอความดีความชอบของครใู นคณะตอ่ โรงเรยี น
8. รับฟงั และนำเสนอขอ้ คดิ เหน็ ของครู และนักเรียนในคณะต่อโรงเรียน
9. รายงานการประชมุ ครใู นคณะต่อโรงเรยี น
10. รายงานการปฏิบัติงานของครูในคณะตอ่ โรงเรยี น

22

11. รายงานความประพฤตินักเรยี น ที่หัวหนา้ คระไมส่ ามารถทีจ่ ะแกไ้ ขได้ เสนอตอ่ รองผ้อู ำนวยการ
โรงเรยี นฝา่ ยกิจการนกั เรยี น

12. ออกระเบียบ คำส่งั การบริหารงานในคณะของตน ใหส้ อดคล้องกับระเบียบของโรงเรยี น โดยความ
เห็นชอบของผู้อำนวยการโรงเรยี น

13. การเสนองานต่างๆของหัวหน้าคณะต่อโรงเรียน ใหเ้ สนอผา่ นหวั หนา้ ฝ่ายกจิ การนกั เรยี น รอง
ผ้อู ำนวยการฝา่ ยกิจการนักเรยี นและผู้อำนวยการโรงเรียนตามลำดบั

14. ปฏบิ ัติหนา้ ที่อน่ื ๆ ตามทไ่ี ด้รบั มอบหมาย
13. งานปอ้ งกนั และแกไ้ ขสิง่ เสพตดิ อบายมขุ โรคเอดสแ์ ละโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสัมพนั ธ์
หนา้ ท่แี ละความรบั ผิดชอบ

1.จัดทำแผนหรือมาตรการในการปอ้ งกันสงิ่ เสพตดิ อบายมุข โรคเอดสแ์ ละโรคตดิ ต่อทางเพศสมั พนั ธ์

ในโรงเรยี น

2.รวบรวมขอ้ มลู นกั เรียนที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม เกยี่ วกับยาเสพติด

3.จดั กิจกรรมให้สอดคลอ้ งกบั มาตรการการป้องกนั ยาเสพตดิ อบายมุข โรคเอดส์และโรคติดตอ่ ทาง
เพศสมั พันธ์ในโรงเรยี น

4.ร่วมมอื กับชมุ ชน หรือองค์กรต่างๆ ในการรณรงค์ตอ่ ตา้ นยาเสพตดิ ในรปู แบบต่าง ๆ

5.กำหนดวธิ ีการป้องกันและแกไ้ ขปัญหานกั เรยี นที่มพี ฤติกรรมเกย่ี วข้องกบั ยาเสพติด อบายมุข โรคเอดส์
และโรคตดิ ต่อทางเพศสัมพนั ธ์ เป็นลายลักษณอ์ ักษร และเกบ็ รวบรวมข้อมูลไว้

6.จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนทุกกลุ่มสาระทเี่ นน้ ทักษะ กระบวนการคดิ กระบวนการแก้ปญั หา
กระบวนการปฏเิ สธสง่ิ เสพติด

7.ดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดอยา่ งต่อเนือ่ ง
8.ประสานงานกบั ประสานงานกบั ครทู ่ีปรึกษาและผู้ปกครองนักเรียนกลมุ่ เสี่ยง ผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา,
รองผอู้ ำนวยการ ในเรื่องพฤติกรรมไมเ่ หมาะสมเกยี่ วกบั ยาเสพตดิ อบายมขุ โรคเอดส์และโรคติดต่อทาง
เพศสมั พันธ์เพอ่ื แกไ้ ขปญั หารว่ มกนั
9.จดั กจิ กรรมจัดกิจกรรมรณรงค์ใหค้ วามรแู้ กน่ กั เรยี นในการป้องกนั โรคเอดส์และร่วมมือกบั ชมุ ชนในการ
รณรงค์ต่อต้านโรคเอดส์
10.ใหค้ ำปรึกษานักเรียนเป็นรายบคุ คลตดิ ตอ่ และประสานงานกบั หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
11.จัดทำรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านทร่ี ับผดิ ชอบตอ่ ผู้บังคับบัญชา

12.สรปุ ผลการดำเนินงานของงานปอ้ งกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ เสนอโรงเรยี นก่อนสิ้นปีการศึกษา
13.ปฏบิ ตั ิหน้าทีอ่ ่นื ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย

23

14. งานวินัยและความประพฤตนิ กั เรียนหน้าทแี่ ละความรับผดิ ชอบ
1. จดั ทำขอ้ มูลนกั เรยี นทม่ี คี วามประพฤตไิ ม่เหมาะสม
2. จดั ใหม้ กี ารกำหนดวธิ กี ารแก้ไขพฤติกรรมทไ่ี มเ่ หมาะสมของนักเรยี น
3. จัดทำหลกั ฐานการแก้ไขพฤตกิ รรมตามวธิ กี ารที่กำหนด
4. ติดตามเรง่ รดั การมาโรงเรยี น การเขา้ ห้องเรียน ของนักเรียน
5. ควบคุม กำกบั ดแู ล เอาใจใส่ แก้ไข นักเรยี นที่มคี วามประพฤตไิ ม่เหมาะสม
6. ประสานงานกับฝา่ ยแนะแนวของโรงเรยี น รว่ มแกไ้ ข นักเรียนทมี่ คี วามประพฤติไมเ่ หมาะสมของ

นกั เรียน
7. ประสานกบั ผู้ปกครอง ครูประจำชั้น เพอ่ื รว่ มแกไ้ ขพฤตกิ รรมนักเรียนทมี่ พี ฤติกรรมทไ่ี มเ่ หมาะสม
8. จัดทำเอกสารเพ่ือคัดกรองนกั เรยี น
9. การตดิ ตามประเมนิ ผลและรายงานให้ผู้บังคบั บัญชาทราบ
10. ปฏิบตั ิงานอน่ื ท่ไี ด้รับมอบหมาย

15. งานชมรมศิษยเ์ กา่
หน้าท่ีและความรบั ผดิ ชอบ
1. ประสานงานศิษยเ์ ก่าเพอ่ื รว่ มดำเนินงานต่างๆ ของโรงเรยี น
2. สนับสนนุ ให้ศิษยเ์ กา่ มีส่วนร่วมในการบรหิ ารการจดั การศกึ ษาของโรงเรียน
3. สง่ เสรมิ ใหศ้ ษิ ย์เกา่ และศษิ ย์ปจั จบุ นั ได้ทำกิจกรรมรว่ มกันเพอื่ สร้างความสัมพนั ธอ์ ันดรี ะหวา่ งรนุ่ พ่แี ละ
รุ่นน้อง
4. เชิดชูศิษยเ์ กา่ ทีป่ ฏิบตั ิตนเปน็ ตวั อย่างทดี่ แี ละให้การสนับสนุนโรงเรยี นมาโดยตลอด
5. จดั กิจกรรมทสี่ นบั สนนุ ให้ศษิ ยเ์ กา่ ได้รวมตัวกนั ตลอดจนไดแ้ สดงความระลึกถึงคณุ ครูบาอาจารย์
โอกาสสำคัญต่างๆ
6. ปฏิบัตหิ นา้ ท่อี ่นื ๆ ตามทีไ่ ด้รับมอบหมาย

16. งานรักษาความปลอดภัยและจราจร
แนวทางปฏิบัติ/หน้าท่แี ละความรบั ผดิ ชอบ
1. จดั สถานทแี่ ละครูเวร เพือ่ ปฏิบตั ิหน้าท่ตี ามสถานทีท่ ีก่ ำหนดให้ ตามความเหมาะสม โดยมกี าร

มอบหมายงานเป็นลายลกั ษณอ์ ักษรและรายงานผู้บรหิ าร
2. รา่ งคำส่ังเสนอผบู้ รหิ ารใหค้ รู บคุ ลากร ปฏบิ ัติหนา้ ที่เวรประจำวันกลางวัน - กลางคืน
3. จัดครูเวร และนักการภารโรง ปฏบิ ตั หิ นา้ ทเ่ี วรรกั ษาความปลอดภยั ของสถานทร่ี าชการใน

วนั หยดุ ราชการต้ังแตเ่ วลา 06.00 – 18.00 น. และกลางคนื ทุกคืน ตั้งแต่เวลา 18.00 – 06.00 น.
4. นิเทศ กำกบั ดูแล ตรวจตราการปฏิบตั ิหนา้ ที่ของครูเวรใหเ้ ป็นไปด้วยความเรียบร้อย

พร้อมทง้ั ประสานงานการไขปญั หาตา่ งๆ ทเ่ี กิดข้ึน
5. จดั ทำแบบฟอร์มการบนั ทกึ การปฏบิ ัติหนา้ ทเ่ี วรรักษาความปลอดภัยของสถานทร่ี าชการ และการ

24

ตรวจเวรพร้องท้ังสรปุ รายงานผบู้ ริหารเปน็ รายเดอื นทกุ เดือน
6. วางระบบการบรหิ ารงานครูเวร โดยจัดระบบเตือนผทู้ ่จี ะตอ้ งปฏบิ ตั ิหน้าทีใ่ ห้ทราบลว่ งหนา้ เพ่ือ

ป้องกันการผดิ พลาดและหลงลืม ถ้าผอู้ ยเู่ วรไม่สามารถปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ไดต้ อ้ งบันทึกขออนญุ าตตอ่ ผอู้ ำนวยการ
โรงเรียน เพื่อขอเปล่ยี นเวรลว่ งหน้าอย่างนอ้ ย 1 วนั

7. ประสานงานกับฝ่ายต่าง ๆ ภายในโรงเรียนและองค์กรภายนอกในสว่ นทีเ่ ก่ียวขอ้ งกันกบั เรอ่ื งความ
ปลอดภยั ทั่วไป

8. ประเมินผล สรุปผลการปฏบิ ัติงานของครูเวร และรายงานผลการดำเนนิ งาน
9. ปฏิบตั ิหน้าทอี่ ืน่ ๆ ตามทไี่ ด้รบั มอบหมาย

17. งานประชาสมั พนั ธ์
หน้าที่และความรบั ผิดชอบ
1. จดั ทำแผนพฒั นางาน/โครงการ แผนปฏบิ ตั ิงาน ปฏิทนิ ปฏิบัติงาน เสนอฝา่ ยบรหิ ารเพื่อจดั สรร

งบประมาณ
2. ติดตามรวบรวมและเผยแพร่ความเคล่อื นไหวเกีย่ วกับการจัดกจิ กรรมตา่ ง ๆ ภายของในโรงเรียนหรอื

ภายนอกโรงเรยี นทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับกลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล

3. ให้ข่าวสาร ขอ้ มูลตา่ ง ๆ ของโรงเรยี นแก่ส่ือมวลชน เพอ่ื ประชาสัมพนั ธ์ เผยแพรช่ ือ่ เสยี งเกียรตคิ ณุ และ
รว่ มงานท่ไี ดร้ ับเชญิ จากหนว่ ยงานอ่ืน เพ่ือสรา้ งความเขา้ ใจอนั ดใี ห้เกดิ ขนึ้ ระหวา่ งโรงเรียนกับชุมชนท่เี กีย่ วข้องกับ
กล่มุ บรหิ ารงานบคุ คล

4. เผยแพรข่ ้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ของโรงเรียนทางอนิ เตอร์เนต็ ท่เี กีย่ วขอ้ งกบั กลมุ่ บรหิ ารงานบุคคล
5. จัดทำวารสาร จุลสาร ขา่ วสาร แผน่ พบั เพือ่ เผยแพร่ข่าวความเคลอ่ื นไหว ตลอดท้งั ความร้แู ละ
วทิ ยาการ ใหม่ ๆ ท่เี ป็นประโยชน์ต่อการศกึ ษาแกบ่ ุคลากรในโรงเรียนและชุมชน
6. จดั ทำป้ายประชาสมั พันธ์ เสนอข้อมูล ข่าวสารความเคลื่อนไหว กจิ กรรมของโรงเรยี น บคุ ลากร และ
นกั เรียนทไี่ ด้รบั รางวัล ทำความดที เ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั กลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล
7. บนั ทึกภาพกิจกรรมตา่ งๆของโรงเรียน และจดั เกบ็ ภาพใหเ้ ป็นระบบทีเ่ กี่ยวข้องกับกลมุ่ บริหารงาน
บุคคล
8. เผยแพร่ข้อมูล ขา่ วสารโดยผ่านเสียงตามสาย ใหค้ ำปรกึ ษา และดูแลการจัดรายการของคณะกรรมการ
นักเรียนประชาสมั พนั ธท์ ่ีเก่ยี วขอ้ งกบั กลมุ่ บริหารงานบุคคล
9. ประเมินสรุปและรายงาน ผลการปฏิบัติงานประชาสมั พันธ์ตามแผนงาน / โครงการ
10. ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีอนื่ ๆ ตามทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย


Click to View FlipBook Version