The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KruJayPhysics, 2019-07-29 13:03:02

รายงานผลการดำเนินโครงการพัฒนาสื่อนวัตกรรม เทคโนโลยี วิจัย และสารสนเทศ ปีการศึกษา 2558

ReportProject58

รายงานผลการดําเนินงาน
โครงการพัฒนาส่ือนวตั กรรมเทคโนโลยีและวิจยั
ตามแผนปฏบิ ตั ิการประจาํ ปีการศึกษา 2558

โดย
นางสาวกุลธิดา สวุ ัชระกุลธร

ผู้รับผดิ ชอบโครงการ

โรงเรยี นมาบตาพุดพนั พิทยาคาร อําเภอเมือง จงั หวัดระยอง
สํานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18

สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

บันทึกข้อความ

สว่ นราชการ โรงเรยี นมาบตาพุดพันพทิ ยาคาร

ท…ี่ ………… วันท่ี 16 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2559

เรื่อง รายงานผลการดาํ เนนิ โครงการพฒั นาสื่อนวตั กรรมเทคโนโลยีและวิจยั

………………………………………………………………………………………………………………………………………

เรยี น ผอู้ าํ นวยการโรงเรยี นมาบตาพดุ พันพทิ ยาคาร

สิ่งท่สี ่งมาด้วย 1. รายงานสรปุ ผลการดาํ เนนิ โครงการพฒั นาสื่อนวตั กรรมเทคโนโลยแี ละวิจัย จํานวน 1

ฉบบั

ขา้ พเจา้ นางสาวกลุ ธดิ า สุวชั ระกลุ ธร ตําแหนง่ ครู คศ.2 โรงเรยี นมาบตาพดุ พันพิทยาคาร ไดร้ ับ
มอบหมาย ให้เปน็ ผู้รับผิดชอบโครงการพฒั นาสื่อนวัตกรรมเทคโนโลยแี ละวจิ ัย ประจาํ ปีการศึกษา 2558 โดย
มีงบประมาณทไ่ี ดร้ บั ในการจัดสรร 30,000 บาท บดั น้ี การจดั กจิ กรรม ได้ดําเนินกิจกรรมเสร็จส้นิ สาํ เรจ็ ลลุ ว่ ง
ตามวัตถุประสงคท์ ่ีวางไว้ ซ่ึงมีผลการดําเนินงาน ดังน้ี

1. กจิ กรรมสง่ เสรมิ ใหค้ รศู ึกษาและพัฒนางานวิจยั มผี ลการจัดกิจกรรมดังนี้
1.1 ในปีการศึกษา 2558 ครูมกี ารจดั ทาํ วจิ ยั ในช้นั เรียนจาํ นวน 100 เรอื่ ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 92.43
ของจํานวนครทู ั้งหมด
1.2 ครูได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้เข้าร่วมกิจกรรมเพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้เกี่ยวกับการ
ศึกษาวิจัยในชั้นเรียน ในงาน “มหกรรมวิชาการสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษา” การ
ประกวดรางวัลหน่วยงานและผู้มีผลงานดีเด่นประสบความสําเร็จเป็นที่ประจักษ์เพ่ือรับ
รางวัลทรงคุณค่า (OBEC AWARDS) และการปฏิบัติงานท่ีเป็นเลิศ (BEST PRACTICE)
ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา ประจําปี 2558 ในวันศุกร์ท่ี 21 สิงหาคม 2558 ณ โรงแรมสตาร์
จังหวัดระยอง คดิ เปน็ ร้อยละ 100
1.3 ครูจํานวน 11 คน เข้าการประกวดผลงานวิจัยในช้ันเรียน ในการประกวดรางวัลหน่วยงาน
และผู้มีผลงานดีเด่นประสบความสําเร็จเป็นท่ีประจักษ์เพ่ือรับรางวัลทรงคุณค่า (OBEC
AWARDS) และการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (BEST PRACTICE) ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
ประจําปี 2558 ในวันศุกร์ท่ี 21 สิงหาคม 2558 ณ โรงแรมสตาร์ จังหวัดระยอง โดย
แบ่งเปน็ รางวลั OBEC AWARDS จํานวน 2 คน โดยได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง อนั ดับ 2
และรางวัลระดับเหรียญเงิน และรางวัล BEST PRACTICE จํานวน 9 คน โดยได้รับรางวัล
ระดับเหรียญทอง จํานวน 3 คน และรางวัลระดบั เหรยี ญเงิน จํานวน 6 คน
1.4 ค่าเฉล่ียคะแนนการประเมินผลการบริหารกิจกรรม เท่ากับ 4.46 คิดเป็นร้อยละ 89.20 ผล
การประเมนิ การบรหิ ารกิจกรรมในระดับดี

2. กจิ กรรมสง่ เสริมใหค้ รพู ัฒนาส่ือนวตั กรรมเทคโนโลยี มีผลการจัดกิจกรรมดงั นี้
2.1 กจิ กรรมการอบรมเชงิ ปฏิบัติการการใชเ้ ทคโนโลยีเพ่อื การจัดการเรยี นร้ดู ้วย “Google App
for Education” ประจําปี 2558 มผี ลการจัดกจิ กรรมดังนี้
- ในการจดั การอบรมครั้งนี้มผี เู้ ขา้ รว่ มอบรมจาก 8 กลุ่มสาระจํานวน 47 คน





คาํ นํา

รายงานผลการดําเนินโครงการพัฒนาสื่อนวัตกรรมเทคโนโลยีและวิจัย ประจําปีการศึกษา 2558 การ
ดําเนินงานตามโครงการมีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาครูให้มีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีสนองความแตกต่าง
ระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา ส่งเสริมให้ครูใช้ส่ือและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ส่งเสริมให้ครู
สามารถนําบริบทและภูมิปัญญาของท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ส่งเสริมให้ครูมีการวัดและ
ประเมินผลผู้เรียนเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีท่ีหลากหลาย และส่งเสริมให้ครูมีการศึกษาวิจัยและพัฒนาการ
จัดการเรียนรู้ในวิชาท่ีตนเองรับผิดชอบ โดยการดําเนินงานตามโครงการนี้ได้เสร็จสิ้นการดําเนินงานแล้ว คณะ
ผู้รับผิดชอบการดําเนินงาน จึงจัดทํารายงานผลการดําเนินงานต่อผู้เกี่ยวข้อง ดังรายละเอียดท่ีปรากฏในข้อมูล
การรายงานผลการดาํ เนนิ โครงการพฒั นาส่อื นวัตกรรมเทคโนโลยีและวิจัย ประจําปีการศึกษา 2558

คณะผจู้ ดั ทาํ

สารบญั

หนา้
คาํ นาํ
สารบญั
ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไป

- ข้อมูลทั่วไปเกย่ี วกับโครงการ................................................................................... 1
ตอนที่ 2 การบริหารโครงการ/กิจกรรม

- การประเมนิ ผลการบรหิ ารกจิ กรรม......................................................................... 3
ตอนท่ี 3 ผลปรากฏแกน่ ักเรยี น คร-ู อาจารย์ และชมุ ชน

- นกั เรียน................................................................................................................... 4
- ครู-อาจารย์............................................................................................................. 5
- ชมุ ชน..................................................................................................................... 6
ตอนท่ี 4 ปญั หาอปุ สรรค แนวทางการปรบั ปรงุ พัฒนาโครงการ/กจิ กรรม
- ปญั หาและอปุ สรรค................................................................................................ 7
- แนวทางในการแกไ้ ข......…………………………………………………………………………….. 7
ตอนที่ 5 ข้อเสนอแนะในการพฒั นาโครงการ/กิจกรรม/งาน ครง้ั ตอ่ ไป
- ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพฒั นากจิ กรรม…………………………………………………………….. 7
ถอดกิจกรรม 3 หว่ ง 2 เงอ่ื นไข............................................................................................. 9
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก โครงการ
ภาคผนวก ข รายงานผลการดําเนนิ กจิ กรรมส่งเสรมิ ให้ครศู กึ ษาและพัฒนา

งานวิจยั
ภาคผนวก ค รายงานสรุปผลการดําเนนิ กิจกรรมสง่ เสรมิ ให้ครพู ฒั นาสอ่ื นวตั กรรม

เทคโนโลยี
ภาคผนวก ง รายงานผลการดําเนนิ กจิ กรรมการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการการใช้

เทคโนโลยเี พอื่ การจดั การเรยี นรดู้ ้วย “Google App for
Education”

แบบรายงานผลการดําเนินงานตามโครงการ/กจิ กรรม

ตามแผนปฏบิ ัติการประจาํ ปีการศึกษา 2558

ตอนที่ 1 ขอ้ มูลท่ัวไป
1. กล่มุ บรหิ าร

 กลมุ่ บรหิ ารวิชาการ กล่มุ บรหิ ารงบประมาณ

กลุ่มบรหิ ารท่วั ไป กลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล

2. กลุ่มงาน/กลุม่ สาระการเรยี นรู้ งานพฒั นาสอ่ื นวตั กรรมและเทคโนโลยี

3. ช่อื โครงการ พฒั นาสอ่ื นวัตกรรมเทคโนโลยีและวจิ ัย

4. ช่ือกจิ กรรม 1. กจิ กรรมส่งเสรมิ ใหค้ รูศึกษาและพฒั นางานวจิ ัย

2. กจิ กรรมสง่ เสริมใหค้ รพู ฒั นาสอ่ื นวัตกรรมเทคโนโลยีและวจิ ัย

5. ประเภทโครงการ/กิจกรรม  ต่อเน่ือง ใหม่

6. สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษาด้าน ผู้เรยี น  ครู ผบู้ รหิ าร ชมุ ชน

7. สนองกลยทุ ธท์ ่ี 2 และ 5

8. สนองมาตรฐานท่ี 7
9. ตัวบ่งชี้ สพฐ. ขอ้ ท่ี 7.3, 7.4, 7.5, 7.7

10. สนองตัวช้ีวดั โรงเรยี นขอ้ ท่ี 9, 14, 15
11. ผ้รู บั ผดิ ชอบกจิ กรรม นางสาวกุลธิดา สุวัชระกุลธร
12. ระยะเวลาดาํ เนนิ การ พฤษภาคม 2558 – มนี าาคม 2559
13. สถานท่ี โรงเรยี นมาบตาพุดพนั พทิ ยาคาร
14. งบประมาณค่าใชจ้ ่าย ที่เสนอของบประมาณตามแผนปฏบิ ัติงาน 30,000 บาท

คา่ ใช้จา่ ยจรงิ เปน็ จาํ นวนเงนิ 29,380 บาท
เท่ากับท่กี าํ หนด สูงกว่าท่กี าํ หนด  ตาํ่ กวา่ ที่กาํ หนด

15. วตั ถปุ ระสงค์ของกจิ กรรม

2.1 เพอื่ พฒั นาครใู หม้ ีการออกแบบการจดั การเรยี นรทู้ ส่ี นองความแตกตา่ งระหว่างบุคคล
และพฒั นาการทางสติปญั ญาได้

2.2 เพือ่ สง่ เสรมิ ให้ครใู ชส้ ่อื และเทคโนโลยที ีเ่ หมาะสม
2.3 เพ่อื สง่ เสรมิ ให้ครสู ามารถนําบริบทและภมู ิปัญญาของทอ้ งถนิ่ มาบูรณาการในการจัดการ
เรยี นรู้
2.4 เพอื่ สง่ เสรมิ ให้ครมู กี ารวัดและประเมินผลผู้เรยี นเพอื่ พัฒนาการเรยี นรูด้ ว้ ยวธิ ที ี่
หลากหลาย

2.5 เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหค้ รมู ีการศกึ ษาวิจัยและพฒั นาการจดั การเรยี นรใู้ นวิชาที่ตนเองรับผิดชอบ

2

16. ความสําเรจ็ ของโครงการ/กจิ กรรม ผลงานที่ปฏบิ ตั ไิ ด้จรงิ
เป้าหมายทรี่ ะบใุ นโครงการ/กจิ กรรม
ดา้ นปริมาณ
ดา้ นปริมาณ
1. ครูมีการออกแบบการจดั การเรียนร้ทู ส่ี นองความ 1. ครมู กี ารออกแบบการจดั การเรียนรูท้ ีส่ นองความ
แตกตา่ งระหว่างบุคคลและพฒั นาการทางสติปญั ญา แตกต่างระหว่างบคุ คลและพฒั นาการทางสตปิ ญั ญา
ได้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 90 ได้ คิดเป็นร้อยละ 90
2. ครใู ชส้ ่ือและเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสม คิดเป็นรอ้ ยละ
95 2. ครใู ช้ส่ือและเทคโนโลยีท่เี หมาะสม คดิ เปน็ รอ้ ย
3. ครสู ามารถนาํ บริบทและภมู ิปัญญาของทอ้ งถน่ิ มา ละ 95
บรู ณาการในการจัดการเรียนรู้ คดิ เป็นร้อยละ 95
4. ครูมีการวดั และประเมนิ ผลผู้เรียนเพอื่ พัฒนาการ 3. ครูสามารถนาํ บริบทและภูมิปญั ญาของทอ้ งถิ่นมา
เรยี นรดู้ ว้ ยวธิ ีที่หลากหลาย คิดเป็นรอ้ ยละ 95 บรู ณาการในการจดั การเรียนรู้ คดิ เปน็ ร้อยละ 95
5. ครมู กี ารศกึ ษาวิจยั และพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ใน
วิชาทีต่ นเองรับผดิ ชอบ คิดเป็นร้อยละ 90 4. ครมู กี ารวัดและประเมนิ ผลผู้เรียนเพอื่ พฒั นาการ
6. ครมู กี ารศกึ ษาวจิ ัยและพัฒนาการจัดการเรยี นรใู้ น เรียนรูด้ ้วยวิธีที่หลากหลาย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 95
วชิ าทีต่ นเองรบั ผดิ ชอบ คิดเป็นรอ้ ยละ 90
ด้านคณุ ภาพ 5. ครมู ีการศกึ ษาวจิ ัยและพฒั นาการจัดการเรียนรู้
1. ครอู อกแบบการจัดการเรียนรูท้ ส่ี นองความ ในวชิ าทต่ี นเองรับผิดชอบ คดิ เปน็ ร้อยละ 92.43
แตกตา่ งระหว่างบุคคลและพฒั นาการทางสติปญั ญา
ไดใ้ นระดับดี 6. ครูมกี ารศกึ ษาวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้
2. ครูสามารถใช้สอ่ื และเทคโนโลยไี ด้อยา่ งเหมาะสม ในวิชาท่ีตนเองรบั ผดิ ชอบ คิดเปน็ ร้อยละ 100

3. ครูสามารถนาํ บรบิ ทและภูมิปัญญาของทอ้ งถนิ่ มา ดา้ นคณุ ภาพ
บูรณาการในการจัดการเรียนรไู้ ด้ดี
4. ครูสามารถวัดและประเมินผลผเู้ รยี นเพอ่ื 1. ครอู อกแบบการจดั การเรยี นรทู้ ่ีสนองความ
พฒั นาการเรยี นรู้ดว้ ยวธิ ที ่ีหลากหลายและเหมาะสม แตกต่างระหว่างบคุ คลและพฒั นาการทางสตปิ ัญญา
กบั ผู้เรยี น ไดใ้ นระดบั ดี
5. ครมู กี ารศึกษาวิจยั และพัฒนาการจดั การเรยี นรใู้ น
วชิ าทต่ี นเองรับผิดชอบในระดับดี 2. ครูสามารถใช้ส่อื และเทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม
6. ครูมกี ารพฒั นางานวิจัยและพฒั นาการจดั การ ในระดบั ดี
เรียนรใู้ นวชิ าทีต่ นเองรับผิดชอบ ในระดบั ดี
3. ครสู ามารถนาํ บรบิ ทและภมู ิปัญญาของท้องถนิ่ มา
บรู ณาการในการจดั การเรียนรู้ไดใ้ นระดับดี

4. ครสู ามารถวดั และประเมนิ ผลผเู้ รยี นเพอื่
พัฒนาการเรยี นรูด้ ว้ ยวิธีทีห่ ลากหลายและเหมาะสม
กับผู้เรยี นในระดบั ดี

5. ครมู กี ารศึกษาวิจัยและพัฒนาการจัดการเรยี นรู้
ในวิชาทีต่ นเองรับผดิ ชอบในระดับดี

6. ครมู กี ารพัฒนางานวิจยั และพัฒนาการจัดการ
เรียนรู้ในวิชาทีต่ นเองรับผิดชอบ ในระดบั ดี

17. หลักฐานยนื ยันความสําเรจ็
 แบบรายงานกจิ กรรม
 คําสง่ั แตง่ ตั้งคณะกรรมการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารการใชเ้ ทคโนโลยเี พ่ือการจดั การเรยี นรู้

ด้วย Google App for Education”
 กําหนดการอบรมเชงิ ปฏิบัติการการใชเ้ ทคโนโลยเี พ่อื การจดั การเรียนรู้ ด้วย Google

App for Education”

3

 แบบลงทะเบียนอบรมเชงิ ปฏิบัติการการใชเ้ ทคโนโลยีเพอ่ื การจดั การเรยี นรู้ ดว้ ย
Google App for Education

 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจการอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการจัดการ
เรียนรู้ ด้วย Google App for Education”

 ตวั อยา่ งผลงานครทู ีเ่ ข้าร่วมอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการการใชเ้ ทคโนโลยีเพอื่ การจดั การเรียนรู้
ดว้ ย Google App for Education”

 ภาพถา่ ยกจิ กรรมอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารการใชเ้ ทคโนโลยีเพอ่ื การจดั การเรียนรู้ ด้วย
Google App for Education”

 ประกาศสาํ นักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 18 เรือ่ ง ผลการประกวดรางวัล
ทรงคณุ คา่ (OBEC AWARDS) และการปฏิบัตงิ านที่เปน็ เลศิ (BEST PRACTICE) ระดับเขตพ้ืนที่
ประจาํ ปี 2558

 ภาพถ่ายกจิ กรรมการประกวด OBEC AWARDS และ BEST PRACTICE ระดับเขตพ้นื ที่
การศึกษา

 รายการงานวิจัยในชนั้ เรยี นของครู 8 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ และ 1 กจิ กรรมพัฒนา
ผู้เรยี น โรงเรยี นมาบตาพุดพันพทิ ยาคาร ประจําปกี ารศึกษา 2558

 ตัวอยา่ งงานวิจัยในชั้นเรยี นของครู
 รายการสอ่ื และนวตั กรรมของครู 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ และ 1 กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน
โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร ประจาํ ปีการศึกษา 2558
 ตวั อยา่ งส่อื และนวตั กรรมของครู

ตอนที่ 2 การบรหิ ารโครงการ/กจิ กรรม 5 ระดบั คะแนน 1 หมายเหตุ
4 32
รายการประเมนิ

1. ดา้ นสภาพแวดลอ้ มของกิจกรรม/โครงการ
1.1 กิจกรรม/โครงการสอดคลอ้ งกับวสิ ยั ทศั นข์ องโรงเรียน 
1.2 กจิ กรรม/โครงการสอดคลอ้ งกบั นโยบายเป้าหมายของ 
โรงเรยี น
1.3 กิจกรรม/โครงการสอดคลอ้ งกับมาตรฐานคุณภาพการศกึ ษา 
2. ด้านความพอเพียงของทรัพยากรทใ่ี ช้ในการดําเนนิ กจิ กรรม 
2.1 ความเหมาะสมของงบประมาณ 
2.2 ความพอเพยี งของวัสดุ อุปกรณ์
2.3 ความเหมาะสมของสถานท่ี ทใี่ ชด้ าํ เนนิ งาน 
2.4 ความเพยี งพอของบุคลากร 
2.5 ความร่วมมอื ของบคุ ลากรในการดาํ เนนิ งาน
3. ด้านความเหมาะสมของกระบวนการจดั กจิ กรรม/โครงการ 
3.1 ความเหมาะสมของระยะเวลาดาํ เนนิ งานแตล่ ะกิจกรรม
3.2 วธิ กี าร/กจิ กรรมทีป่ ฏบิ ตั ิในแตล่ ะขน้ั ตอนสอดคล้องกบั 
เปา้ หมาย

4

รายการประเมนิ 5 ระดับคะแนน 1 หมายเหตุ
4 32
4. ดา้ นความสาํ เร็จตามวัตถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายในการจดั
กจิ กรรม 
4.1 ปฏิบัติกจิ กรรมได้ครบถว้ นตามลําดบั ท่กี ําหนด
4.2 ผลการดาํ เนินงานบรรลุตามวัตถปุ ระสงคข์ องกจิ กรรม/ 
โครงการ 
4.3 ผลการดาํ เนินงานบรรลุเป้าหมายของสถานศึกษาทีต่ ้ังไว้ 50 12

รวม(ผลรวมทกุ ช่อง)

คา่ เฉลยี่ คะแนนการประเมนิ ผลการบรหิ ารโครงการ (คะแนนผลรวม ÷....13...) = 4.76
คะแนนเฉลย่ี 4.00 - 5.00 แสดงว่าการดําเนนิ งานอยู่ในระดบั ดมี าก
คะแนนเฉลยี่ 3.00 - 3.99 แสดงว่าการดาํ เนนิ งานอยู่ในระดบั ดี
คะแนนเฉลี่ย 2.00 - 2.99 แสดงวา่ การดําเนนิ งานอยู่ในระดบั พอใช้
คะแนนเฉล่ยี 1.50 - 1.99 แสดงว่าการดาํ เนินงานอยใู่ นระดบั ควรปรบั ปรงุ
คะแนนเฉล่ีย 1.00 - 1.49 แสดงว่าการดาํ เนนิ งานอยู่ในระดับ ควรปรบั ปรุงเร่งดว่ น

คิดเปน็ รอ้ ยละ 95.20

สรปุ ผลการประเมินกิจกรรมโครงการ  ดเี ยย่ี ม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ

ตอนท่ี 3 ผลปรากฏแกน้ กั เรยี น คร-ู อาจารย์ และชมุ ชน (สรปุ เฉพาะผลท่ีปรากฏโดยตรง)
3.1 นกั เรียน
1) นักเรียนได้รับการพัฒนาด้านการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้นจากส่ือเทคโนโลยีใหม่ๆ ท่ีครู

นาํ มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้เกดิ ความเข้าใจในบทเรยี นเพิ่มมากข้นึ อีกด้วย และมีเจตคติทด่ี ีต่อ
การเรียนรทู้ ้ังในและนอกห้องเรียนอยา่ งต่อเนอื่ ง

2) นักเรียนได้รับการพัฒนาในด้านวิชาการมากข้ึน โดยการใช้สื่อ นวัตกรรมจาก
ครูผู้สอนเพื่อพัฒนาและแก้ปัญหา หรือนักเรียนบางคนได้รับการซ่อมเสริมในส่วนที่บกพร่องให้ดีขึ้น
อีกท้ังมีสื่อการเรียนการสอนใหม่เพื่อให้เกิดความเข้าใจในบทเรียนอีกด้วย นักเรียนมีเจตคติท่ีดีในการ
เรียนรู้ มีความกระตือรือร้นในการเรียนมากข้ึน เน่ืองจากครูมีส่ือ และวิธีการท่ีหลากหลายในการ
พัฒนาและแก้ปัญหาของนักเรียน

3) นกั เรียนมคี วามสุขในการจัดการเรียนการสอนทม่ี ีความหลากหลาย ตื่นเต้นกับวธิ ีการ
ที่แปลกใหม่ และได้รับการพัฒนาในด้านวิชาการท่ีเด่นมากขึ้นและในบางคนได้รับการซ่อมเสริมใน
ส่วนที่บกพร่องให้ดีขึ้น อีกท้ังมีสื่อการเรียนการสอนใหม่เพ่ือให้เกิดความเข้าใจในบทเรียนอีกด้วย
นักเรียนมีเจตคติทด่ี ใี นการเรียนรู้

5

3.2 ครู – อาจารย์
1) ครูได้รับการพฒั นาด้านวิชาชพี อย่างมีระบบและแบบแผน มแี นวคิด วธิ กี าร หรอื แรง

บันดาลใจในการออกแบบสอ่ื การเรียนรู้ มกี ารนาํ นวตั กรรมใหมใ่ นการพฒั นาการจดั การกิจกรรมการ
เรียนรู้ และนําเทคโนโลยมี าประยกุ ต์ใช้ในการปฏบิ ัตงิ าน โดยจัดการเรยี นรูท้ ่ีสนองความแตกต่าง
ระหวา่ งบคุ คลและพฒั นาการทางสติปัญญาของนักเรียนไดอ้ ย่างเหมาะสม และนําไปสู่การการวัดและ
ประเมนิ ผลผูเ้ รยี นครูสามารถพฒั นาการจดั การเรยี นร้แู ละออกแบบการวดั และประเมินผลดว้ ยวิธที ี่
หลากหลายและเหมาะสมกับผู้เรียนมากขึน้

2) ความพึงพอใจของครูท่เี ข้ารว่ มอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารการใช้เทคโนโลยีเพือ่ การจัดการ
เรียนรู้ ด้วย Google App for Education”

6

3) ครูไดร้ บั การพัฒนาดา้ นวิชาชพี อย่างมรี ะบบและแบบแผน โดยไดน้ าํ ความรู้ บรบิ ทและ
ภูมิปัญญาของทอ้ งถ่ิน หลกั การจัดการ จติ วิทยา รปู แบบหรือวีการสอนทห่ี ลากหลายมาบูรณาการใน
การจัดการเรยี นรู้และออกแบบการจัดการเรียนรทู้ สี่ นองความแตกต่างระหวา่ งบุคคลและพัฒนาการ
ทางสตปิ ัญญาของนักเรียนได้อย่างเหมาะสมในแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้ และนําไปสกู่ ารออกแบบ
ส่ือและเทคโนโลยที ่เี หมาะสม เช่น แบบฝกึ ชุดการสอน ชุดกิจกรรม หรอื สือ่ เทคโนโลยใี หต้ รงตาม
ความสนใจของผู้เรียนอกี ดว้ ย ดา้ นการวดั และประเมินผลผู้เรยี นครสู ามารถพฒั นาการจดั การเรยี นรู้
และออกแบบการวดั และประเมนิ ผลด้วยวิธที ่ีหลากหลายและเหมาะสมกบั ผูเ้ รียนมากขึ้น

3.3 ชุมชน
1) ชุมชนเกิดความภาคภูมใิ จจากการทีผ่ เู้ รียนสามารถเรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเองไดเ้ ตม็

ตามศกั ยภาพ ส่งผลใหช้ มุ ชนใหก้ ารสนบั สนนุ ในการจัดการเรียนการสอนของครูผูส้ อนอยา่ งต่อเน่ือง
2) ชุมชนเกิดความภาคภูมใิ จจากการทผี่ ู้เรยี นสามารถเรียนร้แู ละพฒั นาตนเองได้เต็ม

ตามศกั ยภาพ ส่งผลให้ชุมชนใหก้ ารสนับสนนุ ในการจัดการเรยี นการสอนของครผู สู้ อนอย่างต่อเน่ือง

7

ตอนที่ 4 ปญั หาอปุ สรรค แนวทางการปรับปรงุ พฒั นาโครงการ/กิจกรรม
4.1 ปัญหาและอปุ สรรค

1. คู่มอื การใชง้ าน Google Apps for Education ทีว่ ิทยากรจัดทําข้ึนสาํ หรบั ประกอบการ
อบรมอยู่ในรูปแบบของคมู่ อื ออนไลน์ ทาํ ให้ผู้เข้ารบั การอบรมเกิดความไมส่ ะดวกในการใชง้ าน

2. ระยะเวลาท่ใี ชใ้ นการอบรมมจี าํ กัด ทําใหผ้ เู้ ขา้ รบั การอบรมไม่ได้รับการฝกึ ฝนการใชง้ าน
เท่าทค่ี วร

3. ครสู ่งงานวิจยั ในชน้ั เรยี นไมต่ รงเวลา ทาํ ให้การสรปุ ผลการจดั กิจกรรมลา่ ชา้
4. ขาดผูม้ ีความรคู้ วามเช่ียวชาญในการตรวจผลงานวิจยั ในช้ันเรยี น

4.2 แนวทางในการแกไ้ ข
1. มีการสงั่ พิมพค์ ู่มอื ประกอบการอบรมใหก้ บั ผเู้ ขา้ รบั การอบรมทต่ี ้องการเป็นพิเศษ
2. วิทยากรมอบหมายใหผ้ ูเ้ ขา้ รบั การอบรมไปฝึกฝนการใชง้ านหลงั เขา้ รับการอบรม และมี

การสง่ ผลงานใหก้ บั วิทยากรเพือ่ ประเมนิ ผล
3. ควรมีการกาํ หนดเวลาทีแ่ น่ชดั ในการสง่ ผลงานวจิ ยั ในชนั้ เรยี นและสอื่ นวตั กรรม
4. ควรมีการแต่งตั้งคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญในการตรวจผลงานวิจัยในชั้นเรียน ส่ือและ

นวัตกรรมในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ก่อนส่งมายังกลุ่มงานพัฒนาวิจัย สื่อนวัตกรรมเทคโนโลยีทาง
การศึกษา

ตอนที่ 5 ขอ้ เสนอแนะในการพัฒนาโครงการ/กิจกรรม/งาน ครงั้ ต่อไป
1. ในการจดั การอบรมครัง้ ตอ่ ไป ควรจดั ทาํ เลม่ คมู่ ือประกอบการอบรมใหก้ ับผู้เขา้ รบั การ

อบรม เพ่อื ความสะดวกในการใชง้ าน
2. กาํ หนดสง่ งานสื่อ นวตั กรรมและวิจัยของครูให้ชัดเจน โดยลงปฏิทินโรงเรยี นเพือ่ ให้ครูได้

รบั ทราบก่อนเปดิ ภาคเรียนทุกคร้ัง เพอื่ ผรู้ บั ผิดชอบโครงการจะได้งา่ ยต่อการรวบรวมผลงานและ
สะดวกต่อการสรปุ งาน

3. ควรมีการประชุมวางแผนบคุ ลากรในกลมุ่ งานก่อนการเปิดภาคเรียนเพื่อเตรียมการ และ
แบ่งหนา้ ที่อย่างชดั เจน

4. การติดตามงานของคณะทาํ งานและการสง่ งานของครยู ังไมเ่ ปน็ ปัจจบุ ันจงึ ควรกาํ หนดตัว
บุคคลในการตดิ ตามงานอย่างชดั เจน

5. ควรมีการประชาสมั พนั ธ์และเพมิ่ เวทีให้ครไู ด้มโี อกาสในการนําเสนอและเผยแพร่
ผลงานวจิ ัยในชนั้ เรียนตามงานประชุมวชิ าการทหี่ นว่ ยงานภายนอกจดั ข้ึน เพือ่ เพม่ิ โอกาสใหค้ รไู ดม้ ี
การแลกเปลย่ี นเรียนรู้ร่วมกันเก่ียวกับการทาํ วิจัยในช้ันเรยี น และสรา้ งความภาคภูมิใจใหก้ บั ครูท่ีได้
นาํ เสนอผลงานวจิ ัยในชน้ั เรยี นของตนเอง

6. ควรสง่ เสริมสนบั สนุนใหค้ รเู ขา้ รว่ มการประกวดสื่อและนวตั กรรมเพอ่ื เปน็ เวทใี หค้ รูได้
เผยแพรผ่ ลงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรเู้ กีย่ วกับการผลิตสอ่ื และนวตั กรรม



9

ถอดกิจกรรม 3 หว่ ง 2 เงือ่ นไข

โครงการพัฒนาส่ือนวัตกรรมเทคโนโลยีและวจิ ยั ประจําปีการศึกษา 2558

3 ห่วง 2 เงอื่ นไข การนาํ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปประยกุ ต์ใช้
1. ความพอประมาณ จัดกิจกรรมตามความจาํ เป็นโดยคาํ นึงถึงคณุ ค่าและประโยชนส์ ูงสุดท่ีจะเกิด
กบั ครูและผูเ้ รยี น บนพืน้ ฐานความเหมาะสมของงบประมาณท่ีมอี ยู่ ใช้
2. มเี หตุมีผล ทรัพยากรทีม่ อี ย่อู ยา่ งคมุ้ คา่ จดั กิจกรรมให้พอเหมาะกบั เวลา
การเลือกกจิ กรรมโดยคํานึงถงึ ความต้องการและความสนใจของครู เลอื ก
3. การมีภมู ิคุ้มกนั ท่ีดี กิจกรรมทสี่ อดคลอ้ งกบั สําหรับครใู นศตวรรษที่ 21 เลือกใช้ทรพั ยากรที่มี
ในตวั ประสทิ ธภิ าพ
1. เงื่อนไขความรู้ มีการวางแผนงานการดาํ เนินงาน กอ่ นการจดั กิจกรรมอยา่ งเปน็ ข้นั ตอน
และมกี ารติดตามการดําเนินงานอยา่ งต่อเน่ือง
2. เงื่อนไขคุณธรรม 1. มคี วามรู้พ้นื ฐานเก่ียวกบั การทําวิจัยในช้นั เรียน
2. มีความร้พู ืน้ ฐานเกีย่ วกับการพัฒนาสอ่ื นวตั กรรมประกอบการจดั การ
การบรู ณาการ เรียนรู้
การประยุกตใ์ ชใ้ น 3. มคี วามรู้พนื้ ฐานเก่ียวกบั การจัดการเรียนร้ทู เ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นสําคัญ และ
วถิ ีชวี ิตสู่ความสมดุล คํานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
และยั่งยืน 1. การใหค้ วามร่วมมอื และมีสว่ นรว่ มในการปฏบิ ตั ิกิจกรรม
2. ความรับผดิ ชอบ และชว่ ยเหลอื ผูอ้ ่นื ในการปฏิบัตกิ ิจกรรม
มติ ิ สรา้ งความตระหนกั ในการแกป้ ัญหาในชนั้ เรยี น โดยใช้การวิจยั และพัฒนา
1. ด้านวตั ถุ สอื่ นวตั กรรมทสี่ ามารถแกป้ ญั หาผู้เรียนไดจ้ รงิ

2. ด้านสงิ่ แวดลอ้ ม ส่ิงท่ีไดร้ ับ
การใชท้ รัพยากรตา่ งๆ ในการทํากจิ กรรมอยา่ งประหยัดและคุ้มค่าเพอ่ื ให้
เกิดประโยชน์สูงสุด

การประหยดั และใช้ทรัพยากรอยา่ งคุ้มคา่ ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด

3. ด้านสังคม เกดิ การสร้างเครือขา่ ยการเรยี นรู้ระหวา่ งครูในโรงเรียน และนอกโรงเรียน
4. ด้านวัฒนธรรม ส่งเสริมให้เกิดสังคมแหง่ การเรียนรู้

การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้รว่ มกัน ส่งเสริมให้เกดิ สังคมแห่งการเรียนรูเ้ พือ่ พัฒนา
งานของตนเองตามแนวทาง PLC

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก

โครงการ









ภาคผนวก ข

รายงานผลการดาํ เนนิ กิจกรรม
สง่ เสรมิ ใหค้ รศู กึ ษาและพัฒนางานวจิ ยั

แบบรายงานผลการดาํ เนนิ งานตามโครงการ/กจิ กรรม

ตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปกี ารศึกษา 2558

ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่วั ไป

1. กลุ่มบริหาร

กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ  กลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ

 กลมุ่ บรหิ ารทวั่ ไป  กลมุ่ บรหิ ารงานบุคคล

2. กลุ่มงาน พฒั นาวิจัยสือ่ นวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศกึ ษา

3. ชอื่ โครงการ พฒั นาสือ่ นวัตกรรมเทคโนโลยีและวิจยั

4. ชอื่ กิจกรรม กิจกรรมสง่ เสริมใหค้ รศู กึ ษาและพัฒนางานวิจยั

5. ประเภทโครงการ/กิจกรรม  ต่อเนอื่ ง ใหม่

6. สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศกึ ษาด้าน  ผเู้ รยี น  ครู  ผบู้ รหิ าร  ชุมชน

7. สนองแผนงานที่ 2 กลยุทธท์ ี่ 2 และ 5

8. สนองมาตรฐาน/ตัวบง่ ชีส้ พฐ.ขอ้ ท่ี 7
9. ตัวบ่งช้ี สพฐ. ขอ้ ท่ี (7.3, 7.4, 7.5, 7.7)
10. สนองตัวช้ีวดั โรงเรยี นขอ้ ที่ 9, 14, 15
11.ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวกลุ ธิดา สุวัชระกลุ ธร
12. ระยะเวลาดาํ เนนิ การ พฤษภาคม 2557 – มนี าคม 2558
13. สถานท่ี โรงเรียนมาบตาพดุ พนั พทิ ยาคารอําเภอเมือง จงั หวดั ระยอง

14. งบประมาณคา่ ใช้จ่าย ทเ่ี สนอของบประมาณตามแผนปฏิบัติงาน 1,000 บาท

ค่าใช้จา่ ยจรงิ เป็นจาํ นวนเงิน 1,000 บาท

 เทา่ กบั ท่กี ําหนด สูงกว่าที่กําหนด ต่าํ กวา่ ทก่ี ําหนด

15. วัตถุประสงคข์ องโครงการ
15.1 เพื่อพฒั นาครูให้มกี ารออกแบบการจดั การเรยี นร้ทู สี่ นองความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล

และพฒั นาการทางสติปญั ญาได้
15.2 เพือ่ สง่ เสรมิ ใหค้ รมู ีการวัดและประเมนิ ผลผ้เู รยี นเพอ่ื พฒั นาการเรยี นรดู้ ้วยวธิ ีท่ี

หลากหลาย

15.3 เพือ่ สง่ เสรมิ ใหค้ รมู กี ารพฒั นางานวจิ ยั และพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ในวิชาทตี่ นเอง

รบั ผดิ ชอบ

16. ความสําเร็จของโครงการ/กจิ กรรม

เปา้ หมายทร่ี ะบใุ นโครงการ/กจิ กรรม ผลงานทป่ี ฏบิ ตั ิได้จริง

1. ดา้ นปรมิ าณ 1. ดา้ นปริมาณ

1. ครูมีการออกแบบการจัดการเรยี นรูท้ ี่สนองความ 1. ครูออกแบบการจดั การเรียนรทู้ ส่ี นองความ

แตกตา่ งระหว่างบคุ คลและพฒั นาการทางสติปัญญา แตกต่างระหว่างบคุ คลและพฒั นาการทาง

ได้ คิดเปน็ รอ้ ยละ 90 สตปิ ญั ญาได้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 90

2

เปา้ หมายที่ระบใุ นโครงการ/กิจกรรม ผลงานที่ปฏบิ ตั ไิ ดจ้ ริง

2. ครมู ีการทําวจิ ยั ในชนั้ เรยี น และวดั ประเมนิ ผล 2. ครูมีการทําวจิ ัยในชน้ั เรียนเพ่อื พัฒนาการเรยี นรู้

ผ้เู รียนเพือ่ พัฒนาการเรยี นรูด้ ้วยวธิ ีทห่ี ลากหลาย คิด และวดั ประเมินผลผ้เู รียนดว้ ยวิธที หี่ ลากหลาย คิด

เป็นร้อยละ 90 เป็นร้อยละ 92.43

3. ครูมีการศกึ ษาวจิ ยั และพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ 3. ครูมีการศกึ ษาวจิ ัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้

ในวชิ าที่ตนเองรับผิดชอบ คิดเปน็ ร้อยละ 90 ในวชิ าทตี่ นเองรบั ผิดชอบ คิดเป็นร้อยละ 100

2. ดา้ นคุณภาพ 2. ดา้ นคณุ ภาพ

1. ครูออกแบบการจดั การเรียนรทู้ ี่สนองความ 1. ครมู กี ารออกแบบการจดั การเรยี นรู้อยา่ ง

แตกตา่ งระหว่างบุคคลและพฒั นาการทางสตปิ ญั ญา หลากหลายท่สี นองความแตกต่างระหวา่ งบุคคล

ได้ในระดบั ดี และพัฒนาการทางสติปัญญาได้ ในระดบั ดี

2. ครูทาํ วิจยั ในช้นั เรียน และวัดประเมินผลผเู้ รียน 2. ครใู ชว้ ิจัยในชน้ั เรียนเพอ่ื แกป้ ญั หาผ้เู รียน โดยมี

เพ่อื พฒั นาการเรียนรดู้ ว้ ยวิธีท่ีหลากหลาย ในระดบั ดี การวัดประเมินผลผเู้ รยี นเพอ่ื พัฒนาการเรียนรูด้ ้วย

วธิ ีท่ีหลากหลาย ในระดับดี

3. ครมู กี ารพัฒนางานวจิ ัยและพัฒนาการจัดการ 3. ครมู กี ารพัฒนางานวจิ ยั และพฒั นาการจดั การ

เรยี นรู้ในวิชาทต่ี นเองรับผดิ ชอบ ในระดับดี เรยี นรู้ในวชิ าทต่ี นเองรบั ผิดชอบ ในระดับดี

17. หลักฐานยืนยนั ความสาํ เร็จ
 ประกาศสํานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 เร่ือง ผลการประกวดรางวลั

ทรงคุณคา่ (OBEC AWARDS) และการปฏิบตั งิ านท่เี ป็นเลิศ (BEST PRACTICE) ระดับเขตพื้นท่ี
ประจําปี 2558

 ภาพถ่ายกิจกรรมการประกวด OBEC AWARDS และ BEST PRACTICE ระดบั เขตพ้ืนที่
การศกึ ษา

 รายการงานวจิ ัยในชั้นเรียนของครู 8 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ และ 1 กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น
โรงเรียนมาบตาพดุ พันพิทยาคาร ประจําปกี ารศกึ ษา 2558

 ตัวอย่างงานวจิ ัยในชัน้ เรียนของครู

ตอนท่ี 2 การบริหารโครงการ/กิจกรรม ระดบั คะแนน หมาย
54321 เหตุ
รายการประเมิน

1. ด้านสภาพแวดล้อมของกจิ กรรม/โครงการ 
1.1 กจิ กรรม/โครงการสอดคล้องกบั วสิ ัยทศั น์ของโรงเรยี น 
1.2 กิจกรรม/โครงการสอดคล้องกับ นโยบายเปา้ หมายของโรงเรยี น
1.3 กจิ กรรม/โครงการสอดคล้องกับมาตรฐานคณุ ภาพการศกึ ษา 
2. ดา้ นความพอเพยี งของทรัพยากรทใ่ี ชใ้ นการดาํ เนนิ กจิ กรรม 
2.1 ความเหมาะสมของงบประมาณ
2.2 ความพอเพียงของวสั ดุ อปุ กรณ์

3

รายการประเมิน ระดบั คะแนน หมาย
54321 เหตุ
2.3 ความเหมาะสมของสถานท่ี ทใี่ ช้ดาํ เนินงาน
2.4 ความเพียงพอของบุคลากร 
2.5 ความรว่ มมอื ของบคุ ลากรในการดาํ เนนิ งาน 
3. ด้านความเหมาะสมของกระบวนการจดั กิจกรรม/โครงการ 
3.1 ความเหมาะสมของระยะเวลาดําเนินงานแตล่ ะกิจกรรม
3.2 วธิ กี าร/กจิ กรรมที่ปฏบิ ตั ิในแต่ละขัน้ ตอนสอดคลอ้ งกับเปา้ หมาย 
4. ดา้ นความสําเรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงค์และเปา้ หมายในการจัด 
กิจกรรม
4.1 ปฏบิ ตั ิกิจกรรมไดค้ รบถว้ นตามลําดับท่กี ําหนด 
4.2 ผลการดาํ เนนิ งานบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงคข์ องกิจกรรม/โครงการ 
4.3 ผลการดาํ เนนิ งานบรรลุเป้าหมายของสถานศกึ ษาท่ีต้ังไว้ 
45 16
รวม (ผลรวมทุกชอ่ ง)

ค่าเฉล่ียคะแนนการประเมินผลการบรหิ ารโครงการ (คะแนนผลรวม ÷....13...) = 4.46
คะแนนเฉล่ยี 4.00 - 5.00 แสดงวา่ การดาํ เนนิ งานอยู่ในระดับ ดีมาก
คะแนนเฉลีย่ 3.00 - 3.99 แสดงว่าการดาํ เนนิ งานอยูใ่ นระดบั ดี
คะแนนเฉล่ีย 2.00 - 2.99 แสดงว่าการดําเนินงานอยใู่ นระดับ พอใช้
คะแนนเฉลย่ี 1.50 - 1.99 แสดงวา่ การดําเนนิ งานอยูใ่ นระดบั ควรปรบั ปรงุ
คะแนนเฉลยี่ 1.00 - 1.49 แสดงว่าการดาํ เนนิ งานอยใู่ นระดับ ควรปรบั ปรุงเร่งดว่ น

คิดเปน็ ร้อยละ 89.20

สรปุ ผลการประเมนิ กจิ กรรมโครงการ ดีเยย่ี ม  ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ

ตอนท่ี 3 ผลปรากฏแกน่ กั เรียน คร-ู อาจารย์ และชุมชน (สรปุ เฉพาะผลทีป่ รากฏโดยตรง)

3.1 นักเรียน
นักเรียนได้รับการพัฒนาในด้านวิชาการมากขึ้น โดยการใช้สื่อ นวัตกรรมจากครูผู้สอนเพื่อ

พัฒนาและแก้ปัญหา หรือนักเรียนบางคนได้รับการซ่อมเสริมในส่วนท่ีบกพร่องให้ดีข้ึน อีกทั้งมีสื่อการ
เรียนการสอนใหม่เพื่อให้เกิดความเข้าใจในบทเรียนอีกด้วย นักเรียนมีเจตคติท่ีดีในการเรียนรู้ มีความ
กระตือรือร้นในการเรียนมากข้ึน เนื่องจากครูมีสื่อ และวิธกี ารที่หลากหลายในการพฒั นาและแกป้ ัญหา
ของนักเรยี น

3.2 ครู - อาจารย์
ครูได้รับการพัฒนาด้านวิชาชีพอย่างมีระบบและแบบแผน โดยได้นําความรู้ บริบทและภูมิ

ปัญญาของท้องถิ่น หลักการจัดการ จิตวิทยา รูปแบบหรือวีการสอนท่ีหลากหลายมาบูรณาการในการ
จัดการเรียนรู้และออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่สนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทาง





ถอดกิจกรรม 3 หว่ ง 2 เง่ือนไข

กิจกรรมสง่ เสริมใหค้ รศู กึ ษาและพฒั นางานวจิ ัย

3 หว่ ง 2 เงอ่ื นไข การนําหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ไปประยกุ ตใ์ ช้
1. ความพอประมาณ จัดกิจกรรมตามความจาํ เป็นโดยคาํ นงึ ถึงคุณค่าและประโยชนส์ ูงสุดที่จะเกิด
กับครแู ละผ้เู รยี น บนพ้ืนฐานความเหมาะสมของงบประมาณทมี่ อี ยู่ ใช้
2. มเี หตมุ ีผล ทรพั ยากรทมี่ ีอยู่อย่างคมุ้ ค่า จดั กจิ กรรมใหพ้ อเหมาะกับเวลา
การเลอื กกิจกรรมโดยคํานึงถึงความตอ้ งการและความสนใจของครู เลอื ก
3. การมภี มู คิ ้มุ กันท่ดี ี กจิ กรรมทส่ี อดคล้องกับสาํ หรับครูในศตวรรษท่ี 21 เลือกใช้ทรัพยากรที่มี
ในตัว ประสทิ ธภิ าพ
1. เง่ือนไขความรู้ มีการวางแผนงานการดาํ เนนิ งาน กอ่ นการจดั กจิ กรรมอยา่ งเป็นขั้นตอน
และมกี ารติดตามการดําเนนิ งานอยา่ งต่อเน่ือง
2. เงอื่ นไขคุณธรรม 1. มีความรูพ้ ื้นฐานเกี่ยวกบั การพัฒนาส่อื นวตั กรรมประกอบการจัดการ
เรียนรู้
การบูรณาการ 2. มคี วามรู้พื้นฐานเกีย่ วกับการจดั การเรียนรู้ท่ีเน้นผ้เู รียนเป็นสําคญั และ
การประยุกต์ใช้ใน คํานึงถึงความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล
วิถีชวี ิตสคู่ วามสมดุล 1. การให้ความรว่ มมอื และมสี ว่ นร่วมในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม
และย่ังยืน 2. ความรบั ผดิ ชอบ และช่วยเหลอื ผ้อู ื่นในการปฏบิ ัติกิจกรรม
สรา้ งความตระหนกั ในการแกป้ ญั หาในชน้ั เรยี น โดยใช้การวจิ ยั และพฒั นา
มติ ิ สื่อนวัตกรรมทสี่ ามารถแก้ปญั หาผู้เรยี นไดจ้ ริง
1. ดา้ นวตั ถุ
สงิ่ ทไ่ี ด้รบั
2. ดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม การใชท้ รพั ยากรต่างๆ ในการทํากจิ กรรมอยา่ งประหยดั และคุม้ คา่ เพื่อให้
เกดิ ประโยชน์สงู สดุ

การประหยัดและใชท้ รพั ยากรอย่างคมุ้ คา่ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สุด

3. ด้านสังคม เกิดการสร้างเครือข่ายการเรียนรรู้ ะหว่างครูในโรงเรยี น และนอกโรงเรียน
4. ด้านวฒั นธรรม สง่ เสริมให้เกดิ สังคมแห่งการเรียนรู้

การแลกเปล่ียนเรียนรูร้ ่วมกัน สง่ เสริมใหเ้ กดิ สังคมแหง่ การเรียนรู้เพื่อพัฒนา
งานของตนเองตามแนวทาง PLC

ภาคผนวก





















ภาพกจิ กรรม

การประกวดผลงานวจิ ยั ในชนั้ เรยี น ในการประกวดรางวัลหน่วยงานและผู้มีผลงานดเี ด่นประสบความสาเรจ็
เป็นท่ปี ระจักษ์เพ่อื รบั รางวัลทรงคุณคา่ (OBEC AWARDS) และการปฏิบตั งิ านท่ีเปน็ เลศิ (BEST PRACTICE)

ระดบั เขตพื้นท่ีการศึกษา ประจาปี 2558

คณะครูโรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร เข้ารว่ มการประกวด
รางวลั OBEC AWARDS และ BEST PRACTICE

ครทู ่ีเข้ารว่ มการประกวด ได้รับรางวัลระดับเหรยี ญทอง และระดบั เหรยี ญเงิน
จากการประกวด OBEC AWARDS

ภาพกิจกรรม

การประกวดผลงานวิจัยในช้นั เรียน ในการประกวดรางวัลหน่วยงานและผมู้ ีผลงานดีเดน่ ประสบความสาเร็จ
เปน็ ทีป่ ระจักษเ์ พื่อรับรางวัลทรงคุณคา่ (OBEC AWARDS) และการปฏบิ ัตงิ านทเ่ี ปน็ เลิศ (BEST PRACTICE)

ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา ประจาปี 2558

ครทู ี่เขา้ ร่วมการประกวด ไดร้ ับรางวลั ระดบั เหรยี ญทอง และระดับเหรยี ญเงนิ
จากการประกวด OBEC AWARDS และ BEST PRACTICE

ครทู ีเ่ ขา้ รว่ มการประกวด ไดร้ ับรางวัลระดบั เหรียญทอง และระดับเหรียญเงนิ
จากการประกวด BEST PRACTICE

ภาพกิจกรรม

การประกวดผลงานวิจยั ในชั้นเรยี น ในการประกวดรางวลั หนว่ ยงานและผู้มผี ลงานดีเดน่ ประสบความสาเรจ็
เปน็ ท่ีประจกั ษ์เพอ่ื รบั รางวัลทรงคณุ คา่ (OBEC AWARDS) และการปฏิบตั ิงานท่เี ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

ระดบั เขตพน้ื ที่การศึกษา ประจาปี 2558

การนาเสนอผลงานต่อคณะกรรมการและเพื่อนครู

การนาเสนอผลงานต่อคณะกรรมการและเพื่อนครู

ภาพกิจกรรม

การประกวดผลงานวิจยั ในชั้นเรยี น ในการประกวดรางวลั หนว่ ยงานและผู้มผี ลงานดีเดน่ ประสบความสาเรจ็
เปน็ ท่ีประจกั ษ์เพอ่ื รบั รางวัลทรงคณุ คา่ (OBEC AWARDS) และการปฏิบตั ิงานท่เี ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

ระดบั เขตพน้ื ที่การศึกษา ประจาปี 2558

การนาเสนอผลงานต่อคณะกรรมการและเพื่อนครู

การนาเสนอผลงานต่อคณะกรรมการและเพื่อนครู

ภาพกิจกรรม

การประกวดผลงานวิจยั ในชั้นเรยี น ในการประกวดรางวลั หนว่ ยงานและผู้มผี ลงานดีเดน่ ประสบความสาเรจ็
เปน็ ท่ีประจกั ษ์เพอ่ื รบั รางวัลทรงคณุ คา่ (OBEC AWARDS) และการปฏิบตั ิงานท่เี ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

ระดบั เขตพน้ื ที่การศึกษา ประจาปี 2558

การนาเสนอผลงานต่อคณะกรรมการและเพื่อนครู

การนาเสนอผลงานต่อคณะกรรมการและเพื่อนครู

ภาพกิจกรรม

การประกวดผลงานวิจยั ในชั้นเรยี น ในการประกวดรางวลั หนว่ ยงานและผู้มผี ลงานดีเดน่ ประสบความสาเรจ็
เปน็ ท่ีประจกั ษ์เพอ่ื รบั รางวัลทรงคณุ คา่ (OBEC AWARDS) และการปฏิบตั ิงานท่เี ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

ระดบั เขตพน้ื ที่การศึกษา ประจาปี 2558

การนาเสนอผลงานต่อคณะกรรมการและเพื่อนครู

การนาเสนอผลงานต่อคณะกรรมการและเพื่อนครู





รายการสื่อนวตั กรรม และวิจยั ในชั้นเรียน ปกี ารศกึ ษา 2558 โรงเรยี นมาบตาพดุ พันพิทยาคาร
กลมุ่ สาระฯ ภาษาไทย

ชอื่ - นามสกลุ ตําแหน่ง สอ่ื และนวตั กรรม วจิ ัยในชัน้ เรยี น ภาคเรียนท่ี

1 นางสาวปภาวรินท์ รตั นว์ ิเศษฤทธิ์ คศ.1 แบบฝึกทักษะการอ่านของ การพฒั นาทกั ษะการอา่ น 2
นกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปี
ที่ 3 โดยใช้แบบฝึก

2 นางสาวเต็มใจ มณโี ชติ คศ.3 ชดุ ฝกึ ทกั ษะการอ่านจบั ศกึ ษาและแกป้ ัญหานักเรียน 2

ใจความโดยใชก้ รอบมโนทัศน์ เขยี นภาษาไทยไม่ถูกต้อง

สําหรับนักเรยี นช้ัน สาํ หรับนกั เรียนชน้ั

มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ปีการศึกษา

2558

3 นางฐติ พฒั น์ สขุ ยากร คศ.3 แบบฝึกทักษะการแตง่ กลอน การพฒั นาทกั ษะการแตง่ 2

สุภาพ สาํ หรับนกั เรียนชั้น กลอนสุภาพสาํ หรับนักเรียน

มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2/10

4 นางปวริศา แก้วพลิ า คศ.2 แบบฝกึ พัฒนาทกั ษะการแต่ง รายงานการใชแ้ บบฝกึ พัฒนา 2
กลอนแปด ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ทกั ษะวิชาภาษาไทยพ้นื ฐาน
2 ชดุ ที่ 2 ร้อยบทสมั ผัส เรือ่ ง การแตง่ กลอนแปด
สาํ หรบั นักเรียนช้นั
มัธยมศึกษาปที ี่ 2

5 นางจนั ทร์เพญ็ ภูพานเพชร คศ.2 แบบฝึกทักษะการอา่ นจบั การวิจยั พัฒนาการอ่านวิชา 2
ใจความสาํ คญั เพ่อื พัฒนาการ ภาษาไทยพืน้ ฐาน สาํ หรับ
อ่าน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ นกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3
ภาษาไทย ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ปกี ารศึกษา 2558
3 ชุด การอา่ นจับใจความ
สําคัญจากนทิ าน

6 นางสาวนติ ยา ภูมี คศ.2 ชุดแบบฝกึ พัฒนาทกั ษะกลมุ่ การปรับเปลย่ี นพฤติกรรมการ 2
สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย เรียนให้มีวินยั ความ
เรื่อง การอ่านจบั ใจความ รับผดิ ชอบและการเรียน
สาํ คัญ และใจความรองจาก รายวชิ าภาษาไทยดีขึ้นของ
เรือ่ งทอ่ี ่านทั้งร้อยแก้วและ นกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่
รอ้ ยกรอง 5/3

รายการสื่อนวตั กรรม และวจิ ัยในชน้ั เรียน ปกี ารศึกษา 2558 โรงเรยี นมาบตาพุดพันพิทยาคาร

กลมุ่ สาระฯ ภาษาไทย

ช่อื - นามสกุล ตาํ แหน่ง ส่อื และนวัตกรรม วจิ ัยในช้นั เรียน ภาคเรียนที่
2
7 นางพิศสุดา พรมปา คศ.1 ชดุ แบบฝึกพฒั นาทกั ษะ กล่มุ การพัฒนาการเขยี นโดยใช้
สาระการเรียนร้ภู าษาไทย แบบฝึกทกั ษะการเขยี น
เรอื่ งการเขียนเรียงความ ช้ัน เรียงความของนักเรยี นชั้น

มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 มัธยมศกึ ษาปีที่ 5

8 นางสาววรารตั น์ ศรสี ุวรรณ์ คศ.1 แบบฝกึ ทักษะการอา่ นจบั การพฒั นาการอ่านจบั 2
9 นางสาวเบญจวรรณ สว่างภพ ใจความสําหรบั นกั เรยี นชั้น ใจความของนักเรียนชัน้ 2
มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 มัธยมศึกษาปที ่ี 3 โดยใช้
แบบฝึก
คศ.1 แบบฝึกทักษะ เรือ่ ง คํานาม
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ทกั ษะการอ่านและการเขียน
คําควบกล้ํา ร ล สําหรบั
นักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4

10 นางสาวเบญจวรรณ โอชารส คผช. แบบฝกึ การพัฒนาทกั ษะการ การพัฒนาทกั ษะการเขยี น 2
เขียนสารคดอี ตั ชีวประวัติของ สารคดีอัตชวี ประวตั ชิ น้ั
นักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3/11 โดย
โดยการฝกึ ตามตวั อย่าง การฝกึ ตามตัวอย่าง

11 นายเกรยี งไกร วิลามาศ คผช. ปรศิ นาฟ้าผ่า: กาพยเ์ หช่ ม 2
12 นางสาวกฤษณา มณจี ร เครอื่ งคาวหวาน 2

คผช. ชุดกิจกรรมเร่อื ง เสยี งใน การสอนโดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะ
ภาษาไทย วิชาภาษาไทย การเขยี นสะกดคํากบั
พื้นฐาน ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 นักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1


Click to View FlipBook Version