The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ (Individual Development Plan : ID Plan) ประจำปีการศึกษา 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KruJayPhysics, 2020-06-10 05:29:26

63-4-01 ID Plan

แผนพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ (Individual Development Plan : ID Plan) ประจำปีการศึกษา 2563

มพพ ๐๘

แผนพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ
ประจำปก ารศกึ ษา ๒๕๖๓

(Individual Development Plan : ID Plan)
กลุมสาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

โดย
ชือ่ นางสาวกุลธิดา สวุ ัชระกุลธร
ตำแหนง ครู วทิ ยฐานะ ชำนาญการพเิ ศษ

โรงเรียนมาบตาพุดพนั พิทยาคาร อ.เมือง จ.ระยอง
สังกัด สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๑๘

แผนพฒั นาตนเองและพฒั นาวชิ าชีพ(ของขา ราชการครู)
(Individual Development Plan : ID Plan)

----------------------------------------------------------------------

สว นท่ี ๑ ขอมูลสวนบคุ คล

ช่ือ นางสาวกุลธิดา ชอ่ื สกุล สวุ ัชระกุลธร
ตำแหนง ครู วทิ ยฐานะ ชำนาญการพิเศษ
วฒุ กิ ารศกึ ษา
O ปรญิ ญาตรี วท.บ. วชิ าเอก ฟสกิ ส

O ปริญญาโท ศษ.ม. วชิ าเอก วทิ ยาศาสตรศ ึกษา
เขารับราชการวนั ท่ี ๑๖ เดอื น มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ณ โรงเรียน เขาชะเมาวทิ ยา
สังกดั สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาระยอง เขต ๒
อายรุ าชการจนถงึ ปจจุบัน ๑๑ ป ๑๑ เดอื น
เงินเดอื น อันดบั คศ. ๓ อตั ราเงนิ เดือน ๓๔,๐๔๐ บาท
สถานทที่ ำงาน โรงเรยี นมาบตาพุดพนั พิทยาคาร สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๘
งานในหนาท่ที ่ีรับผดิ ชอบ/งานสอน จำนวน ๓ วชิ า รวม ๒๐ ช่ัวโมง/สปั ดาห
กลุมสาระท่ีปฏิบตั ิการสอน วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

1. รายวชิ า ฟส กิ สเพ่ิมเตมิ ๓ ชั้น ม. ๕/๑ - ๓ จำนวน ๑๒ คาบ / สปั ดาห
จำนวน ๔ คาบ / สปั ดาห
2. รายวิชา การสือ่ สารและการนำเสนอ ชัน้ ม. ๕/๒ - ๓ จำนวน ๒ คาบ / สปั ดาห
จำนวน ๑ คาบ / สปั ดาห
3. รายวิชา สอนเสรมิ O-NET ชั้น ม. ๖ จำนวน ๑ คาบ / สปั ดาห

4. รายวชิ า ลกู เสือ – เนตรนารี ชัน้

5. รายวชิ า ชุมนมุ ชน้ั

งานทไ่ี ดรบั มอบหมาย/งานพิเศษ
1. ครทู ป่ี รกึ ษานกั เรยี น ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๔/๘
2. งานวจิ ยั เพ่ือพัฒนาคุณภาพ และพฒั นาการใชส ่ือเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา
3. งานโรงเรียนมาตรฐานสากล
4. งานศนู ยพ ฒั นาวชิ าชพี ครู

ผลงาน ท่ีเกดิ จากการปฏบิ ัติหนาทีใ่ นตำแหนงปจจบุ ัน (ยอนหลัง ๑ ปการศึกษา)
๑. ผลท่ีเกดิ จากการจัดการเรยี นรู

ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหกับนักเรียน โดยรวมกับคณะครูจัดทำหลักสูตรสถานศึกษากลุม

สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ในสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ฟสิกส) วิเคราะหหลักสูตร การวางแผนการจัด

กิจกรรมการเรียนรูอยางเปนระบบมีการจัดการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสำคัญ โดยใชสื่อที่หลากหลาย เนน

กระบวนการคิด และนำแผนการจัดการเรียนรูไปใชในการจัดการเรียนการสอนใหกับนักเรียน มีการวัดผล
ประเมินผลตามสภาพจริงครอบคลุมทุกดาน ไดแก ดานความรู ดานทักษะกระบวนการ ดานสมรรถนะสำคัญ
และคุณลักษณะที่พึงประสงค ทั้งน้ีเพื่อสงเสริมพัฒนาการของนักเรียน ใหเปนคนดี คนเกง และอยูในสังคมได
อยางมีความสุขตามเปาหมายของหลักสูตร ตลอดจนมีการบันทึกหลังการจัดกิจกรรมการสอนอยางสม่ำเสมอ
เพื่อจะไดนำปญหาจากการจัดกิจกรรมการเรียนรูมาทำวิจัยในช้ันเรียนเพื่อแกปญหาและพัฒนานักเรียนให
สามารถเรยี นรูไดเต็มตามศักยภาพ

ตลอดจนมีการบันทึกหลังการจัดกิจกรรมการสอนอยางสมำ่ เสมอ ทั้งน้ีเพื่อจะไดชวยแกไขขอบกพรอง
ใหกบั นกั เรียนทีม่ ปี ญหา สามารถสรปุ ผลการดำเนินงานไดด งั นี้

๑.๑ มีแผนการจัดการเรียนรู รายวิชาฟสิกสเพ่ิมเติม๓ รหัสวิชา ว๓๐๒๐๓ และรายวิชา โครงสราง
ฟสิกสเพ่ิมเติม๔ รหัสวิชา ว๓๐๒๐๔ ที่มกี ารวิเคราะหหลักสูตรสถานศึกษา มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรู
ไดอยางถกู ตอง

๑.๒ มีการวิเคราะหผูเรยี น ทำความรูจักผเู รียนเปนรายบคุ คล เพ่ือนำขอมูลท่ไี ดไปออกแบบการจดั การ
เรียนรูที่เหมาะสม ตามความตองการ ความถนัด ความสนใจการเรียนรูชองผเู รยี น

๑.๓ มีการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการปฏิบัติ (Active Learning) ที่เนนผูเรียนเปนสำคัญดวย
กิจกรรมทห่ี ลากหลายและสอดคลอ งกบั ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร

๑.๔ มแี นวทางในการบริหารจัดการชัน้ เรียนและจดั บรรยากาศในช้นั เรยี นทเี่ หมาะสมและชว ยสง เสรมิ
การเรียนรขู องนกั เรียน โดยนำเทคโนโลยีเขามาใชเพือ่ ชว ยในการบริหารจดั การชั้นเรียน ไดแก การเสรมิ แรง
ทางบวกใหกับนกั เรยี นในรายวชิ าฟสกิ สเพ่ิมเติม ๓ และรายวิชาฟสิกสเ พ่ิมเติม๔ ผานการใชบ ัตรสะสมแตมไลน

๑.๕ มีเครื่องมือการวัดและประเมินผลท่ีมีคุณภาพ ผานการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลเบ้ืองตน และมี
ความหลากหลายในการประเมินอยางรอบดาน ทั้งดานความรู ดานทักษะและกระบวนการ และดานคุณลักษณะอัน
พึงประสงค รวมไปถงึ สมรรถนะที่สำคัญของผูเรียน

๑.๖ มีการแกปญหาในช้ันเรียนดวยกระบวนการวิจัยในช้ันเรียน เรื่อง การพัฒนาการจัดกิจกรรมการ
เรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษาบูรณาการกับเทคโนโลยี เรื่อง เสียงกับการไดยิน เพื่อสงเสริมความสามารถใน
การแกปญหาของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕ ในรายวิชาฟสกิ สเพิม่ เติม๓ รหัสวิชา ว๓๐๒๐๓ ภาคเรียนท่ี ๑
ปก ารศึกษา ๒๕๖๒ และวิจัยในช้ันเรียน เร่ือง การพัฒนาการจัดกจิ กรรมการเรียนรูแบบสบื เสาะหาความรเู ปน
ฐานตามแนวคิดสะเต็มศึกษา เร่ือง ไฟฟา เพ่ือสงเสริมความสามารถในการแกปญหาของนักเรียนชั้น
มัธยมศกึ ษาปที่ ๕ โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร ในรายวิชาฟสิกสเ พ่ิมเติม๔ รหัสวิชา ว๓๐๒๐๔ ภาคเรียน
ท่ี ๒ ปการศกึ ษา ๒๕๖๒

๑.๗ มีสื่อการเรียนรู และแหลงการเรียนสำหรับใชประกอบการจัดการเรียนรู และใหนักเรียนไวสืบคน
เพ่ิมเติม เชน ชุดกิจกรรมการเรียนรู สไลดประกอบการสอน คลิปวิดีโอ และมีการใชสังคมออนไลน (facebook)
เปนชอ งทางในการติดตอสื่อสารระหวางครูกับนักเรียน และเปนแหลง เรยี นรูเพ่ิมเติม

๑.๘ ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรู โดยใหนักเรียนประเมินความพึงพอใจ
หลังจากสอนโดยหาคาคะแนนเฉลีย่ (X) และคา เบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.)

๑.๙ มีการดำเนินการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) เพ่ือพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรูและ
แกปญหาช้ันเรียน ในรายวิชาฟสิกสเพ่ิมเติม๓ รหัสวิชา ว๓๐๒๐๓ ภาคเรียนที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๖๒ มีการ
แลกเปลี่ยนเรียนรูผ านชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ กลุมบูรณาการเทคโนโลยีกับการจัดการเรยี นการสอน จำนวน
๒๘ ชั่วโมง เพ่ือแกปญหา นักเรียนสวนใหญเกิดความเบ่ือหนายในการเรียน กิจกรรมการเรียนรูไมสามารถกระตุน
ความสนใจของนักเรียนได และการใหนักเรียนเรียนรูหลักการ ทฤษฎีในหองเรียน และกลับไปทำแบบฝกเปน
การบาน เม่ือนักเรียนทำแบบฝกหัดไมได จะไมสามารถปรึกษาครูหรือเพ่ือนได จึงไดพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู
ตามแนวทางสะเต็มศึกษาบูรณาการกับเทคโนโลยี เร่ือง เสียงกับการไดยิน และในรายวิชาฟสกิ สเพิ่มเติม๔ รหัส
วิชา ว๓๐๒๐๔ ภาคเรียนท่ี ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๒ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูผานชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพกลุม
ครูฟสิกส เคมี และชีววิทยา จำนวน ๔๒ ชั่วโมง เพื่อแกปญหานักเรียนสวนใหญไมสามารถนำความรูฟสิกสท่ีได
เรียนจากในชั้นเรียนไปอธบิ ายและออกแบบวิธกี ารแกปญหาในชวี ิตประจำวนั หรอื กลาวไดวา นักเรียนสวนใหญ
ขาดทักษะการแกปญหา (Problem-Solving Skill) จึงพัฒนานวัตกรรมการเรียนรูแบบสืบเสาะหาความรูเปน
ฐานตามแนวคดิ สะเตม็ ศกึ ษา เรือ่ ง ไฟฟา เพือ่ สงเสริมความสามารถในการแกปญ หาของนกั เรยี น

ผลจากการจัดกิจกรรมการเรียนรูในรายวิชาที่รับผิดชอบ พบวา นักเรียนสามารถเรียนรูไดบรรลุตาม
ผลการเรียนรูท่ีบรรจุในแผนการจัดการเรียนรูทุกขอ นักเรียนมีความรูความเขาใจในองคความรู สามารถฝก
ทักษะจากการลงมือปฏิบัติจริง และมีเจตคติท่ีดีตอการเรียน มีสมรรถนะ ๕ ดาน และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค ๘ ประการ ตามทหี่ ลกั สูตรสถานศึกษากำหนด

๒. ผลทเ่ี กิดจากการพัฒนาวิชาการ
การพัฒนาวิชาการที่ผานมาเกิดจากการดำเนินการจัดหา พัฒนา ประยุกตใชสื่อนวัตกรรมในการ

จัดการเรียนรู นำความรดู านเทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู มีการสำรวจปญหาในช้ัน
เรียนและแกป ญหาและพฒั นานักเรียนดวยการใชการวิจยั ปฏิบัติการในชั้นเรียน โดยขาพเจามีการจัดทำวิจัยใน
ชนั้ เรียน อยางนอยปการศึกษาละ ๒ เร่ือง นอกจากน้ี ขาพเจามีการพัฒนาตนเองอยางเน่ืองผานการเขา รับการ
อบรมตามท่ีหนวยงานตนสังกัด และหนวยงานที่เกี่ยวของจัดข้ึน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันกับเพื่อนครู
และนักการศึกษาในงานประชุมวิชาการตาง ๆ มีการศึกษาดูงานในแหลงเรียนรูท่ีมีผลการปฏิบัติงานดาน
วชิ าการท่ีเปนเลิศ และขาพเจาสามารถนำผลจากการพฒั นาดา นวิชาการไปใชใ หเกดิ ประโยชนกับเพื่อนครู ดว ย
การใหบริการดานวิชาการตาง ๆ เชน การเปนวิทยากรขยายผลความรูที่ไดรับจากการศึกษาดูงานและอบรม
ตาง ๆ

ผลจากการพัฒนาวิชาการสงผลใหสามารถพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะเปนไปตามวัตถุประสงคของ
การจัดการเรยี นการสอนได โดยในปการศึกษาที่ผา นมา (ปการศึกษา ๒๕๖๒) ขา พเจามีการผลิตส่อื นวัตกรรม
การเรยี นรูเพื่อชวยอำนวยความสะดวกในการเรยี นรูของนักเรยี น จำนวน ๒ เร่ือง ไดแ ก ชุดกิจกรรมการเรียนรู
ตามแนวทางสะเต็มศึกษาบูรณาการกับเทคโนโลยี เรื่อง เสียงกับการไดยิน เพ่ือสงเสริมความสามารถในการ
แกปญหาของนักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๕ และกิจกรรมการเรียนรูแบบสืบเสาะหาความรูเ ปนฐานตามแนวคิด
สะเต็มศึกษา เรื่อง ไฟฟา เพ่ือสงเสริมความสามารถในการแกปญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕
นอกจากนี้มีการแกปญหาผูเรียนดวยกระบวนการวิจัยในช้ันเรียน จำนวน ๒ เร่ือง ไดแก การพัฒนาการจัด

กิจกรรมการเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษาบูรณาการกับเทคโนโลยี เร่ือง เสียงกับการไดยิน เพ่ือสงเสริม
ความสามารถในการแกปญหาของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕ และการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู
แบบสบื เสาะหาความรูเปนฐานตามแนวคดิ สะเต็มศึกษา เรอื่ ง ไฟฟา เพ่ือสง เสริมความสามารถในการแกป ญหา
ของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ ๕ โรงเรยี นมาบตาพุดพันพิทยาคาร โดผา นกระบวนการชมุ ชนการ

จากผลการพฒั นาวิชาการสงผลใหเกิดการจัดกิจกรรมการเรียนรูในชน้ั เรยี นที่เปนแนวปฏิบัติทเี่ ปนเลิศ
โดยไดรับการยอมรับจากหนวยงานภายนอก ดังน้ี

๑. รางวัลผลงานวิจยั ของครุ สุ ภา ระดับประเทศ "ระดับด"ี ประจำป ๒๕๖๒
๒. รางวัลชมเชย KruKid Contest “ชุดอุปกรณการวัดความยาวคล่ืนของเสียง” โครงการ
KidBright: Coding at School for Teacher “KruKid Contest”
๓. รางวัลระดับเหรียญทอง ชนะเลิศ การประกวดรางวัลทรงคุณคา สพฐ. (OBEC AWARDS)
ประเภท ครูผูสอนยอดเย่ียม Active Teacher ระดับมัธยมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ดาน
นวัตกรรมและเทคโนโลยเี พือ่ การเรียนการสอน ปการศกึ ษา ๒๕๖๒ ระดบั เขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา
๔. รางวัลระดับเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ ๑ การประกวดรางวัลทรงคุณคา สพฐ. (OBEC
AWARDS) ประเภท ครูผูสอนยอดเยี่ยม Active Teacher ระดับมัธยมศึกษา กลุมสาระการเรียนรู
วทิ ยาศาสตร ดานนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่อื การเรียนการสอน ปการศึกษา ๒๕๖๒ ระดบั ภาคกลางและภาค
ตะวันออก

๓. ผลทีเ่ กิดกับผเู รียน
การจัดกิจกรรมการการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสำคัญ มีการใหนักเรียนไดฝกการปฏิบัติจริง

เพ่ือใหนักเรียนไดมีทักษะตา ง ๆ ตลอดจนสอดแทรกคณุ ธรรมจริยธรรมที่ดีงาม ความมีวนิ ัยในตนเอง สงผลให
นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงคตามสถานศึกษากำหนด มีผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียนผานเกณฑกำหนดของโรงเรียน ไดรับการพัฒนาทันตอความกาวหนาทางวิชาการและการเปลี่ยนแปลง
ทางดานเศรษฐกิจและสังคม มีวินัยในตนเอง มีสัมมาคารวะมีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย มีความสามารถใน
การใชภาษาในการสือ่ สาร และการมีจินตนาการและความคิดสรางสรรค ซ่ึงเปนสิ่งที่ผูเรียนสามารถนำความรู
ความเขาใจและทกั ษะไปบูรณาการและประยกุ ตใชในชีวิตประจำวันเปน การเพิ่มพูนสมรรถนะตนเองใหม ากขึ้น
และสงผลใหการใชชีวิตภายหนา บนพื้นฐานคุณธรรม นำความรู และเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนการอยู
รวมกันในสังคมไดอ ยางมคี วามสุข ซึ่งเปนส่ิงทผ่ี ูเรียนสามารถนำความรูความเขาใจและทกั ษะไปบรู ณาการ และ
ประยกุ ตใ ชใ นชวี ติ ประจำวนั เปนการเพมิ่ พนู สมรรถนะตนเองใหมากขน้ึ สามารถสรุปผลการดำเนนิ งานไดด ังน้ี

๓.๑ นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นตามเกณฑท่ีโรงเรียนกำหนด
๓.๒ นกั เรียนมีทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร ผานเกณฑท ี่ครผู สู อนกำหนดไว
๓.๓ นักเรียนมรี ะดบั คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค ผานทเ่ี กณฑทีค่ รผู สู อนกำหนดไว
๓.๔ นักเรียนมีช้นิ งาน/ผลงาน ทีส่ ะทอนความคดิ ขน้ั สูง เชน การคิดวิเคราะห การสังเคราะห
การคิดสรางสรรค และมีความสามารถในการแกป ญหา โดยบูรณาการองคค วามรูตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา
๓.๕ นักเรียนไดรับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๒ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย การประกวดโครงงาน
สมองกลฝงตวั ดวยบอรด KidBright โครงการสง เสรมิ การเรียนรดู า นวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยใี หก ับโรงเรียน

ในพน้ื ทเี่ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (EECi)
๓.๖ นักเรยี นไดร ับรางวลั ระดับเหรยี ญเงิน ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย การประกวดส่ิงประดษิ ฐสมอง

กลฝงตัว Show & Share ๒๐๑๙
๓.๗ นักเรียนไดรับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๑ การประกวดโครงงานจากบอรด micro: bit ระดับ

มธั ยมศกึ ษา สปั ดาหว ิทยาศาสตรแ หงชาติ สวนภมู ภิ าค ประจำป ๒๕๖๒
๓.๘ นักเรียนไดรับรางวัลเหรียญทอง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร ประเภทสิ่งประดิษฐ

ระดบั ชนั้ ม.๔ - ม.๖ งานศลิ ปหัตถกรรมนักเรียน ระดบั สหวิทยาเขตระยอง ๑ ประจำป ๒๕๖๒
๓.๙ นักเรียนไดรับรางวัลเหรียญเงิน รองชนะเลิศอันดับ ๒ กิจกรรมการแขงขันเคร่ืองบินพลังยาง

ประเภทสามมิติ (๓D) ปลอยอิสระ ระดับชั้น ม.๑ - ม.๓ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับสหวทิ ยาเขตระยอง
๑ ประจำปการศกึ ษา ๒๕๖๒

๓.๑๐ นักเรียนไดรับรางวัลเหรียญเงิน กิจกรรมการแขงขันเคร่ืองบินพลังยาง ประเภทบินนาน ปลอย
อิสระ ระดับช้ัน ม.๑ - ม.๓ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับสหวิทยาเขตระยอง ๑ ประจำปการศึกษา
๒๕๖๒

๓.๑๑ นักเรียนไดรับรางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ ๑ กิจกรรมการแขงขันอากาศยานบังคับ
ดวยวิทยุ ประเภทบินบรรทุกสัมภาระ ระดับช้ัน ม.๔ - ม.๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับสหวิทยาเขต
ระยอง ๑ ประจำป ๒๕๖๒

๓.๑๒ นักเรียนในหองเรียนที่เปนครูปรึกษาไดรับทุนการศึกษา ประจำปการศึกษา ๒๕๖๒ ท้ังหมด
จำนวน ๗ คน แบงเปนภาคเรียนท่ี ๑ จำนวน ๔ คน (ทุนเพชร มพพ. จำนวน ๓ คน, ทุนวันแม ประจำป
การศึกษา ๒๕๖๒จำนวน ๑ คน) และภาคเรยี นท่ี ๒ จำนวน ๓ คน (ทนุ เพชร มพพ. จำนวน ๓ คน)

๔. ผลทเ่ี กิดกับสถานศกึ ษา
จากการจัดบรรยากาศทั้งในและนอกหองเรียนท่ีเอ้ือตอการเรียนรูของผูเรียน สงผลใหสถานศึกษาเปน

แหลงเรียนรูของสถานศึกษาหรอื หนวยงานตาง ๆ มีการนิเทศติดตามผลการปฏิบัติงานของครูอยางเปนระบบ
ทำใหการปฏิบัติงานมีความสมบูรณ และจากการท่ีสถานศึกษามีการวางแผนปฏิบัติราชการในการพัฒนา มี
เปาหมาย มีทิศทางในการดำเนินงานเพ่ือพัฒนาสถานศึกษา นักเรียน โดยมีการจัดกิจกรรม โครงการตาง ๆ
อยางเปนรูปธรรม ซ่ึงนักเรียนและครูมีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรม ทำใหผลการดำเนินงานเปนที่ยอมรับ
ของผูปกครอง ชุมชน และทองถ่ิน นอกจากน้ี จากการท่ีสถานศึกษามีแผนกลยุทธใ นการพัฒนา มีเปาหมาย มี
ทิศทางในการดำเนินงานเพื่อพัฒนาสถานศึกษา นักเรียน โดยมีการจัดกิจกรรม โครงการตางๆ อยางเปน
รูปธรรม ซ่ึงนักเรียนและครูมีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรม ทำใหผลการดำเนินงานเปนท่ียอมรับของ
ผปู กครอง ชุมชน ทองถิ่น สามารถสรุปผลการดำเนินงานไดดังนี้

๔.๑ มีการพัฒนากิจกรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรมลูกเสือและชุมนุมท่ีจัดใหสอดคลองกับหลักสูตรและ
ผูเรียนเปนศูนยก ลาง

๔.๒ มีระบบการทำงานทเี่ ปนทีม และมีแนวทางการทำงานทเ่ี ปนข้นั ตอนชัดเจน

๔.๓ การนเิ ทศตดิ ตามผลการปฏิบัติงานของครูทำใหการปฏิบัตงิ านมคี วามสมบรู ณ และเปนไปตาม
เวลาท่กี ำหนด

๔.๔ งานส่ือนวัตกรรมเทคโนโลยีและวิจัย มีการดำเนินการปรับปรุงเว็บไซตงานงานสื่อนวัตกรรม
เทคโนโลยีและวิจัย โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร ท่ีอยูเว็บไซต http://www.gg.gg/mppresearch ใหมี
ขอ มูลที่เปนปจจบุ ันเสมอ โดยมีการจัดทำระบบจัดเก็บส่ือนวัตกรรม วจิ ัยในชั้นเรียนของครูโรงเรียนมาบตาพุด
พันพิทยาคาร ทุกกลุมสาระการเรียนรู และวิจัยสถานศึกษาอยางเปนระบบ สามารถเรียกดูขอมูลไดสะดวก
รวดเรว็

๔.๕ งานส่ือนวัตกรรมเทคโนโลยีและวิจัย มีการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาการบริหารการจัดการศกึ ษาของ
โรงเรียน โดยในปการศกึ ษา ๒๕๖๒ ดำเนินการวิจยั สถานศกึ ษา เรือ่ ง การพัฒนาการจดั การเรียนรูแบบ Active
Learning ดวยกระบวนการชุมชนแหงการเรยี นรูทางวิชาชีพใหเปน งานวิจัย (PLC to Research) เพ่ือยกระดับ
ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของผเู รียนโรงเรียนมาบตาพุดพันพทิ ยาคาร จงั หวัดระยอง

๕. ผลทเ่ี กดิ กับชุมชน
จากการมีสวนรวมกับชุมชน ในกิจกรรมตาง ๆ ตลอดปการศึกษา โดยเฉพาะกิจกรรมท่ีเกี่ยวกับ

วัฒนธรรม ประเพณี และพิธีกรรมทางศาสนา เชน ประเพณีแหเทียนเขาพรรษา ประเพณีลอยกระทง
ประเพณีสงกรานต การทอดผาปา ทอดกฐิน เปนตน ตลอดจนกิจกรรมท่ีเปนประโยชน กิจกรรมวันสำคัญ
ไดแก กิจกรรมวันแม กจิ กรรมตอตานยาเสพติด จนทำใหเ กิดความรวมมือ ความเขาใจทด่ี ีตอ กนั เกิดความรัก
และความภาคภูมิใจในโรงเรียนและทอ งถิ่น นอกจากน้ีโรงเรียนยังไดจ ัดกจิ กรรมการประชุมผปู กครอง ประชุม
คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานในแตล ะภาคเรียนเพื่อชแี้ จงนโยบายของโรงเรยี นและเพ่ือหาแนวทางในการ
รว มพัฒนาโรงเรยี นทั้งพัฒนาอาคารสถานท่ีและพัฒนาทางวชิ าการใหเ ปนไปในทางทศิ ทางเดยี วกัน และเพ่ือหา
แนวทางในการรวมพัฒนาโรงเรียน ทั้งพัฒนาอาคารสถานท่ี และพัฒนาทางวิชาการใหเปนไปในทางทิศทาง
เดียวกัน สงผลใหชุมชนมีสถานศึกษาที่มีการบริหารจัดการท่ีมีคุณภาพเปนที่เชื่อมั่นในการสงบุตรหลานเขา
เรียนในระดับมธั ยมศึกษา สามารถสรุปผลการดำเนนิ งานไดด ังนี้

๕.๑ เกดิ ความสมั พนั ธท ีด่ ีกบั ผูปกครองนักเรียน และชมุ ชน มีการประชุมทกุ ภาคเรยี น
๕.๒ มีกจิ กรรมทางสงั คมในดานตา ง ๆ รวมกับชุมชนอยา งสมำ่ เสมอ
๕.๓ เปน แหลง เรียนรทู ่สี ามารถใหบ คุ คลภายนอกเขา มาศกึ ษาได
๕.๔ มกี ารแลกเปลยี่ นเรียนรูทางเครือขา ยวิชาการ และชุมชนการเรยี นรูท างวชิ าชพี
๕.๕ รว มการประกวดแขงขันทักษะวชิ าการ ระดับเขตพน้ื ที่การศึกษา ปการศึกษา ๒๕๖๒
๕.๖ โรงเรียนใหบรกิ ารแหลงเรยี นรูแกช ุมชนในดานตา ง ๆ รวมทัง้ สง เสรมิ สนบั สนุนใหชุมชนมีความ
เขม แข็ง อีกทั้งชุมชนยงั ใหความรวมมือและสนับสนุนกจิ กรรมตา ง ๆ ของโรงเรยี นดวยดี

ประวตั ิการเขารบั การพัฒนา (ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๒)

ลำดบั ท่ี เรอื่ ง หนวยงาน จำนวนชั่วโมง หมายเหตุ
๑ ๑๒
๒ การประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการ การพัฒนาการ สพม.๑๘ ๖
๓ ๖
๔ วิจยั ในสถานศกึ ษาในสังกัด สพม.๑๘ ๑๘
๕ ๖
๖ การประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ หวั ขอ THE IMSA โรงเรียนกำเนดิ วทิ ย ๖
๗ ๓
๘ WAY : STRATEGIES EOR STUDENT จ.ระยอง ๘
LEARNNING AND RESEARCH
๙ ๒๐
การอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร "เขียนแผนบรู ณา โรงเรยี นมาบตาพุดพัน

การจัดการเรียนรูตามหลกั ปรัชญา พทิ ยาคาร
เศรษฐกจิ พอเพียง (Version ๓.๓)"

การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัย คุรสุ ภา

ในการประชมุ ทางวชิ าการของครุ สุ ภา

ประจำป ๒๕๖๒ สพม.๑๘
งานสัมมนาและจดั นทิ รรศการเพ่ือ

แลกเปล่ียนเรียนรูในการพฒั นาคุณภาพ
การศึกษา

อบรมเชิงปฏิบตั ิการ PLC to Research โรงเรียนมาบตาพดุ พนั

พทิ ยาคาร

การอบรมการใหการปรกึ ษาวัยรุนผานระบบ กรมสขุ ภาพจิต สถาบนั

Training Online ในหวั ขอ บทเรยี น สขุ ภาพจติ เดก็ และวัยรุน

เบื้องตน หลักสูตรการใหก ารปรกึ ษาวัยรนุ ราชนครนิ ทร

การอบรมดวยระบบออนไลน กรมสุขภาพจติ สถาบัน

www.thaiteentraining.com หลักสตู ร สุขภาพจิตเด็กและวัยรุน
การใหก ารปรึกษาวยั รุน บทเรียนเบ้ืองตน ราชนครินทร
และทกั ษะเฉพาะประเด็น ไดแก กรณี

ซมึ เศรา กรณีความรนุ แรง กรณียาเสพตดิ

กรณีติดเกมและคอมพิวเตอร กรณีเพศ
(ทอ งวยั รุน) การปรึกษาครอบครวั ลูกวัยรุน

การปรึกษาแบบสรา งแรงจูงใจ การปรกึ ษา

ทางโทรศัพท สำนกั งานคณะกรรมการ
ศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน รวมกับ
การอบรมโครงการโรงเรียนปลอดภยั ใน มลู นิธิศุภนมิ ิตแหง ประเทศ
ประเทศไทย หลกั สูตรการลดความเสยี่ งภัย ไทย
พบิ ัติธรรมชาติและการปรับตัวรบั การ
เปลย่ี นแปลงสภาพภูมิกาศ รหัสหลกั สูตร
๖๒๐๓๗

ลำดับท่ี เรือ่ ง หนวยงาน จำนวนชั่วโมง หมายเหตุ
๑๐ คณะศึกษาศาสตร ๖
๑๑ อบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร PKC for Teaching มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร ๖
science สสวท.
๑๒ ๑๘
การประชมุ พจิ ารณาวางแนวทางการจัดทำ สสวท.
๑๓ หลักสตู รอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ ๑๒
การจัดการเรยี นรูวิชาฟสกิ ส ระดับชัน้ สสวท.
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
การประชุมพิจารณารางครั้งที่ ๒ ของ
หลักสูตรอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ
การจดั การเรยี นรูวชิ าฟส ิกส ระดบั ชั้น
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
การประชุมบรรณาธิการกิจ หลักสูตรอบรม
ครูดา นการจดั การเรียนรูวทิ ยาศาสตร
คณิตศาสตร และเทคโนโลยี ทส่ี งเสริม
ทกั ษะการคดิ และการแกป ญหา

ประวตั ิการเปนวิทยากร/พ่ีเลี้ยงวิชาการ (ปการศกึ ษา ๒๕๖๒)

ลำดับที่ เร่ือง หนวยงาน จำนวนชว่ั โมง หมายเหตุ
สสวท. ๒๔
๑ การอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการพฒั นาวทิ ยากรแกน
สสวท. ๑๒
นำดานการจัดการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร โรงเรยี นมาบตาพุดพนั ๒
๑๒
คณติ ศาสตร และเทคโนโลยี ท่ีสง เสริม พิทยาคาร
สสวท. ๖
ทกั ษะการคดิ และแกปญหา
โรงเรียน
๒ ครพู ่ีเลี้ยง สควค. การประชมุ สรางเครอื ขาย แกลงวิทยสถาวร

วิชาการขาราชการครู สควค. พ.ศ.๒๕๖๒

๓ กิจกรรมพฒั นาศักยภาพครผู ูชวยและ

พนักงานราชการ ในหวั ขอ กระบวนการ

จัดการเรียนรูใ นศตวรรษท่ี 21”

๔ การประชุมสรปุ งานและนำเสนอผลการใช

กิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร

และเทคโนโลยี โครงการพฒั นาวิทยากรแกน

นำดานการจดั การเรียนรวู ทิ ยาศาสตร

คณติ ศาสตร และเทคโนโลยี ทส่ี ง เสริม

ทกั ษะการคดิ และแกปญหา

๕ กิจกรรมพฒั นาผลการทดสอบทางการศกึ ษา

ระดับชาติขั้นพืน้ ฐาน (O-NET)

สวนที่ ๒ ผลการประเมนิ ตนเอง (ในปการศึกษาท่ผี า นมา)

ตอนท่ี ๑ ผลการประเมนิ ตนเองตามกรอบของ ก.ค.ศ. ระดับความรู
มมี าก ปานกลาง มีนอย
ดา นที่ ๑ ความรูความสามารถในการปฏบิ ัตงิ านในหนา ที่ ü
ü
รายการประเมนิ ตนเอง
ü
๑. เนือ้ หาในรายวชิ า/กลมุ สาระการเรียนรู ทีส่ อน ü
๒. วิธสี อน ถา ยทอดความรูเชิงเนื้อหา กิจกรรม บริบท เปาหมายการเรยี นรู
ความรูพน้ื ฐาน การปรบั พื้นฐาน และอุปสรรคการเรยี นรูข องผูเรยี น ü
๓. หลกั การสอน และกระบวนการเรยี นรู
๔. หลักสตู ร การออกแบบ วางแผนการใช ประเมินและแนวทางการเรยี นรูในแต ü
ละเนอื้ หา ü
๕. พ้นื ฐานการศึกษา หลักการศึกษา ปรัชญาการศึกษา จติ วิทยาสงั คม นโยบาย ü
การศึกษา จุดมุงหมายการจดั การศึกษาตงั้ แตร ะดบั ชาติจนถึงระดบั หลักสูตร ü
๖. การจัดการศึกษาแบบรวม และการตอบสนองตอความหลากหลายของผเู รยี น
๗. ทฤษฎกี ารเรยี นรู และจิตวิทยาการเรียนรู
๘. การใชเทคโนโลยี และสื่อนวัตกรรมเพื่อการเรยี นรู
๙. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู

ดานที่ ๒ ทักษะการปฏบิ ตั ิงาน ระดับความสามารถ
ทำไดด ี พอใช ทำไมค อ ยได
รายการประเมินตนเอง
ü
๑. การสรางและหรือพัฒนาหลักสตู ร ü
๒. การออกแบบหนว ยการเรียนรู ü
๓. การจดั ทำแผนการจดั การเรยี นรู
๔. กลยทุ ธใ นการจัดการเรยี นรู ü
๕. การสรา งและการพฒั นาสื่อ นวตั กรรม เทคโนโลยที างการศึกษา ü
และแหลงเรียนรู
๖. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู ü

ดา นท่ี ๓ ความเปน ครู ระดบั ความเปนครู
สูงมาก ปานกลาง ปรับปรงุ
รายการประเมนิ ตนเอง
ü
๑. ยดึ มนั่ ผกู พัน ศรทั ธาในวชิ าชพี และทุมเทเพ่ือการเรยี นรู
ของผูเรียน ü
๒. มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และปฏบิ ตั ติ นเปน แบบอยา งทด่ี ีแกผูเรียน
ทง้ั กาย วาจา และจติ ใจ ดำรงตนใหเปนทเ่ี คารพ ศรทั ธา และ ü
นา เชื่อถอื ทั้งใน และนอกสถานศึกษา ü
๓. ปฏบิ ัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชพี ครู ü
๔. มวี นิ ัยและการรักษาวินัย
๕. เปนบคุ คลแหง การเรยี นรู ปรับปรุง และพัฒนาตนเองอยาง ü
ตอเน่อื ง ใหมคี วามรูความชำนาญในวิชาชพี เพม่ิ ขน้ึ ü
๖. ปฏิบัตติ นโดยนำหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช
๗. มีทัศนคตทิ ด่ี ีตอบานเมอื ง

ตอนท่ี ๒ ผลการประเมนิ ศักยภาพของผูเ รียนในสถานศึกษาตามจุดเนนของ สพฐ.

รายการศักยภาพผูเรียนตามจดุ เนน ระดับศกั ยภาพ
สูงมาก ปานกลาง ปรับปรงุ
๑. ดานอานออก อานคลอง เขียนได เขียนคลอ ง
๒. ดานคดิ เลขเปน คิดเลขคลอ ง ü
๓. ดานการคิดขน้ั พื้นฐาน ü
๔. ดานการคดิ ขน้ั สูง ü
๕. ดานการสื่อสารอยา งสรางสรรคต ามชวงวยั ü
๖. ดานการใชภาษาตา งประเทศ (ภาษาองั กฤษ)
๗. ดานการใชเทคโนโลยีเพ่ือการเรยี นรู ü
๘. ดา นการแสวงหาความรูด วยตนเอง ü
๙. ดา นใฝเรียนรู
๑๐. ดานใฝดี ü
๑๑. ดา นทกั ษะชวี ติ ü
๑๒. ดา นอยูอยา งพอเพยี ง มงุ มน่ั ในการศกึ ษาและการทำงาน ü

ü
ü

ü

ตอนที่ ๓ ผลการประเมนิ ศาสตรก ารสอน ตามกรอบแนวคิดของหลักสตู รของสถาบันคุรุพฒั นา

รายการศกั ยภาพของครูผสู อน ระดบั ศกั ยภาพ
สงู มาก ปานกลาง ปรับปรงุ
๑. การสอนในศตวรรษท่ี ๒๑
๒. การแกปญหาผเู รยี น ü
๓. จิตวทิ ยาการแนะแนว/จิตวิทยาการเรียนรู P
๔. การจัดการชน้ั เรยี น P
๕. การวจิ ยั พัฒนาการเรยี นการสอน/ชุมชนแหง การเรยี นรูทางวิชาชพี
๖. การพัฒนาหลักสูตร P
๗. สะเตม็ ศึกษา (STEM Education) P
๘. การใชส่ือและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู
๙. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู P
๑๐. การออกแบบการเรียนรู
ü
ü
ü
ü

สรุปผลการประเมินตนเอง

จดุ เดน /สิ่งทปี่ ฏบิ ัติไดด/ี มศี ักยภาพพรอ มดำเนินการ
จากผลการประเมินตนเอง ๓ ตอน สามารถสรปุ จดุ เดน ส่ิงทีป่ ฏิบตั ไิ ดดมี ีศักยภาพพรอมดำเนนิ การใน

แตล ะตอนไดด ังนี้
ตอนที่ ๑ ผลการประเมินตนเองตามกรอบของ กคศ. อยูในระดับดี มีการพัฒนาหลักสูตร ออกแบบ

การจัดการเรียนรู ยึดม่ัน ผูกพัน ศรัทธาในวิชาชีพ และทุมเทเพ่ือการเรียนรูของผูเรียน มีคุณธรรม จริยธรรม
และปฏิบัติตนเปนแบบอยางที่ดีแกผูเรียน ท้ังกาย วาจา และจิตใจ ดำรงตนใหเปนที่เคารพ ศรัทธา และ
นา เชื่อถือทั้งใน และนอกสถานศึกษา เปนบุคคลแหงการเรียนรู ปรับปรุง และพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง ใหมี
ความรคู วามชำนาญในวิชาชีพ เพิม่ ข้ึน และปฏบิ ัติตนโดยนำหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช

ตอนท่ี ๒ ผลการประเมินศักยภาพของผูเรียนในสถานศึกษาตามจุดเนนของ สพฐ. โดยภาพรวมอยูใน
ระดับปานกลาง โดยผูเรียนในปการศึกษา ๒๕๖๒ ท่ีเรียนในรายวิชาฟสิกสเพ่ิมเติม ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี ๕
จำนวน ๓ หองเรียน และในรายวิชาของเลนเชิงวิทยาศาสตร/วิทยาศาสตรกับความงาม ช้ันมัธยมศึกษาปที่ ๑
จำนวน ๒ หองเรียน โดยรายการประเมินท่ีอยูในระดับสูงมาก ไดแก ดานอานออก อานคลอง เขียนได เขียน

คลอง ดานการส่ือสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย ดานการใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู เรียนรู ดานใฝดี และ

ดานอยูอยางพอเพียง มุงม่ันในการศึกษาและการทำงาน และรายการประเมินที่อยูในระดับปานกลาง ไดแก
ดานคิดเลขเปน คิดเลขคลอง ดานการคิดขั้นพ้ืนฐาน ดานการคิดข้ันสูง ดานการใชภาษาตางประเทศ
(ภาษาอังกฤษ) ดา นการแสวงหาความรดู วยตนเอง ดานใฝเรียนรู และดา นทกั ษะชีวิต

ตอนที่ ๓ ผลการประเมินศาสตรการสอน ตามกรอบแนวคิดของหลักสูตรของสถาบันคุรุพัฒนา อยูใน
ระดับปานกลาง โดยรายการประเมนิ ทอี่ ยใู นระดับสูงมาก ไดแก การสอนในศตวรรษท่ี ๒๑ การจดั การช้ันเรียน
และการพัฒนาหลักสูตร และรายการประเมินท่ีอยูในระดบั ปานกลาง ไดแก การแกปญหาผเู รียน จิตวิทยาการ
แนะแนว/จิตวิทยาการจัดการเรียนรู การวิจัยพัฒนาการเรียนการสอน/ชุมชนแหง การเรยี นรทู างวิชาชีพ สะเต็ม
ศึกษา (STEM Education) การใชสื่อและเทคโนโลยีในการจัดการเรียน และการออกแบบการเรียนรู และการ
วัดและประเมินผลการเรียนรู จึงควรเขารับการอบรมเพื่อพัฒนาความรูความสามารถ และนำมาปรับใชในการ
จดั การเรียนรูใ หกบั นักเรยี นตอไป

จุดท่อี ยากพัฒนาเพม่ิ เติม/สิ่งท่ียงั ปฏิบัตไิ ดไมด พี อ/ตองการใหมีศักยภาพเพ่ิม
จากผลการประเมินตนเอง ๓ ตอน สามารถสรุปจุดที่อยากพัฒนาเพิ่มเติม สิ่งที่ยังปฏิบัติไดไมดีพอ

ตอ งการใหม ีศกั ยภาพเพมิ่ ในแตละตอนไดดงั น้ี
ตอนที่ ๑ ผลการประเมินตนเองตามกรอบของ กคศ. ดานความรูความสามารถในการปฏิบัติงานใน

หนาที่ที่ปฏิบัติไดไมดีพอตองการใหมีศักยภาพเพ่ิม ไดแก พ้ืนฐานการศึกษา หลักการศึกษา ปรัชญาการศึกษา

จิตวิทยาสังคม นโยบายการศึกษา จุดมุงหมายการจัดการศึกษาต้ังแตระดับชาติจนถึงระดับหลักสูตร การ
จัดการศึกษาแบบรวม และการตอบสนองตอความหลากหลายของผูเรียน ทฤษฎีการเรียนรู และจิตวิทยาการ
เรยี นรู และการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู ดานทักษะการปฏิบตั ิงานที่ปฏิบตั ิไดไ มดีพอตองการใหมีศักยภาพ

เพิ่ม ไดแก การวัดและประเมินผลการเรียนรู และดานความเปนครู ไดแก ปฏิบัติตนโดยนำหลักปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพยี งมาใช
ตอนท่ี ๒ ผลการประเมินศักยภาพของผูเรียนในสถานศึกษาตามจุดเนนของ สพฐ. โดยรายการ

ประเมินท่ีอยูในระดับปานกลาง ไดแก ดานคิดเลขเปน คิดเลขคลอง ดานการคิดขั้นพ้ืนฐาน ดานการคิดข้ันสูง
ดา นการใชภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ดานการแสวงหาความรูดวยตนเอง ดานใฝเ รยี นรู และดา นทักษะ
ชวี ิต

ตอนท่ี ๓ ผลการประเมินศาสตรการสอนตามกรอบแนวคดิ ของหลกั สูตรของสถาบันคุรุพัฒนาทปี่ ฏิบัติ
ไดไมดีพอตองการใหมีศักยภาพเพ่ิม ไดแก การแกปญหาผูเรียน จิตวิทยาการแนะแนว/จิตวิทยาการจัดการ
เรียนรู การวิจัยพัฒนาการเรียนการสอน/ชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ สะเต็มศึกษา (STEM Education)
การใชส ่อื และเทคโนโลยใี นการจัดการเรยี น และการออกแบบการเรยี นรู และการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู

ขอเสนอแนะเพิม่ เติมในการพัฒนาตนเอง
เน่ืองจากสถานการณการแพรระบาดของเชอื้ ไวรสั โควดิ -๑๙ การจดั กิจกรรมการเรยี นรูใหกับผูเ รยี นใน

ปการศึกษา ๒๕๖๓ จึงตอ งมีการเตรียมความพรอ มในการจัดการเรียนรูรปู แบบออนไลน ดงั นั้นความตองการใน
การพัฒนาตนเองเปนลำดับแรก คือ การพัฒนาดานการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบออนไลน และการสรางส่ือ
เทคโนโลยีเพื่อใชในการจัดการเรียนรูแบบออนไลน เพื่อเตรียมความพรอมในการจัดการเรียนรูในรูปแบบ
ออนไลนใหกับผูเรียนหากสถานการณการแพรระบาดของเช้ือไวรัสโควิด-๑๙ ยังไมสามารถควบคุมได เพื่อให
สอดคลองกับแนวทางการจัดการเรียนรูในสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-๑๙ ของสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

สวนท่ี ๓ ความตอ งการในการพัฒนา (ในปการศึกษาปจจุบนั )

๓.๑ สมรรถนะหลัก

อันดับ สมรรถนะ วิธกี าร /
ความ ทีจ่ ะพฒั นา รปู แบบการพฒั นา
สำคญั

๖ ๑. การมุงผลสัมฤทธิใ์ นการ ๑. การวางแผน ศกึ ษาแนวคิด ทฤษฏ

ปฏิบัติงาน หลกั การเกีย่ วกับ นวัตกรรมทางการศึก

๑.๑ ความสามารถในการวางแผน เพอื่ วางแผนพัฒนางานท่ีรบั ผิดชอบ

การกำ หนดเปา หมาย การวิเคราะห ๒. การปฏบิ ัติ วเิ คราะหปญหา และคว

สงั เคราะหง าน ตองการจำเปน วเิ คราะหน ักเรียน จดั ก

๑.๒ ความมุงมั่นในการปฏบิ ัติหนา ที่ การเรยี นรูทเ่ี นนผูเรียนเปน สำคัญ จดั ก

ใหม ีคุณภาพ ถูกตอ ง ครบถวน การเรยี นรทู เ่ี นน ใหผูเรยี นไดปฏิบตั จิ รงิ

สมบรู ณ จดั กิจกรรมการเรยี นรูโ ดยใชส่ือนวัตกร

๑.๓ ความสามารถในการตดิ ตาม นา สนใจท้ังทางเทคโนโลยีและแหลง เรยี

ประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ๓. การตรวจสอบ ตรวจสอบ ผลงานต

๑.๔ ความสามารถในการพัฒนาการ ตามโครงการ พัฒนาการเรียนรู

ปฏิบตั งิ านใหม ีประสิทธิภาพอยา ง ๔. การปรับปรุง วเิ คราะห คุณภาพนกั

ตอเนื่อง เพ่ือใหงานประสบ และ ประสทิ ธิภาพของนวตกั รรม

ความสำเรจ็

ระยะเวลาในการ การขอรบั การ ประโยชน
พฒั นา สนบั สนุนจาก ทคี่ าดวาจะไดรบั
หนวยงาน
เรม่ิ ตน สิน้ สดุ โรงเรยี นมาบตาพุด ๑. ผลงานจากการ
ฏี ๑๖ พ.ค. ๑๕ พ.ค. ปฏบิ ัติงานของโรงเรียนมี
กษา ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ พนั พิทยาคาร ความถกู ตอ งเหมาะสมตาม
หลกั การ
วาม ๒. ไดรบั การนิเทศติดตามผล
กจิ กรรม การปฏบิ ัตจิ ากหนวยงานตาง
กจิ กรรม ๆ ทำใหเ กิดการปฏบิ ัติงานให
ง และ เปน ไปตามปฏทิ นิ ท่กี ำหนดไว
รรมที่ ๓. ผูเรียนใหค วามสนใจ ตง้ั ใจ
ยนรู มีความกระตือรือรน ทจ่ี ะ
ตนเอง เรียนรู มที ักษะในการปฏิบตั ิ
กิจกรรมตามศักยภาพของแต
กเรียน ละบคุ คล

อนั ดบั สมรรถนะ วิธีการ /
ความ ท่ีจะพฒั นา รปู แบบการพัฒนา
สำคญั
๑. การวางแผน ศกึ ษาปญ หา และคว
๗ ๒. การบริการที่ดี ตอ งการจำเปน ของนักเรียนและครูในก
พฒั นาการเรียนรูโดยผา นระบบบรกิ าร
๒.๑ ความต้งั ใจและเตม็ ใจในการ ๒. การปฏิบัติ สำรวจปญหาความตอ ง
จำเปนในการพัฒนาการเรียนรู เพื่อเพ่ิม
ใหบรกิ าร ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน ประเมนิ ลีลาก
เรียนของนักเรยี น เพ่ือปรับปรุงรูปแบบ
๒.๒ การปรบั ปรงุ ระบบบรกิ ารใหมี จัดการเรียนการสอนของครู และใหบร
ทางวิชาการแกครูและบคุ ลากรทางการ
ประสทิ ธิภาพ ท้ังในโรงเรียนและนอกโรงเรียนเพือ่ เปน
เผยแพรผลงานวิชาการ
๓. การตรวจสอบ ติดตาม การจดั การ
การสอนตามแผนการจัดการเรียนรู แล
สอบถามผูท ีร่ บั บรกิ าร
๔. การปรบั ปรุง วิเคราะห แบบสอบถ
ความพึงพอใจในการรับบริการ

วาม ระยะเวลาในการ การขอรบั การ ประโยชน
การ พฒั นา สนับสนุนจาก ทีค่ าดวาจะไดรับ
ร หนว ยงาน
งการ เริ่มตน สน้ิ สุด โรงเรียนมาบตาพดุ ๑. ไดแ นวปฏิบตั ิดา น เอกสาร
ม ๑๖ พ.ค. ๑๕ พ.ค. หลกั ฐานทางการศึกษาที่
การ พันพิทยาคาร ถูกตอง
บการ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒. เกดิ ผลดตี อ เพ่ือนรวมงาน
รกิ าร ในโรงเรียนและตางโรงเรยี น
รศกึ ษา เพื่อนำไปพฒั นาการเรียนการ
นการ สอน

รเรยี น
ละ

ถามวดั

อนั ดบั สมรรถนะ วิธกี าร /
ความ ทจ่ี ะพฒั นา รูปแบบการพฒั นา
สำคญั

๙ ๓. การพฒั นาตนเอง ๑. การวางแผน กำหนดแผนพฒั นาตน

๓.๑ การศึกษาคนควาหาความรู ดา นการจดั การเรยี นรูและการพฒั นา

ติดตามองคความรูใหม ๆ ทาง วชิ าการ สมรรถนะ

และวชิ าชีพ ๒. การปฏิบัติ เขารวมประชุม อบรม ส

๓.๒ การสรางองคความรู และ ศึกษาดูงาน สมัครเขา รับการอบรม เพ่ื

นวัตกรรมในการพฒั นาองคกร และ พัฒนาการเรยี นการสอนในกลมุ สาระท

วชิ าชพี รับผดิ ชอบ เขา รับการอบรมเพ่อื พฒั นา

๓.๓ การแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ และ ดานวชิ าการตามท่ีไดรบั มอบหมาย เขา

สรางเครอื ขาย กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรยี นรูกับเพือ่ นคร

เขารว มกจิ กรรมทางวชิ าการ ศึกษาดูงา

โรงเรยี นตนแบบ บุคลากรตนแบบเพ่ือ

พัฒนาตนเอง แลกเปล่ยี นเรยี นรกู ับบุค

ในโรงเรียน ศึกษาเอกสาร ผลงานทางว

จากตำรา วารสาร

๓. การตรวจสอบ ตรวจบันทกึ การปร

แฟม พฒั นางาน และเกยี รติบัตร

๔. การปรบั ปรุง ศกึ ษาจากเอกสารหล

การไปราชการ และการนำความรไู ปใช

ระยะเวลาในการ การขอรบั การ ประโยชน
พฒั นา สนบั สนุนจาก ทค่ี าดวาจะไดรบั

เรมิ่ ตน สิน้ สดุ หนว ยงาน ๑. มแี นวทางการพัฒนา
ตนเองท่ีถูกตอง ทนั ตอ
นเอง ๑๖ พ.ค. ๑๕ พ.ค. โรงเรียนมาบตาพดุ ความกา วหนาทางวชิ าการ
๒. เปนผทู ม่ี คี ณุ ภาพ ไดร ับ
๒๕๖๓ ๒๕๖๔ พันพิทยาคาร การพัฒนาไปในทางทด่ี ีข้ึน
สง ผลใหเ กิดประโยชนตอ
สัมมนา นกั เรียนและโรงเรยี น

ท่ี
างาน
ารว ม
รูและ
าน
อนำมา
คลากร
วิชาการ

ระชุม

ลักฐาน
ช

อันดบั สมรรถนะ วิธีการ /
ความ ทจ่ี ะพฒั นา รูปแบบการพัฒนา
สำคัญ

๘ ๔. การทำงานเปน ทมี ๑. การวางแผน สรา งเครือขาย การเร

๔.๑ การใหค วามรวมมอื ชวยเหลือ ในนระดบั ชนั้ กลมุ สาระการเรียนรเู ดยี

และสนับสนนุ เพ่ือนรวมงาน และกัลยาณมติ รนิเทศ ผานกระบวนกา

๔.๒ การเสริมแรงใหก ำลังใจเพ่ือน ชมุ ชนการเรยี นรูทางวชิ าชพี PLC

รว มงาน ๒. การปฏบิ ตั ิ รวมกลุมกับเพ่ือนครู เพ

๔.๓ การปรับตัวเขากบั กลุม คน หรอื พฒั นาการจัดการเรียนรู แผนการจัดกา

สถานการณทห่ี ลากหลาย เรยี นรู สรางสื่อนวัตกรรม เครื่องมือกา

๔.๔ การแสดงบทบาทผูนำหรือผตู าม และประเมนิ ผล การนเิ ทศกบั เพอื่ นครูอ

๔.๕ การเขาไปมสี วนรวมกบั ผูอน่ื ใน สม่ำเสมอ ผานชมุ ชนการเรยี นรูทางวิช

การพฒั นาการจดัการศึกษาให (PLC) โดยมีการวิเคราะหและรายงานผ

บรรลผุ ลสำเรจ็ ตามเปา หมาย ดำเนินการ และยอมรับฟงความคดิ เหน็

เพอื่ นรว มงาน โดยเปน ผูใหแ ละผูรับทด่ี

๓. การตรวจสอบ การนเิ ทศช้ันเรยี น

แลกเปล่ยี นเรียนรู และการพัฒนางานอ

ตอเนื่อง

๔. การปรับปรุง การสังเกต การวิเคร

การจัดกิจกรรม และรายงานผลการพฒั

นวัตกรรม

ระยะเวลาในการ การขอรับการ ประโยชน
พัฒนา สนบั สนุนจาก ทคี่ าดวา จะไดรับ

เริ่มตน สน้ิ สดุ หนวยงาน ๑. ไดร ับการนิเทศ ตดิ ตาม
ผลการดำเนินงาน ชวย
รียนรู ๑๖ พ.ค. ๑๕ พ.ค. โรงเรยี นมาบตาพุด สงเสรมิ ใหเกดิ การทำงาน
เปน ทีม
ยวกนั ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ พันพิทยาคาร ๒. เกิดความสามัคคีในหมู
คณะ สง ผลใหก ารดำเนินงาน
าร ตาง ๆ บรรลผุ ลสำเร็จ
๓. มีความสุขในการฏิบัตงิ าน
พื่อ รว มกัน
าร
ารวัด
อยาง
ชาชพี
ผลการ
นของ
ดี
การ
อยาง

ราะห
ฒนา

อนั ดับ สมรรถนะ วิธกี าร /
ความ ท่ีจะพฒั นา รูปแบบการพฒั นา
สำคัญ

๑๐ ๕. จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ ๑. การวางแผน ศึกษาเกี่ยวกับวินัยขอ

วิชาชพี ขาราชการ การประพฤตปิ ฏบิ ัติตนท่ีดแี

๕.๑ ความรักและศรทั ธาในวชิ าชีพ๕.๒ จรรยาบรรณตอ วิชาชีพครู

มีวนิ ยั และความรับผดิ ชอบใน วชิ าชีพ ๒. การปฏิบัติ ปฏบิ ตั หิ นาที่ของตนเอง

๕.๓ ดำรงชวี ติ อยา งเหมาะสม เต็มกำลังความรูความสามารถที่มีอยูดว

๕.๔ การประพฤติปฏิบัติตนเปน เปน ธรรม ปฏบิ ตั ติ น และดำรงชีวติ โดย

แบบอยา งท่ีดี หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พร

แบบอยา งทดี่ ีในการปฏบิ ัติงาน

๓. การตรวจสอบ สงั เกต สมั ภาษณ

ตรวจสอบเอกสาร และพฤตกิ รรมการท

๔. การปรบั ปรุง วเิ คราะหการเขา รว ม

กิจกรรมพฒั นาตนเอง ตรวจสอบแบบบ

ตา ง ๆ และรายงานการไปราชการ

ระยะเวลาในการ การขอรบั การ ประโยชน
พฒั นา สนับสนุนจาก ทค่ี าดวา จะไดรับ

เรมิ่ ตน สนิ้ สดุ หนวยงาน ๑. เปนผทู ่มี ีคุณธรรม
จริยธรรม มีวินยั มคี วาม
อง ๑๖ พ.ค. ๑๕ พ.ค. โรงเรยี นมาบตาพดุ รบั ผิดชอบ มีความกาวหนา
ในวิชาชีพทส่ี งู ขนึ้
และ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ พนั พิทยาคาร ๒. โรงเรียนมบี คุ ลากรท่มี ี
คุณภาพ เพอ่ื พฒั นาโรงเรยี นสู
งอยาง มาตรฐานการศึกษาตอไป
วยใจที่
ยยึด
รอมเปน

ทำงาน

บนั ทึก

๓.๒ สมรรถนะประจำสายงาน

อนั ดบั สมรรถนะ วิธกี าร /
ความ ท่จี ะพฒั นา รปู แบบการพัฒนา
สำคัญ

๑ ๑. การบรหิ ารหลักสูตรและการจดั ๑. การวางแผน ศึกษา เปาหมายการจ

การเรียนรู การศึกษา หลกั สูตร จิตวทิ ยา ทักษะกา

๑.๑ การสรางและพัฒนาหลักสตู ร และพัฒนาการของนักเรียน

๑.๒ ความรูค วามสามารถในการ ๒. การปฏิบัติ เขา รับการอบรม สัมมน

ออกแบบการเรียนรู ศกึ ษาดงู าน ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับหลัก

๑.๓ การจัดการเรียนรที่เนน ผูเ รียน การออกแบบการเรียนรู การเขียนแผนก

เปน สำคญั ประสบการณ การวดั ผลประเมินผลการ

๑.๔ การใชและพฒั นาส่ือนวัตกรรม วิจัยในชนั้ เรียน การพัฒนาส่ือนวัตกรรม

เทคโนโลยีเพื่อการจดกั ารเรียนรู เทคโนโลยี เพือ่ นำมาใชพฒั นาหลกั สูตร

๑.๕ การวดั และประเมินผลการ หนวยการเรยี นรู จัดทำ แผนการจดั การ

เรยี นรู เรียนรู พัฒนานวัตกรรม สรา งเครอื่ งมอื

และประเมนิ ผลตามสภาพจริง

๓. การตรวจสอบ ใชก ระบวนการ

กลั ยาณมิตรนิเทศ ศึกษาผลการเรยี นขอ

นกั เรยี น และ สอบถามความพงึ ใจ

๔. การปรับปรุง วิเคราะห การจัดกิจก

การเรียนรู และสอบถามความพึงพอใจ

ระยะเวลาในการ การขอรับการ ประโยชน
พัฒนา สนบั สนนุ จาก ทค่ี าดวาจะไดร ับ

เรม่ิ ตน สนิ้ สดุ หนว ยงาน ๑. มีแนวทางการพฒั นา
นวัตกรรมการเรยี นการสอน
จดั ๑๖ พ.ค. ๑๕ พ.ค. โรงเรยี นมาบตาพดุ ๒. ไดร ับการนเิ ทศ ตดิ ตามผล
การปฏบิ ัติงาน
ารคดิ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ พนั พิทยาคาร ๓. สามารถจดั กจกิ รรมการ
เรยี นรูโดยมีการพฒั นาการ
นา วัดผลและประเมนิ ผลตาม
กสูตร สภาพจริง
การจัด
รทำ
มและ
ร จัดทำ

อวดั

อง

กรรม


อนั ดบั สมรรถนะ วิธีการ /
ความ ทีจ่ ะพัฒนา รูปแบบการพฒั นา
สำคัญ

๓ ๒. การพัฒนาผเู รยี น ๑. การวางแผน ศึกษา คุณธรรม จริยธ

๒.๑ การปลูกฝงคณุ ธรรม จริยธรรม การจดั กจิ กรรมพฒั นาผูเรยี น การพัฒน

ใหผูเรยี น ทกั ษะชีวิต และระบบดแู ลชวยเหลอื นัก

๒.๒ การพฒั นาทกั ษะชีวิต สขุ ภาพ ๒. การปฏบิ ัติ ปลกู ฝงคุณธรรมจรยิ ธรร

กาย และสุขภาพจิตผเู รยี น การเขา คา ยคุณธรรม จัดกจิ กรรมสง เสร

๒.๓ การปลกู ฝง ความเปน ประชาธปิ ไตย กจิ กรรมท่ีพัฒนาผูเรยี นต

ประชาธปิ ไตย ความภูมิใจในความ ความถนดั กจิ กรรมโฮม จัดระบบการด

เปนไทยใหกบั ผเู รียน ชวยเหลือนกั เรยี น และสงเสริมผเู รยี นต

๒.๔ การจัดระบบดูแลชวยเหลือ ความถนดั ความสามารถแตละบุคคล

ผเู รยี น ๓. การตรวจสอบ สงั เกต สัมภาษณ กา

ตรวจสอบเอกสารการเยีย่ มบานและ

พฤติกรรมนกั เรยี น

๔. การปรบั ปรงุ วิเคราะหพัฒนาการ

รายบคุ คลและตรวจสอบแบบบนั ทึกตา

ระยะเวลาในการ การขอรับการ ประโยชน
พฒั นา สนบั สนุนจาก ท่คี าดวา จะไดรับ

เริ่มตน สิน้ สดุ หนวยงาน ๑. นักเรยี นมคี ณุ ลักษณะอนั
พงึ ประสงคและผานเกณฑ
ธรรม ๑๖ พ.ค. ๑๕ พ.ค. โรงเรยี นมาบตาพดุ การประเมิน
๒. นกั เรยี นมีทักษะชีวติ เปน ท่ี
นา ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ พันพิทยาคาร ยอมรับของสังคม
๓. นักเรยี นไดร บั การดแู ล
กเรียน ชว ยเหลืออยางทัว่ ถงึ

รม โดย

รมิ

ตาม

ดูแล

ตาม

าร

าง ๆ

อนั ดบั สมรรถนะ วิธีการ /
ความ ทจ่ี ะพัฒนา รปู แบบการพฒั นา
สำคัญ

๒ ๓. การบรหิ ารจัดการช้นั เรยี น ๑. การวางแผน ศึกษาการจัดบรรยากา

๓.๑ การจดั บรรยากาศที่สงเสริมการ ช้นั เรียนที่มีผลตอการพัฒนานักเรียน แ

เรยี นรู ความสขุ และความปลอดภยั จัดทำเอกสารขอมูลสารสนเทศ

ของผูเรียน ๒. การปฏิบตั ิ จัดบรรยากาศในชั้นเรียน

๓.๒ การจัดทำขอ มลู สารสนเทศ เออ้ื ตอการเรยี นรู จดั มมุ ประสบการณต

และเอกสารประจำช้ันเรียน/ประจำ เพ่ือใหเปน แหลงเรียนรู จดั ปายนเิ ทศเพ

วิชา ๓.๓ กำกบั ดแู ลชั้นเรยี นรายชน้ั / ขอมลู ขาวสารสำหรบั การเรียนรู จัดทำ

รายวิชา สารสนเทศของครทู ี่ปรึกษาใหเปนปจ จุบ

จัดระบบการดูแลชวยเหลอื ผูเรียนและน

ขอ มูลไปใชใ นการพัฒนาผเู รยี น

๓. การตรวจสอบ สงั เกตการเย่ยี มช้ันเร

ตรวจสอบ นิเทศเอกสารประจำวิชา

๔. การปรับปรงุ ตรวจผลงานนักเรยี น

ของหองเรียน และเอกสารสารสนเทศ

ระยะเวลาในการ การขอรับการ ประโยชน
พฒั นา สนบั สนุนจาก ทีค่ าดวา จะไดร บั

เรม่ิ ตน สนิ้ สุด หนวยงาน ๑. หองเรยี นมบี รรยากาศที่
เออื้ ตอการเรยี นรู นักเรียนมี
าศใน ๑๖ พ.ค. ๑๕ พ.ค. โรงเรยี นมาบตาพดุ ความสุขในการเรียน
๒. ครูมีขอ มูลสารสนเทศที่
และการ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ พันพิทยาคาร เปนปจจบุ ันสามารถเปน
แบบอยางท่ดี ีได
นให
ตาง ๆ
พ่ือเปน
ำขอ มูล
บัน
นำ

รียน

สภาพ

อนั ดบั สมรรถนะ วิธกี าร /
ความ ทจี่ ะพฒั นา รูปแบบการพฒั นา
สำคญั
๑. การวางแผน ศึกษา เอกสาร ผลงาน
๔ ๔. การวเิ คราะห สังเคราะห และ แนวคิด ทฤษฎี และหลักการพฒั นางาน
ระบบและหลักการวิจัยเบอ้ื งตน
การวจิ ยั เพือ่ พัฒนาผูเรียน ๒. การปฏิบตั ิ เขา รับการอบรม พัฒนา
จดั กจิ กรรมการเรียนรู จดั ทำสอื่ การเรยี
๔.๑ การวิเคราะห เพ่ือพัฒนาคุณภาพของครแู ละผเู รยี น ศ
เอกสาร ตำราในการจดั ทำเอกสารทาง
๔.๒ การสังเคราะห วชิ าการ ศึกษาผลงานตัวอยางในการทำ
ผลงานทางวิชาการ ดำเนินการวิจัยในช
๔.๓ การวจิ ยั เพื่อพัฒนาผเู รียน เรยี นเพื่อแกปญหาตลอดจนพัฒนาผเู รีย
การดำเนินการชุมชนการเรียนรทู างวิชา
๔.๔ ความสามารถในการวจิ ัย เปน งานวิจัย (PLC to Research)
๓. การตรวจสอบ นิเทศโดยใชเคา
โครงการวจิ ยั และพัฒนานวัตกรรมอยา
ตอเนอื่ ง
๔. การปรบั ปรงุ สรปุ โครงการ งานวิจ
และนวตักรรมที่ใชแกป ญ หาหรือพฒั นา

ระยะเวลาในการ การขอรบั การ ประโยชน
พฒั นา สนับสนุนจาก ทีค่ าดวาจะไดรบั

เรม่ิ ตน ส้นิ สดุ หนวยงาน ๑. ครูมีความรูความสามารถ
ในการเขยี นผลงานทาง
นวจิ ยั ๑๖ พ.ค. ๑๕ พ.ค. โรงเรียนมาบตาพุด วิชาการ
๒. นักเรยี นไดรบั การ
นเชิง ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ พันพิทยาคาร แกป ญหาที่ถูกวธิ ี โดยครูทำ
การวจิ ัยในช้นั เรียน
าการ ๓. โรงเรียนไดร ับการพฒั นา
ยนรู อยา งเปน ระบบ และมี
ศึกษา ประสิทธภิ าพในการบรหิ าร
จัดการ

ชั้น
ยนผา น
าชีพให

าง

จยั
างาน

อันดบั สมรรถนะ วิธกี าร /
ความ ที่จะพฒั นา รูปแบบการพัฒนา
สำคัญ

๑๑ ๕. ภาวะผูน ำครู ๑. การวางแผน ศกึ ษา จิตวิทยาความเ

๕.๑ วฒุ ภิ าวะความเปน ผใู หญที่ และภาวะผนู ำแหง การเปลย่ี นแปลงดาน

เหมาะสมกับความครู วิชาการ

๕.๒ การสนทนาอยา งสรางสรรค ๒. การปฏบิ ัติ สบื เสาะหาความรูทางว

๕.๓ การเปน บคุ คลแหง การ ใหม ๆ รเิ ริ่มการปฏบิ ัตสิ กู ารเปลย่ี นแปล

เปล่ยี นแปลง และพฒั นานวตั กรรมเพ่ือยกระดับผลสัม

๕.๔ การปฏิบตั งิ านอยางไตรตรอง ทางการเรยี น ใจกวาง ยอมรับฟง ความ

๕.๕ การมุงพฒั นาผลสัมฤทธ์ิผูเ รียน คิดเห็นของผูอ น่ื อยา งมีเหตุผล

๓. การตรวจสอบ การสังเกตพฤติกรรม

ทำงาน ตรวจสอบเอกสาร และการ

แลกเปลย่ี นเรียนรู

๔. การปรับปรงุ วิเคราะห เอกสารการ

เผยแพรผลงาน การปรับเปลี่ยนบทบาท

การปฏิบตั งิ าน

ระยะเวลาในการ การขอรบั การ ประโยชน
พฒั นา สนับสนุนจาก ท่ีคาดวา จะไดรบั

เร่มิ ตน สน้ิ สดุ หนว ยงาน ๑. เปนผูท ม่ี จี ิตวิญญาณความ
เปน ครู
เปนครู ๑๖ พ.ค. ๑๕ พ.ค. โรงเรยี นมาบตาพดุ ๒. เปนผูนำแหง การ
เปล่ยี นแปลงในวงการวิชาชพี
น ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ พันพิทยาคาร ๓. ไดนวตั กรรมเพื่อพัฒนา
ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น
วิชาชีพ
ลง
มฤทธ์ิ


มการ


ทและ

อันดับ สมรรถนะ วิธกี าร /
ความ ที่จะพัฒนา รูปแบบการพฒั นา
สำคัญ

๕ ๖. การสรางความสัมพันธและ ๑. การวางแผน ศึกษาเปาหมายการจ

ความ รวมมือกบั ชมุ ชนเพอ่ื การ การศกึ ษา จติ วทิ ยาการนำชุมชนใหมีสว

จัดการ เรยี นรู ในกจิ กรรมพัฒนาของโรงเรียน

๖.๑ การสรางความสัมพันธแ ละ ๒. การปฏบิ ัติ การสรางความสมั พันธท

ความรวมมือกบั ชุมชนเพ่ือการ ผปู กครอง และการติดตามผลการเรียน

จัดการเรียนรู นกั เรยี น รายงานผลการเรียนใหผ ูปกคร

๖.๒ การสรางเครือขายความรวมมือ ทราบ เชิญผปู กครองเขา รวมกิจกรรมต

เพ่อื จัดการเรยี นรู ท่ีโรงเรียนจัดขึน้ เขา รวมกจิ กรรมในชุม

ตามความเหมาะสม

๓. การตรวจสอบ การสังเกต การสัมภ

และศึกษาผลการเรียนของนักเรยี น

๔. การปรับปรงุ การสอบถามความคดิ

ของผูปกครอง และผูนำในชมุ ชน

ระยะเวลาในการ การขอรับการ ประโยชน
พัฒนา สนับสนนุ จาก ท่ีคาดวาจะไดรบั

เร่มิ ตน ส้นิ สุด หนว ยงาน ๑. ชมุ ชนใหความรวมมือใน
กิจกรรมตาง ๆ ท่ีโรงเรยี นจดั
จดั ๑๖ พ.ค. ๑๕ พ.ค. โรงเรยี นมาบตาพดุ ข้ึนอยางเตม็ ใจ
๒. เปน การสรางสัมพันธภาพ
วนรวม ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ พันพิทยาคาร ทด่ี ีระหวางโรงเรียนกับ
ผปู กครองและผูน ำในชุมชน
ทดี่ ีกับ
นของ
รอง
ตา ง ๆ
มชน

ภาษณ

ดเหน็

1. ทา นจะนำความรูจากหลักสูตรไปพฒั นาการสอนของทานอยา งไร
1. หลักสูตรที่เก่ียวของกับการจัดการเรยี นรูในรูปแบบออนไลน
นำความรูและแนวทางในการจัดการเรียนรูในรูปแบบออนไลน ไปออกแบบและสรางหองเรียนออนไลน
ผาน Google Classroom สำหรับใชในการจัดการเรียนรูรายวิชาฟสิกสเพิ่มเติม ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๕ เพ่ือใช
ประกอบการจัดการเรยี นรูในรูปแบบออนไลนใหกับผูเรียนหากสถานการณการแพรร ะบาดของเช้ือไวรัสโควิด-
๑๙ ยังไมส ามารถควบคุมได และสามารถนำแนวทางการจัดการเรียนรใู นรูปแบบออนไลนมาใชในการจัดทำสื่อ
ประกอบการจัดการเรียนรูใหนักเรียนสามารถเรียนรูเพิ่มเติมจากการจัดกิจกรรมการเรียนรูในหองเรียน และ
เพื่อใหในการจัดการเรียนรูเพื่อสอนซอมเสริมนักเรียนในชวงสถานการณปกติไดอีกดวย โดยเลือกใชสื่อ
เทคโนโลยีท่ีหลากหลาย และเผยแพรออนไลนในหลายชองทาง เชน วิดีโอสาธิต เกม kahoot การใชการ
ทดลองเสมือน (Virtual Lab) และการสอนสดผานโปรแกรม Zoom ในบางครั้งเพื่อใหเกิดปฏิสัมพันธระหวาง
ครูผูสอนและนักเรียน และปฏิสัมพันธระหวางนักเรียนดวยกันเอง เพ่ือใชเปนทางเลือกในการจัดการเรียนรูใน
สถานการณการแพรบาดของเช้ือไวรสั โควดิ -๑๙ และสามารถนำหอ งเรียนออนไลนท่ีสรางข้ึนมาใชในการจัดการ
เรียนรูซอมเสริมใหกบั นกั เรยี นหากสามารถจัดการเรียนรกู ารสอนในโรงเรียนตามปกติได

2. หลักสตู รเกย่ี วของกับการบริหารหลักสูตรและการจดั การเรยี นรู
นำความรู รูปแบบวธิ ีการจัดการเรยี นรู เทคนคิ การจดั การเรยี นรแู บบ Active Learning ใหมมาใชในการ

ออกแบบกิจกรรมการเรียนรูและกลยุทธการจัดการเรียนรูในรายวิชาฟสิกสเพ่ิมเติม ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี ๕
เพ่ือใหผูเรียนสามารถเกิดการเรียนรูและพัฒนาทักษะ และสมรรถนะสำคญั ไดเต็มประสทิ ธิภาพ เกดิ ความสนใจ
และมีสวนรวมในการทำกิจกรรมการเรียนรูในช้ันเรียนมากขึ้น และออกแบบกิจกรรมการเรียนรูท่ีสามารถ
เช่ือมโยงบูรณาการความรูกับชีวิตประจำวันของผูเรียน การนำแนวทางในการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณ
มาใชในการพัฒนาการคิดเชิงระบบของนักเรียน เพ่ือพัฒนานักเรียนใหสามารถจัดลำดับการคิดและการทำงาน
ไดอยางมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น และสามารถนำแนวทางในการจัดการเรียนรูมาใชในการจัดการเรียนรูท่ีชวย
สงเสริมการสรา งนวตั กรรมใหกับนกั เรยี น ในรายวิชาการศึกษาคนควา อิสระ (IS) นอกจากน้ีนำเทคนิควิธีการวัด
ประเมินผลการจัดการเรียนรูตามสภาพจริงมาใชในการออกแบบเครื่องมือวัดประเมินผลผูเรียน เพ่ือใหไดผล
สะทอนกลับที่แทจริงของผเู รยี นไปใชในการออกแบบนวตั กรรมเพื่อแกปญหาผูเรียนผา นการทำวิจยั ในชั้นเรียน
และปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรูท่ีสอดคลองกับความแตกตางของผูเรียน

3. หลกั สตู รทีเ่ กี่ยวของกบั การพัฒนาผูเ รยี นและการบริหารจดั การช้ันเรยี น
นำแนวทางการจัดระบบดูแลชวยเหลือผูเรียน ไปใชในการดูแล ชวยเหลือ และสงเสริมนักเรียนใน

หองเรียนที่เปนที่ปรึกษา เพื่อใหผูเรียนไดรับการแกปญหา สงตอ หรือสงเสริมอยางถูกตอง ออกแบบและ
จัดเก็บระบบสารสนเทศผูเรียนใหสามารถนำขอมูลมาใชในการพัฒนาผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพและเปน
ปจจุบัน นำเทคนิควธิ ีใหม ๆ มาใชในการเสรมิ แรงทางบวกและทางลบ เพอ่ื ใหเกิดการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม

2. ทา นจะนำความรูจากหลกั สูตรไปพัฒนาการสรา งชุมชนการเรยี นรู PLC อยางไร
ดำเนินการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ตลอดภาคเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู พัฒนา

นวัตกรรมท่ีใชในการแกปญหาผูเรียน รวมกันกับเพื่อนครูที่พบปญหาผูเรียนในลักษณะท่ีใกลเคียงกัน โดยนำ
ความรู เทคนิค และวิธีการท่ีไดรับจากการพัฒนาตนเองผานหลักสูตรตาง ๆ ไปแลกเปล่ียนกับเพ่ือนครูเพ่ือหา
แนวทาง เทคนิค วิธีการในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูเพ่ือแกปญหาและพัฒนานักเรียนรวมกัน มีการ
วเิ คราะห วิพากษเพ่ือปรับปรุงกิจกรรมการเรียนรูใหมีประสิทธิภาพมากขึ้นกอนนำไปใชในการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู ระหวางจัดกิจกรรมการเรียนรูมีการสังเกตชั้นเรียนโดยเพ่ือนครูผูรวมเรียนรู (Buddy Teacher) และ




Click to View FlipBook Version