The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kwangpiazzolla40, 2022-04-19 23:33:11

ประวัติดนตรียุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ

Renaissance Per-WPS Office

Renaissance Period

ยคุ ฟื้นฟศู ลิ ปวทิ ยาการ

By ม.วรี ยทุ ธ มุงหมาย

Renaissance Period
ยคุ ฟื้นฟูศลิ ปวิทยาการ

- อยรู ะหวางชวงประมาณ 1400-1600

- ถอื กาํ เนิดในประเทศอติ าลี

- Renaissance แปลวาการเกดิ ใหม

- นักเขยี นในยคุ นี้เชอ่ื วา เป็ นการเกดิ ใหมของ
อารยธรรมทเ่ี จรญิ รงุ เรอื งของยคุ กรกี -โรมนั
โบราณ

ภมู หิ ลงั ทางดานประวตั ศิ าสตร

• - ลัทธมิ นุษยนิยม ( Humanism ) ไดเรมิ่ กอ
ตวั ขนึ้ อยางมน่ั คง

- การลมสลายของกรงุ คอนสแตนตโิ นเปิ ล ในปี
และการสิน้ สุดของสองครามรอยปี ในค.ศ.1453
- การคนพบโลกใหมของโคลัมบสั ในปี ค.ศ.
1492
- ในชวงศตวรรษที่ 15 มีศลิ ปิ นทส่ี ําคญั
เกดิ ขนึ้ มากมาย ไดแก Leonardo da Vinci,
Raphael, Michaelangelo

- เกิดศาสนาคริสตนิกายโปรเตสแตนต ผมู ี
อทิ ธพิ ลตอการปฏริ ูปศาสนาในปี ค.ศ. 1517
คอื Martin Luther

- นักวิทยาศาสตรทส่ี ําคญั คอื Copernicus,
Galileo
- ทางดานวรรณกรรม กวีทสี่ ําคญั คอื
PetrachและMachiavelli ชาวอติ าลี
ShakespeareและSpencerชาวองั กฤษ

สภาพสงั คมทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอดนตรใี นยคุ
Renaissance

- ความเจรญิ ทางการศกึ ษาทําใหประชาชนเรม่ิ มี
ความคดิ เห็นเป็ นของตวั เอง

- เกดิ การผลิตงานศลิ ปะทมี่ ีลักษณะพิเศษ
เฉพาะตวั ของศลิ ปิ นแตละคน เพื่อเชดิ ชคู ณุ คา
ของตวั เอง

- ดนตรสี มยั นี้แบงไดเป็ น 2 ประเภทที่
สําคญั คอื ดนตรใี นโบสถและดนตรี
ชาวบาน

- การเสอื่ มถอยอาํ นาจของพระสนั ตะปาปา
ทาํ ใหขุนนางในราชสํานักคาดหวงั ใหนัก
ดนตรีสรางงานเพอื่ การศาสนาและเพอ่ื ความ
บนั เทงิ ของบคุ คลในราชสํานัก

- เรม่ิ มีแนวความคดิ ทจ่ี ะแบงแยกเป็ น
ประเทศตางๆ เกดิ กลุมนักดนตรที ไี่ ดขยาย
ออกไปทวั่ ยโุ รปและผลิตผลงานทอ่ี อกมา
เป็ นนานาชาติ

สภาพสงั คมทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอดนตรใี นยคุ
Renaissance

- เกดิ การพิมพโนตเพลงสําหรบั ดนตรหี ลายแนว
ครงั้ แรก ในปี ค.ศ. 1501

- เทคโนโลยีสมยั ใหม ทําใหมีการปรบั ปรงุ การทํา
เครอ่ื งดนตรี ทําใหผปู ระพนั ธเพลงไดประพนั ธบท
เพลงทเ่ี ป็ นสํารยั งสําหรบั เคคอื่ งดนตรโี ดยแท
รวมทงั้ ผลงานสําหรบั เครอ่ื งคยี บอรด และไดมี
การจัดตงั้ วงสําหรบั เครอื่ งดนตรขี นึ้ อกี ดวย

ดนตรใี นศตวรรษที่ 15

- ศนู ยกลางของดนตรใี นชวงศตวรรษท1่ี 5 อยทู ่ี
องั กฤษและแควน Burgundy
- ศนู ยกลางของดนตรใี นชวงปลายศตวรรษท่ี 15
ถงึ ศตวรรษท่ี 16 อยทู ด่ี นิ แดนแถบ Franco-
Flemish

รปู แบบการประพนั ธทส่ี ําคญั ของดนตรี
องั กฤษและ Burgundy

- ผปู ระพนั ธเพลงชาวองั กฤษเป็ นพวกแรกทไ่ี ด
พฒั นารปู แบบซงึ่ แตกตางไปจากรปู แบบดงั้ เดมิ
ของพวกยคุ กลาง อทิ ธพิ ลของพวกเขาสงผลไป
ถงึ นักดนตรใี นแถบราชสํานักของBurgundy
Mass
- กลายมาเป็ นชอื่ ของรปู แบบประพนั ธขนาดใหญ
ชนิดหน่ึง สวนใหญคงใชในศาสนพิธอี ยู
ผปู ระพนั ธชาวBurgundyทม่ี ีบทบาทสําคญั ตอ
Mass ในศตวรรษที่ 15 คอื Guillaume Dufay ( กี
โยม ดฟู าย ) c.1400-1474

Motet
- motet ไดถกู ฟื้นฟใู หกลับมาใชในพิธกี รรมทาง
ศาสนาอกี ครงั้ หน่ึง โดยผทู นี่ ํากลับมาคอื John
Dunstable ( c.1390-1453 )

รปู แบบการประพนั ธทส่ี ําคญั ของดนตรี
องั กฤษและ Burgundy

Secular Music ( ดนตรชี าวบาน )
- Chanson ( ซองซง ) เป็ นรปู แบบหลักขอวดนตรี
ชาวบานหลายแนวเสียง ซงึ่ โดยทวั่ ไปหมายถงึ
บทประพนั ธทใ่ี ชคํารองเป็ นภาษาฝรง่ั เศษ
ผปู ระพนั ธเพลงทสี่ ําคญั คอื Gilles Binchois ( จิล
แบงชวั ) c. 1400-1460

รปู แบบบทประพนั ธของดนตรกี ลมุ
Franco-Flemish

ชาวฟรงั โกเฟลมมิชทอ่ี ยทู างตอนเหนือของได
กลายมาเป็ นผนู ําในชวงปลายศตวรรษที่ 15 โดย
ไดเผยแพรเทคนิคขยายออกไปทวั่ ยโุ รปซงึ่ ตอมา
มีอทิ ธพิ ลตอดนตรใี นศตวรรษท่ี 16 เป็ นอยางมาก

Canon
- บทประพนั ธ Canon ยคุ นี้ไดพฒั นามาจาก
Caccia ในศตวรรษท1่ี 4 แตไดถกู ละทงิ้ ไปในชวง
ตนศตวรรษที่ 15

Mass
- บทประพนั ธเพลง Mass ในยคุ นี้พฒั นามาจาก
บทเพลง Mass ในยคุ กลาง

รปู แบบบทประพนั ธของดนตรกี ลมุ
Franco-Flemish

Motet
- Motet ของกลุม Franco-Flemish จะ
ประกอบดวยทอนทเ่ี ป็ นลักษณะแบบ
Homophony
- คตี กวีคนสําคญั ของกลุม Franco-Flemish คอื
Joaquin Desprez c.1440-1521 ( จอสแกง็ เด
เปร)

Secular Music
- Chanson ( ซองซง ) ยงั เป็ นทน่ี ิยมสําหรบั ดนตรี
ชาวบานในศตวรรษนี้อยู
- Lieder ( ลีดเดอร ) ดนตรชี าวบานแบบเยอรมนั
เฟื่ องฟใู นชวงปลายศตวรรษที่ 15 ถงึ สิน้ สุด
ศตวรรษท่ี 16

รปู แบบบทประพนั ธของดนตรกี ลมุ
Franco-Flemish

Secular Music
- Frottola เป็ นตนตระกลู ของ Madrigal แบบ
อติ าลี เป็ นทนี่ ิยมในปลายศตวรรษท1ี่ 5 ถงึ ตน
ศตวรรษท่ี 16
- ผปู ระพนั ธเพลงทสี่ ําคญั สําหรบั ดนตรชี าวบาน
เป็ นชาวFranco-Flemish ในยคุ นี้ไดแก (
Johannes Ockeghem c.1410-1497 ( โยฮันเนส
โอคกี มั ), Antoine Busnois c.1430-1492 ( ออง
ตวน บนู ัว ) และ Josquin Deprez ( จอสแกง็ เด
เปร )

ดนตรใี นศตวรรษท่ี 16

- เทคนิคของดนตรแี บบ Franco-Flemish ยงั คง
ดําเนินตอมาและมีอทิ ธพิ ลทว่ั ยโุ รป
- ในทางดนตรเี ทคนิคของเพลงรองแบบหลาย
แนวเสียงไดพฒั นามาจนถงึ จุดสูงสุดของ
ประวตั ศิ าสตรดนตรตี ะวนั ตก
- ดนตรศี าสนายงั คงมีบทบาทสําคญั โดยกลุมท่ี
นับถอื ศาสนาครสิ ตนิกายโรมนั คาทอลิก แตเพลง
ของกลุมทน่ี ับถอื ศาสนาครสิ ตนิกายโปรแตสแตน
ทโดยเฉพาะในเยอรมนั นี ฝรงั่ เศษและองั กฤษได
เรมิ่ พฒั นามาเรอ่ื ยๆจนถงึ ปลายของยคุ Baroque
- ดนตรชี าวบานมีบทบาทเดนชดั ขนึ้ ภายใต
ระบบอปุ ถมั ภของเหลาขนุ นางในราชสํานัก

- มีการใชรปู พรรณแบบ Homophony รวมถงึ
Polyphony

รปู แบบบทประพนั ธของดนตรศี าสนาครสิ ต
นิกายโรมนั คาทอลกิ

- บทประพนั ธประเภท MassและMotet ยงั คง
เป็ นบทประพนั ธทมี่ ีอทิ ธพิ ลตอดนตรสี ําหรบั
ศาสนาในศตวรรษนี้อยู

Mass
- บทประพนั ธเพลงMass ทเี่ ป็ นทนี่ ิยมในยคุ นี้
เรยี กวา Parody mass หรอื Imitatio mass
ผปู ระพนั ธเพลงคนสําคญั ทป่ี ระพนั ธบทเพลง
Mass ไวเป็ นจํานวนทากคอื Josquin Deprez (
จอสแกง็ เดเปร )

Motet
- โครงสรางของ Motet ไมไดมีการเปลี่ยนแปลง
ไปจากชวงตนศตวรรษ

สํานักและผปู ระพนั ธเพลงทส่ี ําคญั ในยคุ
ศตวรรษท่ี 16 ตอนตน

1. สํานัก Franco-Flemish ทคี วามสําคญั ใน
ยโุ รปอยางมาก นักประพนั ธทมี่ ีชอื่ เสียงไดแก
Orlande de Lassus c.1532-1594, Phillippe de
Monte c.1521-1603

2. สํานัก โรมนั แถบอติ าลี ผนู ําทางดานดนตรี
เพื่อศาสนาในกรงุ โรม ไดแก Giovanni Pierluigi
da Palestrina c.1525-1594

3. สํานักเสปน นักประพนั ธคนสําคญั ไดแก
Cristóbal de Morales c.1550-1553 , Tomás
Luis de Victoria c.1548-1611

4. สํานัก Venetian แถบอติ าลี นักประพนั ธคน
สําคญั ไดแก Adrian Willaert c.1490-1562 เป็ น
คนทเี่ ตบิ โตมาจากกลุม Franco-Flemishแตเป็ น
ผกู อตงั้ สํานัก Venetian แหงอติ าลี อกี ทงั้ ยงั มี
Andrea Gabrieli c.1510-1586 และ Giovanni
Gabrieli c.1557-1612 ซง่ึ เป็ นนักประพนั ธทอ่ี ยู
ในชวงรอยตอของยคุ Renaissance และ
Baroque อกี ดวย

สํานักและผปู ระพนั ธเพลงทสี่ ําคญั ในยคุ
ศตวรรษท่ี 16 ตอนตน

5. สํานักองั กฤษ บทประพนั ธทสี่ ําคญั มากท่ี
เกย่ี วของกบั Mass และ Motet มาจากนัก
ประพนั ธของสํานักองั กฤษ ผปู ระพนั ธเพลงคน
สําคญั ไดแก William Byrd c.1543-1623, John
Taverner c.1490-1545 และ Thomas Tallis
c.1505-1585

6. สํานักเยอรมนั บทประพนั ธทปี่ ระพนั ธสวน
ใหญจะเป็ นบทเพลงสําหรบั ศาสนาครสิ ตนิกาย
โรมนั คาทอลิก นักประพนั ธทส่ี ําคญั ไดแก Hans
Leo Hassler c.1562-1612, Ludwig Senfl
c.1486-1543 ซงึ่ ไดรบั อทิ ธพิ ลมาจากดนตรขี อง
สํานั กVenetian

THANK YOU


Click to View FlipBook Version