The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ถอดบทเรียนครอบครัวสหทัยต้นแบบ

ถอดบทเรียน

ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ ชื่อหนังสือ ถอดบทเรียน โครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการ มุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ ผู้เขียน อาจารย์ ดร. จินตนีย์ รู้ซื่อ อาจารย์ประจ าหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต ส านักวิชาการบัญชีและการเงิน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ออกแบบรูปเล่มและพิสูจน์อักษร นางสาวนันท์นภัส แสงอภัย นักศึกษาหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต ส านักวิชาการบัญชีและการเงิน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ รวบรวมข้อมูลและประมวลผล เด็กหญิงเปรมสินี รู้ซื่อ โรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ์ สุราษฎร์ธานี


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ บทน ำ โครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัย ต้นแบบของสหทัยมูลนิธิเริ่มด าเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561 โดยเริ่มต้นค้นหาความสนใจของผู้เข้าร่วมโครงการ การรวมกลุ่ม การให้ความรู้ สร้างเครือข่าย และขยายผล ปัจจุบันโครงการเริ่ม เกิดผลเป็ นรูปธรรม สร้างประโยชน์ความเข้มแข็งให้กับครัวเรือนที่ ร่วมโครงการ และขยายผลไปยังผู้สนใจในชุมชนและต่างชุมชน ผ่าน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทั้งรูปแบบการศึกษาดูงาน และการเผยแพร่ ความรู้ผ่านสื่อออนไลน์ การถอดบทเรียนครั้งนี้ ใช้เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก ผู้ร่วมกิจกรรมผ่านการบอกเล่าในเวทีแลกเปลี่ยน สะท้อนความรู้สึก และผลลัพธ์ โดยมีผู้เข้าร่วมให้ข้อมูล จ านวน 21 คน จาก 5 กิจกรรม ได้แก่ 1.ครอบครัวการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า 2.ครอบครัวสวนหย่อมพอเพียง 3.ครอบครัวอาชีพมั่นคง 4.ครอบครัวเงินออม 5.ครอบครัวปลอดอบายมุข ซึ่งผู้เขียนได้ด าเนินการถ่ายทอดบทเรียนและเรื่องราวผ่าน หนังสือเล่มนี้ อาจารย์ ดร.จินตนีย์ รู้ซื่อ อาจารย์เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มกราคม 2566


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 1 รำยงำนถอดบทเรียน โครงกำรพัฒนำครอบครัวผู้ใช้บริกำรมุ่งสู่ครอบครัว สหทัยต้นแบบ จากการท างานตลอด 20 กว่าปี ที่ผ่านมาของสหทัยมูลนิธิ จนถึงเดือนมิถุนายน 2561 พบว่ามีผู้ใช้บริการเข้ามาขอรับบริการที่ มูลนิธิรวมทั้งสิ้น 2,485 ครอบครัว ครอบครัวแต่ละครอบครัวมีความ ถนัดและความสนใจที่แตกต่างกัน หากได้รับการพัฒนาให้ตรงกับ ความถนัด และมีการพัฒนาให้เหมาะสมกับบุคคลและพื้นที่ จะสามารถ ท าให้ครอบครัวผู้ใช้บริการสามารถพัฒนาตนเองและครอบครัวได้ อย่างยั่งยืนยิ่งขึ้น รวมทั้งสามารถเป็ นแบบอย่างที่ดี เป็ นพื้นที่ ตัวอย่าง เสริมสร้างพลัง และเป็ นแรงผลักดันให้กับผู้ใช้บริการราย อื่นๆ ได้เป็ นอย่างดี จึงได้จัดให้มีโครงการพัฒนาครอบครัว ผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบขึ้น เพื่อพัฒนาครอบครัว ผู้ใช้บริการที่มีความพร้อมและผ่านการฟื้ นฟูสภาพครอบครัวอยู่ใน ระดับมาตรฐานการท างานให้มีการพัฒนาให้มีความยั่งยืนมากขึ้น โดยมี วัตถ ุประสงค์ เพื่อให้สมาชิกครอบครัวสหทัยต้นแบบมี ภูมิคุ้มกันที่ดีส าหรับการพัฒนาครอบครัวให้มีความเข้มแข็งอย่าง ยั่งยืน เพื่อรณรงค์ให้สมาชิกครอบครัวทั่วไปสร้างโอกาสในการฝึกฝน ตนเองเพื่อจะสามารถเป็ นสมาชิกที่มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง อันจะน าไปสู่การเป็ นครอบครัวต้นแบบในระดับที่สูงขึ้นต่อไป และเพื่อ ถอดบทเรียนครอบครัวสหทัยต้นแบบ ส าหรับใช้เป็ นแนวทางแก่ ครอบครัวอื่นๆ


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 2 เป้ำหมำย ครอบครัวผู้ใช้บริการที่เข้าสู่โครงการครอบครัวสหทัย ต้นแบบสามารถช่วยเหลือตนเองได้อย่างยั่งยืน กล ุ่มเป้ ำหมำย ครอบครัวผู้ใช้บริการสมัครเข้าสู่โครงการมุ่งสู่ ครอบครัวสหทัยต้นแบบ จ านวน 120 ครอบครัว ผลที่คำดว่ำจะได้รับ 1.ครอบครัวได้รับโอกาสในการพัฒนาตนเองและครอบครัว อย่างต่อเนื่องน าไปสู่ครอบครัวมีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืนด้านใดด้าน หนึ่งหรือหลายๆด้าน 2.ครอบครัวมีความน่าเชื่อถือในการได้รับการพิจารณา สนับสนุนส่งเสริมเพื่อฟื้ นฟูพัฒนาครอบครัวหรืออบรมสัมมนาที่เป็ น ประโยชน์ตามความสนใจและถนัดของครอบครัว 3.ครอบครัวมีโอกาสรับทุนสนับสนุนเพื่อสร้างกิจกรรม ตัวอย่างที่ใช้ในการเรียนรู้ร่วมกันของสมาชิก 4.ครอบครัวได้รับมอบสัญลักษณ์หรือเกียรติบัตร ครอบครัวสหทัยต้นแบบ เพื่อเป็ นแรงบันดาลใจและเป็ นความ ภาคภูมิใจของครอบครัว 5.เกิดตัวแทนครอบครัวในการรณรงค์ครอบครัวสหทัย ต้นแบบ 6.มีหลักสูตร/โมเดลที่ใช้ในการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการ ให้สามารถดูแลตนเองและครอบครัวได้อย่างยั่งยืน


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 3 ครอบครัวใช้ทรัพยำกรอย่ำงค ุ้มค่ำ


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 4 1. ครอบครัวใช้ทรัพยำกรอย่ำงค ุ้มค่ำ มุ่งให้เกิดการใช้ทรัพยากรรอบตัวอย่างคุ้มค่า โดยได้ ประโยชน์สูง ประหยัดสุด สร ุปผลโครงกำรผ่ำนเวทีสร ุปบทเรียน พี่ล้านเป็ นตัวแทนน าเสนอกิจกรรม “ครอบครัวใช้ทรัพยากร อย่างคุ้มค่า” โดยพี่ล้านอาศัยอยู่ในชุมชนแออัด มีรายได้หลักจาก การค้าขาย และรายได้เสริมแยกขยะ โดยกิจกรรมที่ท า ได้แก่ - ใช้พื้นที่ว่างเปล่าปลูกพืชผักสวนครัวเพื่อเป็ นอาหารใน ครัวเรือน - แยกประเภทขยะ น าไปขายจดบันทึกการเก็บผลผลิตและ บันทึกรายได้จากการแยกขยะขายเพื่อพัฒนาให้เกิดประโยชน์เพิ่มขึ้น โดยการเก็บขยะในชุมชน และคัดแยกขยะโดยใช้พื้นที่ชุมชน - การน าสิ่งของเหลือใช้มาใช้ซ ้าให้ประโยชน์อื่นที่แตกต่างจาก เดิม เช่น เก็บหม้อหุงข้าวไฟฟ้ าที่เสียแล้ว น าหม้อใบด้านในไว้ปรุง อาหาร หม้อหุงข้าวใบนอก เครื่องซักผ้า ตู้เย็นที่เสียแล้ว เป็ นภาชนะ ปลูกผัก - มีกิจกรรมเรียนรู้การเพาะปลูกจากเครือข่ายครอบครัว ผู้เข้าร่วมกิจกรรม - ท าน ้าหมักจากขยะผักและเศษอาหารเพื่อเป็ นปุ๋ ยบ ารุงต้นไม้ ผลที่เกิดขึ้น คือ สร้างรายได้เสริมให้กับครัวเรือนได้ถึงเดือนละ 1,000 บาท อีกทั้งประหยัดค่าใช้จ่ายในการซื้อผักและอุปกรณ์ในครัวเรือนได้ ประมาณเดือนละ 1,000 บาท - มีการถ่ายทอดความรู้ เป็ นต้นแบบที่ดี กับลูกหลาน และ เพื่อนบ้านในชุมชน ในเรื่องการประหยัด การจัดสภาพแวดล้อมบ้าน ที่น่าอยู่ - มีการแบ่งปันในชุมชน โดยเพาะต้นกล้าผักแจกจ่ายใช้คนใน ชุมชนน าไปปลูกต่อ โดยปลูกไว้และติดป้ ายแจกฟรี


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 5 กำรขยำยผล พี่ล้าน ได้รับแต่งตั้งเป็ นกรรมการชุมชน เพื่อถ่ายทอดความรู้ ในการจัดการขยะ การปรับปรุงทัศนียภาพชุมชนแออัดให้น่าอยู่ และ การส่งเสริมการปลูกผักไว้รับประทานในครัวเรือนเพื่อลดรายจ่าย ครัวเรือน กำรเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจำกกำรร่วมโครงกำร 1) สามารถน าทรัพยากรที่เหลือใช้มาใช้ให้คุ้มค่า น าของเก่ามาใช้ งานต่างๆ 2) มีการแยกขยะ เป็ นประเภทต่างๆ เช่น ขวดน ้า กระดาษ ขยะ ทั่วไป พลาสติก เศษขยะ ถุงพลาสติก ท าให้บ้านน่าอยู่มากขึ้น ขายขยะได้500-600 บาท 3) สามารถน าทรัพยากรมาสร้างรายได้ เช่น เสื้อผ้าน ามาขาย ขยะที่แยกไว้ เศษพลาสติกน ามาปลูกต้นไม้ ช่วยให้ประหยัด ไม่ต้องซื้อของใหม่


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 6


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 7 ข้อ ที่ หัวข้อกำรประเมิน เกณฑ์กำรให้คะแนน มำก ที่สุด 4 มำก 3 ปำน กลำง 2 น้อย 1 1 สามารถน าทรัพยากรที่ เหลือใช้มาใช้ให้คุ้มค่า 2 มีการแยกขยะ เป็ น ประเภทต่างๆ เช่น ขวดน ้า กระดาษ ขยะทั่วไป พลาสติก เศษขยะ ถุงพลาสติก 3 สามารถน าทรัพยากรมา สร้างรายได้ เช่น เสื้อผ้า น ามาขาย ขยะที่แยกไว้ เศษพลาสติกน ามาปลูก ต้นไม้


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 8 สวนหย่อมพอเพียง


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 9 2. สวนหย่อมพอเพียง เป็ นอีกกิจกรรมที่มีผู้สนใจร่วมโครงการมากที่สุด และมี เครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้พัฒนาปรับปรุงมาต่อเนื่องถึง 3 ปี จุดเริ่มต้นของโครงการใช้หลักการพึ่งตนเองเชื่อมต่อกับการแบ่งปันใน ระดับต่างๆ เป็ นการคิดใหม่จากสิ่งที่มีหรือเป็ นอยู่เพื่อก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง เกิดผลใหม่ที่ใช้ประโยชน์ได้จริงเพิ่มขึ้นในชีวิตประจ าวัน เป็ นการสร้างสวนหย่อมจากพืชผักสวนครัว ตามแนวคิด 6 ป. พอเพียง คือ ประหยัด ประโยชน์ ประยุกต์ ประจ า ประจักษ์ และประดับ ส่งผลให้เกิดสิ่งต่างๆ เช่น - การมีส่วนร่วมของสมาชิกในครอบครัว เป็ นกิจกรรมที่ ช่วยสร้างสัมพันธ์ในบ้าน - การพัฒนาต่อยอด ขยายผลในเชิงองค์รวม ทั้งด้านอาหาร สุขภาพ รายได้ ฯลฯ - ใช้เป็ นแบบอย่าง ตัวอย่างในการขับเคลื่อนการพัฒนา ตนเองและครอบครัวที่สร้างสรรค์ - สร้างแนวคิดใหม่ๆ ที่ท าให้เกิดการคิด การเขียน บันทึก ผลงานที่สามารถน าเสนอได้ แนวทำงกำรด ำเนินงำน - น าเสนอแนวคิด/ให้ข้อมูลแก่กลุ่มสมาชิก - สมาชิกน าเสนอโครงการสวนหย่อมพอพียงของตนเอง หรือครอบครัวและความต้องการสนับสนุน - เก็บข้อมูลการปฏิบัติของสมาชิกแต่ละครอบครัว กลุ่มและ ภาพรวม - แลกเปลี่ยนแบ่งปันแนวคิดและองค์ความรู้ระหว่างกัน - ส่งเสริมการแบ่งปันเพื่อต่อยอด เช่น แบ่งปันเมล็ดพันธ์ กล้าไม้และปุ๋ย เป็ นต้น หลักการเริ่มต้นของสวนหย่อมพอเพียงเป็ นสวนหย่อมใน พื้นที่เล็กๆ ประมาณหนึ่งตารางเมตร หรือกระจายกันในบริเวณที่ว่าง


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 10 มีการจัดการให้สวยงามน่าดู ช่วยสร้างบรรยากาศที่ดีมีพืชผักที่ หลากหลายปลูกร่วมกัน สะดวกในการดูแลไว้เป็ นอาหารที่ลดรายจ่าย ขายเสริมรายได้และประโยชน์อื่นๆ หมุนเวียนได้อย่างสม ่าเสมอ มีพืชผักหลากหลายชนิด ตามแต่สมาชิกครอบครัวเห็นว่าจะน ามาใช้ ประโยชน์ได้สม ่าเสมอ เช่น ขิง ข่า ตะไคร้ พริก กะเพรา แมงลัก เล็บครุฑ โหระพา ชะพลู ดาวเรือง ฯลฯ และมีต้นกล้วย หรือมะละกอ หรือไม้ยืนต้นอื่นๆ ที่เป็ นอาหารได้ หากมีพื้นที่เพียงพอ ใช้เป็ นไม้ พืชเลี้ยงที่ช่วยให้ดินมีความชุ่มชื้นหรือ ร่มเงาบางส่วน สมาชิก ครอบครัวร่วมดูแลให้น ้าตามฤดูกาลและบ ารุงรักษาด้วยปุ๋ ยอินทรีย์ โดยสามารถสร้างสวนหย่อมนี้ได้ตาม มุมบ้าน ริมครัว ริมทางเดิน ริมถนน ในบ่อซีเมนต์หรือปลูกในกระถาง จัดเป็ นกลุ่มให้สวยงาม และ แม้กระทั่งการห้อยแขวนเป็ นไม้ประดับ ฯลฯ ซึ่งพืชแต่ละชนิดจะมีการ พึ่งพาอาศัยและเกื้อกูลกัน สามารถประหยัดพื้นที่และผลผลิตเพื่อใช้ บริโภคในครัวเรือนได้อย่างต่อเนื่อง และประหยัดค่าใช้จ่าย ทั้งยัง สามารถท าสวนหย่อมแต่ละประเภทอาหารเพื่อสร้างการเรียนรู้ การท าหน้าที่และพัฒนาแนวคิดสร้างสรรค์แก่เด็กๆ และสมาชิก ครอบครัว เช่น สวนพืชผักแกงเลียง สวนส้มต า สวนน ้าพริก และ สวนแกงเผ็ด เป็ นต้น สมาชิกที่อยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงก็แลกเปลี่ยนความรู้ เมล็ดพันธุ์ ต้นกล้า และผลผลิตระหว่างกันด้วยความสุข อย่างไรก็ตามเมื่อมีการน าแนวคิดไปใช้ ได้มีการปรับให้เข้ากับ พื้นที่ของตนเอง สร ุปผลโครงกำรผ่ำนเวทีสร ุปบทเรียน สิ่งที่ท าได้ดีแล้ว คือ การจัดสรรพื้นที่ปลูกผักที่กินที่ใช้โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อใช้บริโภคในครัวเรือน ได้กินของปลอดภัยแบ่งปัน เพื่อนบ้าน และขายเป็ นรายได้เสริมของครัวเรือน โดยกิจกรรมมีการ ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ลักษณะการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ พี่ไก่“ท าคลิปปลูกผัก ท าน ้าหมัก เพื่อเป็ นสื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้”


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 11 น้องเฟิ ร์น “ เริ่มจากการปลูกผักริมถนนหมู่บ้านสร้างสิ่งแวดล้อม ชุมชน พัฒนาผลผลิตจากรายได้เสริมกลายเป็ นรายได้หลัก ” พี่ไก่ “ อาศัยอยู่บ้านเช่าที่ดินกว้างขวาง แต่ประสบปัญหาดินไม่ดี การเริ่มต้นโครงการต้องเรียนรู้จากการท าปุ๋ ย เพื่อปรับดิน ท าน ้าหมัก ปุ๋ ยหมักจากเศษหัวปลาที่ไม่ต้องซื้อหา เพราะลูกเขยท าเรือปลาอยู่ ผลผลิตที่ได้น ามาแปรรูปขายในชุมชน เช่น แกงส าเร็จรูป เช่น แกงส้ม ปลาผักรวม บวดมัน ข้าวย าใบขมิ้น นอกจากได้รายได้เสริมแล้ว ยังท า ให้ชีวิตเป็ นสุข ลืมความทุกข์จากโรคที่เป็ น ” พี่ยินดี(โต๊ะ) “ ที่บ้านมีเนื้อที่ไม่ถึงไร่ หลักๆปลูกข้าวโพดขาย เรียนรู้ การปลูกผักและสามารถปลูกผักได้ตลอดทั้งปี เพราะปลูกในถัง กาละมังต่างๆ หมดปัญหาในช่วงน ้าท่วม ครัวเรือนเน้นผลผลิตไว้ บริโภคเอง ปลูกข้าวท านา เลี้ยงวัว หาปลา และปลูกผักเอง สร้าง ภูมิคุ้มกันทางเศรษฐกิจให้กับครอบครัวได้อย่างดีในช่วงสถานการณ์ โควิด จึงไม่ได้รับผลกระทบ ขยายปลูกผักที่หลากหลาย มีหลานหน้า บ้านรับผลผลิตขายให้ ใส่มอเตอร์ไซค์ขาย ได้รับรางวัล “ปลูกผักสวน ครัว ครอบครัวพอเพียง” ระดับอ าเภอ ” ป้ ำนำ “ อาชีพหลักท าสวนมังคุด อาชีพเสริมปลูกผัก (ช่วงว่างจากท า มังคุด) โดยเรียนรู้เพิ่มเติมเรื่องการท าปุ๋ ย การปรับสภาพดิน มีเด็กๆ ลูกหลานช่วยรดน ้า สร้างรายได้จากการขายผักทุกวัน วันละ 40-50 บาท ตลอดปี โดยผักที่ปลูกขายได้แก่ พริก ชะอม มะละกอ และใน หน้าแล้งมีการเสริมการปลูกผักกาด ” พี่ต้น ปำกพนัง “ มีข้อจ ากัดเรื่องพื้นที่ปลูก ที่บ้านไม่มีพื้นที่ ใช้พื้นที่ บ้านเพื่อนแต่ประสบปัญหาดินเค็มแต่ไม่ได้เป็ นอุปสรรคในการเข้าร่วม กิจกรรม พี่ต้นจัดเป็ นสวนหย่อมปนกับผักชนิดอื่นๆ จัดกระถางเป็ น ชั้นๆสามารถเคลื่อนย้ายขึ้นที่สูงได้ได้ประโยชน์จากการเก็บผักข้าง บ้าน ท าอาหารให้ลูกไปโรงเรียน ”


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 12 กำรขยำยผล - ขยายกลุ่มสิ่งแวดล้อมชุมชน - สร้างรายได้จากการรับ Pre-order ต้นกล้า - สนับสนุนครอบครัวเพื่อนบ้านให้มีรายได้เพิ่มขึ้นและ ท าการตลาดให้มีการแลกเปลี่ยนแบ่งปันในเครือข่าย ผักพื้นที่เขา พื้นที่ ทะเล จัดท าสื่อการเรียนรู้เพื่อขยายผลเป็ นคลิป Show and Share กำรเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจำกกำรร่วมโครงกำร 1) มีการปลูกผัก หลากหลายและหมุนเวียนตลอดทั้งปีมีกินทั้ง ปี ไม่ต้องซื้อ แต่บางครัวเรือนยังไม่สามารถปลูกไว้กินได้ ตลอดปี เนื่องจากสภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศไม่เป็ นใจ 2) สามารถลดรายจ่ายในครอบครัวได้ ซื้อเฉพาะที่ไม่ได้ปลูก 3) มีการแบ่งปันเพื่อนบ้าน นอกจากแบ่งปันผลผลิตแล้วยังเป็ น การแบ่งปันต้นกล้าให้เพื่อนบ้านด้วย 4) สร้างรายได้เสริมให้กับครอบครัวได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปริมาณ การปลูกของแต่ละครัวเรือน บางครัวเรือนกลายเป็ นรายได้ หลัก บางครัวเรือนเป็ นรายได้เสริมบางส่วน แต่บาง ครัวเรือนไม่ได้เน้นปลูกขาย ถ้ามีมากจะแบ่งปัน 5) สามารถสร้างเป็ นสวนหย่อมพอเพียงในบริเวณบ้าน โดย ปรับรูปแบบการปลูกตามความเหมาะสมของพื้นที่แต่ละ ครัวเรือน ได้แก่ ปลูกสวนหย่อมระหว่างต้นมะพร้าว ปลูกต้นไม้สลับผลไม้ สร้างเป็ นสวนหย่อมพอเพียง สร้าง บริเวณหน้าบ้าน ปลูกในกระถางเพื่อความสะดวกเวลาย้าย หนีน ้าท่วม ปลูกผักสลับกับดอกไม้ปลูกบริเวณข้างบ้าน เป็ น ต้น


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 13


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 14


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 15 ข้อที่ หัวข้อกำรประเมิน เกณฑ์กำรให้คะแนน มำก ที่สุด 4 มำก 3 ปำน กลำง 2 น้อย 1 1 มีการปลูกผัก อย่าง น้อย 10 ชนิด หมุนเวียนตลอดทั้ง ปี 2 สามารถลดรายจ่าย ในครอบครัวได้ 3 มีการแบ่งปันต่อ เพื่อนบ้าน 4 สร้างรายได้เสริม ให้กับครอบครัวได้ 5 สามารถสร้างเป็ น สวนหย่อมพอเพียง ในบริเวณบ้าน


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 16 ครอบครัวมีที่อยู่อำศัยปลอดภัย


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 17 3. ครอบครัวมีที่อยู่อำศัยปลอดภัย การท าบ้านให้น่าอยู่ บ้านเป็ นสถานที่ให้สมาชิกในครอบครัว ได้อยู่อาศัยพักผ่อนนอนหลับ ให้ความปลอดภัย ความสบายกายและ ความสบายใจแก่สมาชิกทุกคนในครอบครัว บ้านแต่ละหลังมีรูปแบบ การสร้างที่แตกต่างกันด้วยองค์ประกอบหลายๆ อย่าง ลักษณะของ บ้านจะเป็ นเช่นไร สมาชิกในบ้านก็สามารถท าให้บ้านน่าอยู่ น่าอาศัยได้ ด้วยการเอาใจใส่ดูแลรักษาท าความสะอาดบ้านอย่างสม ่าเสมอ ดังนั้น การท าความสะอาดบ้านให้มีสภาพเรียบร้อย จนเป็ นที่สะดุดตาก็ สามารถดึงดูดความสนใจให้สมาชิกในครอบครัว ได้อยู่อาศัยอย่างมี ความสุขมากกว่าบ้านที่ขาดการรักษาความสะอาด 1. กำรท ำควำมสะอำด ความสะอาดเป็ นปัจจัยส าคัญที่ท าให้บ้านน่าอยู่ การท าความ สะอาด ปัดกวาด เช็ดถูเป็ นประจ า ท าให้เครื่องเรือน เครื่องใช้ ปราศจากความสกปรกแม้แต่บริเวณบ้าน รั้ว สนาม ทางเดินเข้าบ้าน สะอาด ร่มรื่น ปราศจากขยะมูลฝอยต่างๆ 2. กำรสร้ำงควำมสะดวกสบำย จัดแบ่งพื้นที่บริเวณบ้านให้เกิดการใช้สอยที่เป็ นสัดส่วน เดินไปมาสะดวกและมีแสงแดดส่องถึง ระบายอากาศได้ดี มีการจัดวาง สิ่งของเครื่องใช้อ านวยความสะดวกไว้อย่างเหมาะสม สะดวกในการ หยิบใช้และการท ากิจกรรมต่าง ๆ 3. กำรตกแต่งให้สวยงำม นอกจากการจัดวางสิ่งของเครื่องใช้ให้เหมาะสมดังที่กล่าวใน ข้อที่ผ่านมา การจัดตกแต่งให้เป็ นระเบียบ ไม่เกะกะ การจัดวางสิ่งของ ให้เกิดความสมดุล การใช้สี การตกแต่งผ้าม่าน เพื่อให้ดูสบายตาก็ สามารถท าให้บ้านสวยงามน่าอยู่ยิ่งขึ้น 4. กำรจัดบ้ำนให้เกิดควำมปลอดภัย การจัดบ้านให้มีความปลอดภัยจากอุบัติเหตุต่างๆ เช่น มีลูกกรงที่ระเบียงกันพลัดตกบันไดให้แข็งแรง เก็บยา สารเคมีให้พ้น จากมือเด็ก ท าความสะอาดบ้าน บริเวณบ้านให้ปราศจากตะไคร่จับท า


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 18 ให้ลื่นในขณะท ากิจกรรม ปลูกบ้านห่างไกลจากสิ่งปฏิกูลและแหล่งแพร่ เชื้อโรคหรือมีวิธีการป้ องกันที่ถูกต้องเหมาะสม ถ้าหากไม่สามารถ หลีกเลี่ยงได้ ครอบครัวที่อยู่อำศัยปลอดภัย -ปรับปรุงหลังคาบ้านที่โดนลม ให้สมบูรณ์ป้ องกันฝนได้ -ปรังปรุงถมดินในที่ต ่าให้สะอาด ไม่ลื่น -ปรับปรุงห้องน ้า -ไฟ สร ุปผลโครงกำรผ่ำนเวทีสร ุปบทเรียน โครงการครอบครัวมีที่อยู่อาศัยปลอดภัยเป็ นโครงการ ต่อเนื่องของผู้เข้าร่วมโครงการที่มีการสะสมเงินออมไว้เพื่อน ามา ปรับปรุงอาคารที่พักอาศัยให้ถูกสุขภาวะ ปลอดภัยและเหมาะสมที่จะ เป็ นที่พักพิงกายและใจของคนในครอบครัว ผลการด าเนินการที่ผ่าน มา คือ ผู้เข้าร่วมโครงการได้สร้างบ้านใหม่ที่มีผนังมิดชิด ในตัวบ้าน ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะจัดระเบียบบ้านให้เป็ นสัดส่วนที่ชัดเจน โดยแยกสัดส่วนห้องนอนที่มีประตูปิ ดมิดชิด มีส่วนของห้องนั่งเล่นที่ เป็ นพื้นที่ศูนย์รวมสมาชิกในครอบครัว การจัดห้องน ้าไว้ในตัวบ้าน และปูพื้นห้องครัวให้ถูกสุขลักษณะ การจัดระบบสาธารณูปโภค น ้าประปา ถังเก็บน ้า การจัดการเรื่องความสะอาด ห้องครัวเดิมไม่มี เฉอะแฉะ ถูกสุขลักษณะมากขึ้น จัดการเรื่องความสะอาดของเล่นเด็ก กำรขยำยผล - มีแผนถมที่ให้สูงเท่ากัน - บริเวณบ้านจัดสวนดอกไม้ + ผักสวนครัว - มีแผนปลูกไม้ผลเพิ่มเติม


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 19 กำรเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจำกกำรร่วมโครงกำร - มีผนังบ้าน หลังคา ประตู หน้าต่าง ทุกอย่างมิดชิดแข็งแรง - มีการจัดสัดส่วนการใช้สอยชัดเจนและสะอาดเรียบร้อย ปลอดภัยส าหรับคนในครอบครัว (ห้องนอน, ห้องครัว เป็ นต้น) - มีสัดส่วนชัดเจนและมีความปลอดภัย กว้างขวาง สะดวก - มีห้องน ้า ห้องส้วม ที่สามารถใช้งานได้ดี ก่อนเข้าร่วมต้อง ไปเข้าห้องน ้าบ้านแม่ สะดวกในการใช้งาน - มีพื้นที่พูดคุยสร้างกิจกรรมร่วมกันเพื่อความอบอุ่นใน ครอบครัว โดยมีพื้นที่ส่วนกลางของบ้านไว้ท ากิจกรรมร่วมกันภายใน บ้านและนอกบ้านที่สะอาด ถูกสุขอนามัย เมื่อก่อนบ้านไม่สะอาด ได้ พัฒนาให้บ้านน่าอยู่ขึ้น ข้อ ที่ หัวข้อกำรประเมิน เกณฑ์กำรให้คะแนน มาก ที่สุด 4 มาก 3 ปาน กลาง 2 น้อย 1 1 มีผนังบ้าน หลังคา ประตู หน้าต่าง มิดชิดและแข็งแรง 2 มีการจัดสัดส่วนการใช้สอย ชัดเจนและสะอาดเรียบร้อย ปลอดภัยส าหรับคนใน ครอบครัว (ห้องนอน ,ห้องครัว เป็ นต้น) 3 มีห้องน ้า ห้องส้วม ที่ สามารถใช้งานได้ดี


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 20 ข้อ ที่ หัวข้อกำรประเมิน เกณฑ์กำรให้คะแนน มาก ที่สุด 4 มาก 3 ปาน กลาง 2 น้อย 1 4 ภายในบ้านและนอกบ้าน สะอาด ถูกสุขอนามัย


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 21 ครอบครัวเงินออม


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 22 4. ครอบครัวเงินออม เป็ นการให้ความรู้แนะน า วิธีการออมเงินอย่างง่าย 1.เก็บก่อนใช้วิธีนี้ เป็ นวิธีการเริ่มต้นง่ายๆ ของคนอยากมี เงินออม ใครๆ ก็สามารถท าได้ เห็นผลง่าย แต่ต้องบังคับตัวเองไม่ให้ เอาเงินส่วนนี้ไปใช้ วิธีการ: เมื่อเงินเดือนออก แบ่ง 10% ของเงินเดือนเพื่อเป็ น เงินออมทันที และเงินก้อนนี้เพื่อการออมอย่างเดียวเท่านั้น ห้ามน า ออกมาใช้เด็ดขาด ส่วนที่เหลือ แบ่งเป็ นส่วนๆ เพื่อจ่ายหนี้ จ่ายค่าใช้จ่ายรายเดือนต่างๆ และใช้จ่ายประจ าวัน วิธีการออมเงินแบบ นี้เป็ นวิธีที่จะสามารถช่วยเราสร้างวินัยในการออมเงินได้ 2.พกเงินน้อยลง หากเราเป็ นอีกคนที่ใช้เงินเก่ง เก็บเงิน ไม่เก่ง มีเท่าไหร่ใช้หมดเท่านั้น แปลว่าเราเป็ นคนพกเงินเยอะ ก็ใช้เยอะ แล้วถ้าพกเงินน้อยล่ะ? วิธีการ: พกเงินติดตัวจ านวนน้อยกว่าที่เคย อาจจะใช้ระบบ การค านวณค่าใช้จ่ายรายวัน ว่าเราใช้เงินต่อสัปดาห์เท่าไหร่ แล้วพก พอดีเท่านั้น และคอยเตือนตัวเองว่านี่คือเงินที่เราต้องใช้ทั้งสัปดาห์ ไม่ใช่ใช้หมดใน 1 วัน แล้วถอนเงินเป็ นรายสัปดาห์แทนที่จะถอนเมื่อเงิน หมด ก็จะสามารถช่วยออมเงินได้เช่นกัน 3.งดใช้บัตรเครดิต จ ากัดการใช้บัตรเครดิตเพื่อช าระ ค่าใช้จ่ายประจ าเดือนเท่านั้น แทนที่จะใช้บัตรเครดิตในการซื้อสินค้า วิธีการ: ใช้บัตรเครดิตเพื่อการช าระค่าใช้จ่ายรายเดือน เช่น ค่าเช่า ค่าน ้า ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ผ่อนสินเชื่อ หรือหากต้องซื้อสินค้า ชิ้นใหญ่ ราคาแพง เช่น ต้องซื้อตู้เย็นใหม่ เครื่องซักผ้า ฯลฯ ถึงใช้บัตร เครดิต ไม่ใช้บัตรเครดิตในการช็อปปิ้ งสินค้าฟุ่ มเฟื อย หรือสินค้าจุกจิก


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 23 เพราะแบบนั้นจะท าให้เราเผลอใช้บัตรเครดิตบ่อยมาก ท าให้มียอด จุกจิกเต็มไปหมด 4.เก็บเฉพำะ เช่น เหรียญ แบงค์ 20 บำท แบงค์ 50 บำท เป็ นต้น เป็ นวิธีออมเงินที่ง่ายอีกอย่างที่สามารถท าได้ วิธีการ เช่น : ได้เหรียญ 10 บาทมาเมื่อไหร่ เก็บเมื่อนั้น เก็บไว้ในมุมมืดของกระเป๋ าตังค์ กลับบ้านก็เอาไปหยอดใส่กระปุก หรือ กระป๋ องที่เราเตรียมไว้ พอกระปุกเต็ม หรืออาจจะครบระยะเวลาที่เรา ก าหนด ก็น าเงินส่วนนี้ไปฝากธนาคาร 5.เปิ ดบัญชีฝำกประจ ำระยะยำว หากเราเป็ นคนที่ใจอ่อน กับตัวเอง วิธีการบังคับตัวเองให้ออมเงินอีกอย่าง คือการเปิ ดบัญชี เงินฝากประจ าระยะยาว อาจจะเริ่มที่ 5 ปี ก่อน แล้วค่อยขยับขยายก็ได้ วิธีการ: เปิ ดบัญชีเงินฝากประจ า เริ่มต้นที่ฝากประจ าเป็ น เวลา 5 ปี แล้วฝากเงินจ านวนเท่าๆ กันในบัญชีนั้น ทุกๆ เดือน โดยใช้ ระบบการตัดยอดเงินอัตโนมัติตามจ านวน และระยะเวลาที่เราต้องการ แล้วน าฝากเข้าบัญชีฝากประจ าทุกเดือน เพราะว่าบัญชีเงินฝากประจ า เราจะไม่สามารถน าเงินออกมาได้จนกว่าจะครบก าหนดระยะเวลา การตั้งให้มีการตัดเงิน โอนเงินอัตโนมัติจะท าให้เราไม่ต้องคิดมาก ไม่ต้องไปโอนเงิน หรือฝากเงินด้วยตัวเอง ไม่ต้องท าบัตร ATM ด้วย แค่นี้เราก็มีเงินเก็บทุกๆ เดือนแน่นอน 6.หยอดกระปุกออมสิน หยอดกระปุก เรื่องเด็กๆ แต่บาง คนหยอดกระปุกก็จริงแต่ก็แคะกระปุกมาใช้ตลอด แบบนี้ก็เก็บเงินไม่ อยู่เหมือนกัน จริงๆ แล้วการหยอดกระปุก จะให้ดี เราควรท าการแบ่ง กระปุกออกเป็ นหลายๆ จุดประสงค์ แต่ละกระปุกก็มีเป้ าหมายที่ แตกต่างกันไป


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 24 วิธีการ: หากระปุกออมสินมาหลายๆ ใบ น ากระดาษเขียน จุดประสงค์การเก็บเงินของแต่ละกระปุกมาแปะไว้ที่กระปุก เช่น ส าหรับเที่ยวงานเดือนสิบ ซื้อหนังสือ เป็ นต้น อย่าลืมแบ่ง 1 กระปุกไว้ ส าหรับการออมเงินด้วย อาจจะแบ่งหยอดกระปุก วันละ 5,10,20 บาท ต่อกระปุก หยอดโดยแบ่งจากจ านวนเงินที่เหลือใช้รายวัน ราย สัปดาห์แบบนี้ก็มีเงินสะสมเพื่อใช้ซื้อสิ่งที่ต้องการ แล้วยังมีเงินหยอด กระปุกส าหรับการออมเงินอีกด้วย 7.เอำชนะใจตัวเอง สิ่งที่ยากที่สุดส าหรับการออมเงิน คิดว่าคงเป็ นการเอาชนะใจตัวเอง ไม่ซื้อ ไม่ใช้ ไม่เอาเงินในกระปุก ออกมาใช้จ่าย แต่จะท ายังไงถึงจะบังคับตัวเอง สร้างวินัยในการออม เงินใหม่ได้? วิธีการ: สร้างเป้ าหมายระยะยาวส าหรับการออมเงินให้ ตัวเอง ว่าเราต้องการออมเงินเพื่ออะไร ซื้อบ้าน ซื้อรถ ดูแลครอบครัว ซื้อคอนโด ฯลฯ มีเป้ าหมายชัดเจนในการออมเงิน แล้วใช้เป้ าหมายนี้ เตือนตัวเองว่าเราต้องออมเงินไปเพื่ออะไร หากเรามีเป้ าหมายชัดเจน ส าหรับการออมเงิน ว่าเราต้องการออมเงินไปเพื่ออะไร แม้ว่าจะเป็ น การออมเงินเพื่อการมีเงินสะสม เพื่ออนาคตที่สุขสบาย ก็ยังเป็ น เป้ าหมายที่ดีแล้วเราก็ใช้เป้ าหมายเหล่านี้มาเตือนตัวเองเวลาเราคิดจะ แคะกระปุกเอาเงินไปใช้ ว่าเราอุตส่าห์อดทนออมเงินเพื่ออะไรกันแน่ เมื่อเรานึกถึงเป้ าหมายแล้ว รับรองว่าสามารถเอาชนะใจตัวเองได้ แน่นอน 8.ไม่ยึดติดแบรนด์เนม พวกเสื้อผ้า ของใช้ต่างๆ ไม่จ าเป็ นต้องใช้ของแบรนด์เนมก็ได้ เลือกยี่ห้อที่ราคาดี คุณภาพดี คุ้มค่ากับราคา ใช้งานได้นานๆ จะดีกว่าเลือกของแพงๆ เพราะจะได้ใช้ แล้วดูดี


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 25 วิธีการ: เลือกสินค้า ของใช้ที่คุณภาพ และความเหมาะสมของ คุณภาพและราคา โดยใช้จุดประสงค์ที่เราต้องการซื้อเป็ นหลัก 9. ลดค่ำใช้จ่ำย วันๆหนึ่ง คนท างานต้องกินต้องใช้ กาแฟ ชา ขนม นม เนย ของขบเคี้ยวแก้ง่วง ถ้าซื้อบ่อย ซื้อประจ า ก็เปลือง เงิน อะไรลดได้ก็ลดดีกว่า ถือซะว่าเป็ นการลดน ้าหนักไปในตัวด้วยเลย วิธีการ: ลดการซื้อชา กาแฟ เปลี่ยนมาซื้อชาเป็ นกล่อง กาแฟ ผงชงเอง ลดปริมาณขนมขบเคี้ยวที่รับประทานประจ าวัน วางแผน อาหารการกินของตัวเองจริงๆ แล้วหากเราท ากับข้าวเองอยู่แล้ว เราก็สามารถท ากับข้าวเพิ่มตอนกลางคืน แล้วน าที่เหลือใส่กล่องมา รับประทานที่ออฟฟิ ศแทนก็ได้ เป็ นการลดค่าใช้จ่าย แถมได้กินคลีน กินอาหารดีๆ อีกด้วย แล้วก็ไม่ได้เป็ นการเพิ่มสิ่งที่เราท าประจ าวันแต่ อย่างใดเลยด้วย จริงๆ แล้วคนทุกคนสามารถเก็บออมเงินได้ทุกคน เพียงแค่เราจะต้องตั้งใจสร้างวินัยในการออมเงินของเราให้ได้เสียก่อน ตั้งใจว่าจะเก็บเงินจริงจัง ตั้งเป้ าหมายการออมเงินให้ตัวเอง แล้วใช้ เป้ าหมายนี้ในการเตือนตัวเอง เราก็จะสามารถเก็บออมเงินได้อย่าง แน่นอน สร ุปผลโครงกำรผ่ำนเวทีสร ุปบทเรียน จากเวทีถอดบทเรียนได้สะท้อนถึงความส าเร็จของผู้เข้าร่วม โครงการว่า มีวินัยทางการเงินมากขึ้น การสร้างนิสัยออมเงินจากรุ่น สู่รุ่น และประโยชน์ของการใช้เงินออมยามฉุกเฉิน น้องมิ้นต์“คุณแม่เลี้ยงเดี่ยวสัญชาติเมียนมาที่ตั้งใจเก็บเงินให้ลูกมาก ที่สุด แต่ประสบปัญหาในช่วงโควิด-19 ท าให้เงินออมหมดไป ปัจจุบัน เริ่มกลับมามีงาน มีรายได้จึงจะเก็บเงินเข้าบัญชีธนาคารทุกๆ 2 เดือน”


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 26 พี่แมว “ออมเผื่อฉุกเฉิน ให้ชีวิตเราด าเนินไปได้ไม่ต้องหยุดชะงัก พี่ แมวเดิมมีประกันสังคม ม.39 อยู่แล้ว ส่งเสริมให้ลูกแฝดเล่นจับฉลาก หยอดกระปุก10,15, 20 บาททุกวัน โดยมีสมุดบัญชีเงินออม มีการ ออมแบบมีเป้ าหมาย อีกทั้งร่วมโครงการสะสมเงินออมของมูลนิธิ อย่างไรก็ตามในช่วงสถานการณ์โควิด-19 มีการน าเงินออมมายืมใช้ ยามฉุกเฉิน เด็กๆได้มีส่วนร่วมสมทบทุนยามฉุกเฉิน เช่น ซื้อหม้อหุง ข้าวใหม่ทดแทนใบที่เสีย ” ก้ะยะ (สระบัว) “ออมกันทั้งครอบครัว สัจจะออมทรัพย์ชุมชน เดือน ละ 100 บาท และออมกองทุนอวนของกรมประมง อีกทั้งมีสมุดเงิน ออมให้ลูก ๆ ทุกคนได้ฝึ กออมเงินกับธนาคารและสัจจะออมทรัพย์ ชุมชนทุก ๆ เดือน” กำรขยำยผล มีการเชิญชวนสมาชิก ร่วมโครงการออมเงิน 25 ปี 25 บาท ของสหทัยมูลนิธิ เพื่อแบ่งปันให้กับน้องๆ รุ่นต่อไป กำรเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจำกกำรร่วมโครงกำร 1) มีการออมเงินอย่างสม ่าเสมอโดยวิธีต่างๆ มีในกระปุก บัญชี ธนาคาร ออมเงินในระบบ แต่ในช่วงที่ผ่านมาแต่ละครอบคัว ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 ท าให้เงินออม ลดลง 2) มีสมุดบัญชีธนาคารและมีเงินหมุนเวียน มีสมุดบัญชีธนาคาร ทั้งในชื่อลูก และบัญชีชื่อแม่ 3) มีการบันทึกการออมเงินแต่ไม่สม ่าเสมอ 4) มีรายได้สมดุลกับรายจ่าย ไม่มีหนี้สิน บางครั้งรายได้ไม่ พอจะดึงเงินเก็บมาใช้ยามฉุกเฉิน 5) บางครัวเรือนยังมีหนี้สินแต่สามารถจัดการได้ทยอยจ่ายทุก เดือน


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 27 ข้อ ที่ หัวข้อกำรประเมิน เกณฑ์กำรให้คะแนน มำก ที่สุด 4 มำก 3 ปำน กลำง 2 น้อย 1 1 มีการออมเงินอย่าง สม ่าเสมอโดยวิธีต่างๆ 2 มีสมุดบัญชีธนาคาร และมีเงินหมุนเวียน 3 มีการบันทึกการออม เงิน 4 มีรายได้สมดุลกับ รายจ่าย 5 มีหนี้สินแต่สามารถ จัดการได้


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 28


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 29 ครอบครัวปลอดอบำยมุข


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 30 5.ครอบครัวปลอดอบำยมุข อบำยมุข 6 คือ วิถีชีวิต 6 อย่าง แห่งความโลภ และความ หลงที่ท าให้เกิดความเสื่อม ความฉิบหายของชีวิต ประกอบด้วย 1. ดื่มน ้ำเมำ (Addiction to intoxicants) คือ พฤติกรรมชอบดื่มสุรา เป็ นนิจ 2. เ ที่ ยวกล ำงคื น ( Roaming the streets at unseemly hours) คือ พฤติกรรมชอบเที่ยวกลางคืนเป็ นนิจ 3. เที่ยวดูกำรละเล่น (Frequenting shows) คือ พฤติกรรมชอบเที่ยวดู การแสดงหรือการละเล่นเป็ นนิจ 4. เล่นกำรพนัน (Indulgence in gambling) คือ พฤติกรรมชอบเล่น การพนันเป็ นนิจ 5. ค บ ค น ชั่ว เ ป็ น มิ ต ร ( Association with bad companions) คื อ พฤติกรรมชอบคบหาคนพาลเป็ นนิจ 6. เกียจคร้ำนกำรงำน (Habit of idleness) คือ พฤติกรรมชอบเกียจ คร้านในการงานเป็ นนิจ การเกียจคร้านในการงาน แห่งอบายมุข 6 หมายถึง การอยู่ นิ่งไม่ยอมท าการงานเพื่อหาเลี้ยงชีพตน และครอบครัว หรือไม่ยอมท า กิจอันเป็ นหน้าที่ของตนอย่างเป็ นนิจ เช่น ไม่หางานท า ไม่ไปโรงเรียน เป็ นต้น


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 31 สร ุปผลโครงกำรผ่ำนเวทีสร ุปบทเรียน ก้ะรอ “มีเป้ าหมาย ไม่ให้ลูกยุ่งเกี่ยวกับอบายมุข โดยใช้หลัก ศาสนาน าชีวิต มุ่งการเรียนเน้นเรียนศาสนา เป็ นเกราะป้ องกัน อบายมุขของชุมชน ใช้กระบวนการสอน ตักเตือน ลูกชาย 2 ลูก สาว 4 คน ไม่ให้ยุ่งเกี่ยวอบายมุข ทั้งครอบครัวอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ เหมาะสม เพื่อนบ้านเป็ นเครือญาติที่ยึดหลักศาสนาน าชีวิตเช่นเดียวกัน ลูกๆจึงคบเพื่อนฝูงจะอยู่ในกลุ่มปลอดอบายมุข ” กำรขยำยผล พูดตักเตือนลูกหลานในชุมชน แต่ก็จะมีทั้งคนที่รับฟังและคน ที่ไปรับฟัง แต่ก็ไม่หยุดสอนและตักเตือน กำรเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจำกกำรร่วมโครงกำร 1) ครอบครัวสามารถลด/ เลิกอบายมุขทุกประเภท เช่น หวย การพนัน โทรศัพท์ อินเตอร์เน็ต เหล้า บุหรี่ เป็ นต้น หลีกเลี่ยงสิ่งไม่ดีอยู่เสมอ 2) ครอบครัวปฏิบัติตามหลักศาสนา ด าเนินชีวิตตามหลัก ศาสนา และมีการสั่งสอนกันในบ้าน 3) ครอบครัวมีเงินออมบ้างเล็กน้อย 4) ไม่มีความรุนแรงในครอบครัวพูดคุยกันด้วยเหตุผล


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 32 ข้อ ที่ หัวข้อกำรประเมิน เกณฑ์กำรให้คะแนน มำก ที่ส ุด 4 มำก 3 ปำน กลำง 2 น้อย 1 1 ครอบครัวสามารถ ลด/ เลิกอบายมุขทุก ประเภท เช่น หวย การพนัน โทรศัพท์ อินเตอร์เน็ต เหล้า บุหรี่ เป็ นต้น 2 ครอบครัวปฏิบัติ ตามหลักศาสนา 3 ครอบครัวมีเงินออม 4 ไม่มีความรุนแรงใน ครอบครัว


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 33


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 34 ครอบครัวมีอำชีพมั่นคง


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 35 6.ครอบครัวมีอำชีพมั่นคง พื้นฐานความเข้มแข็งของครอบครัวมาจากสภาพเศรษฐกิจที่ เพียงพอต่อการด ารงชีพดังนั้นการที่สมาชิกในครอบครัวมีอาชีพ การงานที่สุจริตและมั่นคงจึงเป็ นพื้นฐานส าคัญของครอบครัวเข้มแข็ง กิจกรรมการส่งเสริมอาชีพมั่นคง คือการส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วม กิจกรรมค้นหาศักยภาพตัวเองและพัฒนาตนเองให้สามารถมีสัมมา อาชีพที่หาเลี้ยงตัวเองและครอบครัวได้ อีกทั้งมีการพัฒนาส่งเสริมฝี มือแรงงานตามความถนัดและ ความสนใจภายใต้พื้นฐานทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนหรือใกล้เคียงกับที่ อยู่อาศัยเพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถที่จะประกอบอาชีพและ ด ารงชีวิตอยู่ในพื้นที่ได้ สร ุปผลโครงกำรผ่ำนเวทีสร ุปบทเรียน กิจกรรมอาชีพมั่นคง ไม่มีรูปแบบกิจกรรมที่แน่นอน แต่เป็ น กิจกรรมที่แต่ละครอบครัวที่ร่วมโรงการพัฒนาตนเองทางด้านอาชีพ ตามพื้นฐานทรัพยากรที่มีอยู่ พี่พร “วางแผนผลผลิตให้ได้ทั้งปี เพราะมีทุน ที่ดิน เครื่องมือ อยู่แล้ว โดยพี่พรปลูก แตงโม ยาเส้น และท านา โดยลูกๆใช้เวลาว่าง จากการเรียนช่วยงานในครอบครัว เช่น ช่วยตากยาเส้น” เมื่อเข้าร่วมโครงการ ได้ท าให้มีความรู้ความสามารถในการ วางแผนรายได้ จัดสรรรายจ่าย และลงทุนแต่ละปีนอกจากนี้ยังได้ เรียนรู้ในการ อบรมความรู้เสริมเรื่องปุ๋ ย ดิน การปลูกพืชผักสวน ครัว ก้ะอะ “สร้างอาชีพใหม่เป็ นรถพ่วงขายกับข้าว และผลไม้แต่ เมื่อเจอกับสถานการณ์โควิดได้ปรับเปลี่ยนอาชีพตามความเหมาะสม มาปลูกผักสวนครัว ปรับชนิดพืชที่ปลูกตามสภาพอากาศ และขาย ผลผลิตให้กับคนในชุมชน”


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 36 ก้ะเย้าะ หน้าทับ “อาชีพรับจ้างแกะปูและปลูกผักสวนครัว ปลูกผักริมรั้ว เพราะไม่มีที่ดิน จึงต้องปรับตามสภาพ เช่นปลูกในตู้เย็น เก่า โดยผลผลิตที่ได้ ได้น ามาบริโภคในครัวเรือนและขายในชุมชนเป็ น รายได้เสริมให้กับครอบครัว” กำรขยำยผล เริ่มมีเงินเก็บที่สามารถปลูกไม้ผลที่เป็ น การลงทุนระยะยาว มีแผนการปลูกไม้ผลทุเรียน/ยางเพิ่มขึ้น อีกทั้ง มีการแนะน าคนรู้จัก เรื่องการปลูกยาเส้น การแนะน าให้คนรู้จักสร้างอาชีพเสริม เพื่อเสริมช่องทางการ หารายได้ตามศักยภาพของตัวเอง มีการถ่ายทอดองค์ความรู้เช่น การวิธีการขออนุญาตปลูกยาสูบ กำรเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจำกกำรร่วมโครงกำร 1) มีอาชีพมั่งคง รายได้สม ่าเสมอ พอใช้จ่ายตลอดปีมีงานท า ตลอด แต่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมบางรายยังมีอาชีพไม่มั่นคง เนื่องจากปัญหาสุขภาพ 2) มีรายได้สม ่าเสมอ รายได้ของแต่ละปี เพียงพอส าหรับ ค่าใช้จ่าย ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมส่วนหนึ่งได้รายได้จาก การท างานและลูกหลานส่งเสีย 3) มีอาชีพเสริม เพื่อให้มีรายได้เสริม มีรายได้ทุกวันที่ออกไป ท างาน สร้างรายได้จากหลายช่องทาง เช่น ท านา ท าสวน ปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ ช่วยงานในศูนย์ 4) มีความสุขกับอาชีพที่ท า เพราะมีความรู้และอุปกรณ์ ภูมิใจ กับงานที่ท า ได้ท างานที่ชอบและอยากท า 5) ครอบครัวมีรายได้ รายจ่ายที่สมดุลกัน รายได้ของแต่ละปี เพียงพอส าหรับค่าใช้จ่าย 6) ครอบครัวมีเงินออม มีเงินออมส าหรับค่าใช้จ่ายและลงทุน มี เงินฝากธนาคาร และมีความสุขกับการเก็บออม


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 37 ข้อ ที่ หัวข้อกำรประเมิน เกณฑ์กำรให้คะแนน มำก ที่สุด 4 มำก 3 ปำน กลำง 2 น้อย 1 1 มีอาชีพมั่งคง 2 มีรายได้สม ่าเสมอ 3 มีอาชีพเสริม เพื่อให้มี รายได้เสริม 4 มีความสุขกับอาชีพที่ ท า 5 ครอบครัวมีรายได้ รายจ่ายที่สมดุลกัน 6 ครอบครัวมีเงินออม


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 38


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 39


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 40 บทส่งท้ำย ข้อมูลที่ปรากฏในหนังสือเล่มนี้ เป็ นเพียงผลการด าเนินงาน บางส่วน จากการบอกเล่าของผู้เข้าร่วมประชุมถอดบทเรียน ยังมีผล การด าเนินงาน ความรู้สึกสุข ภาคภูมิใจ และ ภาพความรู้สึกอีก มากมาย ที่สะท้อนจากบรรยากาศของผู้เข้าร่วมประชุม และผู้เข้าร่วม กิจกรรมอีกจ านวนหนึ่ง ที่ไม่ได้บรรจุอยู่ในหนังสือเล่มนี้ อย่างไรก็ตามกิจกรรมที่เกิดขึ้น ได้สะท้อนถึงผลลัพธ์ การ เปลี่ยนแปลง ตามเป้ าหมายโครงการที่สหทัยมูลนิธิมุ่งมั่น ก่อสร้างให้ เกิดผล และก าลังขยายผล จากครอบครัวสู่ครอบครัว จากชุมชนสู่ ชุมชน และที่ส าคัญคือ จากรุ่นสู่รุ่น


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 41 รำยชื่อผู้เข้ำร่วมกิจกรรมถอดบทเรียนครอบครัวต้นแบบ วันที่ 21 ธันวำคม 2565 ณ ศูนย์เรียนรู้ชีวิตเพื่อเด็กและครอบครัว สหทัยมูลนิธิ ภำคใต้ ที่ ชื่อ-สก ุล ชื่อ เล่น เบอร์โทร ประเภทต้นแบบ หมำยเหต ุ 1 นางปราณี กล่อมเสนาะ สาว 0833919751 ครอบครัวที่อยู่ อาศัยมั่นคง 2 นางบุปผา นาคนาคา แมว 0637201866 ครอบครัวเงิน ออม 3 นางผกา เผือกพิลาศ กุ้ง 0658976903 ครอบครัว สวนหย่อม พอเพียง 4 นางอุไร ภูปันค า ไก่ 0870619430 ครอบครัว สวนหย่อม พอเพียง 5 นางอุไรรัตน์ แสงพันธ์ตา ปาน 0629814891 ครอบครัว สวนหย่อม พอเพียง ครอบครัว เดียวกัน 6 นายมานิตย์ จันทร์เพ็ญ ต้น 0629814891 ครอบครัว สวนหย่อม พอเพียง 7 นางพรรณี รุ่งเมือง นา 0848297576 ครอบครัว สวนหย่อม พอเพียง 9 นางจิราพร เสรีสมบูรณ์ ล้าน 0903286848 ครอบครัวการใช้ ทรัพยากรอย่าง คุ้มค่า 10 นางจุฑาทิพย์ ศรีวาริ นทร์ เฟิ ร์น 0926568104 ครอบครัว สวนหย่อม พอเพียง


ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาครอบครัวผู้ใช้บริการมุ่งสู่ครอบครัวสหทัยต้นแบบ 42 ที่ ชื่อ-สก ุล ชื่อ เล่น เบอร์โทร ประเภทต้นแบบ หมำยเหต ุ 11 นางมิ้น ศรีวะลัง มิ้น ครอบครัวเงิน ออม 12 นางอาภรณ์ เชาวลิต พร 0622689376 ครอบครัวอาชีพ มั่นคง 13 นางเพ็งจันทร์ มากพริ้ม จันทร์ 0836432824 ครอบครัว สวนหย่อม พอเพียง 14 นางกรกมล เมฆฉาย กร กมล 0985166217 ครอบครัว สวนหย่อม พอเพียง 15 นางสุไหว โต๊ะหมาด บ๊ะ 0835075829 ครอบครัวอาชีพ มั่นคง 16 นางกฤษณา ทอง ประดิษฐ์ ย๊ะ 0660260187 ครอบครัวเงิน ออม 17 นางประณีต ดารามัน อ๊ะ ครอบครัวอาชีพ มั่นคง 18 นางยินดี โต๊ะสัน ยินดี 0833304490 ครอบครัว สวนหย่อม พอเพียง 19 นางนัสมา พิกุลกาฬ นัสมา 0990253692 ครอบครัวปลอด อบายมุข 20 นางลีเยาะ กุลเหล็ม เยาะ ครอบครัวอาชีพ มั่นคง 21 นางนิภา โต๊ะหมาด นิภา ครอบครัว สวนหย่อม พอเพียง


Click to View FlipBook Version