The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thararat019, 2021-04-01 01:48:36

test

social studies

133

กรอบแนวคิด

สาระสาคัญ กลุ่มบุคคลในระบบเศรษฐกิจมี 2 กลุ่ม คือ ผูบ้ ริโภคกับ
ผูผ้ ลิต ผูบ้ ริโภคเป็นผูท้ ี่มีความตอ้ งการสินคา้ และบริการไปใชใ้ น
มาตรฐาน/ การอุปโภคและบริโภค ความตอ้ งการของผูบ้ ริโภคจะมีมากหรือ
ตวั ชี้วดั น้อยเพียงใดข้ึนอยู่กบั ราคาสินคา้ รายได้ จานวนผูซ้ ้ือ การศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล ส่วนผู้ผลิตเป็ นผูผ้ ลิตสินค้าและ
บริการออกมาจาหน่ายซ่ึงความต้องการของผูผ้ ลิตสินค้าและ
บ ริ ก า รจะ มี ม า ก หรื อ น้อ ยเพี ยงใด ข้ ึน อ ยู่กับ รา ค า สิ น ค้า ท่ีขาย
จานวนผผู้ ลติ เป้าหมายของผูผ้ ลติ ราคาปัจจยั การผลิตและเทคนิค
ของการผลิต การซ้ือขายสินค้าและบริการจึงเป็ นการตกลงกัน
ระหว่างผบู ริโภคกบั ผผู้ ลติ หรือผขู้ าย

มาตรฐาน ส.3.1
เขา้ ใจและสามารถบริหารจดั การทรพั ยากรในการผลติ และ

การบริโภคการใช้ ทรพั ยากรทีม่ อี ยจู่ ากดั ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
และคุม้ คา่ รวมท้งั เขา้ ใจหลกั การของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการ
ดารงชีวติ อยา่ งมดี ลุ ยภาพ

ตวั ชีว้ ดั ม.3/1
อธิบายกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ

สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1) ความหมายและประเภทของตลาด
2) ความหมายและตวั อยา่ งของอปุ สงคแ์ ละอุปทาน
3) ความหมายและความสาคญั ของกลไกราคาและการกาหนดราคา

ในระบบเศรษฐกิจ
4) หลกั การปรบั และเปลยี่ นแปลงราคาสินคา้ และบริการ

ที่มาภาพ http://www.ilikesticker.com

134

แบบทดสอบก่อนเรียน

คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนเลือกคาตอบท่ถี กู ตอ้ งแลว้ ทาเครื่องหมาย  ลงในตารางคาตอบ
เลม่ แบบฝึกกิจกรรมประกอบบทเรียนสาเร็จรูป (15 คะแนน)

1. ตลาดประเภทใด ไม่จำเป็ น ตอ้ งมกี ารโฆษณาสินคา้

ก. ตลาดก่ึงแข่งขนั ก่ึงผกู ขาด ข. ตลาดแข่งขนั สมบูรณ์

ค. ตลาดผขู้ ายนอ้ ยราย ง. ตลาดผกู ขาด

2. ตลาดประเภทใดทีม่ ีสินคา้ คลา้ ยคลึงกนั และมผี ขู้ ายมาก

ก. ตลาดผูกขาด ข. ตลาดผขู้ ายนอ้ ยราย

ค. ตลาดแขง่ ขนั สมบรู ณ์ ง. ตลาดก่ึงแข่งขนั ก่ึงผูกขาด

3. “นา้ อัดลม” จดั เป็นสินคา้ ในตลาดประเภทใด

ก. ตลาดผกู ขาด ข. ตลาดผขู้ ายนอ้ ยราย

ค. ตลาดแข่งขนั สมบูรณ์ ง. ตลาดก่ึงแข่งขนั ก่ึงผูกขาด

4. ความตอ้ งการของบคุ คลใดก่อให้เกิดอปุ สงค์

ก. นิล อยากไดน้ าฬิกาแต่เงนิ ไมพ่ อ จึงรอซ้ือเม่อื เงนิ เดือนออก

ข. มกุ อยากไดร้ ถจกั ยานยนตแ์ ต่เงินไม่พอ จึงตดั สินใจซ้ือแบบเงินผอ่ น

ค. หยก อยากซ้ือคอนโดแตเ่ งินไม่พอ จึงหางานพเิ ศษทาเพือ่ เก็บเงินกอ่ น

ง. แกว้ อยากซ้ือโทรศพั ทม์ ือถอื แตเ่ งินไมพ่ อ จึงเลือกใชเ้ คร่ืองเดิมไปกอ่ น

5. เพราะเหตุใดในช่วงวนั วาเลนไทน์ ดอกกุหลาบจึงมรี าคาแพงข้ึน

ก. อปุ สงคล์ ดลง ข. อุปสงคเ์ พม่ิ ข้นึ

ค. อปุ ทานลดลง ง. อุปทานเพม่ิ ข้ึน

6. ตามกฎของอุปสงค์ “ถ้ากาหนดให้ส่ิงอื่นๆ คงที่ ปริมาณสินค้าและบริการทีผ่ ้ซู ื้อต้องการซือ้ จะผัน

แปรตรงข้ามกับระดบั ราคา” หมายถึงอะไร

ก. ถา้ สินคา้ ราคาเพ่ิมข้ึน ปริมาณการเสนอซ้ือจะสูงข้ึน

ข. ถา้ สินคา้ ราคาเพิ่มข้ึน ปริมาณการเสนอขายจะลดลง

ค. ถา้ สินคา้ ราคาเพมิ่ ข้ึน ปริมาณการเสนอขายจะเพมิ่ ข้ึน

ง. ถา้ สินคา้ ราคาเพิม่ ข้ึน ปริมาณการเสนอซ้ือจะลดลง

7. ปัจจยั ขอ้ ใดมอี ทิ ธิพลนอ้ ยทส่ี ุดต่อการตดั สินใจซ้ือของผบู้ ริโภค

ก. รสนิยมของผบู้ ริโภค ข. การโฆษณาสินคา้

ค. รายไดข้ องผบู้ ริโภค ง. ราคาของสินคา้

ที่มาภาพ http://www.ilikesticker.com

135

8. ตามกฎอปุ ทานของผูผ้ ลิต เกษตรกรจะขยายพ้นื ท่ีปลูกสวนยางพารากนั มากเมอื่ ใด

ก. ฝนฟ้าดี ข. ราคายางดิบสูงข้นึ

ค. ราคายางดิบถูกลง ง. มีแรงงานราคาถกู

9. ถา้ ปกตมิ งั คุดราคากิโลกรัมละ 35 บาท ตอ่ มาราคาลดต่าลงอยา่ งรวดเร็วเหลอื กิโลกรัมละ 15 บาท

ภาวะเช่นน้ีบง่ บอกใหผ้ ุผ้ ลติ ทราบวา่ เกิดปัญหาอะไรข้นึ

ก. ชาวสวนจะเลกิ ปลุกมงั คดุ

ข. ตน้ ทนุ การปลูกมงั คดุ สูงข้นึ

ค. ปริมาณสินคา้ มมี าก ลน้ ตลาด

ง. ปริมาณสินคา้ มนี อ้ ย ขาดตลาด

10. ขอ้ ใดสอดคลอ้ งกบั กฎของอุปทาน

ราคา ปริมาณการ

(บาท) เสนอขาย (กก.)

ก. 5 10
8 10

ข. 5 10
8 20

ค. 8 10
8 20

ง. 8 10
5 20

11. ขอ้ ใดแสดงถงึ การทางานของกลไกราคา

ก. การลดลงของราคาสินคา้ เมอ่ื เกิดอุปสงคส์ ่วนเกิน

ข. การลดลงของราคาสินคา้ เมือ่ เกิดอปุ ทานส่วนเกิน

ค. การลดลงของปริมาณการผลติ เม่ือเกิดอปุ สงคส์ ่วนเกิด

ง. การลดลงของราคาและปริมาณการผลิตพร้อมๆ กนั เกิดอปุ สงคส์ ่วนเกิน

12. ราคาที่ทาให้ปริมาณอุปสงคม์ ากกว่าปริมาณอปุ ทาน คือขอ้ ใด

ก. ราคาตลาด ข. ราคาดุลยภาพ

ค. ราคาที่ต่ากว่าราคาดลุ ยภาพ ง. ราคาท่สี ูงกว่าราคาดุลยภาพ

ทีม่ าภาพ http://www.ilikesticker.com

136

13. แนวคิดของอุปสงคแ์ ละอุปทาน(กลไกราคา) สามารถนาไปใชใ้ นตลาดใดมากท่สี ุด

ก. ตลาดผูกขาด ข. ตลาดผขู้ ายนอ้ ยราย

ค. ตลาดแข่งขนั สมบรู ณ์ ง. ตลาดทกุ ประเภท

14. “มือท่ีมองไมเ่ ห็น” ในทางเศรษฐศาสตร์หมายถงึ ขอ้ ใด

ก. กลไกราคา ข. พอ่ คา้ คนกลาง

ค. การกาหนดราคาโดยรัฐ ง. การแทรกแซงราคาของรัฐ

15. กราฟเสน้ ในขอ้ ใดมลี กั ษณะที่เป็นไปตามกฎของอุปสงค์

ก. ราคา

ปริมาณ

ข. ราคา

ปริมาณ

ค. ราคา

ปริมาณ

ง. ราคา

ปริมาณ

ที่มาภาพ http://www.ilikesticker.com

137

เฉลย

1 ง 6 ง 11 ข
2 ค 7 ข 12 ค
3 ข 8 ข 13 ค
4 ข 9 ค 14 ก
5 ข 10 ข 15 ข

เป็ นยงั ไงกันบ้าง
ได้คะแนนกนั เท่าไรครับ ?

ท่มี าภาพ http://www.ilikesticker.com

138

บทเรียนสาเร็จรูป สาระเศรษฐศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

เล่มที่ 1

กลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ

เวลาเรียน
1 ชั่วโมง

ที่มาภาพ http://www.ilikesticker.com

139

สาระสาคัญ

ตลาดในทางเศรษฐศาสตร์ คือ การซ้ือขายสินคา้ และบริการดว้ ยวิธีการต่างๆ โดย
ไมจ่ าเป็นตอ้ งมสี ถานที่เหมอื นตลาดโดยทว่ั ไป และตลาดสามารถแบ่งไดห้ ลายลกั ษณะท้งั น้ี
ข้ึนอยกู่ บั วตั ถปุ ระสงคใ์ นการแบ่ง เช่น แบ่งตามชนิดสินคา้ ลกั ษณะการขาย ลกั ษณะการใช้
สินคา้ และลกั ษณะการแข่งขนั โดยตลาดในทางเศรษฐศาสตร์จะแบ่งไดเ้ ป็นตลาดแข่งขนั
สมบูรณ์ และตลาดแข่งขนั ไม่สมบูรณ์ โดยตลาดแข่งขันสมบูรณ์เป็นตลาดท่ีไม่สามารถ
เกิดข้ึนไดจ้ ริง

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายความหมายและลกั ษณะของตลาดในระบบเศรษฐกิจได้
2. วิเคราะหป์ ระเภทของตลาดโดยใชเ้ กณฑใ์ นการแบง่ ประเภทของตลาดได้
3. วิเคราะห์ขอ้ ดี ขอ้ เสียของตลาดแขง่ ขนั สมบรู ณ์ได้

ที่มาภาพ http://www.ilikesticker.com

140

กรอบที่ 1 ความหมายของตลาด

สวสั ดีครับ วนั น้ีผมจะพาเพ่ือนๆ มารู้จกั ตลาด
ในทางเศรษฐศาสตร์กนั นะครับว่าเป็นอยา่ งไร
และจะเหมือนกบั ตลาดที่เราไปเดินซ้ือของกนั
หรือไม่? มาติดตามกนั เลยครบั

ตลาด (Market) โดยทว่ั ไปหมายถงึ
สถานทีท่ มี่ ีผูซ้ ้ือ ผูข้ าย มาตดิ ตอ่ ทา
การซ้ือขายกนั เช่น ตลาดนดั
ตลาดสดเทศบาล ตลาดน้า เป็นตน้

ทมี่ าภาพ https://www.thetrippacker.com

ตลาดในทางเศรษฐศาสตร์ หมายถงึ การซ้ือขาย ที่มาภาพ https://www.teeneeprakarn.com
สินคา้ และบริการดว้ ยวิธีการตา่ งๆ ซ่ึงอาจมกี าร
พบกนั โดยตรงระหวา่ งผซู้ ้ือและผขู้ าย จะมี
สถานทีใ่ นการซ้ือหรือไมก่ ็ได้ เช่น การซ้ือสินคา้
ผ่านทางเวบ็ ไซตซ์ ่ึงเป็นวิธีการท่ีผซู้ ้ือไม่
จาเป็นตอ้ งพบกบั ผขู้ ายโดยตรง แตอ่ าศยั ระบบ
ธนาคารในการชาระค่าสินคา้ และผขู้ ายอาจส่ง
สินคา้ ให้ทางไปรษณียห์ รือวิธีการตา่ งๆ

คาถาม ตลาดในทางเศรษฐศาสตร์มคี วามแตกต่างจากตลาดโดยทวั่ ไปอยา่ งไร

ที่มาภาพ http://www.ilikesticker.com

141

แนวคาตอบ ตลาดในทางเศรษฐศาสตร์จะมีสถานทีใ่ นการซ้ือหรือไมก่ ไ็ ด้ ส่วน
ตลาดโดยทวั่ ไปหมายถึง สถานทท่ี ี่มีผซู้ ้ือ ผูข้ าย มาติดตอ่ ทาการซ้ือขาย
กนั

กรอบที่ 2 ประเภทของตลาด

ตลาดอาจแบง่ ไดห้ ลายลกั ษณะ ท้งั น้ีข้นึ อยกู่ บั
วตั ถปุ ระสงคใ์ นการแบ่ง ดงั น้ีค่ะ

การแบ่งตลาด แบ่งตามชนดิ -ตลาดสินคา้ เกษตร ทาการซ้ือขายสินคา้ เกษตร เช่น ขา้ ว ผลไม้
สินค้า -ตลาดสินคา้ อตุ สาหกรรม ทาการซ้ือขายสินคา้ อตุ สาหกรรม เช่น
เครื่องจกั ร รถยนต์ เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า
แบ่งตามลกั ษณะ -ตลาดบริการ มกี ารซ้ือขายบริการตา่ งๆ เช่น บริการขนส่ง
การขายสินค้า ป-ตระลกาดนั ขภายั ยส่ง ทาการซ้ือขายสินคา้ จานวนมาก โดยผขู้ ายจะขายส่ง
พอ่ คา้ ปลกี แตไ่ ม่ขายให้ผบู้ ริโภคโดยตรง
แบง่ ตาม -ตลาดขายปลกี ทาการซ้ือขายสินคา้ ใหก้ บั ผูบ้ ริโภคโดยตรง สินคา้ ท่ี
การใชส้ ินค้า ทาการซ้ือขายในแต่ละคร้งั จะมจี านวนไม่มากนกั

แบ่งตามลักษณะ -ตลาดสินคา้ ผูบ้ ริโภคเป็นตลาดท่ีมผี บู้ ริโภคซ้ือสินคา้ ไปบริโภค
การแข่งขัน โดยตรง เช่น เส้ือผา้
-ตลาดสินคา้ ผูผ้ ลติ เป็นตลาดที่ผซู้ ้ือนาไปใชใ้ นการผลติ อีกทอด
หน่ึงมกั อยใู่ นรูปของวตั ถดุ ิบ เช่นน้ามนั

-ตลาดแข่งขนั สมบรู ณ์ เป็นตลาดทม่ี กี ารแข่งขนั อยา่ งเต็มทรี่ ะหวา่ งผู้
ซ้ือกบั ผูข้ าย ราคาสินคา้ ถูกกาหนดโดยกลไกตลาด
-ตลาดแขง่ ขนั ไม่สมบูรณ์ เป็นตลาดทม่ี ีผูซ้ ้ือหรือผขู้ ายมีอิทธิพลใน
การกาหนดราคาหรือปริมาณซ้ือขายสินคา้ ตามความไม่สมบูรณ์ของ
ตลาด

คาถาม ร้านคา้ สะดวกซ้ือ 7-Eleven จดั อยใู่ นตลาดประเภทใดไดบ้ า้ ง

ทมี่ าภาพ http://www.ilikesticker.com

แนวคาตอบ 142
ตลาดขายปลกี ตลาดสินคา้ ผบู้ ริโภค ตลาดแขง่ ขนั ไมส่ มบรู ณ์

กรอบท่ี 3 ตลาดตามลักษณะการแขง่ ขัน

ตลาดตามลักษณะการแข่งขัน จะพิจารณาจากจานวนของผูข้ าย จานวนผูซ้ ้ือ และลกั ษณะของ
สินคา้ ในตลาด ซ่ึงมีอิทธิพลตอ่ การกาหนดราคาขาย ปริมาณสินคา้ ทขี่ าย การกีดกนั ผขู้ ายรายอ่นื

ตลาดตามลกั ษณะการแขง่ ขนั แบ่งได้ 2
ประเภทใหญๆ่ คือ ตลาดแข่งขนั สมบรู ณ์
กบั ตลาดแข่งขนั ไม่สมบรู ณ์
ตลาด

ตลาดตามลกั ษณะการแข่งขนั

ตลาดแขง่ ขนั สมบรู ณ์ ตลาดแขง่ ขนั ไมส่ มบูรณ์
ตลาดกงึ่ แข่งขันกงึ่ ผูกขาด
ทม่ี าภาพ http://yingcharoen.co.th
ตลาดผขู้ ายน้อยราย
ตลาดผกู ขาด

คาถาม ตลาดแขง่ ขนั ไมส่ มบรู ณ์ มีกี่ประเภท อะไรบา้ ง

ทมี่ าภาพ http://www.ilikesticker.com

แนวคาตอบ 143
มี 3 ประเภท คือ ตลาดกง่ึ แขง่ ขันกึง่ ผูกขาด ตลาดผขู้ ายนอ้ ยราย และ ตลาดผกู ขาด

กรอบท่ี 4 ตลาดแขง่ ขันสมบูรณ์

ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ เป็นตลาดที่มีการแข่งขนั อยา่ งเต็มท่ีระหว่างผูซ้ ้ือ
กบั ผขู้ าย การกาหนดราคาจึงเกิดข้นึ จากท้งั ผซู้ ้ือและผูข้ าย โดยไมม่ ีปัจจยั อ่ืนๆ มามี
อทิ ธิพลในเรื่องราคาสินคา้ ลกั ษณะสาคญั ของตลาดแขง่ ขนั สมบูรณ์ มีดงั น้ี

1. มีผู้ซื้อและผู้ขายจานวนมาก ถึงแม้ว่าผูซ้ ้ือหรือ
ผูข้ ายรายใดรายหน่ึงจะหยุดซ้ือหรือขายสินค้าของ
ตนกไ็ ม่กระทบกระเทอื นต่อปริมาณสินคา้ ในตลาด

2. ผ้ซู ื้อและผ้ขู ายต่างรู้ถึงสภาพการณ์ในตลาดเป็ นอย่างดี เช่น

รู้ราคาซ้ือขาย ภาวะการผลิตสินคา้ ความตอ้ งการสินค้าใน ทม่ี าภาพ http://yingcharoen.co.th

ตลาด ซ่ึงไม่มผี ขู้ ายรายใดขายสินคา้ ในราคาสูงกวา่ ราคาตลาด

ท้งั หมดทม่ี ใี นตลาด

3. สินค้าท่ีซื้อขายในตลาดมลี ักษณะเหมือนกนั ทกุ ประการ คอื สามารถท่ี

จะใชท้ ดแทนกนั ไดผ้ ูซ้ ้ือจะไดร้ บั ความพอใจเหมือนกนั และเม่อื ใดท่รี ู้สึก ที่มาภาพ
https://www.posttoday.com
ไดร้ บั ความพอใจแตกต่างไปตลาดจะกลายไปเป็นตลาดแขง่ ขนั ไม่สมบรู ณ์

4. การตดิ ต่อซื้อขายจะต้องกระทาโดยสะดวก ท้งั ผซู้ ้ือและผขู้ ายสามารถติดตอ่ ซ้ือขาย
กนั ไดอ้ ยา่ งสะดวกและรวดเร็ว มกี ารเคลื่อนยา้ ยปัจจยั การผลติ อยา่ งเสรีโดยไมม่ ขี อ้ จากดั

5. หน่วยธุรกิจสามารถเข้าหรือออกจากธุรกิจโดยเสรี ไม่มี
ขอ้ จากดั หรือกีดขวางในการเขา้ มาประกอบธุรกิจของนกั ธุรกิจราย
ใหม่ และการเลิกกิจการเม่ือใดกไ็ ดโ้ ดยไม่มีผลกระทบต่อตลาด

ท่ีมาภาพ http://yingcharoen.co.th

คาถาม สินคา้ ในตลาดแข่งขนั สมบรู ณ์จะมลี กั ษณะเหมือนกนั ทกุ ประการ สามารถที่จะใช้
ทดแทนกนั ได้ ผซู้ ้ือจะไดร้ ับความพอใจเหมือนกนั สินคา้ ประเภทน้ีไดแ้ กอ่ ะไรบา้ ง

ที่มาภาพ http://www.ilikesticker.com

แนวคาตอบ 144
ไดแ้ ก่ สินคา้ ทางการเกษตร เช่น ออ้ ย มนั สำปะหลัง ข้าว ผกั ผลไม้ เป็นตน้

กรอบท่ี 5 ขอ้ ดี ข้อเสยี ของตลาดแขง่ ขนั สมบรู ณ์

ข้อดี
• ผผู้ ลติ ผลติ สินคา้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพสูงสุด เพอ่ื ใหต้ น้ ทนุ ต่าทส่ี ุด
• การแข่งขนั กระตนุ้ ใหม้ ผี ผู้ ลติ รายใหม่เขา้ มาแขง่ ขนั
• ผบู้ ริโภคไดร้ ับความพอใจสูงสุดในการเลือกซ้ือสินคา้ และบริการ
• การจดั สรรทรัพยากรมปี ระสิทธิภาพ การกระจายรายไดค้ ่อนขา้ งเสมอภาค

ข้อเสีย
• ในระยะยาวผูผ้ ลิตจะไดก้ าไรนอ้ ยมากหรือไดเ้ ท่าทุนเทา่ น้นั
• ไม่มกี ารแข่งขนั ระหวา่ งผผู้ ลติ อยา่ งแทจ้ ริง
• ผผู้ ลิตไม่มกี ารลงทุนจานวนมาก เพราะไดก้ าไรนอ้ ย

คาถาม ทาไมจึงมคี ากลา่ วว่า “ตลาดแขง่ ขนั สมบรู ณ์เป็นตลาดในอุดมคติ”

ท่ีมาภาพ http://www.ilikesticker.com

แนวคาตอบ 145

ในระยะยาวผู้ผลติ จะได้กำไรนอ้ ยทำให้ตอ้ งเลกิ กิจการ หรอื พยามสรา้ ง
จดุ เด่นให้สินค้าของตนเองจนกลายเปน็ ตลาดแข่งขนั ไมส่ มบูรณ์

วันน้ี จบเนื้อหาเร่ืองที่ 1 ทาลงในเล่ม
แล้วนะครับ เป็ นยงั ไงบ้าง? แบบฝึ กกจิ กรรม
ทคี่ ณุ ครูให้นะครับ
ไม่ยากใช่ไหมครับ?
เรามาลองทาแบบฝึ กกจิ กรรมท่ี 1.1
กันดูนะครับว่าเราจะเข้าใจกันรึเปล่า

ทีม่ าภาพ http://www.ilikesticker.com

146

แบบฝึ กกจิ กรรมที่ 1.1
เรื่อง ตลาดแข่งขนั สมบูรณ์

คาชี้แจง : ให้นกั เรียนเตมิ ขอ้ ความลกั ษณะสาคญั ของตลาดแขง่ ขนั สมบูรณใ์ หถ้ ูกตอ้ ง (10 คะแนน)

ผ้ซู ื้อ-ผ้ขู าย ลักษณะของสินค้า

........................................... ...........................................
........................................... ...........................................
........................................... ...........................................
........................................... ...........................................
........................................... ...........................................
...........................................
........................................... ....................................
........................................... ...........................................
.................................. ...........................................
........................................... ........................................
........................................... ...........................................
........................................... ...........................................
........................................... ...........................................
...................ข.้อ..ด.ี.................... ...........................................
........................................ ...................ข..้อ.เ.ส.ีย...................
...................................................................................... ........................................
...................................................................................... ...........................................
...................................................................................... ...........................................
...................................................................................... ...........................................
...................................................................................... ...........................................
................................................................................ ...........................................
........................................................................... ...........................................
...................................................................................... ...........................................
...................................................................................... ...........................................
...................................................................................... ...........................................
............................................................................ ...........................................
........................................... ...........................................
...........................................
........................................... .............................
...........................................
.................................... ........................ท...่มี...า..ภ...า.พ.....h..t.t.p..:.././.w...w...w.....i..l.i.k..e..s..t.i.c..k..e..r....c..o.m

147

บทเรียนสาเร็จรูป สาระเศรษฐศาสตร์
กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

เล่มที่ 1

กลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ

เวลาเรียน
1 ช่ัวโมง

ที่มาภาพ http://www.ilikesticker.com

148

สาระสาคัญ

ตลาดแข่งขนั ไม่สมบูรณ์ เป็นตลาดท่ีผูซ้ ้ือหรือผูข้ ายมีอิทธิพลในการกาหนดราคา
หรือปริมาณสินคา้ ในตลาด เน่ืองจากผูซ้ ้ือมีความพึงพอใจสินคา้ ของผูข้ ายรายหน่ึงมากกวา่
อกี รายหน่ึง หรืออาจเป็นเพราะผูซ้ ้ือผขู้ ายมนี อ้ ยเกินไป จึงเป็นผูผ้ ูกขาดในการกาหนดราคา
ดงั น้ันตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์จึงแบ่งไดเ้ ป็ น 3 ประเภท คือ ตลาดก่ึงแข่งขันก่ึงผูกขาด
ตลาดผขู้ ายนอ้ ยราย และตลาดผกู ขาด

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายความหมายและลกั ษณะของตลาดแข่งขนั ไม่สมบูรณไ์ ด้
2. วิเคราะห์ขอ้ ดี ขอ้ เสียของตลาดแข่งขนั ไมส่ มบรู ณไ์ ด้

ท่มี าภาพ http://www.ilikesticker.com

149

กรอบที่ 6 ตลาดแข่งขันไม่สมบรู ณ์

ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ เป็นตลาดที่ผูซ้ ้ือหรือผูข้ ายมีอทิ ธิพลในการกาหนดราคา
หรือปริมาณสินคา้ ในตลาด เน่ืองจากสินคา้ ส่วนมากมีลกั ษณะไม่เหมือนกนั ทาให้
ผูซ้ ้ือเกิดความพึงพอใจสินคา้ ของผูข้ ายคนหน่ึงมากกว่าอีกคนหน่ึง

ประเภทของตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์

1. ตลาดกึ่งแข่งขันก่ึงผูกขาด มีลักษณะคล้ายกับ
ตลาดแข่งขนั สมบูรณ์ คือ มีผูซ้ ้ือและผูข้ ายจานวนมาก
ผู้ผลิตรายใหม่สามารถเข้าสู่ตลาดได้ง่าย แต่ส่ิงที่
แตกต่างกนั คือ สินคา้ ของผูผ้ ลิตแต่ละรายอาจแตกตา่ ง
กันในด้านรูปลักษณ์ ราคา หรือเพียงความรู้สึกของ
ผบู้ ริโภค สินคา้ ในตลาดประเภทน้ีส่วนใหญเ่ ป็นสินคา้
ทจี่ าเป็นตอ้ งใชใ้ นชีวิตประจาวนั เช่น ผงซกั ฟอก สบู่
ยาสีฟัน ยาสระผม แป้ง

ท่มี าภาพ https://thai.alibaba.com

คาถาม มปี ัจจยั ใดบา้ งที่ทาให้ตลาดแขง่ ขนั สมบูรณ์กลายเป็นตลาดก่ึงแขง่ ขนั ก่ึงผูกขาด

ทม่ี าภาพ http://www.ilikesticker.com

150

แนวคาตอบ รูปลกั ษณ์ ราคา หรือเพียงความรู้สึกของผบู้ ริโภค

กรอบที่ 7 ตลาดแขง่ ขนั ไม่สมบรู ณ์

2. ตลาดผ้ขู ายน้อยราย คอื แต่ละรายจะผลิตและจาหน่าย
สินคา้ เป็นสดั ส่วนมากในตลาด ผขู้ ายจะไม่ใชร้ าคาเป็นเคร่ืองมือ
ในการแข่งขนั เพราะราคาสินคา้ จะมีความใกลเ้ คยี งกนั
กิจการหรือธุรกิจในตลาดผขู้ ายนอ้ ยราย เช่น บริษทั ผลิต

น้าอดั ลม บริษทั ปนู ซีเมนต์ ตลาดหนงั สือพมิ พ์ รถทวั ร์
เป็ นตน้

ทม่ี าภาพ http://outlethalf.com ที่มาภาพ http://www.boondeetransport.com

ทม่ี าภาพ https://www.prachachat.net ท่มี าภาพ http://www.thaizad.com

คาถาม ถา้ ผขู้ ายในตลาดผขู้ ายนอ้ ยรายมีส่วนแบง่ ในตลาดมากกว่าผขู้ ายรายอ่ืนๆ จะเกิดอะไรตามมา

ท่มี าภาพ http://www.ilikesticker.com

151

แนวคาตอบ จะทาให้ตลาดกลายเป็ นตลาดผูกขาด

กรอบท่ี 8 ตลาดแขง่ ขันไม่สมบูรณ์

3. ตลาดผูกขาด มีผผู้ ลติ หรือผขู้ ายเพียง
รายเดียวทาให้ผขู้ ายมีอทิ ธิพลเหนือราคา
เช่น รถไฟ โรงงานยาสูบ น้าประปา

ไฟฟ้า เป็นตน้

ที่มาภาพ https://sites.google.com/site/pikhunrthfikanthexa

ที่มาภาพ https://pea.job.thai.com

ที่มาภาพ https://prachatai.com

ที่มาภาพ https://hilight.kapook.com/view/64131

คาถาม ตลาดประเภทใดที่ผขู้ ายสามารถกาหนดราคาไดต้ ามตอ้ งการ

ทีม่ าภาพ http://www.ilikesticker.com

152

แนวคาตอบ ตลาดผกู ขาด

กรอบที่ 9 ปัจจัยท่กี ่อใหเ้ กดิ การผูกขาด

การผูกขาดอาจเกิดจากสาเหตุต่างๆ ดังนี้
1. กฎหมายให้อานาจรัฐวสิ าหกจิ ในการดาเนินกิจการแต่เพียงรายเดียว เช่น
ไฟฟ้า น้าประปา โทรศพั ท์ รถไฟ
2. การได้สัมปทานจากรัฐบาล ในกิจการอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง เช่น สัมปทานรงั นก
สัมปทานเหมืองแร่ เป็นตน้
3. เป็ นเจ้าของปัจจยั การผลติ แต่เพยี งผ้เู ดยี ว
4. ข้อจากัดทางด้านเงินทนุ การผลิตสินคา้ บางชนิดตอ้ งใชเ้ งินลงทนุ จานวน
มาก ทาให้บุคคลทวั่ ๆไป ไม่สามารถหาเงนิ มาลงทุนทาการผลิตแขง่ ขนั ได้ จึง
เกิดการผกู ขาดข้นึ
5. ข้อจากดั ทางด้านเทคโนโลยี การคดิ คน้ เทคโนโลยีใหม่ๆ ไดส้ าเร็จจาทาให้
ธุรกิจมอี านาจในการผกู ขาดสินคา้ น้นั ๆได้

คาถาม ปัจจยั ท่กี ่อให้เกิดการผกู ขาด ไดแ้ กอ่ ะไรบา้ ง

ที่มาภาพ http://www.ilikesticker.com

แนวคาตอบ 153

กฎหมายใหอ้ านาจรัฐวิสาหกิจ การไดส้ มั ปทานจากรฐั บาล เป็นเจา้ ของปัจจยั
การผลติ แตเ่ พียงผเู้ ดียว ขอ้ จากดั ทางดา้ นเงินทนุ ขอ้ จากดั ทางดา้ นเทคโนโลยี

กรอบท่ี 10 ขอ้ ดี ขอ้ เสยี ของตลาดแขง่ ขนั ไม่สมบรู ณ์

ข้อดี

• สามารถควบคุมการบริโภคและการใหส้ วสั ดิการได้ ซ่ึงเป็นกิจการทร่ี ัฐเขา้
ไปผกู ขาดการผลิต เพอื่ ใหไ้ ดบ้ ริโภคสินคา้ ในราคาต่า เช่นกิจการรถไฟ
องคก์ ารขนส่งมวลชน เป็นตน้
• สามารถควบคมุ สภาพแวดลอ้ มได้ โดยควบคมุ มใิ ห้มจี านวนผผู้ ลติ มาก
เกินไป
• เป็นผลดีตอ่ การผลติ สินคา้ พ้ืนฐานทางเศรษฐกิจ เช่น การไฟฟ้า ประปา ทร่ี ฐั
ดาเนินการใหป้ ระชาชนในการบริโภคในราคาที่เป็นธรรม
• เป็นการสร้างแรงจงู ใจให้ภาคเอกชนตดั สินใจมาลงทนุ ผลิตเนื่องจากมกี าร
ลงทุนสูงจึงไม่ค่อยมีคู่แข่ง

• การจดั สรรทรัพยากรไม่เป็นธรรม เม่อื มผี ผู้ ลิตผกู ขาดหรือมีผผู้ ลติ นอ้ ย ผผู้ ลิต

จะผลติ สินคา้ ดอ้ ยคณุ ภาพ เอาเปรียบแรงงาน และจาหน่ายในราคาสูง

• ส่งผลกระทบตอ่ การบริโภค ผบู้ ริโภคขาดทางเลือกในการบริโภคสินคา้ จึงตอ้ ง

ซ้ือสินคา้ ในราคาสูง เมื่อเทียบกบั คุณภาพ

• มีการแข่งขนั นอ้ ย ผผู้ ลิตรายอืน่ ไมส่ ารถเขา้ มาแขง่ ขนั ได้ ผบู้ ริโภคจึงตอ้ ง

บริโภคสินคา้ ในราคาสูง ข้อเสีย

คาถาม การที่รฐั เป็นผผู้ กู ขาดการผลติ ไฟฟ้า ประปา ส่งผลตอ่ ประชาชนอยา่ งไร

ท่มี าภาพ http://www.ilikesticker.com

แนวคาตอบ 154
ทาให้ประชาชนมีไฟฟ้า และน้าประปา ในราคาทีเ่ ป็นธรรม

วนั นี้ จบเนือ้ หาเรื่องที่ 2 ทาลงในเล่ม
แล้วนะครับ เป็ นยังไงบ้าง? แบบฝึ กกจิ กรรม
ที่คณุ ครูให้นะครับ
ไม่ยากใช่ไหมครับ?
เรามาลองทาแบบฝึ กกิจกรรมท่ี

1.2, 1.3, 1.4
กนั ดูนะครับว่าเราจะเข้าใจกนั รึเปล่า

ท่ีมาภาพ http://www.ilikesticker.com

155

แบบฝึ กกจิ กรรมท่ี 1.2
เร่ือง ความหมายและประเภทของตลาด

คาชีแ้ จง : นกั เรียนสรุปความหมายและประเภทของตลาด ลงในแผนผงั ความคดิ (10 คะแนน)

ตลาด

หมายถึง

.........................................................................................
................................................................
.........................................................................................
...............................................................................
......................................ป..ร.ะ.เ.ภ..ท.ข..อ.ง..ต.ล..า.ด..................................
.........................................................................................
.........................................................................................
.........................................................................................
........................

.................. .................. .................. ..................
.................. ..................
.................. .................. .................. ..................
.................. ..................
.................. .................. .................. ..................
.................. ..................
.................. .................. .................. ..................

.............. .............. .................. ..................
.................. ..................
.................. .................. .................. ..................
.................. ..................
.................. .................. .................. ..................
.................. ..................
.................. .................. .............. ..............
.................. ..................
.................. ..................
.............. ..............
.................. .................. .................. ..................
.................. ..................
.................. .................. .................. ..................

.................. ..................

.................. ..................

.................. ..................

.................. ..................

..........ท..ี่ม.า.ภาพ http://www..i.li.k.e.s.ti.c.k.e.r.c.o.m.

.................. ..................

.................. ..................

.................. ..................

156

แบบฝึ กกิจกรรมท่ี 1.3
เรื่อง ความหมายและประเภทของตลาด

คาชี้แจง : นกั เรียนอ่านขอ้ ความทก่ี าหนดใหแ้ ลว้ พิจารณาว่าอยใู่ นตลาดประเภทใดโดยเขียน
เครื่องหมาย ✓ ลงในช่องทส่ี ัมพนั ธ์กนั (10 คะแนน)

ข้อความ ตลาด ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
แข่งขนั ตลาด ตลาดผ้ขู าย ตลาดกงึ่ แข่งขนั
1. ร้านซ่อมเครื่องใชไ้ ฟฟ้า สมบรู ณ์ ผกู ขาด น้อยราย กึ่งผูกขาด
2. บริษทั โคก้ เป็นคูแ่ ข่งกบั เป๊ บซี่
3. โรงสีขา้ ว
4. ณเดช เปิ ดร้านขายโทรศพั ทข์ าดทนุ จึง
เลิกกิจการ
5. กิจการไฟฟ้า น้าประปา
6. สินคา้ ส่วนใหญ่ เป็นสินคา้ ทาง
การเกษตร
7. ผผู้ ลิตรายใหมจ่ ะเขา้ มาแข่งขนั ไดย้ าก
หรือไม่สามารถทาได้
8. บริษทั รถยนตฮ์ อนดา้ ถูกน้าท่วมเสียหาย
มาก
9. ผผู้ ลติ สามารถเขา้ มาแขง่ ขนั ในตลาดได้
ง่ายโดยไม่ถกู กีดกนั
10. สรยทุ ธ อา่ นหนงั สือพมิ พไ์ ทยรฐั
เดลนิ ิวส์ มติชน

ทม่ี าภาพ http://www.ilikesticker.com

157

แบบฝึ กกจิ กรรมท่ี 1.4
เร่ือง ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์

คาชีแ้ จง : ใหน้ กั เรียนเตมิ ขอ้ ความลกั ษณะสาคญั ของตลาดแข่งขนั ไม่สมบูรณ์ใหถ้ กู ตอ้ ง (10 คะแนน)

ผ้ซู ื้อ-ผ้ขู าย ลกั ษณะของสินค้า

ตลาดกึ่งแข่งขนั ก่งึ ผกู ขาด ตลาดกึ่งแข่งขนั กึง่ ผกู ขาด

.............................. ..............................
............................................ ............................................

........................................... ...........................................
....................................... .......................................

ตลาดผ้ขู ายน้อยราย ตลาดผู้ขายน้อยราย

...................................... ......................................
........................................... ...........................................
........................................... ...........................................
........................................ ........................................

ตลาดผูกขาด ตลาดผูกขาด

........................................... ...........................................
.... ....
...................ข.้อ..ด.ี.................... ...................ข..้อ.เ.ส.ีย...................
........................................... ...........................................
...................................................................................... ......................................................................................
...................................................................................... ......................................................................................
...................................................................................... ......................................................................................
................................................................................... ...................................................................................
...................................................................................... ...........................................
................................................................................ ...........................................
...................................................................................... ...........................................
...................................................................................... ...........................................
...................................................................................... ...........................................
...................................................................................... ...........................................
........................................................................... ...........................................
......................................................................................
...................................................................................... .............................
...................................................................................... ...........................................
..................................................................... ............ท..ีม่ .า.ภ..าพ...h.tt.p.:.//.w.w..w...i.li.k.e.s.ti.c.k.e.r..c.o.m
..........................................

158

บทเรียนสาเร็จรูป สาระเศรษฐศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

เล่มที่ 1

กลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ

เวลาเรียน 1
ช่ัวโมง

ที่มาภาพ http://www.ilikesticker.com

159

สาระสาคัญ

ราคาสินคา้ และบริการที่ผลิตข้ึนในระบบเศรษฐกิจจะถูกกาหนดข้ึนโดย อุปสงค์
ซ่ึงแสดงปริมาณความตอ้ งการซ้ือสินคา้ ของผูบ้ ริโภค และอุปทาน ซ่ึงแสดงปริมาณความ
ตอ้ งการขายสินคา้ ของผผู้ ลิต เรียกวา่ “กลไกราคา”

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายความหมายและกฎของอุปสงคไ์ ด้
2. อธิบายปัจจยั ท่มี อี ิทธิพลตอ่ อปุ สงคไ์ ด้
3. เขียนแสดงเส้นกราฟอปุ สงคไ์ ด้

ที่มาภาพ http://www.ilikesticker.com

160

กรอบที่ 11 ความหมายของอปุ สงค์

อุปสงค์ คืออะไร
เกี่ยวข้องกบั ใครบ้าง ใครรู้บ้างครับ

อปุ สงค์ หมายถงึ ปริมาณสินคา้ และบริการชนิดใดชนิดหน่ึง ท่ีมผี ตู้ อ้ งการซ้ือ ณ ระดบั
(Demand) ราคาต่างๆ ของสินคา้ ชนิดน้นั ซ่ึงความตอ้ งการในทนี่ ้ี ตอ้ งมอี านาจซ้ือ และถา้
บุคคลใด มีแตค่ วามตอ้ งการในตวั สินคา้ แตไ่ มม่ เี งนิ ที่จะจ่าย เราจะเรียกลกั ษณะ
เช่นน้นั ว่า “ความตอ้ งการ (want)”

ตัวอย่าง
แม็กตอ้ งการซ้ือโทรศพั ทม์ ือถอื ใหม่ แมก็ ไดไ้ ปเลือกซ้ือโทรศพั ท์
มอื ถอื ใหมท่ ีห่ ้างสรรพสินคา้ และถกู ใจโทรศพั ทม์ ือถอื รุ่นหน่ึง

ราคา 8,000 บาท จึงตดั สินใจซ้ือโทรศพั ทม์ ือถอื เคร่ืองน้นั
**จากกรณีดงั กล่าวเห็นไดว้ า่ เกิดอปุ สงคข์ ้นึ คอื ผูบ้ ริโภคตดั สินใจซ้ือ
และจา่ ยเงนิ เพ่ือใหไ้ ดส้ ินคา้ มา ลกั ษณะเช่นน้ีเรียกว่า อุปสงค์

ท่มี าภาพ http://news.siamphone.com/ ทม่ี าภาพ http://www.jp-wifi.com

คาถาม หยกตอ้ งการซ้ือคอนโดแตเ่ งนิ ไมพ่ อจึงหางานพิเศษทาเพื่อเก็บเงินก่อน กรณีน้ีเรียกว่าอปุ สงค์
หรือไม่ เพราะอะไร

ท่มี าภาพ http://www.ilikesticker.com

แนวคาตอบ 161
ไม่ใช่อุปสงค์ เพราะอุปสงคจ์ ะตอ้ งเป็นความตอ้ งการซ้ือทซ่ี ้ือไดจ้ ริง

กรอบที่ 12 กฎของอุปสงค์ (Law of Demand)

อุปสงค์ คือความต้องการในการซื้อ
แล้วมกี ฎว่าอย่างไร

เราไปศึกษากันต่อเลยค่ะ

กฎของอุปสงค์ คือ การอธิบายถึงพฤติกรรม ของผบู้ ริโภคในการตดั สินใจซ้ือสินคา้
(Law of Demand) เมอื่ ราคาสินคา้ เปลยี่ นแปลงไป กฎของอุปสงคก์ ล่าววา่
ปริมาณสินคา้ ท่ีผบู้ ริโภคตอ้ งการซ้ือในขณะใดขณะหน่ึง

จะมคี วามสมั พนั ธใ์ นทางตรงกนั ขา้ ม กบั ราคาสินคา้ ชนิดน้นั

P D “ เมื่อราคาสินค้าลดลง ความต้องการซื้อสินค้าชนดิ น้นั จะเพม่ิ ขนึ้ ”

P D “ เมื่อราคาสินค้าเพม่ิ ขนึ้ ความต้องการซื้อสินค้าชนดิ น้นั จะลดลง”
P= Price (ราคา)
D = Demand (ความต้องการซื้อ)

ตัวอย่าง ทมี่ าภาพ http://sukkaphap-d.com
ถา้ เงาะ กิโลกรมั ละ 30 บาท นีน่าจะซ้ือเงาะ 1 กิโลกรัม
และเมอ่ื เงาะราคากิโลกรมั ละ 10 บาท นี่น่าจะซ้ือเงาะ 3 กิโลกรัม

คาถาม ตามกฎของอุปสงค์ ราคาสินคา้ กบั ปริมาณการซ้ือมคี วามสัมพนั ธใ์ นลกั ษณะใด

ท่ีมาภาพ http://www.ilikesticker.com

162

แนวคาตอบ มคี วามสัมพนั ธใ์ นลกั ษณะตรงกนั ขา้ ม คอื ถา้ ราคาสูงปริมาณ
การซ้ือจะลดลง ถา้ ราคาตา่ ปริมาณการซ้ือจะเพม่ิ ข้นึ

กรอบที่ 13 ปัจจยั ทีม่ ีอทิ ธิพลต่ออุปสงค์

การเปลี่ยนแปลงในอปุ สงคไ์ ม่ไดข้ ้นึ อยกู่ บั ราคา
ของสินคา้ และบริการชนิดน้นั เพยี งอยา่ งเดียวนะ
ปัจจยั ที่กาหนดอุปสงคย์ งั มีอะไรอีกบา้ ง มาดกู นั เลย

แลว้ รสของไอตมิ 1. รายได้ของผ้บู ริโภค โดยรายไดแ้ ละปริมาณการเสนอซ้ือสินคา้ ของ
ทผ่ี มชอบและซ้ือ ผบู้ ริโภคจะมีความสมั พนั ธใ์ นทศิ ทางเดียวกนั
กินทุกวนั จดั เป็น 2. ระดับราคาสินค้าชนิดอื่น เช่น การท่ผี ูบ้ ริโภคจะซ้ือสินคา้ ชนิดใดชนิด
ปัจจยั ขอ้ ใดครับ? หน่ึงปริมาณ เท่าใดน้นั ตอ้ งพจิ ารณาราคาของสินคา้ ชนิดอน่ื ที่สมั พนั ธ์กนั
เพราะสินคา้ บางชนิดสามารถใชแ้ ทนกนั หรือสินคา้ บางชนิดตอ้ งใชร้ ่วมกนั
3. รสนิยมของผ้บู ริโภค รสนิยมของบคุ คลโดยทว่ั ไปจะแตกต่างกนั ไปตาม
อายุ อาชีพ ขนบธรรมเนียมประเพณี ระดบั การศึกษา และบคุ ลกิ ภาพ
4. การคาดคะเนเหตกุ ารณ์ในอนาคต ทาให้อปุ สงคข์ องสินคา้ เปลี่ยนแปลง
ข้ึนอยกู่ บั การคาดคะเนของผบู้ ริโภคแตล่ ะคน
5. ขนาดและโครงสร้างของประชากร เช่น ถา้ จานวนประชากรเพมิ่ ข้ึนอุป
สงคข์ องสินคา้ แทบทกุ ชนิดยอ่ มเพม่ิ ข้นึ
6. ฤดกู าล เช่น ฤดูหนาวผซู้ ้ือมีความตอ้ งการซ้ือเส้ือกนั หนาวมากข้ึน
7. การโฆษณา ทาให้ผูบ้ ริโภคไดร้ ู้จกั สินคา้ และเกิดความตอ้ งการซ้ือสินคา้

คาถาม ปัจจยั ใดมอี ิทธิพลต่ออปุ สงคข์ องผบู้ ริโภคมากท่สี ุด

ทีม่ าภาพ http://www.ilikesticker.com

แนวคาตอบ 163

ราคาสินคา้ และบริการ เพราะถา้ สินคา้ ราคาถกู ปริมาณการซ้ือ
ก็มากข้นึ และถา้ ราคาสูงข้ึน ปริมาณการซ้ือก็จะลดลง

กรอบท่ี 14 เส้นอุปสงค์

เส้นอปุ สงคเ์ ป็นการเปลี่ยนแปลง
ปริมาณการซ้ือท่เี กิดจากการ
เปล่ียนแปลงของราคา

ราคา (บาท) ตารางแสดงอุปสงค์ในการซือ้ เงาะ
ของยาย่า ณ ระดบั ราคาต่างๆ
22

20

18 ราคาเงาะ/(ก.ก.) ปริมาณการซื้อ
บาท (ก.ก.)
16 20 1
18 2
14 16 3
14 4
12 12 5
10 6
10 D

8

60 ปริมาณ (ก.ก.)

123456

เส้นอุปสงค์ในการซื้อเงาะของยาย่า

ของยาย่า เส้นอุปสงค์ (Demand Curve) จะมีลักษณะเป็ นเส้นตรงลาดลง

จากซ้ายมาขวา ความชนั (slope) ของเส้นเป็นลบ เนื่องจากราคา

และปริมาณความต้องการซ้ือมีความสัมพนั ธ์ในทิศทางตรงกนั

ข้าม

คาถาม เสน้ อปุ สงคม์ ลี กั ษณะอยา่ งไร

ทม่ี าภาพ http://www.ilikesticker.com

164

แนวคาตอบ เป็นเสน้ ตรงลาดลงจากซา้ ยมาขวา

วันน้ี จบเนือ้ หาเร่ืองที่ 3 ทาลงในเล่ม
แล้วนะครับ เป็ นยงั ไงบ้าง? แบบฝึ กกิจกรรม
ท่คี ณุ ครูให้นะครับ
ไม่ยากใช่ไหมครับ?
เรามาลองทาแบบฝึ กกิจกรรม ท่ี 1.5
กันดนู ะครับว่าเราจะเข้าใจกันรึเปล่า

ท่มี าภาพ http://www.ilikesticker.com

165

แบบฝึ กกิจกรรมที่ 1.5
เร่ือง อปุ สงค์

คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนเขียนกราฟอุปสงคจ์ ากขอ้ มูลที่กาหนดให้ (10 คะแนน)
ตารางแสดงอุปสงค์ในการซือ้ ปลาทู ณ ระดับราคาต่างๆในตลาดแห่งหนงึ่

ราคาขอ(บงายทาย/ก่า.กณ.) ระดับอรปุ าสคงาคต์/่าคงวๆามต้องการซื้อ (ก.ก.)

110 90
100 100
90 110
80 120
70 130
60 140 ท่ีมาภาพ http://www.foodnetworksolution.com
50 150

บทเรียนสาเร็จรูป สาระเศรษฐศาสตร์
กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ช้ันมธั ยมศึกษาปี ททม่ี ี่ า3ภาพ http://www.ilikesticker.com

166

เล่มที่ 1

กลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ

เวลาเรียน
1 ชั่วโมง

สาระสาคัญ

ทีม่ าภาพ http://www.ilikesticker.com

167

ราคาสินคา้ และบริการที่ผลิตข้ึนในระบบเศรษฐกิจจะถูกกาหนดข้ึนโดย อุปสงค์
ซ่ึงแสดงปริมาณความตอ้ งการซ้ือสินคา้ ของผูบ้ ริโภค และอุปทานซ่ึงแสดงปริมาณความ
ตอ้ งการขายสินคา้ ของผผู้ ลติ เรียกวา่ “กลไกราคา”

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายความหมายและกฎของอปุ ทานได้
2. อธิบายปัจจยั ที่มอี ทิ ธิพลตอ่ อปุ ทานได้
3. เขียนแสดงเสน้ กราฟอปุ ทานได้

กรอบท่ี 15 ความหมายของอปุ ทาน

ทม่ี าภาพ http://www.ilikesticker.com

168

อปุ ทานคอื อะไร ?
เกี่ยวขอ้ งกบั ใครบา้ ง ?
มาศกึ ษากนั ตอ่ เลยนะครับ

อุปทาน หมายถึง ปริมาณสินคา้ และบริการชนิดใดชนิดหน่ึงท่ีผูผ้ ลิต เต็มใจนา
(Supply) ออกเสนอขายในตลาดภายในระยะเวลาหน่ึง ณ ระดบั ราคาต่างๆ กนั
ของสินคา้ และบริการน้นั

ตัวอย่าง
ปัจจุบนั ทุเรียนมีราคาดี เนื่องจากประเทศจีนนิยมบริโภคทุเรียนไทย
มากข้นึ ดงั น้นั เกษตรกรจึงหันมาปลกู ทุเรียนมากข้ึนและส่งออกมากข้นึ

ทีม่ าภาพ http://www.edtguide.com ทม่ี าภาพ http://www.thaibizpost.com

คาถาม อุปทานกบั อปุ สงคม์ คี วามแตกต่างกนั อยา่ งไร

แนวคาตอบ อปุ ทาน เป็ นความต้องการขาย ของผ้ผู ลิต
ส่วนอปุ สงค์เป็ นความต้องการซื้อของผ้บู ริโภค

ทีม่ าภาพ http://www.ilikesticker.com

169

กรอบที่ 16 กฎของอุปทาน (Law of Supply)

อุปทาน คอื ความตอ้ งการในการขาย
แลว้ มกี ฎว่าอยา่ งไร

เราไปศึกษากนั ต่อเลยคะ่

กฎของอุปทาน คือ การอธิบายถึงพฤติกรรม ของผูผ้ ลิต ในการแสวงหากาไรสูงสุด
(Law of Supply) โดยปริมาณสินคา้ ท่ีผูผ้ ลิตเต็มใจจะนาออกขาย ในระยะเวลาหน่ึง
ข้นึ อยกู่ บั ราคาสินคา้ น้นั ๆ ในทศิ ทางเดียวกนั

P S “เม่ือราคาสินค้าลดลง ความต้องการขายสินค้าชนดิ น้นั จะลดลง”

P S “เม่ือราคาสินค้าเพม่ิ ขนึ้ ความต้องการขายสินค้าชนิดน้นั จะเพ่มิ ขนึ้ ”

ตวั อย่าง P= Price (ราคา)
ถา้ ทุเรียนกิโลกรมั ละ 50 บาท ตอ่ มาทุเรียนราคาสูงข้นึ เป็น S = Supply (ความต้องการซื้อ)

กิโลกรมั ละ 120 บาท ทาใหเ้ กษตรกรหนั มาปลกู ทเุ รียนมากข้ึน

แตถ่ า้ ทเุ รียนลดเหลือกิโลกรมั ละ 30 บาท เกษตรกรหรือผผู้ ลติ จะ

ลดการปลกู ทุเรียนและหันไปปลูกชนิดอน่ื ทม่ี ีราคาสูงกวา่

ทมี่ าภาพ http://sukkaphap-d.com

คาถาม ตามกฎของอุปทาน ปริมาณเสนอขายกบั ราคาของสินคา้ มคี วามสัมพนั ธ์กนั ในลกั ษณะใด

แนวคาตอบ มีคี วามสมั พนั ธใ์ นลกั ษณะทศิ ทางเดียวกนั คือ ถา้
ราคาสูงข้นึ ปริมาณการผลติ จะเพิม่ ข้นึ ถา้ ราคาต่าลง
กรอบท่ี 17
ปริมาณการผลิตจะลดลง

ที่มาภาพ http://www.ilikesticker.com

ปัจจยั ทม่ี ีอทิ ธิพลต่ออุปทาน

170

การเปลี่ยนแปลงในอุปสงคไ์ มไ่ ดข้ ้นึ อยกู่ บั ราคา
ของสินคา้ และบริการชนิดน้นั เพียงอยา่ งเดียวนะคะ
ปัจจยั ทกี่ าหนดอุปสงคย์ งั มอี ะไรอีกบา้ ง มาดกู นั เลย

1. ต้นทนุ การผลิต การตดั สินใจในปริมาณการผลิตผผู้ ลติ จะเปรียบเทียบระหว่างรายไดจ้ ากการ
ขายสินคา้ กบั ตน้ ทุนในการผลิต ตน้ ทุนการผลติ มผี ลตอ่ ปริมาณ การผลติ สินคา้ โดยมี
ความสัมพนั ธ์ ในทศิ ทางตรงกนั ขา้ ม
2. ราคาของสินค้าชนิดอนื่ ท่เี กย่ี วข้อง เช่น น้าตาลข้ึนราคา ทาใหแ้ มค่ า้ ขนมหวาน ตอ้ งข้นึ ราคา
ขนมไปดว้ ย เพราะน้าตาลเป็นวตั ถุดิบในการผลติ สินคา้
3. สภาพดินฟ้าอากาศ สภาพดินฟ้าอากาศมผี ลกระทบต่อปริมาณการเสนอขาย สินคา้ โดยเฉพาะ
สินคา้ เกษตร สภาพดินฟ้าอากาศทีเ่ อ้ืออานวย จะส่งผลให้ อุปทานสินคา้ เพ่มิ ข้นึ เป็นตน้
4. เทคโนโลยี ปัจจบุ นั ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยมี ีบทบาทตอ่ การผลติ เพราะการนา
เทคโนโลยที ี่ทนั สมยั มาใชใ้ นการผลิตจะช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตและปริมาณผลผลิตดว้ ย
5. นโยบายรัฐบาล ปริมาณเสนอขายสินคา้ เปลีย่ นแปลงนโยบายของรัฐ เช่น ถา้ จดั เกบ็ ภาษี
การคา้ เพ่ิมข้ึน ผูผ้ ลติ อาจลดการผลติ ลงเน่ืองจากตน้ ทนุ การผลิตสูงข้ึน เป็นตน้

คาถาม ปัจจยั ทกี่ าหนดอุปทาน ประกอบไปดว้ ยอะไรบา้ ง

แนวคาตอบ ราคาสินคา้ และบริการ เพราะถา้ สินคา้ ราคาถกู ปริมาณการซ้ือ
ก็มากข้นึ และถา้ ราคาสูงข้นึ ปริมาณการซ้ือก็จะลดลง

เส้นอุปทาน ท่ีมาภาพ http://www.ilikesticker.com

171

กรอบที่ 18

เส้นอปุ สงคเ์ ป็นการเปล่ยี นแปลง
ปริมาณการซ้ือท่ีเกิดจากการ
เปลย่ี นแปลงของราคา

ราคา (บาท) ตารางแสดงอปุ ทานในการผลิตปลาแหง้
s ของนางมาลยั ณ ระดบั ราคาตา่ งๆ
130

120

110 ราคาปลาแห้ง ปริมาณการ

100 /ก.ก. (บาท) ผลิต (ก.ก.)

90 120 20

80 110 16

70 ปริมาณ (ก.ก.) 100 12
90 8
4 8 12 16 20

เส้นอปุ ทานในการผลติ ปลาแห้งของนางมาลัย 80 4

ของยาย่า

เส้นอปุ ทาน (Supply Curve) จะมีลกั ษณะเป็นเสน้ ตรงลาดข้ึนจาก
ซา้ ยไปขวา ความชนั (slope) ของเสน้ เป็นบวก เนื่องจากราคาและ
ปริมาณการผลิตมีความสัมพนั ธใ์ นทิศทางเดียวกนั

แนวคาตอบ คาถาม เสน้ อุปทานมลี กั ษณะอยา่ งไร
เป็นเสน้ ตรงลาดข้นึ จากซา้ ยไปขวา

ทีม่ าภาพ http://www.ilikesticker.com

172

วนั น้ี จบเนื้อหาเร่ืองท่ี 4 ทาลงในเล่ม
แล้วนะครับ เป็ นยงั ไงบ้าง? แบบฝึ กกิจกรรม
ท่ีคุณครูให้นะครับ
ไม่ยากใช่ไหมครับ?
เรามาลองทาแบบฝึ กกจิ กรรม ท่ี 1.6
กันดนู ะครับว่าเราจะเข้าใจกันรึเปล่า

แบบฝึ กกจิ กรรมที่ 1.6
เรื่องอปุ ทาน

คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนเขยี นกราฟอปุ ทานจากขอ้ มลู ทีก่ าหนดให้ (10ทคีม่ ะาภแานพนh)ttp://www.ilikesticker.com

173
ตารางแสดงอปุ ทานในการขายปลาทู ณ ระดบั ราคาตา่ งๆในตลาดแห่งหน่ึง ของยายา่ ณ ระดบั ราคาตา่ งๆ

ราคา (บาท/ก.ก.) อปุ ทาน/ความต้องการขาย (ก.ก.) ทม่ี าภาพ https://food.mthai.com
110 150
100 140
90 130
80 120
70 110
60 100
50 90

บทเรียนสาเร็จรูป สาระเศรษฐศาสตร์
กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

ท่มี าภาพ http://www.ilikesticker.com

174

เล่มท่ี 1

กลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ

เวลาเรียน
1 ช่ัวโมง

สาระสาคัญ

กลไกราคา คือ การเปล่ียนแปลงในระดบั ราคาสินคา้ ซ่ึงเกิดจากแรงผลกั ดนั ของ
อุปสงค์และอุปทาน กล่าวคือปริมาณสินคา้ และบริการที่ผูบ้ ริโภคต้องการซ้ือและผูข้ าย
ตอ้ งการขายจะปรบั ตวั ตามระดบั ของราคาสินคา้ และบริการท่ีเปลที่ยม่ีนาแภปาพลงhไttปp://www.ilikesticker.com

175

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายความหมายและความสมั พนั ธ์ของกลไกราคาได้
2. เขียนเสน้ กราฟอุปสงคแ์ ละอปุ ทาน เพอ่ื แสดงราคาดลุ ภาพ และปริมาณดลุ ยภาพได้

กรอบที่ 19 ความหมายของกลไกราคา

นกั เรียนไดเ้ รียนรู้เร่ืองอปุ สงคแ์ ละอุปทาน
กนั ไปแลว้ กรอบตอ่ ไปน้ีจะกล่าวถึงเรื่องกลไกราคา

ซ่ึงเป็นความสมั พนั ธ์กบั อุปสทงีม่คาแ์ ภลาะพอhุปttpท:/า/นwwคw่ะ.ilikesticker.com

176

กลไกราคา หมายถึง ภาวการณ์เปล่ียนแปลงในระดบั ราคาสินคา้ และบริการ
อนั เกิดจากแรงผลกั ดนั ของ อุปสงคแ์ ละอุปทาน
***ดงั น้นั ราคาสินคา้ และบริการเป็นตวั แปรสาคญั ในการกาหนด
อุปสงคแ์ ละอุปทาน ตลอดจนเป็นกระบวนการปรับเปลี่ยนราคา
ใหเ้ ขา้ สู่จดุ ดุลยภาพ

ตวั อย่าง
ถ้าราคาอง่นุ สูงขนึ้ จากกิโลกรัมละ 150 เป็ นกิโลกรัมละ 200 บาท

ผ้ซู ื้อจะซื้อ อง่นุ ลดลง แต่ผ้ขู ายจะขายองุ่นมากขนึ้ เป็ นต้น

ทมี่ าภาพ http://jan4444.blogspot.com

คาถาม กลไกราคา หมายถึงอะไร

แนวคาตอบ กลไกราคา หมายถงึ ภาวการณเ์ ปลี่ยนแปลงในระดบั ราคาสินคา้
และบริการ อนั เกิดจากแรงผลกั ดนั ของ อุปสงคแ์ ละอปุ ทาน

กรอบท่ี 20 ดุลยภาพ (Equilibrium)

ทม่ี าภาพ http://www.ilikesticker.com

177

ดลุ ยภาพ คอื ความเท่ากนั แตด่ ลุ ยภาพดา้ นราคาน้นั
คอื ความเทา่ กนั ระหวา่ งอะไร เรามาคน้ หาคาตอบกนั คะ่

ทมี่ าภาพ
https://www.shutterstock.com

ดุลยภาพ (Equilibrium)
คือ ปริมาณอุปสงคแ์ ละปริมาณอุปทานเท่ากนั ส่งผลทาให้ราคาสินคา้ อยนู่ ิ่ง

หรือท่เี รียกวา่ มีเสถียรภาพไม่ปรบั ข้นึ หรือลดลง

ตัวอย่าง ตารางแสดงดลุ ยภาพอปุ สงค์และอปุ ทานการซื้อขายส้มของตลาด แห่งหนึง่

ราคา (บาท) ปริมาณอุปสงค์ (กิโลกรมั ) ปริมาณอปุ ทาน (กิโลกรมั )

60 150 110
70 130 130
80 110 150

แนวคาตอบ ทม่ี าภาพ https://sites.google.com

คาถาม ดลุ ยภาพคอื อะไร
ดลุ ยภาพ คือ ปริมาณอปุ สงคแ์ ละปริมาณอุปทานเทา่ กนั

กรอบท่ี 21 ราคาดุลยภาพ

ทม่ี าภาพ http://www.ilikesticker.com

178

ราคาดุลยภาพ หมายถึง ระดบั ราคา ณ จดุ ที่ปริมาณอุปสงคเ์ ทา่ กบั ปริมาณอุปทาน
หรือกล่าวอีกนัยหน่ึงว่าเป็นราคาท่ีความตอ้ งการเสนอซ้ือเท่ากนั พอดีกบั ความ
ตอ้ งการ เสนอขาย

สามารถพิจารณาจากกราฟ
ราคาดุลยภาพจะเป็นระดบั ราคา ณ จดุ ทเี่ ส้นอุปสงคต์ ดั กบั เส้นอุปทาน

แผนภูมเิ สน้ แสดง จุดตดั ของเส้นอุปสงค์
และเส้นอุปทานเป็นจดุ ดลุ ยภาพของตลาด
ทร่ี าคาดุลยภาพ p*และปริมาณดุลยภาพ Q*

ทีม่ าภาพ http://vosga.blogspot.com

ตวั อย่าง ตารางแสดงดลุ ยภาพอปุ สงค์และอปุ ทานการซือ้ ขายส้มของตลาดแห่งหนง่ึ

ราคา (บาท) ปริมาณอปุ สงค์(กิโลกรัม) ปริมาณอปุ ทาน (กโิ ลกรัม)

60 150 110

70 130 130

80 110 150

คาถาม ราคาดุลยภาพคอื อะไร จากตารางตวั อยา่ งราคาดุลยภาพ คือราคากี่บาท

แนวคาตอบ ดลุ ยภาพ คือ ปริมาณอปุ สงคแ์ ละปริมาณอปุ ทานเทา่ กนั

กรอบท่ี 22 ปริมาณดลุ ยภาพ

ทีม่ าภาพ http://www.ilikesticker.com

179

ปริมาณดลุ ยภาพ (Equilibrium Quantity)
คอื ปริมาณซ้ือ เทา่ กบั ปริมาณขาย ณ ระดบั ราคาดุลยภาพ

หากพจิ ารณาจากตารางอปุ สงคแ์ ละอปุ ทานการซ้ือขายส้มจะเห็นไดว้ า่
“ปริมาณดุลยภาพ คอื ปริมาณท่อี ปุ สงคแ์ ละอปุ ทาน
ของผูซ้ ้ือและผูข้ ายเทา่ กบั 130 กิโลกรมั ”

ตัวอย่าง ตารางแสดงดลุ ยภาพอปุ สงค์และอปุ ทานการซือ้ ขายส้มของตลาดแห่งหนงึ่

ราคา (บาท) ปริมาณอปุ สงค์ (กิโลกรัม) ปริมาณอุปทาน (กิโลกรมั )

60 150 110
70 130 130
80 110 150

ท่ีมาภาพ http://www.emagtravel.com

คาถาม ปริมาณดุลยภาพคอื อะไร จากตารางตวั อยา่ งปริมาณดลุ ยภาพคือ ปริมาณกีก่ ิโลกรัม

แนวคาตอบ ดลุ ยภาพ คอื ปริมาณอปุ สงคแ์ ละปริมาณอปุ ทานเทา่ กนั
เป็นเส้นตรงลาดลงจากซา้ ยมาขวา

ทม่ี าภาพ http://www.ilikesticker.com

วันนี้ จบเนือ้ หาเรื่องท่ี 5 180
แล้วนะครับ เป็ นยังไงบ้าง?
ทาลงในเล่ม
ไม่ยากใช่ไหมครับ? แบบฝึ กกิจกรรม
เรามาลองทาแบบฝึ กกิจกรรม ที่ 1.7 ท่ีคณุ ครูให้นะครับ
กันดนู ะครับว่าเราจะเข้าใจกันรึเปล่า

แบบฝึ กกิจกรรมที่ 1.7
เรื่อง กลไกราคา

คาชี้แจง ให้นกั เรียนเขียนกราฟแสดงอปุ สงค์ อุปทานจากขอ้ มูลทีก่ าหนดให้ (10 คะแนน)
ตารางแสดงอปุ สงค์และอปุ ทานการซื้อขายส้มของตลาดแห่งหน่ึง

ที่มาภาพ http://www.ilikesticker.com

181

ราคา (บาท/หน่วย) อปุ สงค์/ความต้องการซื้อ (ก.ก.) อปุ ทาน/ความต้องการขาย (ก.ก.)
110 90 150
100 100 140
90 110 130
80 120 120
70 130 110
60 140 100
50 150 90

บทเรียนสาเร็จรูป สาระเศรษฐศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3

ที่มาภาพ http://www.ilikesticker.com

182

เล่มท่ี 1

กลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ

เวลาเรียน
1 ชั่วโมง

สาระสาคัญ

การกาหนดราคาสินค้าและบริการในตลาดเป็ นไปตามทอม่ี ุปาภสางพคhแ์ ttลp:ะ//อwุปwwท.าilนikeแsลticะker.com
ข้ึนอยู่กับวตั ถุประสงค์ของผูผ้ ลิตหรือของธุรกิจด้วย ในตลาดท่ีมีผูผ้ ลิตน้อยราย ผูผ้ ลิต
สามารถกาหนดราคาไดต้ ามวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีตอ้ งการ ซ่ึงการกาหนดราคาของธุรกิจอาจข้นึ อยู่


Click to View FlipBook Version