The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KruJayPhysics, 2021-02-21 10:26:58

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

คำนำ

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ได้พัฒนาให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง 2560) ซึ่งได้กำหนดให้การจัด
การศึกษาตามหลักสูตรต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ
สตปิ ญั ญา ความรู้และคณุ ธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมแหง่ ความเป็นไทยในการดำรงชวี ิต สามารถ
อยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข เปิดโอกาสให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา พัฒนาสาระ
และกระบวนการเรยี นรใู้ ห้เปน็ ไปอย่างตอ่ เน่ือง

โรงเรียนมาบตาพดุ พันพิทยาคาร ในฐานะที่รับผิดชอบดูแลการจัดการศึกษาให้กบั นักเรียนใน
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรเ์ ป็นสาระ
การเรียนรู้หนึ่งที่โรงเรียนจะต้องจัดการเรียนการสอนให้กับผู้เรียน ดังนั้นโรงเรียนจึงได้มอบหมายให้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์จัดทำหลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรข์ ึ้น เพื่อพัฒนาการ
จัดการเรียนรู้ให้เกิดการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 เพื่อให้การจัดการ
เรียนการสอนของโรงเรียนเปน็ ไปตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
(ฉบบั ปรบั ปรุง 2560)

ขอขอบคุณคณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่ได้ร่วมแรงร่วมใจกันจัดทำหลัก สูตร
กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรุง 2560) เล่มนี้ จนสำเร็จลุล่วงเป็นอย่างดี และหวังว่าเอกสารหลักสูตรกลุ่มสาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์เล่มนี้ คงจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการจัดการเรียนรู้ให้ กับผู้เรียนตาม
เจตนารมณข์ องการปฏริ ูปการศึกษา

นางสาวพรรัมภา แสนวิเศษ
กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 2

สารบญั หนา้
1
คำนำ 2
สารบัญ 3
วิสยั ทัศน์ 3
หลักการ 3
จุดมุง่ หมาย 4
สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี นและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 7
ทำไมตอ้ งเรียนวิทยาศาสตร์ 7
เรยี นรอู้ ะไรในวทิ ยาศาสตร์ 8
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ 10
คุณภาพผเู้ รยี น
รายวิชา 19
19
รายวชิ าพ้นื ฐาน
รายวิชาเพ่มิ เตมิ 22
รายวชิ าแตล่ ะภาคเรยี น 22
รายวิชาพนื้ ฐาน
รายวิชาเพิม่ เตมิ 28
คำอธบิ ายรายวิชา 109
วิทยาศาสตร์พน้ื ฐาน 111
วทิ ยาศาสตร์เพิ่มเตมิ 116
184
รายวชิ าทอ้ งถิน่ เพมิ่ เตมิ 245
รายวชิ าฟสิ ิกส์เพ่มิ เตมิ 312
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศเพ่มิ เตมิ 382
รายวิชาเคมีเพ่ิมเติม 510
รายวิชาชวี วิทยาเพ่มิ เตมิ 514
รายวิชาเทคโนโลยีเพม่ิ เตมิ 515
การวัดและประเมินผลการเรียน 517
สอื่ การเรยี นรู้และแหลง่ การเรยี นรู้ 550
อภิธานศัพท์
ตัวช้ีวัดและสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
คณะกรรมการจัดทำหลกั สูตร

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 3

วิสัยทัศน์
ความรู้ดี ทักษะเด่น เน้นจิตวิทยาศาสตร์ สานสัมพันธ์ชุมชน (Have a good knowledge,
Performance skills, Scientific mind and Community relation)

หลักการ
หลกั การกลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ มีหลักการทีส่ ำคัญ ดังน้ี

1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดมุ่งหมายและมาตรฐานการ
เรียนรู้เป็นเป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรม บน
พนื้ ฐานของความเป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล

2. เป็นหลกั สูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน ท่ีปวงชนทกุ คนมโี อกาสไดรับการศกึ ษาอย่างเสมอภาค
และมีคุณภาพ

3. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อสนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนช่วยในการจัด
การศกึ ษาให้สอดคล้องกบั สภาพและความตอ้ งการของท้องถิ่น

4. เป็นหลักสูตรการศึกษาทีม่ ีโครงสร้างยืดหยุน่ ทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการ
เรยี นรู้

5. เป็นหลักสูตรการศกึ ษาที่เน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ
6. เปน็ หลกั สตู รการศึกษาสำหรับการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุม
ทุกกลมุ่ เป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้และประสบการณ์

จุดมงุ่ หมาย
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข
มศี กั ยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ จงึ กำหนดเปน็ จุดมุ่งหมายเพ่ือให้เกิดกับผเู้ รียน เม่ือจบ
การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ดงั น้ี
1. มคี ุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณคา่ ของตนเอง มวี ินยั และปฏบิ ัติ
ตามหลักธรรมของคุณธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาท่ตี นนับถือ ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
2. มีความรคู้ วามสามารถในการส่ือสาร การคิด การแก้ปัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทักษะ
ชวี ติ
3. มสี ขุ ภาพกายสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนสิ ยั และรกั การออกกำลงั กาย
4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการ
ปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 4

5. มจี ิตสำนึกในการอนรุ ักษ์วัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทย การอนุรกั ษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
มีจิตสาธารณะทม่ี ุง่ ทำประโยชน์และสร้างสงิ่ ทีด่ งี ามในสังคม และอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมอย่างมคี วามสุข

สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียนและคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มี
คุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ ดังนี้

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดังน้ี

1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้
ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสารและประสบการณ์ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจา
ต่อรองเพือ่ ขจัดและลดปญั หาความขัดแยง้ ต่างๆ การเลอื กรับหรือไมร่ ับข้อมลู ขา่ วสารด้วยหลักเหตุผล
และความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อ
ตนเองและสังคม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด
อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้
หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่
เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพันธ์และการเปลีย่ นแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้และประยุกต์ความรู้
มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่
เกิดขน้ึ ตอ่ ตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม

กระบวนการแก้ปัญหา การประเมินผลถูกออกแบบอย่างรอบคอบชนิดที่ว่า ผลที่นักเรียน
แสดงออกมาจะชี้บอกถึงระดับความสามารถของนักเรียนที่จะเผชิญหน้ากับปัญหาและการแก้ปัญหา
อย่างมปี ระสิทธภิ าพ โดยนักเรียนจะต้องแสดงออกว่ามคี วามสามารถท่จี ะ

1) เข้าใจปัญหา รวมทั้งการเข้าใจเร่ืองราวสาระจากข้อเขียน แผนผัง สูตร ตาราง และ
สามารถอ้างอิงเชื่อมโยงสาระจากแหล่งต่างๆ แสดงออกว่า เข้าใจแนวคิดที่เกี่ยวข้อง ใช้สาระจากพ้ืน
ฐานความรูเ้ ดมิ ของตน เพอ่ื ทำความเข้าใจกบั สาระเรือ่ งราวทกี่ ำหนดให้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 5

2) บอกลักษณะปัญหา รวมทั้งระบุบอกตัวแปรในปัญหาและตั้งข้อสังเกตถึงความเชื่อมโยง
เก่ยี วขอ้ งระหวา่ งตัวแปร ตดั สินใจวา่ ตัวแปรใดใชไ้ ดห้ รือใช้ไม่ได้ สร้างสมมุตฐิ าน และค้นคืนสาระ จัด
กระทำ พจิ ารณา และประเมินสาระทม่ี ีอยู่

3) แสดงการนำเสนอการแกป้ ญั หา รวมทัง้ การสรา้ งตาราง กราฟ สญั ลักษณ์ การพูด
4) ลงมือแก้ปัญหา รวมถึงการตัดสินใจ วิเคราะห์ระบบ หรือออกแบบระบบเพื่อน นำไปสู่
เป้าหมาย หรือวิเคราะหว์ นิ จิ ฉัย และเสนอวธิ ีการแก้ปญั หา
5) สะท้อนการแก้ปัญหา รวมถึงการตรวจสอบการแก้ปัญหาและมองหาสาระข้อมูลเพิ่มเติม
หรือเพิ่มคำอธิบายให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ประเมินการแก้ปัญหาจากมุมมองต่างๆ หรือหาวิธีแก้ปัญหาใหม่
และใหเ้ ปน็ ท่ยี อมรับมากข้นึ หรือเพอ่ื ใหส้ ามารถอธบิ ายได้
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆ ไปใช้ใน
การดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่
ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความ
ขดั แยง้ ต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรบั ตัวใหท้ นั กบั การเปลีย่ นแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และ
การรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงปร ะสงค์ ที่ส่งผลกระ ทบต่ อตนเอ งและผ ู ้ อื่ น
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้าน
ตา่ งๆ และมที กั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอื่ การพัฒนาตนเองและสงั คมในด้านการเรียนรู้ การ
สือ่ สาร การทำงาน การแก้ปญั หาอย่างสรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม

คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
จากขอ้ สรปุ ของผทู้ รงคุณวฒุ ิทางการศกึ ษา สรุปไดว้ า่ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคเ์ ป็นลักษณะของคนดี
คอื คนทีด่ ำเนินชวี ิตอยา่ งมีคุณภาพ มจี ิตใจท่ดี ีงาม มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และได้สรุปสาระคุณลักษณะ
อนั พึงประสงค์ ดงั น้ี

1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หมายถึง มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย นิยมไทย ปฏิบัติตาม
คำสั่งสอนของศาสนา เคารพเทดิ ทนู พระเกียรติ และพระราชกรณยี กิจของพระมหากษัตริย์

2. ซื่อสัตย์ หมายถึง การประพฤติปฏิบัติอย่างเหมาะสม และตรงต่อความเป็นจริงประพฤติ
ปฏิบัติอย่างตรงไปตรงมา ทั้งกาย วาจา ใจ ต่อตนเองและผู้อื่น รวมตลอดทั้งต่อหน้าที่การงานและ
คำมั่นสญั ญา ความประพฤตทิ ่ีตรงไปตรงมา และจริงใจในสง่ิ ทีถ่ ูกท่ีควร ถูกตอ้ งตามทำนองคลองธรรม
รวมไปถึงการไม่คิดคดทรยศตรงไปตรงมา และจริงใจในสิ่งที่ถูกที่ควร ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม
รวมไปถึงการไมค่ ิดคดทรยศ ไม่คดโกงและไมห่ ลอกลวง นอกจากนีแ้ ลว้ ความซื่อสัตยส์ ุจรติ ยังรวมไปถึง
การรักษาคำพูดหรือคำมั่นสัญญา และการปฏิบัติหน้าที่การงานของตนเองด้วยความรับผิดชอบ และ
ด้วยความซื่อสัตย์ไม่แสวงหาผลประโยชน์ให้แก่ตนเองและพวกพ้องด้วยการใช้ อำนาจหน้าที่โดยมิ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 6

ชอบ ซึ่งความซื่อสัตย์สุจริตนี้จะดำเนินไปด้วยความตั้งในจริง เพื่อทำให้หน้าที่ของตนเอ งให้สำเร็จ
ลุลว่ ง ดว้ ยความระมัดระวัง และเกิดผลดตี ่อตนเองและสังคม

3. มีวินัย หมายถึง การควบคุมความประพฤติให้ถูกต้อง และเหมาะสมกับจรรยา มารยาท
ข้อบังคับ ข้อตกลง กฎหมาย และศีลธรรม การรู้จักควบคุมตนเองให้ประพฤติปฏิบัติตามข้อตกลง
ข้อบังคับ ระเบียบแบบแผน และขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม ย่อมนำมาซึ่งความสงบสุขในชีวติ
ของตน ความเปน็ ระเบียบเรยี บร้อยของสงั คมและประเทศชาติ

4. ใฝ่เรียนรู้ หมายถึง การค้นคว้าหาความร้หู รอื สิง่ ทเ่ี ป็นประโยชน์ เพ่ือพฒั นาตนเองอยู่เสมอ
5. อย่อู ยา่ งพอเพียง หมายถึง การมคี วามพอดีในการบรโิ ภค ใช้ทรัพยากรและเวลาว่างใหเ้ ป็น
ประโยชน์ คำนึงถึงฐานะและเศรษฐกิจ คิดกอ่ นใช้จ่ายตามความเหมาะสม รูจ้ ักการเพ่ิมพนู ทรพั ย์ ด้วย
การเก็บและนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ดูแลรักษาบูรณทรัพย์ของตนเอง มีการเก็บออมเงินไว้ตาม
สมควร
6. มุ่งมั่นในการทำงาน หมายถึง การศึกษาเรียนรู้เพื่อหาข้อเท็จจริง ซึ่งอาจพัฒนาไปสู่ความ
จริง ในสิ่งทตี่ อ้ งการเรยี นรู้ หรือต้องการหาคำตอบ เพอ่ื นำคำตอบที่ไดน้ ้ันมาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ
เช่น การยกระดับความรู้ การนำไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวนั ฯลฯ หรือนำมาสรุปเป็นความจริงให้
ได้
7. รักความเป็นไทย หมายถงึ เข้าใจ หวงแหนความเป็นไทยซง่ึ ถือเป็นต้นทุนทางสังคม ทำให้
ทุกศาสนา สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติโดยต้องมีการดำเนินชวี ิตโดยกายสุจริต วจีสุจริต และมโน
สุจริต เป็นคุณลักษณะที่เกี่ยวข้องกับการเข้าสังคมและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น เช่น ความมี
กิริยามารยาท การปรับตัว ความตรงกับเวลา ความสุภาพ การมีสัมมาคารวะ การพูดจาไพเราะ และ
ความอ่อนนอ้ มถ่อมตัว
8. มีจิตสาธารณะ หมายถึง คุณลักษณะทางจิตใจของบุคคลเกี่ยวกับการมองเห็นคุณค่าหรือ
การให้คุณค่าแก่การมาปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและสิ่งต่างๆ ที่เป็นสิ่งสาธารณะที่ไม่มีผู้ใดผู้หนึ่งเป็น
เจ้าของหรือเป็นสิ่งที่คนในสังคมเป็นเจ้าของร่วมกัน เป็นสิ่งที่สามารถสังเกตได้จากความรู้สึก นึกคิด
หรือการกระทำที่แสดงออกมา ได้แก่ การหลีกเลี่ยงการใช้หรือการกระทำที่จะทำให้เกิดความชำรุด
เสียหายต่อส่วนร่วมที่ใช้ประโยชน์ร่วมกันของกลุ่ม การถือเป็นหน้าที่ที่จะมีส่วนร่วมในการดูแลรักษา
ของส่วนรวมในวิสัยที่ตนสามารถทำได้ และการเคารพสิทธิในการใช้ของส่วนรวมที่เป็นประโยชน์
ร่วมกนั ของกลุม่

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 7

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

ทำไมต้องเรียนวทิ ยาศาสตร์
วทิ ยาศาสตรม์ ีบทบาทสำคัญยิ่งในสังคมโลกปจั จบุ ันและอนาคต เพราะวทิ ยาศาสตร์เกี่ยวข้อง

กับทุกคนทั้งในชีวิตประจำวันและการงานอาชีพต่างๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่องมือเครื่องใช้ และ
ผลผลิตต่างๆ ที่มนุษย์ได้ใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในชีวิตและการทำงาน เหล่านี้ล้วนเป็นผลของ
ความรู้วิทยาศาสตร์ ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์อื่นๆ วิทยาศาสตร์ช่วยให้มนุษย์ได้
พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะสำคัญในการ
ค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลที่
หลากหลายและมีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ วิทยาศาสตร์เป็นวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ซ่ึงเป็น
สังคมแห่งการเรียนรู้ (Knowledge - based society) ดังนั้นทุกคนจึงจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาให้รู้
วิทยาศาสตร์ เพื่อทจ่ี ะมีความรู้ความเขา้ ใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีท่มี นุษย์สร้างสรรค์ข้ึน สามารถ
นำความรไู้ ปใชอ้ ยา่ งมเี หตผุ ล สรา้ งสรรค์ และมีคุณธรรม

เรียนรู้อะไรในวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เน้นการเชื่อมโยง

ความรู้กับกระบวนการ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการ
สบื เสาะหาความรู้ และการแก้ปญั หาท่ีหลากหลาย ใหผ้ ู้เรยี นมสี ่วนรว่ มในการเรียนรู้ทุกขัน้ ตอน มีการ
ทำกิจกรรมดว้ ยการลงมอื ปฏิบตั ิจริงอย่างหลากหลายเหมาะสมกับระดบั ชัน้ โดยไดก้ ำหนดสาระสำคัญ
ไว้ดงั น้ี

1. วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับชีวิตในสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต การ
ดำรงชีวิตของมนุษย์และสัตว์ การดำรงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพและ
ววิ ัฒนาการของส่ิงมชี วี ิต

2. วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร การ
เคลือ่ นที่ พลังงาน และคลน่ื

3. วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธ์ภายใน
ระบบสุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการเปลี่ยนแปลง
ลมฟา้ อากาศ และผลต่อสง่ิ มชี ีวิตและสิ่งแวดล้อม

4. เทคโนโลยี
* การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มี

การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 8

อน่ื ๆ เพ่อื แก้ปัญหาหรือพฒั นางานอยา่ งมีความคิดสร้างสรรค์ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบต่อชวี ิต สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม

* วทิ ยาการคำนวณ เรียนรู้เก่ยี วกบั การคดิ เชิงคำนวณ การคดิ วเิ คราะห์ แกป้ ญั หาเปน็ ขั้นตอน
และเป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สือ่ สาร ในการแก้ปญั หาทพ่ี บในชวี ติ จริงไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับสิง่ มีชวี ิ

และความสัมพันธ์ระหวา่ งสง่ิ มชี ีวตี กิ ับสง่ิ มีชีวีตติ า่ งๆในระบบนเิ วศ การถ่ายทอด
พลังงาน การเปลยี่ นแปลงแทนท่ีในระบบนเิ วศ ความหมายของประชากร ปัญห
และผลกระทบท่ีมตี อ่ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม แนวทางในการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปญั หาสง่ิ แวดลอ้ ม รวมทงั้ นำความรูไ้ ปใช้

ประโยชน์
มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัติของสิง่ มชี ีวติ หนว่ ยพ้นื ฐานของสงิ่ มชี วี ิต การลำเลยี งสารเข้าและ

ออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสรา้ ง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสตั ว์
และมนษุ ยท์ ี่ทำงานสัมพันธก์ ัน ความสมั พันธข์ องโครงสรา้ ง และหนา้ ท่ีของ
อวัยวะต่างๆ ของพชื ทท่ี ำงานสัมพนั ธ์กัน รวมทง้ั นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว 1.3 เขา้ ใจกระบวนการและความสำคัญของการถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม
สารพันธกุ รรม การเปล่ียนแปลงทางพนั ธกุ รรมทมี่ ผี ลต่อส่ิงมชี วี ติ ความหลาก
หลายทางชวี ภาพและวิวฒั นาการของสิ่งมชี ีวิต รวมท้งั นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์
สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบตั ิ
ของสสารกบั โครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนภุ าค หลักและธรรมชาติ
ของการเปลีย่ นแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี
มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาตขิ องแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงทีก่ ระทำต่อวตั ถุ ลกั ษณะ
การเคลอ่ื นท่ีแบบต่างๆ ของวัตถุ รวมทง้ั นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปล่ยี นแปลงและการถา่ ยโอนพลงั งาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลืน่
ปรากฏการณ์ที่เกยี่ วข้องกบั เสียง แสง และคลืน่ แม่เหล็กไฟฟา้ รวมท้งั นำความรู้ไป
ใช้ประโยชน์

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 9

สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองคป์ ระกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และวิวฒั นาการของเอกภพ

กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุรยิ ะ รวมท้ังปฏิสมั พนั ธ์ภายในระบบสรุ ยิ ะ
ที่สง่ ผลตอ่ สิง่ มีชวี ติ และการประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เขา้ ใจองค์ประกอบและความสัมพนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ยี นแปลง
ภายในโลก และบนผวิ โลก ธรณพี ิบัติภยั กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟา้ อากาศ
และภูมอิ ากาศโลก รวมทง้ั ผลต่อสงิ่ มีชีวิตและสง่ิ แวดลอ้ ม
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์
อื่นๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการ
ออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสม โดยคำนงึ ถึงผลกระทบ
ตอ่ ชีวิต สงั คม และสิ่งแวดล้อม
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรยี นรู้ การทำงานและ
การแก้ปญั หาไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจรยิ ธรรม

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 10

คุณภาพผเู้ รียน
จบชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6

1. เข้าใจการลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ กลไกการรักษาดลุ ยภาพของมนุษย์ภูมิคุ้มกัน
ในร่างกายของมนุษย์และความผิดปกติของระบบภูมิค้มุ กนั การใชป้ ระโยชนจ์ ากสาร ตา่ งๆ ท่ีพืชสร้าง
ขึ้น การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธกุ รรมวิวัฒนาการที่ทำให้เกดิ ความ
หลากหลายของส่ิงมีชีวิต ความสำคัญและผลของเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอต่อมนุษย์ สิ่งมีชีวิตและ
สิง่ แวดลอ้ ม

2. เข้าใจความหลากหลายของไบโอมในเขตภูมศาสตร์ต่าง ๆ ของโลก การเปลี่ยนแปลง
แทนทีใ่ นระบบนิเวศ ปัญหาและผลกระทบท่มี ีต่อทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม แนวทางในการ
อนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติ และการแกไ้ ขปัญหาสงิ่ แวดล้อม

3. เข้าใจชนิดของอนุภาคสำคัญที่เป็นส่วนประกอบในโครงสร้างอะตอม สมบัติบางประการ
ของธาตุ การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ ชนิดของแรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งอนภุ าคและสมบัติ ต่าง ๆ ของ
สารที่มีความสัมพนั ธก์ บั แรงยึดเหน่ียว พนั ธะเคมี โครงสรา้ งและสมบตั ขิ องพอลิเมอร์ การเกดิ ปฏิกิริยา
เคมี ปจั จยั ทีม่ ีผลตอ่ อัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี และการเขยี นสมการเคมี

4. เข้าใจปรมิ าณทีเ่ ก่ียวกับการเคลื่อนที่ ความสมั พันธ์ระหว่างแรง มวลและความเร่ง ผลของ
ความเร่งที่มีต่อการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ แรงโน้มถ่วงแรงแม่เหล็ก ความสัมพันธ์ ระหว่าง
สนามแมเ่ หลก็ และกระแสไฟฟ้า และแรงภายในนิวเคลยี ส

5. เข้าใจพลังงานนิวเคลียร์ ความสัมพันธ์ระหว่างมวลและพลังงาน การเปลี่ยนพลังงาน
ทดแทนเปน็ พลังงานไฟฟ้า เทคโนโลยดี า้ นพลังงาน การสะทอ้ น การหักเห การเลย้ี วเบนและการรวม
คลื่น การได้ยิน ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง สีกับการมองเห็นสี คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และ
ประโยชน์ของคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้า

6. เข้าใจการแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างโลก สาเหตุ และรูปแบบการเคลื่อนที่ของแผ่น
ธรณีที่สัมพันธ์กับการเกิดลักษณะธรณีสัณฐาน สาเหตุ กระบวนการเกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟ ระเบิด

สนึ ามิ ผลกระทบ แนวทางการเฝ้าระวัง และการปฏิบัติตนให้ปลอดภยั
7. เข้าใจผลของแรงเนื่องจากความแตกต่างของความกดอากาศ แรงคอริออลิส ที่มีต่อการ
หมุนเวียนของอากาศ การหมนุ เวยี นของอากาศตามเขตละติจดู และผลท่มี ีต่อภูมิอากาศความสัมพันธ์
ของการหมุนเวียนของอากาศ และการหมุนเวียนของกระแสน้ำผิวหน้าในมหาสมุทรและผลต่อ
ลกั ษณะลมฟ้าอากาศ สิ่งมีชีวิตและสง่ิ แวดลอ้ ม ปจั จัยตา่ ง ๆ ทม่ี ผี ลต่อการเปลย่ี นแปลงภูมิอากาศโลก
และแนวปฏิบัติเพื่อลดกิจกรรมของมนุษย์ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก รวมทั้งการแปล
ความหมายสัญลักษณ์ลมฟา้ อากาศทส่ี ำคัญจากแผนที่อากาศ และขอ้ มูลสารสนเทศ
8. เขา้ ใจการกำเนิดและการเปลย่ี นแปลงพลงั งาน สสาร ขนาด อุณหภมู ิของเอกภพหลักฐาน
ที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ประเภทของกาแล็กซี โครงสร้างและองค์ประกอบของ กาแล็กซีทาง

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 11

ช้างเผือก กระบวนการเกิดและการสร้างพลังงาน ปัจจัยที่ส่งผลต่อความส่องสว่าของดาวฤกษ์ และ
ความสัมพันธ์ระหว่างความส่องสว่างกับโชติมาตรของดาวฤกษ์ ความสัมพันธ์ระหว่างสี อุณหภูมิผิว
และสเปกตรัมของดาวฤกษ์ วิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการของดาวฤกษ์
กระบวนการเกิดระบบสุริยะ การแบ่งเขตบริวารของดวงอาทิตย์ ลักษณะของดาวเคราะห์ ที่เอื้อต่อ
การดำรงชีวิต การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะและผลที่มีต่อโลกรวมทั้งการสำรวจอวกาศและการ
ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีอวกาศ

9. ระบปญั หา ตั้งคำถามท่ีจะสำรวจตรวจสอบ โดยมีการกำหนดความสัมพันธ์ระหวา่ งตัวแปร
ต่างๆ สืบค้นข้อมูลจากหลายแหล่ง ตั้งสมมติฐานที่เป็นไปได้หลายแนวทาง ตัดสินใจเลือก ตรวจสอบ
สมมตฐิ านท่ีเป็นไปได้

10. ตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์
ที่แสดงให้เห็นถึงการใช้ความคิดระดับสูงที่สามารถสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้า ได้อย่าง
ครอบคลุมและเชื่อถือได้ สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับหรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบ เพื่อนำไปสู่การ
สำรวจตรวจสอบ ออกแบบวิธีการสำรวจตรวจสอบตามสมมติฐานที่กำหนดไว้ได้อย่างเหมาะสมมี
หลักฐานเชงิ ประจักษ์ เลือกวัสดุ อุปกรณ์รวมทั้งวิธีการในการสำรวจตรวจสอบอย่างถูกต้อง ทั้งในเชงิ
ปริมาณและคุณภาพ และบนั ทึกผลการสำรวจตรวจสอบอยา่ งเป็นระบบ

11. วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูล และประเมินความสอดคลอ้ งของข้อสรปุ เพ่อื ตรวจสอบ
กับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ให้ข้อเสนอแนะเพ่ือปรับปรุงวิธีการสำรวจตรวจสอบ จัดกระทำข้อมูล และ
นำเสนอข้อมลู ดว้ ยเทคนิควิธีทเ่ี หมาะสม สอ่ื สารแนวคิด ความรจู้ ากผลการสำรวจตรวจสอบ
โดยการพูด เขียน จัดแสดงหรือใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจโดยมีหลักฐานอ้างอิงหรอื มี
ทฤษฎีรองรับ

12. แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ ในการสืบเสาะหาความรู้
โดยใช้เครื่องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้อง เชื่อถือได้ มีเหตุผลและยอมรับได้ว่าความรู้ ทาง
วทิ ยาศาสตรอ์ าจมกี ารเปล่ียนแปลงได้

13. แสดงถงึ ความพอใจและเหน็ คณุ ค่า่ในการค้นพบความรู้ พบคำตอบ หรอื แกป้ ัญหาได้
ทำงานรว่ มกับผู้อน่ื อย่างสร้างสรรค์ แสดงความคดิ เห็นโดยมขี ้อมูลอ้างองิ และเหตุผลประกอบเก่ียวกับ
ผลของการพัฒนาและการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรมต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม
และยอมรับฟังความคดิ เหน็ ของผู้อ่นื

14. เข้าใจความสมั พันธข์ องความรวู้ ิทยาศาสตรท์ ่ีมผี ลต่อการพฒั นาเทคโนโลยี ประเภทตา่ งๆ
และการพัฒนาเทคโนโลยีท่ีส่งผลให้มีการคิดค้นความรูท้ างวิทยาศาสตร์ที่ก้าวหน้า ผลของเทคโนโลยี
ต่อชีวติ สังคม และส่ิงแวดล้อม

15. ตระหนักถึงความสำคัญและเห็นคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ใช้ใน
ชีวิตประจำวัน ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดำรงชีวิต และการ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 12

ประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ภูมิใจ ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ชิ้นงานที่เป็นผลมาจากภูมิปัญญา
ทอ้ งถิ่น และการพฒั นาเทคโนโลยที ่ที ันสมัย ศึกษาหาความรูเ้ พ่ิมเตมิ ทำโครงงานหรอื สร้างชนิ้ งานตาม
ความสนใจ

16. แสดงความซาบซง้ึ ห่วงใย มีพฤตกิ รรมเก่ียวกับการใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่งิ แวดล้อมอย่างรู้คุณค่า เสนอตวั เองร่วมมือปฏิบัติกบั ชุมชนในการป้องกนั ดูแล ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมของทอ้ งถน่ิ

17. วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี ได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อน การ
เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ความสัมพนั ธร์ ะหว่างเทคโนโลยีกบั ศาสตร์อื่นโดยเฉพาะวิทยาศาสตร์
หรอื คณิตศาสตร์ วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคำนึงถึงผลกระทบ
ตอ่ ชีวติ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ทรัพยากรเพื่อออกแบบสร้าง
หรือพัฒนาผลงาน สำหรบั แก้ปัญหาที่มผี ลกระทบต่อสงั คม โดยใชก้ ระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
ใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบและนำเสนอผลงาน เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ และเครื่องมือได้อย่าง
ถกู ตอ้ ง เหมาะสม ปลอดภยั รวมทงั้ คำนงึ ถงึ ทรัพย์สินทางปัญญา

18. ใชค้ วามรทู้ างด้านวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ สอ่ื ดจิ ิทลั เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร
เพื่อรวบรวมข้อมูลในชีวิตจริงจากแหล่งต่างๆ และความรู้จากศาสตร์อื่น มาประยุกต์ใช้สร้างความรู้
ใหม่ เข้าใจการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต อาชีพ สังคมวัฒนธรรม และใช้
อย่างปลอดภยั มีจริยธรรม

เรียนรู้อะไรในวิทยาศาสตร์เพ่มิ เติม
วิทยาศาสตร์เพมิ่ เติม ผเู้ รยี นจะไดเ้ รยี นรสู้ าระสำคญั ดังน้ี

1. ชีววิทยา เรียนร้เู กย่ี วกับการศึกษาชีววิทยา สารทีเ่ ปน็ องคป์ ระกอบของส่ิงมีชีวิต เซลล์
ของสิ่งมีชีวิต พันธุกรรมและการถ่ายทอด วิวัฒนาการ ความหลากหลายทางชีวภาพ โครงสร้างและ
การทำงานของส่วนต่างๆ ในพืชดอก ระบบและการทำงานในอวัยวะต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ และ
ส่ิงมชี ีวิตและสิง่ แวดลอ้ ม

2. เคมี เรยี นรเู้ กีย่ วกบั ปริมาณสาร องคป์ ระกอบและสมบัติของสาร การเปล่ียนแปลงของ
สาร ทกั ษะและการแกป้ ัญหาทางเคมี

3. ฟิสกิ ส์ เรียนร้เู กี่ยวกบั ธรรมชาติและการคน้ พบทางฟิสิกส์ แรงและการเคลอื่ นท่แี ละพลังงาน
4. โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เรยี นรเู้ ก่ยี วกบั โลกและกระบวนการเปลี่ยนแปลง
ทางธรณีวิทยา ข้อมูลทางธรณีวิทยาและการนำไปใช้ประโยชน์ การถ่ายโอนพลังงานความร้อนของ
โลก การเปลี่ยนแปลงลักษณะลมฟ้าอากาศกับการดำรงชีวิตของมนุษย์ โลกในเอกภพ และดารา
ศาสตร์กบั มนุษย์

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 13

สาระวิทยาศาสตรเ์ พิม่ เตมิ
สาระชวี วทิ ยา

1. เขา้ ใจธรรมชาตขิ องสิง่ มีชวี ิต การศึกษาชวี วิทยาและวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ สารที่เปน็
องค์ประกอบของส่งิ มีชวี ิต ปฏกิ ริ ิยาเคมใี นเซลลข์ องสิ่งมีชวี ติ กล้องจุลทรรศนโ์ ครงสร้างและหน้าท่ีของ
เซลล์ การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ การแบ่งเซลล์ และการหายใจระดับเซลล์

2. เข้าใจการถา่ ยทอดลักษณะทางพันธกุ รรม การถา่ ยทอดยีนบนโครโมโซม สมบัติ และหน้าท่ี
ของสารพันธุกรรม การเกิดมิวเทชัน เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ หลักฐานข้อมูลและแนวคิด เกี่ยวกับ
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก การเกิดสปีชีส์ใหม่ ความหลากหลายทาง
ชีวภาพ กำเนิดของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต และอนุกรมวิธาน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้
ประโยชน์

3. เขา้ ใจสว่ นประกอบของพืช การแลกเปล่ียนแก๊สและคายน้ำของพืช การลำเลยี งของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอก และการเจริญเติบโตและการตอบสนองของพืช
รวมทงั้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

4. เขา้ ใจการย่อยอาหารของสัตวแ์ ละมนษุย์ รวมทง้ั การหายใจและการแลกเปล่ียนแกซ๊
การลำเลียงสารและการหมุนเวียนเลือด ภมู คิ ุม้ กันของร่างกาย การขับถ่ายการรบั รู้และการตอบสนอง
การเคลอ่ื นท่ี การสบื พนั ธแ์ุ ละการเจรญิ เติบโต ฮอร์โมนกบั การรกั ษาดุลยภาพ และพฤตกิ รรมของสัตว์
รวมทั้งนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

5. เขา้ ใจแนวคดิ เกย่ี วกับระบบนิเวศ กระบวนการถ่ายทอดพลงั งานและการหมุนเวยี นสาร
ในระบบนิเวศ ความหลากหลายของไบโอม การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ประชากรและรูปแบบการเพิ่มของประชากร ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปัญหาและ
ผลกระทบทเี่ กดิ จากการใช้ประโยชนแ์ ละแนวทางการแก้ไขปัญหา
สาระเคมี

1. เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตใุ นตารางธาตุ สมบัตขิ องธาตุ พันธะเคมี และ
สมบัติของสาร แก๊สและสมบัติของแก๊ส ประเภทและสมบัติของสารประกอบอนิทรีย์ และพอลิเมอร์
รวมทั้งการนำความร้ไู ปใช้ประโยชน์

2. เขา้ ใจการเขียนและการดุลสมการเคมี ปริมาณสัมพนั ธ์ในปฏิกริ ยิ าเคมี อตั ราการเกดิ
ปฏิกิริยาเคมี สมดลุ ในปฏกิ ิริยาเคมีสมบัติและปฏิกิริยาของกรด-เบส ปฏิกิริยารีดอกซ์และเซลล์เคมี
ไฟฟ้า รวมท้งั การนำความร้ไู ปใช้ประโยชน์ เขา้ ใจหลักการทำปฏิบัตกิ ารเคมี การวัดปริมาณสารหน่วย
วดั และการเปล่ียนหน่วย
สาระฟิสกิ ส์

1. เข้าใจธรรมชาติทางฟสิ ิกส์ ปริมาณและกระบวนการวดั การเคล่ือนท่ีแนวตรง แรงและกฎ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 14

การเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทาน สมดุลกลของวัตถุ งานและ กฎการ
อนุรักษ์พลังงานกล โมเมนตัมและกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม การเคลื่อนที่แนวโค้ง รวมทั้งนำความรู้ไป
ใชป้ ระโยชน์

2. เข้าใจการเคล่อื นท่ีแบบฮาร์มอนกิ สอ์ ย่างง่าย ธรรมชาตขิ องคลืน่ เสียงและการได้
ยนิ ปรากฏการณท์ ีเ่ กย่ี วขอ้ งกับเสียงแสงและการเห็น ปรากฏการณ์ทเ่ี กี่ยวข้องกับแสงรวมทั้งนำความรู้
ไปใช้ประโยชน์

3. เขา้ ใจแรงไฟฟ้าและกฎของคลู อมบ์ สนามไฟฟ้า ศักยไ์ ฟฟา้ ความจุไฟฟา้ กระแสไฟฟา้ และ
กฎของโอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลังงานไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้า การเปล่ียนพลังงานทดแทน เป็น
พลังงานไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กที่กระทำกับประจุไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า การเหน่ียวนำ
แม่เหลก็ ไฟฟา้ และกฎของฟาราเดย์ ไฟฟา้ กระแสสลบั คลนื่ แม่เหล็กไฟฟา้ และการสื่อสารรวมทง้ั
นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

4. เข้าใจความสัมพันธ์ของความรอ้ นกับการเปลีย่ นอุณหภมู ิและสถานะของสสาร สภาพยืดหยุ่น
ของวสั ดุและมอดลุ ัสของยัง ความดนั ในของไหล แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดสี ความตึงผิวและแรง
หนดื ของของเหลว ของไหลอุดมคติและสมการแบรน์ ลู ลี กฎของแกส๊ ทฤษฎีจลน์ ของแก๊สอุดมคติ
และพลังงานในระบบ ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ทวิภาวะของคลื่นและ
อนุภาค กัมมันตภาพรงั สี แรงนวิ เคลยี ร์ ปฏิกริ ิยานิวเคลยี ร์ พลังงานนวิ เคลียร์ ฟิสกิ ส์ อนภุ าค รวมทั้ง
นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์
สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ

1. เขา้ ใจกระบวนการเปลีย่ นแปลงภายในโลก ธรณีพิบัติภัยและผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
การศกึ ษาลำดบั ชั้นหิน ทรัพยากรธรณี แผนท่ี และการนำไปใชป้ ระโยชน์

2. เข้าใจสมดุลพลังงานของโลก การหมุนเวียนของอากาศบนโลก การหมุนเวียนของน้ำ ใน
มหาสมุทร การเกิดเมฆ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกและผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมรวมท้ัง
การพยากรณ์อากาศ

3. เขา้ ใจองคป์ ระกอบ ลกั ษณะกระบวนการเกิดและวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์
และระบบสุรยิ ะ ความสัมพันธ์ของดาราศาสตร์กับมนุษย์จากการศึกษาตำแหน่ง ดาวบนทรงกลมฟ้า
และปฏสิ ัมพนั ธ์ภายในระบบสุริยะ รวมทงั้ การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยอี วกาศ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 15

คณุ ภาพผเู้ รียน

จบช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6
ผู้เรียนทเี่ รียนครบทกุ ผลการเรียนรู้ มคี ณุ ภาพดังนี้

1. เขา้ ใจวิธกี ารทางวิทยาศาสตรใ์ นการค้นหาคำตอบเก่ยี วกบั สิ่งมชี ีวิต สารทเี่ ป็นองค์ประกอบ
ของสิ่งมีชีวิต และปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล์ การใช้กล้องจุลทรรศน์ โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
การลำเลียงสารเขา้ และออกจากเซลล์ การแบง่ เซลล์และการหายใจระดับเซลล์

2. เข้าใจหลักการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรมของสิ่งมีชวี ติ การถา่ ยทอดยนี บนออโตโซมและ
โครโมโซมเพศ โครงสร้างและองคป์ ระกอบทางเคมขี องดีเอน็ เอ การจำลองดีเอ็นเอ กระบวนการ
สังเคราะห์โปรตีนการเกิดมิวเทชันในสิ่งมีชีวิต หลักการและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ทางดีเอ็นเอ
หลักฐานและข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต แนวคิดเกี่ยวกับ วิวัฒนาการของสิ่งมี
ชวี ิต เงอ่ื นไขของภาวะสมดลุ ของฮาร์ดี-ไวนเ์ บิร์ก กระบวนการเกิดสปชี สี ใ์ หม่ของสิ่งมี ชีวติ ความหลาก
หลายทางชีวภาพ กำเนิดของสิ่งมีชีวิต ลักษณะสำคัญของสิ่งมีชีวิต กลุ่มแบคทีเรีย โพรทิสต์พืช ฟังไจ
และสตั ว์การจำแนกสิง่ มีชวี ิตออกเป็นหมวดหมู่และวิธกี ารเขียนชอื่ วิทยาศาสตร์

3. เข้าใจโครงสร้างและส่วนประกอบของพืชทงั้ ราก ลำต้นและใบ การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคาย
น้ำ การลำเลียงน้ำและธาตุอาหาร การลำเลียงอาหาร การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช กระบวนการ
สร้างเซลล์สืบพันธุ์และการปฏิสนธิของพืชดอก การเกิดผลและเมล็ด บทบาทของสาร ควบคุมการ
เจริญเตบิ โตของพืชและการประยกุ ต์ใช้ และการตอบสนองของพืช

4. เขา้ ใจกลไกการรักษาดุลยภาพของส่ิงมีชีวิต โครงสร้างหน้าท่ี และกระบวนการต่างๆ ของ
สัตว์และมนุษย์ ได้แก่ การย่อยอาหาร การแลกเปลี่ยนแก๊ส การเคล่ือนที่ การกำจัดของเสีย ออกจาก
รา่ งกายของสิ่งมีชวี ิต ระบบหมนุ เวียนเลือด ระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายของมนุษย์ การทำงาน ของ
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก ระบบสืบพันธุ์ การปฏิสนธิ การเจริญเติบโต ฮอร์โมนและ
พฤตกิ รรมของสัตว์

5. เข้าใจกระบวนการถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ ความหลากหลาย
ของไบโอม การเปลยี่ นแปลงแทนทีแ่ บบตา่ ง ๆ ในระบบนิเวศ การเปลี่ยนแปลง จำนวนประชากร
มนุษย์ในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับโลก แนวทางการป้องกันและแก้ไข ปัญหา
ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม

6. เข้าใจการศึกษาโครงสร้างอะตอมของนกั วทิ ยาศาสตร์การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมสมบัติ
บางประการของธาตแุ ละการจดั เรียงธาตุในตารางธาตุ พันธะเคมี สมบัติของสารทม่ี ี ความสัมพันธ์กับ
พันธะเคมี กฎตา่ งๆของแก๊ส และสมบัตขิ องแกส๊ ประเภทและสมบตั ิของ สารประกอบอินทรยี ์ และ
ประเภทและสมบัติของพอลิเมอร์

7. เข้าใจการเขียนและการดุลสมการเคมี การคำนวณปริมาณสารต่างๆที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยา

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 16

เคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีและปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมดุลในปฏิกิริยาเคมี
และปัจจัยที่มผี ลต่อสมดุลเคมี ทฤษฎีกรด-เบส สมบัติและปฏิกิรยิ าของกรด-เบส สารละลายบัฟเฟอร์
ปฏกิ ิรยิ ารีดอกซ์ และเซลล์เคมีไฟฟา้

8. เข้าใจขอ้ ปฏบิ ัติเบ้ืองตน้ เกีย่ วกับความปลอดภัยในการทำปฏิบัติการเคมี การเลือกใช้อุปกรณ์
หรือเครื่องมือในการทำปฏิบัติการ หน่วยวัดและการเปลี่ยนหน่วยวัดด้วยการ ใช้แฟกเตอร์เปลี่ยน
หนว่ ย การคำนวณเกี่ยวกับมวลอะตอมมวลโมเลกุลและมวลสูตรความสัมพันธ์ของโมล จำนวนอนุภาค
มวล และปรมิ าตรของแก๊สที่ STP การคำนวณสตู รอย่างง่ายและสูตร โมเลกลุ ของสาร ความเข้มข้น
ของสารละลาย การเตรียมสารละลาย และการบูรณาการความรู้และ ทักษะในการอธิบาย
ปรากฏการณใ์ นชวี ิตประจำวนั และการแกป้ ัญหาทางเคมี

9. เขา้ ใจธรรมชาติของฟิสิกส์ กระบวนการวัด ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการ
เคลือ่ นที่การเคลื่อนที่ในแนวตรง แรงลัพธ์ กฎการเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน กฎความโน้มถ่วง สากล
สนามโน้มถ่วง งาน กฎการอนุรักษ์พลังงานกล สมดุลกลของวัตถุ เครื่องกลอย่างง่าย โมเมนตัมและ
การดล กฎการอนุรกั ษโ์ มเมนตัม การชน และการเคลอื่ นทใ่ี นแนวโค้ง

10. เข้าใจการเคลื่อนท่แี บบคลืน่ ปรากฏการณ์คล่นื การสะทอ้ น การหกั เห การเลี้ยวเบนและการ
แทรกสอด หลักการของฮอยเกนส์ การเคลื่อนที่ของคล่ืนเสียงปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง ความ
เขม้ เสยี งและระดับเสยี งการได้ยนิ ภาพทเ่ี กดิ จากกระจกเงาและเลนส์ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ
แสงและการมองเหน็ แสงสี

11. เข้าใจสนามไฟฟา้ แรงไฟฟ้า กฎของคลู อมบ์ ศักย์ไฟฟ้า ตัวเก็บประจุ ตัวต้านทานและกฎของ
โอห์ม พลังงานไฟฟ้า การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า เทคโนโลยีด้านพลังงาน
สนามแม่เหล็ก ความสัมพันธ์ระหว่างสนามแม่เหล็กกับกระแสไฟฟ้า การเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า
ไฟฟ้ากระแสสลบั คลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟา้ และประโยชนข์ องคล่นื แม่เหลก็ ไฟฟ้า

12. เข้าใจผลของความร้อนต่อสสาร สภาพยืดหยุ่น ความดันในของไหล แรงพยุง ของไหลอุดมคติ
ทฤษฎีจลนข์ องแกส๊ แนวคิดควอนตัมของพลังงาน ทฤษฎอี ะตอมของโบร์ ปรากฏการณโ์ ฟโต
อิเล็กทริก ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี กัมมันตภาพปฏิกิริยา
นิวเคลียร์ พลังงานนิวเคลียร์ ความสัมพันธ์ระหว่างมวลและพลังงาน แรงภายในนิวเคลียส และการ
ค้นคว้าวิจัยดา้ นฟิสิกส์อนภุ าค

13. เข้าใจการแบ่งช้นั และสมบตั ิของโครงสร้างโลก สาเหตุและรูปแบบการเคล่ือนที่ของแผน่ ธรณีท่ี
สมั พนั ธก์ บั การเกดิ ลกั ษณะธรณีสณั ฐานและธรณโี ครงสรา้ งแบบตา่ งๆ หลักฐานทางธรณีวทิ ยาท่ีพบใน
ปจั จบุ ันและการลำดับเหตกุ ารณท์ างธรณวี ิทยาในอดตี สาเหตุกระบวนการ เกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟ
ระเบิด สึนามิ ผลกระทบ แนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยสมบัติและการจำแนก
ชนดิ ของแร่ กระบวนการเกดิ และการจำแนกชนดิ หนิ กระบวนการเกิดและการสำรวจแหล่งปิโตรเลียม
และถ่านหิน การแปลความหมายจากแผนท่ีภูมิประเทศและแผนที่ ธรณีวิทยา และการนำข้อมูลทาง

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 17

ธรณวี ิทยาไปใช้ประโยชน์
14. เข้าใจปัจจยั สำคัญที่มีผลต่อการรับและปลดปล่อยพลังงานจากดวงอาทิตย์ กระบวนการที่ทำ

ให้เกิดสมดุลพลังงานของโลก ผลของแรงเน่ืองจากความแตกต่างของความกดอากาศ แรงคอริออลิส
แรงสู่ศูนย์กลาง และแรงเสียดทานที่มีต่อการหมุนเวยี นของอากาศ การหมุนเวยี นของอากาศตามเขต
ละตจดิ ู และผลที่มีต่อภูมิอากาศปัจจัยท่ีทำให้เ้กิดการแบ่งช้ันน้ำและการหมุนเวียน ของน้ำใน
มหาสมทุ ร รปู แบบการหมนุ เวียนของนำ้ ในมหาสมุทร และผลของการหมนุ เวียนของน้ำในมหาสมุทรที่
มีต่อลกั ษณะลมฟา้ อากาศ สิง่ มชี วี ติ และสง่ิ แวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างเสถียรภาพ อากาศและ
การเกดิ เมฆ การเกิดแนวปะทะอากาศแบบต่างๆ และลักษณะลมฟ้าอากาศทีเ่ กย่ี วข้องปัจจัยต่างๆท่ีมี
ผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก รวมทั้งการแปลความหมายสัญลักษณ์ ลมฟ้าอากาศและ
การพยากรณล์ ักษณะลมฟ้าอากาศเบ้ืองตน้ จากแผนทีอ่ ากาศและข้อมลู สารสนเทศ

15. เข้าใจการกำเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงานสสาร ขนาดอุณหภูมิของเอกภพ หลักฐานที่
สนบั สนนุ ทฤษฎีบิกแบง ประเภทของกาแล็กซี โครงสร้างและองคป์ ระกอบของกาแล็กซี ทางช้างเผือก
กระบวนการเกดิ ดาวฤกษ์ และการสรา้ งพลงั งานของดาวฤกษ์ ปัจจยั ท่ีส่งผลตอ่ ความส่องสว่างของดาว
ฤกษ์ และความสัมพันธ์ระหว่างความส่องสว่างกับโชติมาตรของดาวฤกษ์ ความสัมพันธ์ระหว่างสี
อุณหภูมิผิวและสเปกตรัมของดาวฤกษ์ วิธีการหาระยะทางของดาวฤกษ์ ด้วยหลักการแพรัลแลกซ์
วิวัฒนาการและการเปล่ียนแปลงสมบัติบางประการของดาวฤกษ์ กระบวนการเกิดระบบสุริยะ การ
แบ่งเขตบริวารของดวงอาทิตย์ ลักษณะของดาวเคราะห์ที่เอ้ือต่อการดำรงชีวิต การโคจรของดาว
เคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด้วยกฎเคพเลอร์ และกฎความโน้มถ่วงของนิวตัน โครงสร้างของดวงอาทิตย์
การเกดิ ลมสุริยะ พายุสุริยะและผลที่มีต่อโลก การระบุพิกัดของดาวในระบบขอบฟ้าและระบบศูนย์
สตู ร เส้นทางการขนึ้ การตกของดวงอาทิตยแ์ ละดาวฤกษ์ เวลา สุริยคติ และการเปรียบเทียบเวลาของ
แตล่ ะเขตเวลาบนโลก การสำรวจอวกาศและการประยุกตใ์ ช้ เทคโนโลยอี วกาศ

16. ระบปุ ญั หาต้ังคำถาม ทจี่ ะสำรวจตรวจสอบ โดยมีการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
ตา่ งๆ สบื ค้นขอ้ มูลจากหลายแหล่ง ต้ังสมมติฐานที่เป็นไปได้หลายแนวทางตัดสินใจ เลือกตรวจสอบ
สมมติฐานท่ีเป็นไปได้

17. ตั้งคำถามหรอื กำหนดปญั หาทอ่ี ยูบ่ นพ้ืนฐานของความรู้ และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์
ท่ีแสดงให้เห็นถึงการใช้ความคิดระดับสูง ท่ีสามารถสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้ อย่าง
ครอบคลุมและเชื่อถือได้ สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับหรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบ เพื่อนำไปสู่การ
สำรวจตรวจสอบ ออกแบบวิธีการสำรวจตรวจสอบตามสมมติฐานทีก่ ำหนดไวไ้ ด้อย่างเหมาะสม มี
หลักฐานเชงิ ประจักษ์ เลอื กวัสดุ อปุ กรณ์ รวมทัง้ วิธกี ารในการสำรวจตรวจสอบอย่างถูกต้อง ทั้งในเชิง
ปริมาณและคณุ ภาพ และบนั ทกึ ผลการสำรวจตรวจสอบอย่างเป็นระบบ

18. วเิ คราะห์ แปลความหมายข้อมูล และประเมินความสอดคล้องของข้อสรุป เพื่อตรวจสอบกับ
สมมตฐิ านที่ต้งั ไว้ ใหข้ ้อเสนอแนะเพอื่ ปรับปรงุ วิธีการสำรวจตรวจสอบ จัดกระทำ ข้อมูลและนำเสนอ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 18

ขอ้ มูลดว้ ยเทคนิควิธที ่เี หมาะสม สื่อสารแนวคิด ความรู้ จากผลการสำรวจตรวจสอบ โดยการพูดเขียน
จัดแสดงหรอื ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือใหผ้ ู้อ่นื เขา้ ใจโดยมหี ลักฐาน อ้างองิ หรือมที ฤษฎรี องรับ

19. แสดงถึงความสนใจ มุ่งม่นั รับผิดชอบ รอบคอบและซื่อสตั ย์ ในการสืบเสาะหาความรู้ โดย
ใชเ้ ครอ่ื งมือ และวธิ กี ารที่ให้ได้ผลถกู ต้อง เชอ่ื ถือได้ มเี หตผุ ลและยอมรบั ได้วา่ ความรู้ ทางวิทยาศาสตร์
อาจมกี ารเปลี่ยนแปลงได้

20. แสดงถงึ ความพอใจและเห็นคุณค่าในการค้นพบความรู้ พบคำตอบ หรอื แก้ปญั หาได้ ทำงาน
รว่ มกบั ผอู้ ่ืนอย่างสรา้ งสรรค์ แสดงความคดิ เหน็ โดยมขี อ้ มลู อา้ งองิ และเหตุผลประกอบเกี่ยวกับผลของ
การพัฒนาและการใช้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรมต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม และ
ยอมรับฟังความคดิ เห็นของผ้อู นื่

21. เขา้ ใจความสมั พันธข์ องความรู้วิทยาศาสตรท์ ่มี ีผลตอ่ การพัฒนาเทคโนโลยีประเภทตา่ ง และ
การพัฒนาเทคโนโลยีที่ส่งผลให้มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ก้าวหน้า ผลของเทคโนโลยีต่อ
ชวี ิตสังคมและสิง่ แวดล้อม

22. ตระหนักถึงความสำคัญและเห็นคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ใช้ใน
ชีวิตประจำวัน ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดำรงชีวิต และการ
ประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ภูมใิ จ ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ช้ินงานที่เป็นผลมาจากภูมิปัญญา
ท้องถิ่นและการพัฒนาเทคโนโลยที ที่ ันสมัย ศึกษาหาความรเู้ พมิ่ เติม ทำโครงงานหรอื สรา้ งชิ้นงานตาม
ความสนใจ

23. แสดงความซาบซ้ึงหว่ งใย มีพฤติกรรมเก่ียวกับการใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า เสนอตัวเองร่วมมือปฏิบัตกิ ับชุมชนในการป้องกัน ดูแลทรัพยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดลอ้ มของทอ้ งถ่ิน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 19

รายวชิ า
โครงสรา้ งหลักสูตร (โรงเรยี นมาตรฐานสากล)
สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 - 6)

ปกี ารศึกษา 2562 - 2564

รายวชิ าพื้นฐาน 40 ชว่ั โมง 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์
ว30101 ฟิสกิ ส์พื้นฐาน / Fundamental Physics 40 ช่วั โมง 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
ว30121 เคมพี ้ืนฐาน / Fundamental Chemistry 40 ชั่วโมง 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์
ว30141 ชวี วทิ ยาพืน้ ฐาน / Fundamental Biology 40 ชั่วโมง 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์
ว30161 โลก และอวกาศ 1/ Earth and Space 1 40 ชั่วโมง 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์
ว30162 โลก และอวกาศ 2/ Earth and Space 2 40 ชว่ั โมง 2 ช่วั โมง/สปั ดาห์
ว30182 พลังงาน / Energy 20 ชั่วโมง 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์
ว31183 วทิ ยาการเทคโนโลยี 4 20 ช่ัวโมง 1 ชวั่ โมง/สปั ดาห์
ว32184 วทิ ยาการเทคโนโลยี 5 20 ชว่ั โมง 1 ช่วั โมง/สปั ดาห์
ว33185 วิทยาการเทคโนโลยี 6

รายวิชาเพม่ิ เตมิ 20 ช่ัวโมง 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์
รายวชิ าท้องถ่ินเพม่ิ เตมิ
60 ช่ัวโมง 3 ชัว่ โมง/สปั ดาห์
ว30281 ชวี ติ กบั ส่ิงแวดล้อม / 60 ชัว่ โมง 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์
Life and environment 60 ชว่ั โมง 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์
60 ช่วั โมง 3 ช่วั โมง/สปั ดาห์
รายวชิ าฟสิ กิ ส์เพม่ิ เตมิ 60 ชั่วโมง 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
ว30201 ฟิสกิ ส์เพิม่ เติม 1 / Physics 1 60 ชว่ั โมง 3 ชวั่ โมง/สัปดาห์
ว30202 ฟิสิกส์เพ่ิมเติม 2 / Physics 2
ว30203 ฟสิ กิ ส์เพม่ิ เตมิ 3 / Physics 3
ว30204 ฟิสิกส์เพม่ิ เติม 4 / Physics 4
ว30205 ฟิสกิ ส์เพมิ่ เตมิ 5 / Physics 5
ว30206 ฟิสิกส์เพ่มิ เตมิ 6 / Physics 6

รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศเพ่มิ เติม 20 ชว่ั โมง 1 ช่ัวโมง/สัปดาห์
ว30261 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 1/
Earth Astronomy and Space 1
ว30262 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 2/

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 20

Earth Astronomy and Space 2 20 ชว่ั โมง 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
ว30263 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 3/ 20 ชว่ั โมง 1 ชวั่ โมง/สปั ดาห์
20 ชวั่ โมง 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
Earth Astronomy and Space 3 20 ชว่ั โมง 1 ช่ัวโมง/สัปดาห์
ว30264 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 4/ 20 ชั่วโมง 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

Earth Astronomy and Space 4
ว30265 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 5/

Earth Astronomy and Space 5
ว30266 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 6/

Earth Astronomy and Space 6

รายวชิ าเคมเี พิม่ เตมิ 60 ชว่ั โมง 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
ว30221 เคมีเพิ่มเตมิ 1 / Chemistry 1 60 ช่ัวโมง 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์
ว30222 เคมีเพิ่มเตมิ 2 / Chemistry 2 60 ชัว่ โมง 3 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
ว30223 เคมีเพม่ิ เติม 3 / Chemistry 3 60 ชั่วโมง 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์
ว30224 เคมีเพ่ิมเตมิ 4 / Chemistry 4 60 ชัว่ โมง 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์
ว30225 เคมีเพ่มิ เติม 5 / Chemistry 5 60 ช่วั โมง 3 ช่วั โมง/สัปดาห์
ว30226 เคมีเพิ่มเติม 6 / Chemistry 6

รายวิชาชีววทิ ยาเพมิ่ เติม 60 ชั่วโมง 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
ว30241 ชวี วิทยาเพ่ิมเตมิ 1 / Biology 1 60 ชวั่ โมง 3 ชั่วโมง/สปั ดาห์
ว30242 ชวี วิทยาเพม่ิ เตมิ 2 / Biology 2 60 ช่วั โมง 3 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
ว30243 ชวี วิทยาเพ่ิมเตมิ 3 / Biology 3 60 ชั่วโมง 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์
ว30244 ชีววทิ ยาเพมิ่ เตมิ 4 / Biology 4 60 ชั่วโมง 3 ชั่วโมง/สปั ดาห์
ว30245 ชีววทิ ยาเพ่ิมเตมิ 5 / Biology 5 60 ชว่ั โมง 3 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
ว30246 ชีววิทยาเพ่มิ เติม 6 / Biology 6

รายวชิ าเทคโนโลยเี พมิ่ เตมิ 40 ชว่ั โมง 2 ช่ัวโมง/สัปดาห์
ว31282 การออกแบบเทคโนโลยี 20 ชั่วโมง 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์
ว31283 ปฏิบัติการวิทยาการเทคโนโลยี 4 40 ชว่ั โมง 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห์
ว31284 คณิตศาสตรค์ อมพวิ เตอร์เบอ้ื งต้น 40 ชว่ั โมง 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
ว31285 อัลกอริทึมเบื้องตน้ 20 ชว่ั โมง 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
ว31286 ปฏบิ ัติการวิทยาการเทคโนโลยี 5

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 21

ว32286 การเขียนโปรแกรมบนมอื ถอื 40 ชั่วโมง 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห์

ว32287 Internet Of Thing 40 ชว่ั โมง 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์

ว32288 System for AI 40 ชว่ั โมง 2 ช่ัวโมง/สัปดาห์

ว32290 ฮาร์ดแวรแ์ ละยทู ิลติ ี้ 40 ชั่วโมง 2 ชั่วโมง/สัปดาห์

ว33289 เทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษาและการประกอบอาชีพ 40 ชว่ั โมง 2 ชั่วโมง/สัปดาห์

ว33291 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์

เชงิ วิทยาการคำนวณ 40 ชว่ั โมง 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห์

ว33292 วิทยาการคำนวนประยุกต์ 40 ชั่วโมง 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์

ว30283 เทคนคิ การนำเสนอขัน้ สงู 40 ชั่วโมง 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

ว30284 ระบบปฏิบตั ิการเบอ้ื งต้น 20 ชว่ั โมง 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

ว30285 การสร้างงานแบบอินโฟกราฟิก 20 ชั่วโมง 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์

ว30286 3D Animation 40 ชั่วโมง 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

ว30287 การพัฒนาเขียนโปรแกรมซี 20 ชว่ั โมง 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

ว30288 ยูทลิ ิต้ีเบ้อื งต้น 20 ชว่ั โมง 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์

ว30290 เทคโนโลยกี บั งานนวตั กรรมเพือ่ การศึกษา 40 ชั่วโมง 2 ช่วั โมง/สัปดาห์

ว30291 เทคโนโลยีกับการฝกึ ทกั ษะการสือ่ สาร

ภาษาต่างประเทศ 20 ชั่วโมง 1 ชัว่ โมง/สัปดาห์

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 22

รายวชิ าแต่ละภาคเรียน

โครงสร้างหลักสูตร (โรงเรียนมาตรฐานสากล)

สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 - 6)

ปกี ารศกึ ษา 2562 - 2564

รายวิชาพ้ืนฐาน

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4

ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562

ว30121 เคมีพน้ื ฐาน / Fundamental Chemistry 40 ชวั่ โมง 2 ชวั่ โมง/สปั ดาห์

ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2562

ว30141 ชวี วทิ ยาพ้ืนฐาน / Fundamental Biology 40 ชวั่ โมง 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์

ว31183 วิทยาการเทคโนโลยี 4 20 ช่วั โมง 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์

ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 40 ชั่วโมง 2 ช่วั โมง/สัปดาห์
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563
40 ชั่วโมง 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห์
ว30101 ฟสิ ิกสพ์ ื้นฐาน / Fundamental Physics 20 ชว่ั โมง 1 ชวั่ โมง/สปั ดาห์
ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

ว30182 พลงั งาน / Energy
ว32184 วิทยาการเทคโนโลยี 5

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 40 ชั่วโมง 2 ชัว่ โมง/สปั ดาห์
ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564
40 ชว่ั โมง 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
ว30161 โลก และอวกาศ1 / Earth and Space1 20 ชวั่ โมง 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์
ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564

ว30162 โลก และอวกาศ2 / Earth and Space2
ว33185 วิทยาการเทคโนโลยี 6

รายวชิ าเพิม่ เตมิ 20 ชั่วโมง 1 ชวั่ โมง/สัปดาห์
รายวิชาทอ้ งถน่ิ เพ่มิ เติม
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4
ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562

ว30284 ชีวติ กับสงิ่ แวดล้อม /
Life and environment

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 23

ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2562 60 ชว่ั โมง 3 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
- 60 ชว่ั โมง 3 ช่ัวโมง/สัปดาห์

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 60 ชั่วโมง 3 ช่ัวโมง/สปั ดาห์
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 60 ชั่วโมง 3 ช่ัวโมง/สัปดาห์

- 60 ชัว่ โมง 4 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 60 ชั่วโมง 3 ชั่วโมง/สัปดาห์

-
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6
ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564

-
ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

-
รายวชิ าฟิสกิ ส์เพ่มิ เติม
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4
ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562

ว30201 ฟสิ กิ ส์เพิม่ เติม 1 / Physics 1
ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2562

ว30202 ฟสิ กิ ส์เพ่มิ เตมิ 2 / Physics 2
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563

ว30203 ฟสิ กิ ส์เพิ่มเติม 3 / Physics 3
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563

ว30204 ฟิสกิ ส์เพม่ิ เตมิ 4 / Physics 4
ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 6
ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564

ว30205 ฟิสกิ ส์เพิ่มเติม 5 / Physics 5
ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564

ว30206 ฟสิ กิ ส์เพ่มิ เตมิ 6 / Physics 6

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 24

รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศเพม่ิ เติม 20 ช่วั โมง 1 ชัว่ โมง/สัปดาห์
ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 20 ชั่วโมง 1 ช่ัวโมง/สปั ดาห์
ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562
20 ชั่วโมง 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
ว30261 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 1 / 20 ชวั่ โมง 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์
Earth Astronomy and Space 1
20 ชว่ั โมง 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์
ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2562 20 ชว่ั โมง 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
ว30262 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 2 /
Earth Astronomy and Space 2

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563

ว30263 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 3 /
Earth Astronomy and Space 3

ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563
ว30264 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 4 /
Earth Astronomy and Space 4

ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6
ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564

ว30265 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 5 /
Earth Astronomy and Space 5

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
ว30266 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 6 /
Earth Astronomy and Space 6

รายวชิ าเคมีเพิม่ เตมิ 60 ช่ัวโมง 3 ช่วั โมง/สปั ดาห์
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 60 ชั่วโมง 3 ช่วั โมง/สัปดาห์
ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562
60 ชวั่ โมง 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
ว30221 เคมีเพ่ิมเติม 1 / Chemistry 1
ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2562

ว30222 เคมีเพมิ่ เติม 2 / Chemistry 2
ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5
ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563

ว30223 เคมีเพิ่มเตมิ 3 / Chemistry 3

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 25

ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 60 ชั่วโมง 3 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
ว30224 เคมีเพมิ่ เตมิ 4 / Chemistry 4
60 ช่ัวโมง 3 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 60 ช่ัวโมง 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์
ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564

ว30225 เคมีเพิ่มเติม 5 / Chemistry 5
ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

ว30226 เคมีเพ่ิมเติม 6 / Chemistry 6

รายวชิ าชีววิทยาเพ่มิ เตมิ 60 ชัว่ โมง 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 60 ชัว่ โมง 3 ช่ัวโมง/สัปดาห์
ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562
60 ชวั่ โมง 3 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
ว30241 ชวี วทิ ยาเพม่ิ เติม 1 / Biology 1 60 ชว่ั โมง 3 ช่วั โมง/สัปดาห์
ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2562
60 ชั่วโมง 3 ชั่วโมง/สปั ดาห์
ว30242 ชีววิทยาเพิ่มเติม 2 / Biology 2 60 ชวั่ โมง 3 ชัว่ โมง/สปั ดาห์
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5
ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2563

ว30243 ชวี วทิ ยาเพม่ิ เติม 3 / Biology 3
ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

ว30244 ชวี วิทยาเพมิ เติม 4 / Biology 4
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 6
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564

ว30245 ชวี วทิ ยาเพิม่ เตมิ 5 / Biology 5
ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564

ว30246 ชีววิทยาเพิ่มเตมิ 6 / Biology 6

รายวชิ าเทคโนโลยเี พ่มิ เติม 40 ช่วั โมง 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4
ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 20 ชว่ั โมง 1 ช่ัวโมง/สัปดาห์
40 ช่วั โมง 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห์
ว31282 การออกแบบเทคโนโลยี
ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2562

ว31283 ปฏิบัติการวิทยาการเทคโนโลยี 4
ว30283 เทคนิคการนำเสนอขัน้ สงู

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 26

ว30284 ระบบปฏบิ ตั กิ ารเบอื้ งตน้ 20 ช่วั โมง 1 ชัว่ โมง/สัปดาห์
ภาคเรยี นที่ 1 - 2 ปีการศึกษา 2562
40 ชั่วโมง 2 ชัว่ โมง/สปั ดาห์
ว31284 คณติ ศาสตร์คอมพิวเตอรเ์ บอื้ งตน้ 40 ชั่วโมง 2 ช่วั โมง/สปั ดาห์
ว31285 อลั กอริทมึ เบอื้ งต้น 20 ชว่ั โมง 1 ชวั่ โมง/สัปดาห์
ว30285 การสร้างงานแบบอนิ โฟกราฟกิ 40 ชว่ั โมง 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์
ว30286 3D Animation

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 40 ชว่ั โมง 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์
ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 40 ชั่วโมง 2 ช่วั โมง/สัปดาห์
40 ชว่ั โมง 2 ชัว่ โมง/สัปดาห์
ว32286 การเขียนโปรแกรมบนมือถอื 40 ชั่วโมง 2 ช่ัวโมง/สัปดาห์
ว32287 Internet Of Thing 40 ชั่วโมง 2 ชว่ั โมง/สัปดาห์
ว32288 System for AI 20 ช่วั โมง 1 ช่ัวโมง/สปั ดาห์
ว32290 ฮาร์ดแวร์และยทู ลิ ติ ้ี
ว30287 การเขยี นโปรแกรมภาษาซี 20 ชั่วโมง 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์
ว30288 ยทู ลิ ติ ี้ เบอ้ื งต้น
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563
-
ภาคเรยี นที่ 1 - 2 ปกี ารศกึ ษา 2563
ว31286 ปฏิบัติการวทิ ยาการเทคโนโลยี 5

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 40 ชั่วโมง 2 ชัว่ โมง/สัปดาห์
ภาคเรยี นท่ี 1 - 2 ปีการศึกษา 2564
40 ชั่วโมง 2 ชวั่ โมง/สปั ดาห์
ว33289 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและ 40 ชว่ั โมง 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
การประกอบอาชพี 40 ชว่ั โมง 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห์

ว33291 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 20 ช่วั โมง 1 ชวั่ โมง/สปั ดาห์
เชิงวทิ ยาการคำนวณ

ว33292 วิทยาการคำนวนประยุกต์
ว30290 เทคโนโลยีกบั งานนวัตกรรม

เพือ่ การศึกษา
ว30291 เทคโนโลยกี ับการฝกึ ทกั ษะการสือ่ สาร

ภาษาต่างประเทศ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 27

คำอธบิ ายรายวชิ า
รายวิชาพ้ืนฐาน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 28

แบบวิเคราะห์ตวั ชวี้ ดั ของหลักสูตร
รหสั วชิ า ว 30121 รายวิชาเคมพี น้ื ฐาน ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1

สาระที่ 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบัตขิ องสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสมบัตขิ อง
สสารกบั โครงสร้างและแรงยดึ เหน่ียวระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการเปล่ียนแปลง
สถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง / ทอ้ งถิ่น

ตวั ชี้วัด ความรู้ (K) ทักษะ / กระบวนการ คณุ ลักษณะอนั พึง จำนวน
ชวั่ โมง
(P) ประสงค์ (A)
1
ม.5/1 ระบวุ า่ สาร 1. อธิบายและ 1. สบื ค้นขอ้ มูลเกี่ยวกับ 1. เห็นคณุ ประโยชน์
2
เป็นธาตุหรอื เปรียบเทียบแบบจำลอง พฒั นาการของ ของการเรียน
2
สารประกอบ และอยู่ อะตอมของดอลตนั ทอม แบบจำลองอะตอมได้ วิทยาศาสตร์

ในรปู อะตอม สนั รัทเทอร์ฟอร์ด โบร์ อยา่ งถูกต้อง ตระหนักในคณุ คา่

โมเลกลุ หรือไอออน และแบบกลุ่มหมอกได้ ของความรู้

จากสูตรเคมี 2. อธบิ ายวา่ สารเป็น วทิ ยาศาสตร์

ธาตุหรอื สารประกอบ และเทคโนโลยที ี่ใช้ใน

และอยู่ในรูปอะตอม ชีวติ ประจำวนั

โมเลกุล หรือไอออน

จากสูตรเคมีได้

ม.5/2 เปรยี บเทยี บ 1. อธบิ ายสมบตั ิของ 1. สืบคน้ ขอ้ มูลเกยี่ วกับ 1. เห็นคุณประโยชน์

ความเหมอื นและ อนุภาคมลู ฐาน เขยี น พฒั นาการของ ของการเรยี น

ความแตกต่างของ สญั ลกั ษณ์นวิ เคลียรข์ อง แบบจำลองอะตอมได้ วทิ ยาศาสตร์

แบบจำลองอะตอม ธาตุ อธิบายความหมาย อย่างถูกต้อง ตระหนักในคณุ ค่า

ของโบร์กับ ไอโซโทปได้ ของความรู้

แบบจำลองอะตอม วิทยาศาสตร์

แบบกลุ่มหมอก และเทคโนโลยที ใี่ ช้ใน

ชวี ิตประจำวัน

ม.5/3 ระบุจำนวน 1. อธิบายสมบตั ขิ อง 1. สืบค้นข้อมูลเกย่ี วกบั 1. เหน็ คุณประโยชน์

โปรตอน นิวตรอน อนภุ าคมลู ฐาน เขยี น พัฒนาการของ ของการเรียน

และอิเล็กตรอนของ สญั ลักษณน์ วิ เคลยี รข์ อง วทิ ยาศาสตร์

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 29

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง / ท้องถ่นิ

ตัวช้วี ดั ความรู้ (K) ทกั ษะ / กระบวนการ คุณลกั ษณะอนั พงึ จำนวน

(P) ประสงค์ (A) ชว่ั โมง

อะตอม และไอออนท่ี ธาตุ อธบิ ายความหมาย แบบจำลองอะตอมได้ ตระหนกั ในคณุ คา่

เกิดจากอะตอมเดียว ไอโซโทปได้ อยา่ งถูกต้อง ของความรู้

วิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยที ่ใี ชใ้ น

ชีวติ ประจำวัน

ม.5/4 เขยี น 1. อธบิ ายสมบัตขิ อง 1. สบื คน้ ข้อมลู เกี่ยวกบั 1. เห็นคุณประโยชน์ 2

สัญลกั ษณ์นิวเคลียร์ อนภุ าคมลู ฐาน เขยี น พฒั นาการของ ของการเรียน

ของธาตุและระบุการ สญั ลกั ษณ์นวิ เคลียรข์ อง แบบจำลองอะตอมได้ วิทยาศาสตร์

เป็นไอโซโทป ธาตุ อธิบายความหมาย อยา่ งถูกต้อง ตระหนกั ในคุณคา่

ไอโซโทปได้ ของความรู้วิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยที ่ีใช้ใน

ชวี ติ ประจำวนั

ม.5/5 ระบุหมแู่ ละ 1. อธบิ ายวิวัฒนาการ 1. สบื ค้นขอ้ มลู 1. ทำงานร่วมกบั ผอู้ ื่น 2

คาบของธาตุ และ ของการจัดธาตุใน เกี่ยวกบั ธาตุทีค่ ้นพบ อย่างสรา้ งสรรค์

ระบวุ ่าธาตุเปน็ โลหะ ตารางธาตุ และบอก ในปจั จบุ ัน และ ยอมรับความคดิ เหน็

อโลหะ กึ่งโลหะ แนวโน้มการ นำเสนอข้อมูลได้ ของผู้อืน่ ได้

กลุ่มธาตุเรพรเี ซนเท เปล่ยี นแปลงสมบตั ิบาง ถูกต้อง

ทีฟ หรอื กล่มุ ธาตแุ ท ประการของธาตุตาม

รนซิชนั จากตาราง หมแู่ ละตามคาบได้

ธาตุ

ม.5/6 เปรียบเทียบ 1. อธบิ ายเก่ยี วกบั ชนิด 1. ทดลองและสรุปผล 1. แสดงความเปน็ คน 2

สมบตั ิการนำไฟฟา้ และสมบตั ิของธาตุได้ การทดลองเก่ียวกบั การ ช่างสังเกต ชา่ งคดิ ชา่ ง

การให้และรบั 2. อธบิ ายและ ทดสอบปฏิกิรยิ าของ สงสัย ใฝเ่ รียนรู้ และ

อเิ ลก็ ตรอนระหว่าง ยกตวั อยา่ งการใช้ ธาตุหมู่ 1A 2A และ 3A มุ่งมนั่ ในการเสาะ

ธาตใุ นกลมุ่ โลหะกบั ประโยชน์จากธาตบุ าง กับน้ำได้ แสวงหาความรู้

อโลหะ ชนดิ ได้

3. อธิบายความ

แตกต่างของการทำ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 30

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง / ทอ้ งถนิ่

ตัวชีว้ ดั ความรู้ (K) ทักษะ / กระบวนการ คณุ ลักษณะอนั พงึ จำนวน
ชว่ั โมง
(P) ประสงค์ (A)
2
ปฏิกริ ิยากบั นำ้ ของธาตุ
2
หมู่ 1A 2A และ 3A ได้
1
ม.5/7 สืบค้นข้อมูล 1. อธบิ ายและ 1. ทดลองและสรุปผล 1. แสดงความเป็นคน

และนำเสนอตัวอย่าง ยกตวั อยา่ งการใช้ การทดลองเกยี่ วกบั การ ช่างสังเกต ช่างคดิ ชา่ ง

ประโยชนแ์ ละ ประโยชน์จากธาตบุ าง ทดสอบปฏิกิรยิ าของ สงสยั ใฝเ่ รยี นรู้ และ

อันตรายทเี่ กิดจาก ชนิดได้ ธาตุหมู่ 1A 2A และ 3A มุง่ มัน่ ในการเสาะ

ธาตุเรพรีเซนเททีฟ 2. อธบิ ายความ กับน้ำได้ แสวงหาความรู้

และธาตุแทรนซิชนั แตกต่างของการทำ

ปฏิกริ ยิ ากับนำ้ ของธาตุ

หมู่ 1A 2A และ 3A ได้

ม.5/8. ระบุวา่ พันธะ 1.นกั เรยี นอธบิ ายการ 1. นกั เรียนทำการ 1. แสดงความเปน็ คน

โคเวเลนต์เปน็ พันธะ เกดิ พันธะโคเวเลนต์ ทดลองการหารปู ร่าง ชา่ งสังเกต ช่างคิด ชา่ ง

เดยี่ ว พันธะคู่ หรือ และสารโคเวเลนต์ได้ การเกิดพันธะโคเวเลนต์ สงสัย ใฝ่เรยี นรู้ และ

พนั ธะ สาม และระบุ 2.นักเรียนบอก ได้ ม่งุ มั่นในการเสาะ

จำนวนคู่อิเล็กตรอน ความหมายของ แสวงหาความรู้

ระหว่างอะตอมคู่รว่ ม อเิ ล็กตรอนครู่ ่วมพนั ธะ

พันธะ จากสตู ร และอเิ ล็กตรอนคโู่ ดด

โครงสร้าง เด่ียว รวมทงั้ อธิบาย

การเกิดพันธะเด่ยี ว

พนั ธะคู่ พันธะสาม ได้

3.นักเรียนเขยี น

โครงสร้างลิวอสิ ของสาร

โคเวเลนต์ได้

ม.5/9. ระบุสภาพข้ัว 1. นักเรียนอธิบายการ 1. สืบค้นข้อมูล 1. แสดงความเป็นคน

ของสารท่ีโมเลกลุ เกิดแรงลอนดอนได้ อภิปรายเกย่ี วกบั การ ช่างสงั เกต ชา่ งคดิ ชา่ ง

ประกอบด้วย 2 2. นกั เรยี นบอก เกดิ พนั ธะเคมีได้ สงสยั ใฝเ่ รียนรู้ และ

อะตอม ความหมายของแรง มงุ่ มั่นในการเสาะ

ดงึ ดดู ระหว่างขว้ั และ แสวงหาความรู้ (A)

แรงดงึ ดดู ระหวา่ งขว้ั

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 31

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถิ่น

ตัวช้วี ัด ความรู้ (K) ทักษะ / กระบวนการ คุณลกั ษณะอนั พงึ จำนวน
ช่ัวโมง
(P) ประสงค์ (A)
2
ถาวรกับขั้วทถ่ี ูก
2
เหนย่ี วนำได้
2
ม.5/6 เปรยี บเทียบ 1. อธบิ ายเก่ียวกบั ชนดิ 1. ทดลองและสรุปผล 1. แสดงความเป็นคน

สมบัตกิ ารนำไฟฟ้า และสมบตั ขิ องธาตุได้ การทดลองเกย่ี วกบั การ ช่างสังเกต ชา่ งคิด ชา่ ง

การให้และรับ 2. อธิบายและ ทดสอบปฏิกริ ิยาของ สงสยั ใฝเ่ รียนรู้ และ

อเิ ล็กตรอนระหว่าง ยกตัวอยา่ งการใช้ ธาตุหมู่ 1A 2A และ 3A มุง่ มนั่ ในการเสาะ

ธาตใุ นกลมุ่ โลหะกบั ประโยชน์จากธาตุบาง กับนำ้ ได้ แสวงหาความรู้

อโลหะ ชนดิ ได้

3. อธบิ ายความ

แตกตา่ งของการทำ

ปฏกิ ิริยากบั นำ้ ของธาตุ

หมู่ 1A 2A และ 3A ได้

ม.5/7 สบื คน้ ข้อมลู 1. อธิบายและ 1. ทดลองและสรุปผล 1. แสดงความเป็นคน

และนำเสนอตวั อยา่ ง ยกตวั อยา่ งการใช้ การทดลองเก่ียวกับการ ชา่ งสังเกต ชา่ งคดิ ชา่ ง

ประโยชน์และ ประโยชน์จากธาตุบาง ทดสอบปฏิกริ ยิ าของ สงสยั ใฝเ่ รยี นรู้ และ

อันตรายท่ีเกดิ จาก ชนิดได้ ธาตหุ มู่ 1A 2A และ 3A มงุ่ ม่ันในการเสาะ

ธาตเุ รพรีเซนเททีฟ 2. อธบิ ายความ กับน้ำได้ แสวงหาความรู้

และธาตุแทรนซชิ ัน แตกต่างของการทำ

ปฏกิ ิรยิ ากับนำ้ ของธาตุ

หมู่ 1A 2A และ 3A ได้

ม.5/8. ระบวุ า่ พันธะ 1.นักเรียนอธิบายการ 1. นักเรยี นทำการ 1. แสดงความเป็นคน

โคเวเลนต์เป็นพันธะ เกดิ พนั ธะโคเวเลนต์ ทดลองการหารปู รา่ ง ชา่ งสังเกต ช่างคิด ช่าง

เด่ยี ว พันธะคู่ หรือ และสารโคเวเลนต์ได้ การเกดิ พนั ธะโคเวเลนต์ สงสยั ใฝเ่ รียนรู้ และ

พนั ธะ สาม และระบุ 2.นกั เรยี นบอก ได้ มงุ่ ม่นั ในการเสาะ

จำนวนคอู่ เิ ล็กตรอน ความหมายของ แสวงหาความรู้

ระหว่างอะตอมคู่รว่ ม อิเลก็ ตรอนค่รู ่วมพันธะ

พันธะ จากสตู ร และอิเล็กตรอนคู่โดด

โครงสรา้ ง เด่ยี ว รวมทงั้ อธิบาย

การเกดิ พันธะเดี่ยว

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 32

สาระการเรียนร้แู กนกลาง / ท้องถิ่น

ตวั ชีว้ ดั ความรู้ (K) ทกั ษะ / กระบวนการ คณุ ลกั ษณะอนั พึง จำนวน
ชั่วโมง
(P) ประสงค์ (A)
1
พันธะคู่ พนั ธะสาม ได้
1
3.นกั เรยี นเขยี น
2
โครงสร้างลวิ อิสของสาร
2
โคเวเลนตไ์ ด้

ม.5/9. ระบสุ ภาพข้ัว 1. นกั เรยี นอธบิ ายการ 1. สบื ค้นขอ้ มลู 1. แสดงความเปน็ คน

ของสารท่โี มเลกลุ เกิดแรงลอนดอนได้ อภิปรายเก่ียวกับการ ช่างสงั เกต ช่างคดิ ช่าง

ประกอบด้วย 2 2. นักเรยี นบอก เกดิ พันธะเคมีได้ สงสัย ใฝเ่ รียนรู้ และ

อะตอม ความหมายของแรง มงุ่ มัน่ ในการเสาะ

ดึงดดู ระหว่างขว้ั และ แสวงหาความรู้ (A)

แรงดงึ ดูดระหว่างข้ัว

ถาวรกบั ข้ัวที่ถูก

เหน่ียวนำได้

ม.5/10. ระบสุ ารที่ 1. นกั เรียนอธบิ ายการ 1. สบื ค้นขอ้ มลู 1. แสดงความเปน็ คน

เกิดพนั ธะไฮโดรเจน เกิดแรงลอนดอนได้ อภิปรายเก่ยี วกับการ ชา่ งสังเกต ชา่ งคดิ ชา่ ง

ไดจ้ ากสูตรโครงสร้าง 2. นกั เรยี นบอก เกดิ พนั ธะเคมีได้ สงสัย ใฝ่เรยี นรู้ และ

ความหมายของแรง มุ่งม่นั ในการเสาะ

ดึงดูดระหวา่ งข้วั และ แสวงหาความรู้ (A)

แรงดงึ ดูดระหวา่ งขัว้

ถาวรกับขว้ั ทถี่ ูก

เหน่ยี วนำได้

ม.5/11 อธิบาย 1. บอกความหมาย 1. สืบคน้ ขอ้ มลู 1. ความเป็นคนช่าง

ความสัมพันธ์ระหว่าง และอธิบายการเกิด อภิปรายเกยี่ วกับการ สงั เกต ชา่ งคิด ช่าง

จดุ เดือดของสารโคเว พนั ธะเคมีได้ เกดิ พันธะเคมีได้ สงสัย ใฝ่เรียนรู้ และ

เลนต์กบั แรงดึงดูด มงุ่ มน่ั ในการเสาะ

ระหว่างโมเลกุลตาม แสวงหาความรู้

สภาพขวั้ หรอื การเกิด

พันธะไฮโดรเจน

ม.5/12 เขยี นสูตร 1.อธบิ ายความหมาย 1.เขียนสตู ร และอา่ นช่ือ 1. ความเป็นคนช่าง

เคมีของไอออนและ ของพนั ธะไอออนิกได้ สารประกอบไอออนกิ ได้ สังเกต ชา่ งคดิ ช่าง

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 33

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง / ท้องถน่ิ

ตัวช้ีวดั ความรู้ (K) ทกั ษะ / กระบวนการ คณุ ลักษณะอนั พึง จำนวน
ชั่วโมง
(P) ประสงค์ (A)
2
สารประกอบไอออ 2.อธบิ ายกลไกในการ สงสยั ใฝเ่ รียนรู้ และ
2
นิก เกดิ พนั ธะไอออนกิ ได้ มุ่งม่ันในการเสาะ
2
3.อธิบายสมบตั ิของ แสวงหาความรู้

สารประกอบไอออนิก

ได้

ม.5/13 ระบุวา่ สาร 1. บอกสมบตั เิ ปน็ กรด 2. จำแนกประเภทของ 3. แสดงความเป็นคน

เกดิ การละลายแบบ หรอื เบสได้ สารละลายอิเล็กโทรไลต์ ช่าง

แตกตวั หรอื ไม่แตก และนอนอเิ ล็กโทรไลต์ สงั เกต ช่างคิด ช่าง

ตัว พรอ้ มใหเ้ หตุผล ได้ สงสัย

และระบวุ ่า ใฝ่เรียนรู้ และมงุ่ มั่นใน

สารละลาย การ

ที่ไดเ้ ป็นสารละลายอิ เสาะแสวงหาความรู้

เล็กโทรไลตห์ รอื

นอนอเิ ล็กโทรไลต์

ม.5/14 ระบุ 1. อธบิ ายความหมาย 1. เขียนสูตรท่ัวไป สูตร 1. แสดงความเปน็ คน

สารประกอบอินทรีย์ และลักษณะของ โมเลกลุ และสตู ร ชา่ ง

ประเภท สารประกอบ โครงสรา้ งพร้อมทั้ง สงั เกต ชา่ งคิด ช่าง

ไฮโดรคาร์บอนวา่ ไฮโดรคาร์บอนได้ เรยี กชือ่ แอลเคน แอ สงสัย

อมิ่ ตัวหรอื ไม่อิม่ ตวั 2. เขยี นสูตรท่ัวไป สตู ร ลคีน แอลไคน์ ไซโคลแอ ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งม่นั ใน

จากสูตรโครงสรา้ ง โมเลกุลและสตู ร ลเคน ไซโคลแอลคีน การเสาะแสวงหา

โครงสร้างพรอ้ มทง้ั และไซโคลแอลไคนไ์ ด้ ความรู้

เรียกชือ่ แอลเคน แอ

ลคีน แอลไคน์ ไซโคล

แอลเคน ไซโคลแอลคนี

และไซโคลแอลไคน์ได้

ม.5/15 สบื คน้ ขอ้ มลู 1. อธบิ ายความหมาย 1. สืบคน้ ข้อมูลเกี่ยวกับ 1. แสดงความเป็นคน

และเปรียบเทียบ ประเภท และสมบัติ ความหมาย ประเภท ช่างสงั เกต ชา่ งคดิ ช่าง

สมบัติทางกายภาพ ของพอลเิ มอร์ไดไ้ ด้ และสมบัตขิ องพอลิ สงสยั ใฝเ่ รียนรู้ และ

ระหวา่ งพอลิเมอร์ 2. อภปิ รายการนำพอลิ เมอรไ์ ด้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 34

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง / ท้องถิน่

ตัวชวี้ ัด ความรู้ (K) ทักษะ / กระบวนการ คุณลักษณะอนั พึง จำนวน
ช่ัวโมง
(P) ประสงค์ (A)
2
และมอนอเมอร์ของ เมอร์ไปใช้ประโยชน์ ม่งุ มั่นในการเสาะ 2

พอลเิ มอร์ชนดิ น้ัน รวมทั้งผลทีเ่ กดิ จากการ แสวงหาความรู้

ผลิต และใชพ้ อลิ

เมอรต์ ่อส่ิงมีชวี ิตและ

สิ่งแวดลอ้ มได้

3. ระบกุ ารเลือกใช้

ประโยชนข์ อง

ผลติ ภณั ฑ์

พอลิเมอร์ดว้ ยสมบัตทิ ่ี

แตกต่างกนั ได้

ม.5/16 ระบสุ มบัติ 1. บอกสมบตั เิ ปน็ กรด 2. จำแนกประเภทของ 3. แสดงความเป็นคน

ความเปน็ กรด-เบส หรือเบสได้ สารละลายอิเล็กโทรไลต์ ช่างสงั เกต ชา่ งคิด

จากโครงสรา้ งของ และนอนอเิ ลก็ โทรไลต์ ช่างสงสัย ใฝ่เรยี นรู้

สารประกอบอินทรยี ์ ได้ และม่งุ มน่ั ในการ

เสาะแสวงหาความรู้

ม.5/18 วิเคราะห์ 1. อธิบายความหมาย 1. สบื คน้ ข้อมูลเก่ียวกบั 1. แสดงความเป็นคน

และอธบิ าย ประเภท และสมบัติ ความหมาย ประเภท ชา่ งสงั เกต ช่างคิด ชา่ ง

ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง ของพอลิเมอร์ไดไ้ ด้ และสมบัตขิ องพอลิ สงสัย ใฝ่เรียนรู้ และ

โครงสรา้ งกับสมบตั ิ 2. อภปิ รายการนำพอลิ เมอร์ได้ มุ่งมั่นในการเสาะ

เทอรม์ อพลาสติก เมอรไ์ ปใช้ประโยชน์ แสวงหาความรู้

และเทอร์ รวมทัง้ ผลท่ีเกิดจากการ

มอเซตของพอลเิ มอร์ ผลิต และใชพ้ อลิ

และการนำพอลิเมอร์ เมอรต์ ่อสิง่ มชี วี ิตและ

ไปใชป้ ระโยชน์ สงิ่ แวดลอ้ มได้

3. ระบกุ ารเลือกใช้

ประโยชน์ของ

ผลติ ภณั ฑ์

พอลเิ มอรด์ ว้ ยสมบัติท่ี

แตกตา่ งกันได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 35

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถ่ิน

ตวั ชี้วดั ความรู้ (K) ทกั ษะ / กระบวนการ คณุ ลักษณะอันพงึ จำนวน
ชั่วโมง
(P) ประสงค์ (A)
2
ม.5/19 สบื ค้นข้อมลู 1. อธิบายความหมาย 1. สบื คน้ ข้อมูลเกี่ยวกับ 1. แสดงความเป็นคน
1
และนาเสนอ ประเภท และสมบัติ ความหมาย ประเภท ชา่ งสังเกต ชา่ งคดิ ช่าง 1

ผลกระทบของการใช้ ของพอลเิ มอร์ไดไ้ ด้ และสมบตั ขิ องพอลิ สงสัย ใฝเ่ รยี นรู้ และ 2

ผลิตภณั ฑพ์ อลิเมอร์ 2. อภปิ รายการนำพอลิ เมอรไ์ ด้ มุง่ มั่นในการเสาะ

ที่มตี ่อสิ่งมชี วี ติ และ เมอรไ์ ปใช้ประโยชน์ แสวงหาความรู้

สิ่งแวดลอ้ ม พร้อม รวมท้งั ผลทเี่ กดิ จากการ

แนวทางป้องกนั หรือ ผลติ และใชพ้ อลิ

แก้ไข เมอร์ต่อสง่ิ มีชีวติ และ

สิ่งแวดลอ้ มได้

3. ระบุการเลือกใช้

ประโยชนข์ อง

ผลิตภณั ฑ์

พอลิเมอรด์ ้วยสมบัตทิ ี่

แตกต่างกนั ได้

ม.5/20 ระบุสูตรเคมี 1. บอกความหมายของ 1. ทดลองและอธิบาย 1. แสดงความเปน็ คน

ของสารต้งั ต้น อัตราการเกดิ ปฏิกริ ิยา อัตราการเกดิ ปฏกิ ิริยา ชา่ งสังเกต ชา่ งคิด

ผลติ ภัณฑ์ และแปล เคมี และคำนวณหา เคมี ปัจจัยทม่ี ผี ลต่อ ชา่ งสงสยั ใฝ่เรียนรู้

ความหมายของ อตั ราการเกิดปฏิกริ ิยา อตั ราการเกดิ ปฏิกริ ิยา และมุ่งมัน่ ในการ

สัญลักษณใ์ นสมการ เคมีได้ เคมี และนำความรูไ้ ป เสาะแสวงหาความรู้

เคมีของปฏิกริ ิยาเคมี ใชป้ ระโยชน์

ม.5/21 ทดลองและ 1. บอกความหมายของ 1. ทดลองและอธิบาย 1. แสดงความเป็นคน

อธบิ ายผลของความ อัตราการเกิดปฏกิ ิริยา อตั ราการเกดิ ปฏกิ ิริยา ช่างสงั เกต ชา่ งคดิ

เขม้ ขน้ พ้ืนทีผ่ วิ เคมี และคำนวณหา เคมี ปจั จัยทมี่ ผี ลต่อ ช่างสงสัย ใฝ่เรียนรู้

อณุ หภมู ิและตัวเรง่ อัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ า อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยา และมุ่งมั่นในการ

ปฏกิ ริ ยิ าท่มี ผี ลตอ่ เคมีได้ เคมี และนำความรู้ไป เสาะแสวงหาความรู้

อัตรา ใช้ประโยชน์

การเกิดปฏกิ ิริยาเคมี

ม.5/22 สบื คน้ ข้อมลู 1. บอกความหมายของ 1. ทดลองและอธบิ าย 1. แสดงความเป็นคน

และอธิบายปัจจยั ท่ีมี อตั ราการเกิดปฏิกิรยิ า อตั ราการเกดิ ปฏิกิรยิ า ชา่ งสังเกต ชา่ งคดิ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 36

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง / ท้องถน่ิ

ตวั ชวี้ ัด ความรู้ (K) ทักษะ / กระบวนการ คุณลักษณะอนั พึง จำนวน
ชั่วโมง
(P) ประสงค์ (A)
1
ผลต่ออัตราการ เคมี และคำนวณหา เคมี ปัจจยั ทมี่ ผี ลต่อ ช่างสงสัย ใฝ่เรยี นรู้ 1

เกดิ ปฏิกริ ิยาเคมีท่ีใช้ อัตราการเกดิ ปฏิกริ ิยา อัตราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ า และม่งุ มั่นในการ 1

ประโยชนใ์ น เคมีได้ เคมี และนำความรู้ไป เสาะแสวงหาความรู้

ชวี ิตประจำวันหรือใน ใช้ประโยชน์

อุตสาหกรรม

ม.5/23 อธิบาย 1. อธบิ ายความหมาย 1. มีการทำงานรว่ มกนั 1. แสดงความเปน็ คน

ความหมายของ ของปฏกิ ิริยารีดอกซไ์ ด้ เกดิ ทักษะกระบวนการ ชา่ งสงั เกต ช่างคิด ชา่ ง

ปฏกิ ริ ยิ ารดี อกซ์ 2. บอกประโยชนข์ อง ทางวิทยาศาสตร์ สงสัย ใฝ่เรียนรู้ และ

ปฏกิ ิริยารดี อกซใ์ น มงุ่ ม่ันในการเสาะ

ชีวิตประจำวันได้ แสวงหาความรู้

ม.5/24 อธิบาย 1. อธบิ ายสมบัติ การ 1. สืบค้นข้อมลู เกยี่ วกับ 1. แสดงความเปน็ คน

สมบตั ขิ องสาร ใช้ประโยชน์ และ การนำธาตุกัมมนั ตรังสี ชา่ งสังเกต ชา่ งคิด ชา่ ง

กมั มนั ตรงั สี และ วธิ ีการปอ้ งกันอนั ตราย ไปใช้ประโยชนใ์ น สงสัย ใฝ่เรยี นรู้ และ

คำนวณคร่ึงชวี ิตและ จากธาตกุ มั มนั ตรังสีได้ ชวี ติ ประจำวนั ได้ มุ่งมนั่ ในการเสาะ

ปรมิ าณของสาร แสวงหาความรู้

กมั มันตรังสี

ม.5/25 สบื คน้ ข้อมูล 1. อธบิ ายสมบัติ การ 1. สืบค้นขอ้ มลู เกย่ี วกับ 1. แสดงความเปน็ คน

และนำเสนอตวั อยา่ ง ใชป้ ระโยชน์ และ การนำธาตุกมั มันตรังสี ช่างสงั เกต ช่างคดิ ชา่ ง

ประโยชนข์ องสาร วิธีการป้องกันอนั ตราย ไปใชป้ ระโยชน์ใน สงสยั ใฝเ่ รียนรู้ และ

กัมมนั ตรังสแี ละการ จากธาตุกมั มันตรงั สีได้ ชีวติ ประจำวนั ได้ มุ่งมัน่ ในการเสาะ

ปอ้ งกนั อันตรายที่ แสวงหาความรู้

เกดิ จาก

กมั มันตภาพรังสี

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 37

คำอธบิ ายรายวชิ า

รหัสวิชา ว30121 รายวิชา เคมพี ื้นฐาน / Fundamental Chemistry

รายวชิ าพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 จำนวน 40 ชัว่ โมง 1.0 หนว่ ยกิต

ศกึ ษาวิเคราะห์เปรียบเทียบแบบจำลองอะตอมของดอลตัน ทอมสัน รทั เทอรฟ์ อร์ด โบร์ และกลุ่ม
หมอก อนุภาคมลู ฐานของ อะตอม สญั ลักษณ์นิวเคลียร์โมเลกุล ไอออน และไอโซโทปของธาตุ วิวัฒนาการ
ของการสร้างตารางธาตุและตารางธาตุในปัจจบุ ัน แนวโน้มสมบตั ิบางประการของธาตุในตารางธาตุตามหมู่
และคาบ ศึกษาการเกิดพันธะเคมีในโมเลกุลของสาร การเกิดพันธะโคเวเลนต์ ชนิดของพันธะโคเวเลนต์
การอ่านชอื่ สารประกอบโคเวเลนต์ สภาพขว้ั ของโมเลกลุ โคเวเลนต์ แรงยึดเหนย่ี วระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์
สมบตั ขิ องสารประกอบโคเวเลนต์ การเกิดพันธะไอออนิก การเขยี นสูตรและเรียกช่ือสารประกอบไอออนิก
และสมบตั ิบางประการของ สารประกอบไอออนิก สมบัตขิ องกรด เบส และเกลือ สารละลายอิเล็กโทรไลต์
และนอนอิเล็กโทรไลต์ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ศึกษาโครงสร้าง สมบัติ ประเภทของพอลิเมอร์
ตัวอย่างพอลิเมอร์ธรรมชาติและพอลิเมอร์สังเคราะห์ ปฏิกิริยาการสังเคราะห์พอลิเมอร์ รวมทั้งการใช้
ประโยชน์และผลกระทบจากการใช้ผลิตภัณฑ์ของพอลิเมอร์ ศึกษาและทดลองการเกิดปฏิกิริยาเคมี อัตรา
การ เกิดปฏิกิริยาเคมี ศึกษาและทดลองปัจจัยท่ีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาเคมีใน
ชวี ติ ประจำวันและการใช้ประโยชน์ ปฏิกิรยิ ารีดอกซ์ ศึกษาสมบตั ิของสารกัมมันตรังสีและคำนวณครึ่งชีวิต
และปริมาณของสารกมั มนั ตรังสี ประโยชน์และอันตรายของสาร กมั มันตรังสี

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้น
ข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้ ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มี
ความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการน าความรู้ไปใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน มีความ
รบั ผดิ ชอบต่อสิง่ แวดล้อม และมเี จตคติที่ดีต่อวชิ าวิทยาศาสตร์

รหัสตวั ชว้ี ัด
ว 2.1 ม.4/1, ม.4/2, ม.4/3, ม.4/4, ม.4/5, ม.4/6, ม.4/7, ม.4/8, ม.4/9, ม.4/10, ม.4/11

ม.4/12, ม.4/13, ม.4/14, ม.4/15, ม.4/16, ม.4/17, ม.4/18, ม.4/19, ม.4/20, ม.4/21
ม.4/22, ม.4/23, ม.4/24, ม.4/25

รวมทงั้ หมด 25 ตัวช้ีวัด

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 38

โครงสรา้ งรายวชิ า

รหสั วชิ า ว30121 รายวิชา เคมพี ้นื ฐาน / Fundamental Chemistry

รายวิชาพ้นื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์

ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 จำนวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว่ ยกิต

ลำดับ ช่อื หน่วย มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก
ท่ี การเรียนรู้ การเรียนร/ู้ (ชัว่ โมง) คะแนน

ตัวชวี้ ดั

1 โครงสร้าง ว 2.1 1. ธาตุและสารประกอบ 12 15

อะตอม ม. 4/1, ม. 4/2 , - อะตอม,โมเลกลุ และ

และตารางธาตุ ม. 4/3, ม. 4/4 , ไอออน,แบบจำลอง

ม. 4/5. ม. 4/6 , อะตอมของโบรแ์ ละ

ม. 4/7 แบบจำลอง อะตอมแบบ

กลุ่มหมอก, สัญลักษณ์

นวิ เคลยี ร์ ,ไอโซโทป

2. ตารางธาตุ

-ตำแหน่งของธาตุโลหะ

,อโลหะ,กึ่งโลหะ กลุม่

ธาตเุ รพรีเซนเท-ทีฟ

และแทรนซิชันในตาราง

ธาตุ

2 -พันธะเคมี ว 2.1 1.พันธะโคเวเลนซ์ 8 15

ม. 4/8. ม. 4/9, -พนั ธะโคเวเลนต ,์ -สูตร

ม. 4/10, ม. 4/11, โมเลกลุ และสูตร

ม. 4/12 โครงสร้าง,-แรงดึงดดู

ระหวา่ งโมเลกลุ ,-สารมี

ขว้ั และสารไม่มีข้วั ,พันธะ

ไฮโดรเจน

3. พนั ธะไอออนกิ

-การละลายน้ำแบบแตก

ตัวและการละลายน้ำ

แบบไม่แตกตวั

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 39

ลำดบั ช่ือหน่วย มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก
ท่ี การเรียนรู้ การเรยี นรู้/ (ชว่ั โมง) คะแนน

ตวั ช้วี ัด

-สารละลายอเิ ล็กโทรไลต์

และสารละลายนอนอิเลก็

โทรไลต์

3.สตู รเอมพิริคัล

สอบกลางภาค 20

3 -สารเคมีและ ว 2.1 1.สารประกอบอนิ ทรีย์ 8 15

ผลติ ภัณฑ์ ใน ม. 4/13 , ม. และอนนิ ทรยี ์

ชวี ิตประจำวนั 4/14, 2.พอลเิ มอร์และมอนอ

ม. 4/15, ม. 4/16, เมอร์

ม. 4/17, ม. 4/18, 3. การละลายในตัวทำ

ม. 4/19 ละลายชนดิ ตา่ ง ๆของ

สาร

4 -ปฎิกิริยาเคมี ว 2.1 1.ปฏกิ ริ ยิ าเคมี, สมการ 12 15

ม. 4/20. ม. เคมี,ปจั จยั ทีม่ ีผลต่อการ

4/21, เกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี ,

ม. 4/22, ม. ปฏิกิริยารดี อกซ์

4/23, 2. สารกัมมนั ตรงั สี ,ครงึ่

ม. 4/24, ม. 4/25 ชีวิต ประโยชนแ์ ละการ

ปอ้ งกนั อนั ตรายทเ่ี กิดจาก

กมั มนั ตภาพรังสี

สอบปลายภาค 20

รวมตลอดภาคเรยี น 40 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 40

แบบวเิ คราะห์ตัวชวี้ ดั ของหลักสูตร
รหัสวิชา ว30141 รายวิชา ชวี วิทยาพน้ื ฐาน ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 2

สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิต
กบั สง่ิ มีชีวติ และความสัมพันธ์ระหวา่ งสงิ่ มชี ีวิตกบั สิ่งมชี ีวิตตา่ งๆ ในระบบนิเวศ การถา่ ยทอดพลังงาน
การ เปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและการแก้ไข ปัญหา
สิ่งแวดลอ้ มรวมทง้ั นาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ทอ้ งถิ่น

ตวั ชีว้ ดั ความรู้ (K) ทักษะ/ คุณลกั ษณะอนั พงึ จำนวน
กระบวนการ (P) ประสงค์ (A) ชั่วโมง
ว 1.1 ม.4/1 สืบค้น
ข้อมูลและอธิบาย 1. อธิบายลกั ษณะ 1. สรา้ งแผนผัง 1. สนใจใฝร่ ู้ใน 4
ความสัมพนั ธข์ อง
สภาพทางภมู ศิ าสตร์ สำคญั ของไบโอมระดบั แสดงการแบง่ เขต การศึกษา 3
บนโลกกบั ความ
หลากหลายของไบ โลกประเภทตา่ ง ๆ ได้ ของไบโอมระดบั 3
โอม และ
ยกตัวอย่างไบโอม 2. ยกตวั อย่างสิง่ มชี วี ติ โลกได้
ชนดิ ตา่ ง ๆ
ว 1.1 ม.4/2 สืบค้น ทพ่ี บในไบโอมระดับ
ข้อมูล อภิปราย
สาเหตุ และ โลกประเภทตา่ ง ๆ ได้
ยกตัวอย่างการ
เปลย่ี นแปลงแทนท่ี 1. อธบิ ายการ 1. เขียน 1. สนใจใฝร่ ู้ใน
ของระบบนิเวศ เปลย่ี นแปลงแทนที่ ความสมั พนั ธ์ของ การศกึ ษา
ว 1.1 ม.4/3 สบื คน้ ของระบบนเิ วศได้ สง่ิ มีชวี ิตในรปู ของ
ข้อมูล อธบิ าย และ โซอ่ าหาร และ 1. สนใจใฝร่ ใู้ น
ยกตวั อย่างเกีย่ วกบั 1. อธิบายความสำคญั สายใยอาหารได้ การศกึ ษา
การเปล่ยี นแปลงของ ขององคป์ ระกอบทาง (P)
กายภาพและชวี ภาพ 1. เขียน
ของระบบนิเวศได้ ความสัมพันธข์ อง
ส่ิงมชี ีวติ ในรปู ของ
โซอ่ าหาร และ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 41

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง / ท้องถิ่น

ตัวช้ีวดั ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คณุ ลักษณะอันพึง จำนวน
กระบวนการ (P) ประสงค์ (A) ชั่วโมง
องคป์ ระกอบทาง
กายภาพและทาง 2. อธบิ าย สายใยอาหารได้ 5
ชวี ภาพทมี่ ผี ลต่อการ
เปลยี่ นแปลงขนาด ความสมั พนั ธ์ของ (P)
ของประชากร
สง่ิ มชี ีวติ ในระบบ สิ่งมีชีวติ ในรูปของโซ่
นเิ วศ
ว 1.1 ม.4/4 สืบค้น อาหาร และสายใย
ข้อมูลและอภปิ ราย
เกี่ยวกบั ปัญหาและ อาหารได้ (K)
ผลกระทบท่ีมตี อ่
ทรพั ยากรธรรมชาติ 1. อธบิ ายถงึ สาเหตุ 1. ใชเ้ ครื่องมือ 1. เหน็ ความสำคญั
และส่ิงแวดลอ้ ม ของปัญหา และอุปกรณท์ าง และประโยชน์ของ
พร้อมทง้ั นำเสนอ ทรัพยากรธรรมชาติ วทิ ยาศาสตร์ได้ ทรัพยากรธรรมชาติ
แนวทางในการ และสงิ่ แวดล้อมได้ อยา่ งถูกต้อง และส่งิ แวดล้อม
อนุรกั ษ์ 2. ยกตวั อยา่ ง 2. สนใจใฝ่รูใ้ น
ทรัพยากรธรรมชาติ ผลกระทบทเ่ี กดิ จาก การศกึ ษา
และการแก้ไขปญั หา ปญั หา
สง่ิ แวดลอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาติ
และสง่ิ แวดล้อมได้
3. อธบิ ายแนวทาง
ป้องกันและแก้ไข
ปญั หา
ทรพั ยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดล้อมได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 42

สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชวี ิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมชี ีวิต การลำเลียงสารผ่าน
เซลล์ ความสมั พนั ธข์ อง โครงสร้าง และหน้าทข่ี องระบบต่าง ๆ ของสตั ว์และมนษุ ย์ท่ที ำงานสัมพันธ์
กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำ
ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ตวั ชวี้ ัด / ผลการ ความรู้ (K) สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ท้องถ่นิ จำนวน
เรยี นรู้ ทักษะ/ คณุ ลักษณะอันพึง ช่วั โมง

กระบวนการ (P) ประสงค์ (A) 4

ว 1.2 ม.4/1 1. อธบิ ายลักษณะ 1. ใชเ้ ครอื่ งมือและ 1. ปฏิบตั ิตามข้นั ตอน 3

อธบิ ายโครงสรา้ ง และหน้าที่ของ อปุ กรณ์ทาง การทดลองได้

และสมบตั ิของเยื่อ โครงสร้างพ้นื ฐานของ วทิ ยาศาสตร์ได้ 2. สนใจใฝร่ ู้ในการศึกษา

หุ้มเซลล์ทสี่ มั พนั ธ์ เซลล์สงิ่ มีชีวติ ได้ อย่างถูกต้อง

กับการลำเลยี งสาร 2. อธบิ ายโครงสร้าง

และเปรยี บเทยี บ และสมบตั ขิ องเย่ือหุ้ม

การลำเลยี งสารผ่าน เซลลไ์ ด้

เยอ่ื หุม้ เซลล์แบบ 3. อธบิ ายหน้าที่ของ

ตา่ ง ๆ ออร์แกเนลลต์ ่าง ๆ

ภายในเซลล์ได้

4. เปรยี บเทียบความ

แตกต่างระหว่างเซลล์

พชื และเซลลส์ ตั ว์ได้

ว 1.2 ม.4/2 1. อธิบาย 1. เขยี นข้ันตอน 1. เห็นความสำคญั ของ

อธิบายการควบคุม สว่ นประกอบของ การกรองของเสยี ไต

ดุลยภาพของน้ำ หน่วยไตได้ ออกจากไตได้ 2. สนใจใฝร่ ้ใู นการศกึ ษา

และสารต่าง ๆ ใน 2. อธบิ ายการกรอง

เลือดโดยการทำงาน ของเสยี ออกจากเลือด

ของไต ได้

3. อธิบายการรกั ษา

สมดุลของนำ้ และสาร

ต่าง ๆ ในเลอื ดโดย

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 43

ตัวช้วี ัด / ผลการ สาระการเรียนร้แู กนกลาง / ท้องถนิ่
เรียนรู้
ความรู้ (K) ทักษะ/ คณุ ลกั ษณะอันพึง จำนวน
ว 1.2 ม.4/3 กระบวนการ (P) ประสงค์ (A) ชว่ั โมง
อธิบายการควบคมุ
ดลุ ยภาพของกรด- การควบคมุ ของสมอง 2
เบสของเลือดโดย 2
การทำงานของไต ส่วนไฮโพทาลามสั ได้
และปอด 4
ว 1.2 ม.4/4 1. อธบิ ายการรักษา 1. เขยี นกลไกการ 1. สนใจใฝ่รู้ในการศกึ ษา
อธิบายการควบคมุ
ดลุ ยภาพของ ดลุ ยภาพของกรด-เบส การรกั ษาดุลยภาพ
อณุ หภมู ิภายใน
รา่ งกายโดยระบบ ในร่างกายโดยการ ของกรด-เบสใน
หมุนเวียนเลอื ด
ผิวหนงั และ ทำงานของไตและปอด ร่างกายโดยการ
กลา้ มเนื้อโครงรา่ ง
ทำงานของไตและ
ว 1.2 ม.4/5
อธบิ ายและเขียน ปอด
แผนผังเกี่ยวกบั การ
ตอบสนองของ 1. อธบิ ายการรกั ษา 1. เขยี นกลไกการ 1. สนใจใฝ่รูใ้ นการศกึ ษา
ร่างกายแบบไม่
จำเพาะ และ ดุลยภาพของอุณหภมู ิ การรกั ษาดุลยภาพ
แบบจำเพาะต่อสงิ่
ในรา่ งกายโดยการ ของอุณหภมู ิใน

ทำงานของระบบ รา่ งกายเม่ือ

หมนุ เวียนเลอื ด อณุ หภมู ิภายนอก

ผิวหนัง และกลา้ มเนื้อ ร่างกาย

โครงร่างได้ เปลี่ยนแปลง

2. เปรียบเทยี บกลไก

การรักษาดลุ ยภาพ

ของอุณหภูมใิ น

รา่ งกายเมื่ออุณหภมู ิ

ภายนอกสูงกว่า/ตำ่

กว่าอณุ หภมู ิของ

ร่างกายได้

1. อธิบายการทำงาน 1. เขียนกลไกการ 1. สนใจใฝร่ ู้ในการศึกษา

ของระบบภมุ ิคุ้มกัน ทำงานของเซลล์

แบบไมจ่ ำเพาะได้ เม็ดเลอื ดขาว

2. อธบิ ายการทำงาน ชนิดฟาโกไซต์ได้

ของระบบภุมคิ ุ้มกนั 2. เขียนกลไกการ

แบบจำเพาะได้ ทำงานของเซลล์บี

และเซลล์ทีได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 44

ตัวชี้วดั / ผลการ ความรู้ (K) สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง / ท้องถนิ่ จำนวน
เรยี นรู้ ทักษะ/ คุณลกั ษณะอนั พึง ชั่วโมง

กระบวนการ (P) ประสงค์ (A) 1

แปลกปลอมของ 2
3
ร่างกาย
1
ว 1.2 ม.4/6 สืบคน้ 1. อธบิ ายและ 1. สืบค้นข้อมูล 1. สนใจใฝ่รใู้ นการศกึ ษา

ข้อมลู อธิบาย และ ยกตวั อยา่ งโรคหรือ จากแหล่งข้อมูล

ยกตวั อยา่ งโรคหรือ อาการท่ีเกดิ จากความ ต่างๆ ทม่ี ี เรื่อง

อาการที่เกิดจาก ผิดปกตขิ องระบบ อาการที่เกิดจาก

ความผดิ ปกติของ ภมู ิคุ้มกนั ความผิดปกติของ

ระบบภมู คิ ุ้มกัน ระบบภูมคิ ุ้มกนั

ว 1.2 ม.4/7 1. อธิบายแนวทาง 1. ปฏบิ ัติตนตาม 1. สนใจใฝร่ ู้ในการศึกษา

อธิบายภาวะ ป้องกนั การตดิ ตดิ เชื้อ แนวทางป้องกนั

ภมู ิค้มุ กนั บกพร่องท่ี HIV ได้ การติดเช้อื HIV ได้

มีสาเหตุมาจากการ

ติดเช้ือ HIV

ว 1.2 ม.4/8 1.อธิบายการสร้าง 1. เขยี นสมการการ 1. ปฏบิ ัติตามขั้นตอน

ทดสอบและบอก อาหารผา่ น สังเคราะห์ด้วยแสง การทดลองได้

ชนิดของสารอาหาร กระบวนการ ได้

ทพี่ ชื สังเคราะหไ์ ด้ สังเคราะห์ดว้ ยแสง 2. ใช้เครื่องมือและ

ของพืชได้ อุปกรณ์ทาง

วทิ ยาศาสตร์ได้

อย่างถูกต้อง

ว 1.2 ม.4/9 สบื ค้น 1. ระบุประเภท และ 1. สบื ค้นข้อมลู 1. สนใจใฝ่รู้ในการศกึ ษา

ขอ้ มลู อภปิ ราย ยกตัวอยา่ งการใช้ จากแหล่งเรยี นรู้

และยกตวั อย่าง ประโยชนข์ องสาร การใช้ประโยชน์

เกยี่ วกับการใช้ สังเคราะห์จากพชื ของสารสังเคราะห์

ประโยชน์จากสาร จากพืช

ต่าง ๆ ทพ่ี ืชบาง

ชนิดสรา้ งขึ้น

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 45

ตัวชวี้ ดั / ผลการ ความรู้ (K) สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง / ทอ้ งถ่ิน จำนวน
เรียนรู้ ทกั ษะ/ คุณลกั ษณะอันพึง ชัว่ โมง

กระบวนการ (P) ประสงค์ (A) 2

ว 1.2 ม.4/10 1. อธิบายปัจจัย 1. ปฏิบัติตาม 1. สนใจใฝ่รใู้ นการศึกษา 2

ออกแบบการ ภายนอก และปัจจัย ขนั้ ตอนการทดลอง 2

ทดลอง ทดลอง ภายในทม่ี ีผลตอ่ การ ทอ่ี อกแบบไว้

และอธิบายเกย่ี วกบั เจรญิ เตบิ โตของพชื ได้

ปจั จัยภายนอกท่ีมี 2. ตรวจสอบผลของ

ผลต่อการ ปัจจัยภายนอกท่ีมตี อ่

เจริญเติบโตของพืช การเจริญเติบโตของ

พืชได้

ว 1.2 ม.4/11 1. ยกตัวอย่างฮอร์โมน 1. สบื คน้ ขอ้ มลู 1. สนใจใฝร่ ใู้ นการศกึ ษา

สบื คน้ ขอ้ มูล พชื ทม่ี นษุ ย์สงั เคราะห์ จากแหล่งเรยี นรู้

เกยี่ วกับสารควบคุม ขน้ึ และนำมาใช้ เก่ียวกับสาร

การเจริญเตบิ โตของ ประโยชน์ ควบคมุ การ

พืชทมี่ นุษย์ เจรญิ เตบิ โตของพืช

สงั เคราะหข์ ึน้ และ ท่ีมนษุ ยส์ งั เคราะห์

ยกตัวอย่างการ ขึน้

นำมาประยุกต์ใช้

ทางด้านการเกษตร

ของพชื

ว 1.2 ม.4/12 1. อธิบายรปู แบบการ 1. สงั เกตการ 1. สนใจใฝ่รใู้ นการศึกษา

สงั เกตและอธิบาย ตอบสนองตอ่ สง่ิ เร้า ตอบสนองต่อสิ่ง

การตอบสนองของ ของพืชได้ เร้าของพืชได้

พืชต่อส่ิงเรา้ ใน 2. ระบปุ ระเภทของส่งิ

รูปแบบต่าง ๆ ที่มี เร้าของการตอบสนอง

ผลต่อการดำรงชวี ิต ตอ่ ส่งิ เร้าของพชื ได้

3. ยกตัวอยา่ งการ

ตอบสนองต่อสิง่ เร้า

ของพืชประเภทต่าง ๆ

ได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 46

สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.3 เขา้ ใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม
สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและ
วิวัฒนาการของส่ิงมีชีวิต รวมท้งั นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถน่ิ

ตัวช้ีวัด ความรู้ (K) ทักษะ/กระบวนการ คุณลกั ษณะอนั จำนวน
(P) พึงประสงค์ (A) ชั่วโมง

ว 1.3 ม.4/1 อธบิ าย 1. อธบิ ายความสัมพันธ์ 1. สืบค้นข้อมูล 1. สนใจใฝ่รู้ใน 2
2
ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง ของโครโมโซม ดีเอ็นเอ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง การศกึ ษา
2
ยนี การสังเคราะห์ และยนี ได้ ยีน การสงั เคราะห์
1
โปรตนี และลักษณะ โปรตนี และลักษณะ

ทางพนั ธุกรรม ทางพันธกุ รรม

ว 1.3 ม.4/2 อธิบาย 1. อธบิ ายการถ่ายทอด 1. เขยี นแผนผังทำนาย 1. สนใจใฝร่ ใู้ น

หลกั การถา่ ยทอด ลกั ษณะพนั ธุกรรมแบบ โอกาสการเกดิ ลกั ษณะ การศึกษา

ลักษณะทถ่ี ูกควบคุม ต่าง ๆ ได้ พันธกุ รรมของรุน่ ลกู

ดว้ ยยนี ทอี่ ย่บู น 2. อธบิ ายการการ จากรนุ่ พ่อแม่ได้

โครโมโซมเพศและ ถา่ ยทอดลกั ษณะ

มลั ติ-เปลิ แอลลลี พันธุกรรมจากพนั ธุ

ประวตั ิได้

ว 1.3 ม.4/3 อธิบาย 1. อธบิ ายการเกิดมวิ เท 1. ตรวจสอบความ 1. สนใจใฝร่ ู้ใน

ผลท่เี กดิ จากการ ชันระดับยนี และ ผดิ ปกตขิ องการ การศกึ ษา

เปลีย่ นแปลงลำดบั นิ โครโมโซมได้ (K) เปลย่ี นแปลงทาง

วคลีโอไทด์ในดีเอ็นเอ 2. ยกตัวอย่างความ พันธุกรรมจากแผนผงั

ตอ่ การแสดงลักษณะ ผดิ ปกต/ิ กลุ่มอาการท่ี ของโครโมโซมได้

ของสงิ่ มชี ีวิต เกดิ จากมวิ เทชนั ระดบั

ยีนและระดับโครโมโซม

ได้ (K)

ว 1.3 ม.4/4 สืบค้น 1. ยกตวั อย่างการนำ 1. สบื ค้นข้อมูลการนำ 1. สนใจใฝร่ ูใ้ น

ข้อมลู และยกตัวอยา่ ง หลักการเกิดมิวเทชันไป มิวเทชนั ไปใชป้ ระโยชน์ การศึกษา

การนำมิวเทชนั ไปใช้ ใชป้ ระโยชนท์ าง

ประโยชน์ การเกษตรได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 47

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถิ่น

ตัวชี้วดั ความรู้ (K) ทกั ษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอัน จำนวน
(P) พึงประสงค์ (A) ชว่ั โมง

ว 1.3 ม.4/5 สืบค้น 1. อธบิ ายเทคนคิ พันธุ 1. เขียนขั้นตอนการทำ 1. สนใจใฝร่ ู้ใน 3

ข้อมลู และอภปิ ราย วิศวกรรมและการโคลน พนั ธุวศิ วกรรมและการ การศึกษา 3

ผลของเทคโนโลยี สิง่ มีชีวติ ได้ โคลนสงิ่ มีชีวิตได้

ทางดเี อน็ เอที่มตี ่อ 2. ยกตัวอย่างการ

มนษุ ยแ์ ละ ประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยี

ส่ิงแวดลอ้ ม ทางดีเอน็ เอในด้านต่าง

ๆ ได้

3. อธบิ ายขอ้ ควร

คำนงึ ถงึ ความปลอดภยั

ทางชีวภาพ ชวี จริยธรรม

และผลกระทบทางด้าน

สังคมในการใช้

เทคโนโลยีทางดเี อน็

ว 1.3 ม.4/6 สบื คน้ 1. จำแนกหมวดหมู่ และ 1. ตรวจสอบความ 1. สนใจใฝร่ ู้ใน

ข้อมูล อธบิ าย และ บอกลักษณะสำคัญของ หลากหลายของ การศึกษา

ยกตวั อยา่ งความ ส่ิงมชี ีวิตในแต่ละ สง่ิ มีชวี ิตในบรเิ วณต่าง

หลากหลายของ อาณาจักรได้ ๆ ได้

ส่ิงมชี ีวติ ซึ่งเป็นผลมา 2. อธิบายหลกั การเกิด

จากวิวัฒนาการ วิวัฒนาการของสิง่ มีชวี ติ

จากการคัดเลือกโดย

ธรรมชาติได้

3. ยกตวั อยา่ งสิ่งมชี ีวติ ที่

เกดิ วิวัฒนาการจากการ

คดั เลอื กโดยธรรมชาติได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 48

คำอธิบายรายวิชา

รหัสวชิ า ว30141 รายวิชา ชวี วทิ ยาพน้ื ฐาน / Fundamental Biology

รายวชิ าพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกิต

ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างและ สมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์ การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
การรักษาสมดุลของร่างกายมนุษย์ กลไกการควบคุมดุลยภาพของน้ำ แร่ธาตุ กรด-เบส ในเลือด และ
อุณหภูมิในร่างกายของมนุษย์ ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายมนุษย์ สารอินทรีย์ที่จำเป็นต่อการ
เจริญเติบโตในพืช ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช และการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช การ
ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ยีนกับการควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทาง
พันธุกรรม การเกิดมิวเทชัน เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอวิวัฒนาการและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายทางพันธุกรรม การคัดเลือกโดยธรรมชาติ ระบบนิเวศ ไบโอม การเปลี่ยนแปลง
แทนที่ของระบบนิเวศ การเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร มนุษย์กับทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ
การสังเกต การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย สรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสาร สิ่งท่ี
เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง ดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่นเฝ้า
ระวังและพฒั นาสง่ิ แวดล้อมอยา่ งย่ังยืน มีจติ วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านยิ มทีเ่ หมาะสม

รหัสตัวชีว้ ัด
ว 1.1 ม.4/1, ม.4/2, ม.4/3, ม.4/4
ว 1.2 ม.4/1, ม.4/2, ม.4/3, ม.4/4, ม.4/5, ม.4/6, ม.4/7, ม.4/8, ม.4/9, ม.4/10, ม.4/11, ม.4/12
ว 1.3 ม.4/1, ม.4/2, ม.4/3, ม.4/4, ม.4/5, ม.4/6

รวมทง้ั หมด 20 ตวั ชี้วดั

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 49

โครงสร้างรายวชิ า

รหัสวชิ า ว30141 รายวชิ า ชีววทิ ยาพ้ืนฐาน / Fundamental Biology

รายวชิ าพ้ืนฐาน กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 จำนวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว่ ยกติ

ลำดับ ชื่อหน่วย มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก
ที่ การเรียนรู้ การเรยี นร้/ู (ชัว่ โมง) คะแนน

ตัวชว้ี ดั

1 การลำเลยี งสาร ว 1.2 ม.4/1 - โครงสร้างและสมบัติ 6 10

เขา้ และออกจาก ของเยื่อหมุ้ เซลล์

เซลล์ - การลำเลียงสารผ่าน

เซลล์แบบใช้พลังงานและ

ไม่ใช้พลังงาน

2 การรกั ษาดลุ ย ว 1.2 ม.4/2, ม. - การควบคุมดุลยภาพ 10 15

ภาพของร่างกาย 4/3, ม.4/4, ม. ของน้ำ และสารในเลอื ด

มนษุ ย์ 4/5, ม.4/6, ม.4/7 - การควบคุมดุลยภาพ

ของกรด-เบส ในเลอื ด

- การตอบสนองของ

ร่างกายแบบจำเพาะและ

ไ ม ่ จ ำ เ พ า ะ ต ่ อ ส่ิ ง

แปลกปลอม

- โรคที่เกิดจากความ

ผ ิ ด ป ก ต ิ ข อ ง ภ ู ม ิ ค ุ ้ ม กั น

และภูมิคุ้มกันบกพร่อง

จากการติดเช้ือ HIV

3 การดำรงชวี ติ ว 1.2 ม.4/8, ม. - สารอินทรีย์ที่จำเป็นต่อ 6 10

ของพืช 4/9, ม.4/10, ม. การเจรญิ เตบิ โตของพืช

4/11, ม.4/12 - ปัจจยั ภายนอกท่ีมผี ลต่อ

การเจรญิ เตบิ โตของพืช

- สารที่มนุษย์สังเคราะห์

ขึ้นเพื่อควบคุมการ

เจรญิ เติบโตของพชื


Click to View FlipBook Version