The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KruJayPhysics, 2019-07-29 12:41:50

รายงานสรุปกิจกรรมส่งเสริมให้ครูศึกษาและพัฒนางานวิจัย ปีการศึกษา 2559

ReportVijai59

รายการสอ่ื นวัตกรรม และวิจัยในช้นั เรียน ปกี ารศกึ ษา 2559 โรงเรยี นมาบตาพดุ พนั พทิ ยาคาร
กลมุ่ สาระฯ การงานอาชีพฯ (คอมพวิ เตอร์)

ที่ ช่ือ - นามสกลุ ตาํ แหนง่ ส่อื และนวัตกรรม ภาคเรียนท่ี วจิ ัยในชนั้ เรียน ภาคเรยี นที่

9 นางสาวจริ ตั ติ สรุ วี รานนท์ คศ.2 LEARNING ANYWHERE 2 การบรหิ ารจดั การองคค์ วามร้โู ดยใชเ้ วบ็ ไซต์ 2
กาญจน์ เปน็ สอ่ื การเรยี นนการสอน เรือ่ ง การ
บรหิ ารจัดการองค์ความรูใ้ นองคก์ รโดยการ
ใชโ้ ปรแกรม KM ของนักเรยี นช้ัน
มธั ยมศึกษาปที ่ี 5

10 นายวัลลภ พงษ์ศลิ า คศ.2

11 นางสาววิชดุ า คาํ ดี คศ.2 ชุดกิจกรรมการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 2 การพฒั นาจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ Active 2
Active learning เรอื่ งข้อมูลและ learning เรือ่ งขอ้ มูลและสารสนเทศ ของ 2
สารสนเทศ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 นักเรียนระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1/2 2
ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2559 2
12 นางสวุ ภาพ เวชสทุ ัศน์ คศ.2 การจดั การเรียนการสอนรายวชิ า 2
เทคโนโลย4ี ผ่าน google classroom 2 การสาํ รวจความพงึ พอใจในการเรียนการ
ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 สอนรายวิชาเทคโนโลยี 4
ผา่ น Google Classroom ระดับชน้ั
13 นายแมนสรวง เมนะเนตร คศ.1 การพฒั นาระบบติดตามคะแนนการส่ง มธั ยมศึกษาปที ี่ 4
งานผ่าน Google Site รายวิชา
เทคโนโลยี 2 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2 2 การศึกษาเจตคติของนักเรียนช้นั
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 ทม่ี ีตอ่ วชิ าคอมพวิ เตอร์
14 นางสาวอทิตยา เทียนอาํ ไพ คศ.1 เวบ็ ไซต์ประกอบการสอนวิชาการใช้ รหัสวชิ า ง 22106 ปีการศึกษา 2559
โปรแกรมตารางงานเบอ้ื งต้น ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2559

15 นางณฐั ณกิ าร์ เกลีย้ งพร้อม คผช. สอ่ื การเรียนวชิ าเทคโนโลยี 3 สาํ หรับ 2 การเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน
นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3/5 โดยใชเ้ ว็บไซต์เปน็ สือ่ การเรียนการสอน
เร่อื ง การใช้โปรแกรมตารางงานเบอื้ งต้น
ของมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2

2 การปญั หานักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 3/5
โรงเรียนมาบตาพดุ พันพทิ ยาคาร สนใจ
การเรยี นรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
ตา่ํ

ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 20 มนี าคม 2560

รายการสอ่ื นวตั กรรม และวจิ ัยในช้นั เรยี น ปกี ารศึกษา 2559 โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร
กลุม่ สาระฯ ศิลปะ

ชื่อ - นามสกุล ตาํ แหน่ง สอ่ื และนวัตกรรม ภาคเรยี นที่ วิจยั ในชัน้ เรียน ภาคเรียนท่ี
1
1 นายพรชัย จันทรพ์ ัฒนพงศ์ คศ.3 ทฤษฎสี ีหรรษา 1 การศึกษาพฤติกรรมของนกั เรยี น
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3/1 เร่ืองการไม่
ส่งงาน

2 นางบุญนาค จงแจม่ ใส คศ.3 สอื่ การเรยี นการสอน เร่อื ง ระบํา 2 การสอนซ่อมเสริมนาฏศิลป์ 2
ราํ ฟ้อน สาํ หรบั นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4
กจิ กรรมนาฏศิลปเ์ ร่อื ง เพลงราํ วง
มาตรฐานและความรู้นาฏศลิ ปไ์ ทย
พ้ืนฐาน

3 นายสมเดจ็ วนั ชมุ่ คศ.3 1 การพฒั นาทกั ษะการอา่ นโน้ตสากล 1
4 นายธงไท จันเต คศ.2 แบบฝกึ การอ่านโนต้ สากลดว้ ย โดยใช้แบบฝกึ อา่ นร้องโนต้ sol-fa 2
ในดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1
5 นางวิรยิ าภรณ์ พงษศ์ ลิ า ระบบเสียงโน้ตแบบ So-fa
2 การพฒั นากิจกรรมการเรยี นวชิ า
คศ.1 เอกสารประกอบการเรียนเร่อื ง ศลิ ปะเร่ืองการเขียนภาพคนเหมอื น
การเขยี นภาพคนเหมือน ชัน้ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3
มัธยมศึกษาปีที่ 3

6 นางสาวชชั พร ภู่นอ้ ย อ. นาฏยศพั ทแ์ ละภาษาทา่ 1 การแก้ปญั หานกั เรียนชายไม่ชอบ 1

นาฏศลิ ปไ์ ทย รายวชิ านาฏศิลป์ ปฏบิ ตั ิทา่ ราํ นาฏศิลปไ์ ทย สาํ หรบั

ไทยพ้ืนฐาน ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 นกั เรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1

7 นายจิรพงษ์ อัญชลิสงั กาศ อ. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง 2 การพัฒนาการอา่ นโนต้ ดนตรีสากล 2
ประวัติศาสตรด์ นตรสี ากล ชัน้ เรือ่ ง การอ่านตัวโน้ตดนตรีสากล
มัธยมศึกษาปที ่ี 5 เบ้อื งต้น ของนกั เรยี นชนั้
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ในรายวชิ าดนตรี
สากลพนื้ ฐาน

ข้อมลู ณ วนั ท่ี 20 มีนาคม 2560

รายการสื่อนวตั กรรม และวจิ ยั ในชนั้ เรยี น ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนมาบตาพดุ พันพทิ ยาคาร
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น

ท่ี ชือ่ - นามสกุล ตําแหน่ง ส่ือและนวตั กรรม ภาคเรยี นที่ วจิ ัยในชั้นเรียน ภาคเรยี นที่
1 นางจนั ทนา สารเจริญ 1
คศ.3 โปรแกรมแนะแนวการศึกษาท่ีมี 1 โปรแกรมแนะแนวการศกึ ษาที่มผี ลต่อ

ผลตอ่ การเลอื กเขา้ ศึกษาต่อใน การเลือกเข้าศกึ ษาต่อใน

สถาบันอุดมศึกษา ชั้น สถาบันอุดมศึกษาของนักเรียนชั้น

มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6/5 ภาคเรียนท่ี 1 ปี

การศึกษา 2559 โรงเรียนมาบตาพุดพนั

พิทยาคาร

2 นางสาวปรยี นติ ย์ โชคอาํ นวย คศ.1 เอกสารประกอบการสอน เรื่อง 2 การศึกษาพฤติกรรมการเขา้ ชั้นเรียนไม่ 2
สรง้ สุขด้วยรอยย้ิม ชัน้ ตรงตอ่ เวลาในวิชากิจกรรมแนะแนว 2
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ของนายสหพัฒน์ เทพภูเขียว ช้ัน
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4/7ภาคเรียนท่ี 1 ปี
3 นางสาวนศิ าชล วาทา คศ.1 สอื่ Powerpoint เรื่อง การร้เู ทา่ การศึกษา 2559
ทนั สื่อ / การใช้ส่อื ให้เกดิ
ประโยชน์ 2 การปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมการเรียนให้มี
วินยั และความรับผิดชอบของนักเรียน
ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 2/11

ขอ้ มลู ณ วันที่ 20 มีนาคม 2560

ภาคผนวก จ
ตัวอย่างงานวิจยั ในชน้ั เรยี นของครู ปกี ารศึกษา 2559

รายงานการวจิ ัยในช้นั เรยี น
โรงเรยี นมาบตาพุดพันพทิ ยาคาร ปีการศกึ ษา 2559

ช่อื เร่อื ง การจัดการเรียนการสอนดว้ ยวธิ ีสตอร่ไี ลน์ เรอื่ ง เครอ่ื งมือทางภมู ิศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้

สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาหรบั นกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2

ช่ือผู้วิจยั นางสาวจินตนา ธงไชย

กล่มุ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

รายวชิ า สังคมศึกษา รหสั วชิ า ส22102 ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2

1. ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา

สภาพสังคมปัจจุบันมีความเจริญก้าวหน้าท้ังทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี และ
ระบบการส่ือสาร การพัฒนาประเทศจะต้องสอดคล้องกับความเจริญก้าวหน้าต่างๆโดยจะต้องให้ความสาคัญ
กับการศึกษา เพราะการศึกษาเป็นรากฐานที่สาคัญท่ีสุดในการสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าและทาให้
สามารถแก้ไขปญั หาในด้านตา่ งๆ ของสังคมได้ บทบาทของการศึกษาจะต้องพัฒนาผูเ้ รยี นให้มีความสามารถ มี
ระบบยุทธวิธีในการคิด รู้จักแสวงหาข้อมูล ประมวลผลจัดระบบข้อมูล และตัดสินใจด้วยตนเอง ดังน้ันระบบ
การศึกษาที่มีประสิทธิภาพจะเอ้ือต่อการพัฒนาศักยภาพและความสามารถตลอดจนคณุ ลักษณะตา่ งๆ ของคน
ในการเรียนรู้ ซ่ึงสอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2559 ท่ี
กล่าวไว้ว่า การจัด การศึกษาจะต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาคุณภาพคนไทยทุกกลุ่มวัยให้มีความพร้อมทั้งกาย ใจ
สติปัญญา มีจิตสานึก วัฒนธรรมที่ดีงาม และรู้คุณค่าของความเป็นไทย มีโอกาสและสามารถเรียนรู้ตลอด
ชีวิต มีภูมิคุ้มกันต่อการเปล่ียนแปลง และเป็นพลังทางสังคมในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
(สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. 2555 : 11-12)

สภาพปญั หาในการจดั การเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 จากท่ีผวู้ ิจัย
ได้ปฏิบัติการสอนพบว่า ประสบปัญหาเรื่องนักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาท่ีค่อนข้างต่า)
ผู้วิจัยในฐานะครูผู้สอนวิชาสังคมศึกษา จึงได้ศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบที่ผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลางของการเรียนรู้ โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถรวบรวมความรู้ต่างๆ มาสะสมบูรณาการเข้าด้วย กัน
สร้างเป็นองค์ความรู้ ทดลองและนาไปใช้ เกิดการค้นพบด้วยตนเอง การสร้างบรรยากาศให้มีความเป็นอิสระ
น้ันต้องเรมิ่ จากผ้สู อนตอ้ งมีความสามารถ ในการผสมผสานศาสตรห์ ลายๆ อย่างเข้าดว้ ยกัน สามารถนาศาสตร์
เหล่านั้นมาใช่ให้เกิดประโยชน์ ในการทางานและเป็นการเรียนรู้จากส่ิงท่ีใกล้ตัวผู้เรียนเชื่อมโยงออกไปสู่ชีวิต
จริงและสามารถยดื หยนุ่ เวลาจัดการเรียนรูไ้ ดต้ ามความเหมาะสม ทาใหก้ ารจดั การเรียนรูเ้ ปน็ ไปโดยธรรมชาติมี
ชีวิตชีวาสอดคล้องกับความต้องการสร้างความสนุกสนานและทาให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของการเรียนรู้

การจัดการเรียนรู้วิธีสตอรี่ไลน์ได้นาทฤษฎีการเรียนรู้หลายทฤษฎีมาไว้ร่วมกัน เช่น การบูรณาการ
การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีสร้างองค์ความรู้(Constructivism) เนื่องจากกลุ่มผู้

คิดค้นนวัตกรรมนี้มีความเชื่อเก่ียวกับการเรียนรู้ว่าความรู้ควรมีลักษณะเป็นองค์รวม ความคงทนของการ
เรียนรู้ข้ึนอยู่กับวิธีการได้มาซึ่งความรู้และประสบการณ์ผลงานสร้างสรรค์ท่ีมีความหมายได้มาจากการเรียนรู้
เกิดจากการกระทาของตนเองด้วยประสบการณ์ตรง (อรทัย มูลคา และคณะ. 2542 : 43) ถือได้ว่าเปน็ การบูร
ณาการหลักสูตรที่มีความหลากหลายก่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอนดังท่ีเบลล์และไฟ
ฟิลล์ (Bell and Fifild. 1998 : 5) กล่าวว่าการเรียนรู้วิธีสตอรี่ไลน์มีพ้ืนฐานมาจากทฤษฎีท่ีว่าความรู้เป็นสิ่งที่
ซับซ้อนและมีมากมายหลายระดับ การเรียนรู้จะเกิดข้ึนได้ต้องอาศัยประสบการณ์เดิมที่มีอยู่ โดยผู้เรียนจะ
สร้างความหมายของการเรียนรู้ได้ด้วยการให้เขามีประสบการณ์จริงจากการลงมือปฏิบัติ ซึ่งเครสเวล
(Creswell. 1997 : 112) ได้กล่าวไว้เช่นเดียวกันว่าวิธีสตอร่ีไลน์เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน
เป็นศูนย์กลาง โดยเป็นการบูรณาการหลักสูตรเข้าด้วยกัน และฝึกให้ผู้เรียนได้รู้จักการค้นคว้าหาความรู้ด้วย
ตนเอง ซึ่งมีผลต่อการพัฒ นาทักษะทางด้านภาษาและการทางานกลุ่มร่วมกัน อย่างสร้างสรรค์

จากสภาพความเป็นมาและความสาคัญที่กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจ ในการศึกษาการ
จดั การเรียนการสอนด้วยวิธีสตอรีไ่ ลน์ เรื่อง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม สาหรบั นกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 เพ่ือเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาสังคม
ศึกษาของนักเรยี นกอ่ นและหลงั ได้รับการสอนด้วยวิธีสตอรไ่ี ลน์ และเพื่อศึกษาความคิดสรา้ งสรรคข์ องนักเรยี น
ที่ได้รับการสอนด้วยวิธีสตอรี่ไลน์ ซ่ึงเป็นวิธีท่ีจะพัฒนาผู้เรียนให้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองและมีความคิด
สรา้ งสรรค์ เพอ่ื จะได้นาผลการวจิ ัยไปพัฒนาการจัดการเรียนรวู้ ิชาสงั คมศึกษาให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพมากย่งิ ขึ้น

2. วตั ถุประสงค์ของการวจิ ยั

เพือ่ เปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลงั เรียนของนักเรยี นท่ีได้รับการจัดการเรียนการ
สอนด้วยวิธีสตอร่ไี ลน์ เรอื่ ง เครอ่ื งมือทางภูมศิ าสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สาหรับนกั เรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2

3. ประชากร/กล่มุ ตวั อยา่ ง

ประชากรคือนกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 กลมุ่ ตัวอยา่ ง คอื นกั เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/4
โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร อาเภอเมือง จงั หวัดระยอง จานวน 41 คน

4. เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการวิจยั /นวัตกรรม

1. แผนการจัดการเรียนการสอนดว้ ยวธิ ีสตอร่ีไลน์
2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาสังคมศกึ ษา

5. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
1. ทดสอบด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียน เรอื่ ง เครอื่ งมอื ทางภมู ศิ าสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษา

ปที ี่ 2/4 จานวน 30 ข้อ กับนักเรยี นกล่มุ ตวั อย่างช้นั ม.2/4 โรงเรียนมาบตาพดุ พันพิทยาคาร อาเภอเมอื ง
จังหวดั ระยอง ใช้เวลาในการทาแบบทดสอบ 30 นาที

2. ดาเนนิ การจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีสตอรีไ่ ลน์ เรอื่ ง เครอื่ งมือทางภมู ศิ าสตร์ ระดบั ชั้น
มธั ยมศึกษาปที ่ี 2/4 จานวน 10 ชวั่ โมง

3. เมอ่ื สิน้ สุดการเรยี นด้วยวธิ ีสตอรีไ่ ลน์ เรอื่ ง เครื่องมือทางภูมศิ าสตร์แล้ว ผู้วิจยั ใหก้ ลุม่ ตัวอยา่ งทา
แบบทดสอบหลงั เรียน (Posttest) โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน เพื่อดูผลสัมฤทธ์ทิ างการ
เรียนของนักเรยี น

6. การวิเคราะหข์ ้อมูล/สถติ ิทใี่ ช้ในการวิจยั

1. ค่าประสิทธภิ าพของการเรียนการสอนด้วยวธิ สี ตอรี่ไลน์ เรอ่ื ง เครื่องมือทางภมู ิศาสตร์ ใหม้ ี
ประสิทธิภาพตามเกณฑ์โดยใชห้ าค่าเฉล่ยี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานของคะแนน จากการวดั ผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรียนวชิ าสังคมศึกษาท้งั ก่อนเรยี นและหลังเรยี น

2. นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาสงั คมศกึ ษา มาคานวณหาค่าเฉลย่ี และคา่ เบีย่ งเบน
มาตรฐานของคะแนนที่ได้จากการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรยี น แล้วทดสอบเปรยี บเทียบความแตกต่างของ
ค่าเฉลย่ี โดยการทดสอบค่าที (t-distribution) โดยใช้สตู ร t-test for dependent samples

7. ผลการวจิ ัย

การนาเสนอผลการรายงานการวิจยั ท่ดี าเนินการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธสี ตอรไ่ี ลน์ เรื่อง
เคร่อื งมอื ทางภูมิศาสตร์ ไปใช้ในการเพิ่มผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนในวิชาสังคมศกึ ษา โดยผลการวเิ คราะห์
เปรียบเทียบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นวิชาสงั คมศกึ ษาก่อนเรียนและหลงั เรยี นของนักเรียนที่ได้รบั การจัดการ
เรียนการสอนด้วยวธิ สี ตอร่ีไลน์

ผลการวิเคราะหเ์ ปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นวิชาสังคมศกึ ษาก่อนเรยี นและหลังเรียนของนักเรยี น
ท่ีได้รับการจัดการเรียนการสอนด้วยวธิ สี ตอรี่ไลน์

ผลการทดลอง n S.D. tp
ก่อนเรยี น 41 11.60 2.64 18.25* 1.69*
หลังเรียน 41 17.10 1.07

** มนี ยั สาคญั ทางสถติ ิทรี่ ะดับ .01

จากตาราง พบวา่ นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ท่ไี ดร้ ับการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธสี ตอร่ีไลน์มี
ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นวชิ าสังคมศึกษาหลังเรยี นสูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมนี ัยสาคัญ ทางสถิติทร่ี ะดบั 1.69

8. อภปิ รายผลการวิจยั

จากการศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาสงั คมศกึ ษาของนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ทีเ่ รยี น
โดยการจัดการเรยี นการสอนด้วยวิธีสตอร่ไี ลน์ ผลการศึกษาวิจัย อภปิ รายไดด้ งั น้ี

การศึกษาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นวิชาสังคมศกึ ษา
ผลการวจิ ัยพบวา่ นักเรียนทีเ่ รยี นโดยการจดั การเรยี นการสอนดว้ ยวิธีสตอร่ีไลน์มผี ลสัมฤทธ์ทิ างการ
เรยี นวิชาสังคมศึกษาหลังเรียนสงู กว่ากอ่ นเรยี นอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถติ ทิ ี่ระดับ 0.05 ซง่ึ ได้ จัดกจิ กรรมตาม
ข้นั ตอนในการจัดการเรียนรู้ คอื

1. ขั้นเตรียมความพร้อม ให้นักเรียนโดยการแนะนาการจัดการเรียนการสอนด้วยวธิ ีสตอร่ีไลน์และเปิด
โอกาสให้นักเรียนซกั ถามหลังจากนนั้ กแ็ บ่งนักเรียนเปน็ กลุ่ม

2. ขนั้ ปฏบิ ัติการจัดการเรียนรู้ เป็นขน้ั ท่นี ักเรยี นจะต้องดาเนนิ กจิ กรรมตา่ งๆ ตามองค์ประกอบของวิธี
สตอรี่ไลน์ โดยจะแบ่งเป็นตอนอย่างน้อย 4 ตอน ตามองค์ประกอบของการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีสตอรี่
ไลน์ ในแต่ละตอนนักเรียนจะมีการวางแผนเพ่ือตอบคาถามนาและการสร้างสรรค์ ส่ิงต่างๆ ตามจินตนาการท่ี
แบ่งเปน็ ลาดับขน้ั ตอน คอื

ตอนที่ 1 การสร้างฉาก ใช้คาถามนาทาให้นักเรียนทราบว่ากาลังมีประสบการณ์ใหม่เกิดขึ้น
ตอนท่ี 2 การสร้างตัวละคร เปน็ การใช้คาถามท่ีจะกอ่ ให้เกดิ การผูกเรือ่ งเก่ียวกับคนหรอื สัตว์ทนี่ ักเรียน
เปน็ ผู้กาหนดเรอ่ื ง
ตอนที่ 3 การกาหนดวิถีการดารงชีวิต ใช้คาถามนาท่ีให้นักเรียนเสนอเรื่องราวที่เกี่ยวกับกิจกรรมของ
ตัวละครคาถามว่าตัวละครเหล่านี้ทาอะไรซ่ึงเป็นการดาเนิ นชีวิตหรือสะท้อนชีวิตของตัวละคร
ตอนที่ 4 เหตุการณ์และการแก้ปัญหา ต้องมีคาถามนาว่ามีอะไรสาคัญเกิดข้ึนกับ ตัวละครคือการมีเหตุการณ์
และปญั หาทีต่ ้องแก้ไข
3. ขั้นกิจกรรมการเรียนรู้ สรุปและนาเสนอผลงานนักเรียนออกมาอภิปรายหรือสรุปเล่าเร่ืองนาเสนอ
ผ ล ง า น ต ล อ ด จ น แ น ว คิ ด แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ข อ ง ก ลุ่ ม ต น เอ ง ใ ห้ เ พ่ื อ น ๆ ท ร า บ
ขั้นประเมินผล จากการปฏิบัติกิจกรรมในทุกขั้นตอน คือ การตอบคาถามนาการปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละตอน
และจากการนาเสนอผลงานกลุ่ม
ซึ่งผลการวิจยั ครง้ั นไ้ี ด้สอดคล้องกบั งานวิจัยของสมนกึ ปฏปิ ทานน์ (2542 : 72) ได้ศกึ ษา ผลของการ
เรียนการสอนด้วยวิธีสตอรี่ไลน์ที่มีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา และความสามารถในการคิด
วิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ผลการวจิ ัยพบวา่ นักเรียนท่ีเรียนวิชาสังคมศึกษาด้วย วิธสี ตอรไ่ี ลน์
มีคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ท่ีเป็นเช่นน้ีอาจเป็นเพราะว่าการ
จดั การเรียนการสอนด้วยวิธีสตอร่ีไลน์เป็นวิธีการจัดการเรยี นรู้ท่ีบูรณาการ ทาให้ผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์
ระหว่างวิชา และสามารถประยกุ ต์ความรู้ประสบการณ์ ความสามารถและทักษะต่างๆ เข้าด้วยกนั เพื่อให้เกิด
การเรียนรู้ที่เชื่อมโยงเข้ากับชีวิตจริงทาให้บรรยากาศการเรียนรู้เป็นธรรมชาติ จึงทาให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนดีข้ึนตามผลการวิจัยเร่ือง ผลการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีสตอร่ีไลน์ เรื่อง เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 และสอดคล้อง
กับศรีวิมล สุรสันติวรการ (2550) ได้สรุปผลการวิจัยไว้ว่านักเรียนกลุ่มท่ีเรียนด้วยวิธีสตอร่ีไลน์ โดยใช้นิทาน
ชาดกเกี่ยวกับความมีเมตตากรุณามีคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 และสอดคล้องกับงานวิจัยของ กาญจนา มากพูน (2548, 75) ที่ทาการวิจัย
เร่ือง ผลการเรียนการสอนด้วยวิธีแบบสตอรไ่ี ลน์ ที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวิชาภาษาไทย และเจตคติตอ่ การ
เรียนการสอนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 กลุ่มที่เรียนวิชาภาษาไทยแบบสตอร่ีไลน์ มีคะแนนผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นวชิ าภาษาไทยสูงกว่ากลุ่มที่เรียนวิชาภาษาไทยด้วยวิธีการสอนแบบปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ ทวิญญา เนคมานุรักษ์ (2547, 81) ทาการวิจัยเรื่อง การศึกษา
รูปแบบการสอนภาษาอังกฤษท่ีเน้นนักเรียนเป็นสาคัญแบบสตอร่ีไลน์ สาหรับนักเรียนในช่วงช้ันที่ 3 ที่พบว่า
การสอนแบบสตอร่ีไลน์เป็นกระบวนการเรียนการสอนท่ีบูรณาการเรียนทั้งในความรู้ เจตคติ และทักษะ
กระบวนการท่ีจาเป็นต่อการดาเนินชีวิต ส่งผลให้นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่านักเรียนท่ี
เรียนด้วยวิธีการสอนแบบปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ท่ีระดับ 0.05 และสอดคล้องกับแนวคิดของ วลัย
พานิช (2542, 1-2) ไดก้ ล่าวว่าเปน็ กระบวน การเรียนการสอนท่ีบูรณาการความรู้และประสบการณ์เขา้ ด้วยกัน

เป็นแนวคดิ ใหม่ของการจดั การศึกษา เป็นการบรู ณาการทั้งหลกั สูตรและการเรียนการสอน โดยเน้นผูเ้ รยี นเป็น
ศูนย์กลาง การเรียนรู้ท่ีเกิดจากประสบการณ์ตรงท่ีผู้เรียนสร้างความรู้ใหม่ด้วยตนเอง โดยครูใช้การตั้งคาถาม
หลกั นาไปสกู่ จิ กรรมการเรยี นรู้อย่างหลากหลาย

9. ข้อเสนอแนะ

ขอ้ เสนอแนะในการนาไปใช้
1. การจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีสตอรี่ไลน์ มีจุดเด่นและมีความเหมาะสมกับนักเรียนท่ีแตกต่างกัน
ครูผู้สอนควรเลือกเน้ือหาวิชาและระดับนักเรียนที่เหมาะสมกล่าวคือ ถ้าผู้สอนต้องการพัฒนาผู้เรียนด้าน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีสูงข้ึนก็ควรเลือกจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงให้มากที่สุดเท่าท่ีจะ
สามารถทาได้
2. การจัดการเรยี นการสอนด้วยวิธสี ตอรี่ไลน์จะต้องใช้เวลาท่ีต่อเนื่อง หากสามารถจัดตารางเรยี นท่ีมี
คาบการเรยี นการสอนต่อเนื่องได้จะทาให้เกิดประสิทธภิ าพมากขน้ึ
ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยคร้ังตอ่ ไป
1. การศกึ ษาถงึ การนาวิธกี ารจัดการเรียนการสอนด้วยวิธสี ตอรี่ไลน์ไปใชก้ ับตัวอย่างประชากรในระดับ
อื่นๆ เช่น ระดับประถมศกึ ษาและนาไปจัดการเรยี นรใู้ นหลากหลายวชิ ามากขนึ้ เชน่ ภาษาไทย สุขศึกษา
เป็นต้น
2. การศึกษาถึงผลการจดั การเรียนการสอนด้วยวิธสี ตอร่ีไลน์ที่มตี ัวแปรด้านอืน่ ๆ เชน่ ความมีวินยั ใน
ตนเอง ความคิดอย่างมวี ิจารณญาณ และความคดิ อยา่ งมีเหตผุ ล เปน็ ตน้

ลงช่ือ.........................................ผูว้ ิจยั ลงชอ่ื ............................................
(นางสาวจนิ ตนา ธงไชย ) (นางชญาภา บุญเลิศปฐวี)

หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษาฯ

ลงช่อื ...............................................
(นางสาวกลุ ธดิ า สวุ ชั ระกุลธร)

หัวหนา้ งานส่ือนวัตกรรมวิจยั และเทคโนโลยี

ลงชอื่ ...............................................
(นายศริ ชิ ยั หอมดวงศรี)

รองผอู้ านวยการกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ

รายงานการวจิ ัยในช้ันเรียน
โรงเรยี นมาบตาพุดพนั พิทยาคาร ปีการศกึ ษา 2559

ชอ่ื เร่อื ง การซ่อมเสริมนกั เรียนทีข่ าดเรียนและไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ในนักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1

โดยใชบ้ ทเรียนแบบโปรแกรม เรือ่ ง การดูแลเสอื้ ผ้าและเครื่องแต่งกาย

ชื่อผู้วิจยั นางสาวเพชรรัตน์ ไชยชาญรมย์

กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี

รายวิชา ทักษะชีวิต 1 รหสั วิชา ง 21220 ระดบั ช้ัน มธั ยมศึกษาปีที่ 1

1. ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา

วิชา ทักษะชีวิต 1 รหัสวิชา ง 21220 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นั้นเป็นวิชาเพ่ิมเติมในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ซ่ึงมีสาระเก่ียวกับทักษะชีวิตด้านการทางานในชีวิตประจาวันการ
ช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และสังคม ไม่ทาลายส่ิงแวดล้อมเน้นการปฏิบัติงานจริงจนเกิดความมั่นใจและ
ภูมิใจในผลสาเร็จของงาน เพ่ือให้ผู้เรียนค้นพบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของตนเอง

ปัญหาท่ีพบในการจัดการเรียนการสอนวิชา ทักษะชวี ิต 1 พบว่านักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1 บางคน
ยังไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินและขาดเรียนทาให้มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ในเร่ืองการดูแลเสื้อผ้าและเคร่ือง
แ ต่ งก าย ต่ า ก ว่ า เก ณ ฑ์ แ ล ะ ข า ด ค ว า ม เข้ า ใจ ใน เรื่ อ งก า ร ดู แ ล เสื้ อ ผ้ า แ ล ะ เค ร่ื อ งแ ต่ งก า ย

จากปัญหาดังกล่าวผู้วิจัยจึงได้คิดหาวิธีแก้ปัญหาด้วยการจัดทาสื่อการสอนบทเรียนโปรแกรม เรื่อง
การดูแลเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย เพ่ือเป็นการซ่อมเสริมให้กับนักเรียนท่ีขาดเรียนและไม่ผ่านเกณฑ์การ
ประเมินโดยผเู้ รียนสามารถศึกษาบทเรียนโปรแกรมได้ด้วยตนเองตามความต้องการของผู้เรียนโดยจะต้องอ่าน
คาช้ีแจง ศึกษาสาระสาคัญ ทาแบบทดสอบก่อนเรียน แล้วศึกษาในกรอบข้อความเพื่อศึกษาเนื้อหาให้เข้าใจ
แลว้ ตอบคาถามในแตล่ ะกรอบท่ีละหน้าตามลาดับ เมือ่ ศึกษาครบทกุ กรอบแล้วจึงทาแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อ
เปรียบเทียบความก้าวหน้าทางการเรียน และส่งผลให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเน้ือหาเร่ือง การดูแล
เส้อื ผ้าและเครื่องแตง่ กาย ที่ศึกษาจากบทเรียนโปรแกรมได้

2. วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั

1. เพอ่ื แกป้ ัญหานักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ที่ขาดเรยี นบ่อย เรียนไม่ทัน ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ
เรือ่ ง การดูแลเส้อื ผา้ และเครื่องแต่งกาย

2. เพื่อเพิ่มผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น เรอ่ื ง การดแู ลเสื้อผา้ และเคร่ืองแตง่ กาย ในนักเรียนช้นั
มธั ยมศึกษาปที ี่ 1

3. ประชากร/กลมุ่ ตัวอยา่ ง
ประชากร คือ นักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ประจาปีการศึกษา 2559 โรงเรียนมาบตาพุดพนั พิทยา

คาร อาเภอเมอื ง จงั หวัดระยอง
กลุ่มตัวอย่าง คือ นกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ประจาปกี ารศกึ ษา 2559 โรงเรยี นมาบตาพดุ พัน

พิทยาคาร อาเภอเมือง จังหวดั ระยอง ท่ีขาดเรียนบ่อยและนกั เรียนท่ีไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ เร่ือง การ
ดูแลเสื้อผา้ และเครื่องแตง่ กาย ท้ังหมด จานวน 15 คน

4. เคร่อื งมือทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั /นวัตกรรม

บทเรยี นแบบโปรแกรม เรื่อง การดูแลเส้ือผา้ และเครื่องแต่งกาย

5. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
1. ให้นักเรยี นกลมุ่ ตวั อย่าง ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ประจาปีการศึกษา 2559 ทาแบบทดสอบก่อนเรียน

เรือ่ ง การดูแลเสอ้ื ผ้าและเครื่องแตง่ กาย จานวน 20 ข้อ โดยใชเ้ วลาในการทาแบบทดสอบก่อนเรียน 15 นาที
แลว้ รวบรวมคะแนนจากมากไปน้อย

2. ดาเนนิ การใชส้ ื่อการสอนบทเรยี นโปรแกรมกับนกั เรียนกล่มุ ตวั อยา่ ง โดยใหน้ กั เรยี นกลุ่มตัวอยา่ ง
ศึกษาบทเรียนโปรแกรมด้วยตนเองเป็นเวลา 50 นาที

3. เม่ือสนิ้ สุดการเรียนด้วยบทเรยี นแบบโปรแกรมเรื่อง การดูแลเสอ้ื ผา้ และเครื่องแตง่ กายให้นกั เรียน
ทาแบบทดสอบหลงั เรียนแล้วบันทกึ คะแนนไว้เพื่อนามาวิเคราะห์หาคา่ ทางสถติ ิและค่าร้อยละ

4. นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นทั้งสองมาเปรียบเทียบกัน
5. วิเคราะหส์ รุปผลการวจิ ยั

6. การวิเคราะห์ข้อมลู /สถิติท่ีใช้ในการวจิ ัย

การวเิ คราะห์ขอ้ มูล
วิเคราะหข์ ้อมูลโดยหาคา่ เฉลีย่ ของคะแนนสอบก่อนและหลงั เรยี นแลว้ หาคา่ รอ้ ยละเปรียบเทยี บ
ความก้าวหน้าของผลการเรียนรู้ ซงึ่ ผ้วู ิจยั ใช้ค่าสถติ เิ ปน็ จานวนนบั จากคะแนนเต็ม 20 คะแนน ตามเกณฑ์
การประเมิน ดังนี้
16 – 20 คะแนน ระดับดีมาก
13 – 15 คะแนน ระดับดี
10 – 12 คะแนน ระดับ พอใช้

0 – 10 คะแนน ระดบั ปรับปรุง

สถิติทใี่ ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู
1. ค่าเฉลี่ย (mean)

การหาคา่ เฉลย่ี ใช้สูตร = (∑x)/N
เม่ือ x แทน คา่ คะแนนเฉล่ยี

∑x แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมด
N แทน จานวนขอ้ มูล
2.สอบถามความคิดเหน็ / ความพึงพอใจ ของนกั เรยี นท่ีเรียนทมี่ ตี อ่ บทเรียนแบบโปรแกรมด้วยค่ารอ้ ย
ละ (Percentage)
3.เกณฑ์ระดับคุณภาพ

7. ผลการวจิ ัย

1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาการดารงชีวิตประจาวัน 1 เร่ืองการดูแลเส้ือผ้าและเคร่ืองแต่งกาย ผล
การทอลองใช้สื่อพบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนการใช้สื่อการสอนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 กลุ่ม
ตัวอย่าง มีค่าเฉลี่ย = 4.6 และมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังการใช้สื่อการสอนมีค่าเฉล่ีย = 16.8 ผลการ
เปรียบเทียบการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปรากฏว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 กลุ่มตัวอย่าง มี
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังใช้ส่ือการสอนบทเรียนแบบโปรแกรมมากกว่าก่อนใช้สื่อนักเรียนผ่านเกณฑ์การ
ประเมนิ รอ้ ยละ 100 และอยู่ในระดับคุณภาพท่ี ระดับ ดีมาก

8. อภปิ รายผลการวิจยั

จากการสรุปผลการวิจัยพบว่านักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่าง จานวน 15 คน มีค่าเฉล่ีย
ผลสัมฤทธ์ิหลงั ใชบ้ ทเรยี นแบบโปรแกรม เร่ือง การดูแลเส้ือผ้าและเครื่องแต่งกาย โดยภาพรวม ดีข้ึนและมีผล
การเรียนหลังการใชส้ อื่ การสอนดังกล่าวดกี วา่ กอ่ นการใช้ส่อื ซ่ึงแสดงใหเ้ หน็ วา่ การใช้ สอื่ การสอนบทเรยี นแบบ
โปรแกรม เร่ือง การดูแลเสื้อผ้าและเคร่ืองแต่งกาย ทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองและฝึก
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้กับผู้เรียนในด้านของความซื่อสัตย์สุจริตต่อตัวเองได้เป็นอย่างดีและช่วยให้
นกั เรยี นมพี ัฒนาการดา้ นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทสี่ งู ขน้ึ จริง

9. ข้อเสนอแนะ

1. สอ่ื การเรยี นการสอนควรมีความหลากหลาย และมกี ารทดลองใชส้ อ่ื การสอนจนแน่ใจใน
ประสิทธภิ าพของส่ือ จงึ นาไปใช้กบั นักเรยี น

2. ครคู วรมกี ารเตรยี มการสอนเปน็ อยา่ งดี จดจาลาดับขั้นตอนการสอนอยา่ งแมน่ ยา
ดาเนินการสอนอย่างเป็นธรรมชาติ มีการทดลองปฏบิ ัตจิ รงิ

ลงชือ่ .........................................ผูว้ ิจัย ลงชอ่ื ............................................
(นางสาวเพชรรัตน์ ไชยชาญรมย์ ) (นายเทวัญ นราธาวา)

หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ลงชอื่ ...............................................
(นางสาวกุลธดิ า สุวชั ระกุลธร)

หวั หนา้ งานสือ่ นวัตกรรมวจิ ัยและเทคโนโลยี

ลงช่ือ...............................................
(นายศริ ชิ ัย หอมดวงศรี)

รองผูอ้ านวยการกลมุ่ บริหารวิชาการ

รายงานการวิจัยในชนั้ เรยี น

โรงเรยี นมาบตาพดุ พนั พิทยาคาร ปีการศกึ ษา 2559

ชอ่ื เร่อื ง การพัฒนาพหปุ ัญญาด้วยโมเดล 3 มติ ิ เร่ืองระบบนิเวศปา่ ไม้ รายวิชาชวี วทิ ยาพื้นฐาน
รหัสวชิ า ว30141 ของนักเรียนระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 ปกี ารศึกษา 2559

ชื่อผู้วิจัย นายกติ ติศักด์ิ ปราบพาล
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์
รายวิชา ชีววิทยาพื้นฐาน รหัสวิชา ว30141 ระดบั ชั้น มธั ยมศึกษาปีท่ี 4

1. ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา

ปัจจุบนั โลกมกี ารเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ในทกุ ๆ ดา้ น ทัง้ ดา้ นการเมือง เศรษฐกิจ สังคม การดาเนิน
ชีวิต ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ทาให้ต้องมีการเปลี่ยนแปลงเน้ือหาสาระตามหลักสูตรควบคู่ไปกับการ
พัฒนาทักษะใหม่ๆ ที่จาเป็นสาหรบั ศตวรรษท่ี 21 ซ่งึ สาระวิชากม็ ีความสาคัญ แต่ไมเ่ พียงพอสาหรับการเรียนรู้
เพ่ือมีชีวิตในสังคมปัจจุบันที่ต้องอาศัยการบูรณาการความรู้ท่ีต้องใช้ทั้งปัญญาและทักษะควบคู่กัน Howard
Gardner ผู้ก่อต้ังทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligences) ได้ให้คาจากัดความของ ปัญญา ว่า
เป็นความสามารถท่ีจะค้นหาและแก้ปัญหาและสร้างผลผลิตท่ีมีคุณค่าเป็นท่ียอมรับในสังคม มนุษย์มี
ความสามารถทางปัญญาแบ่งออกได้อย่างน้อย 8 ด้าน ได้แก่ 1) ปัญญาด้านภาษา (Linguistic Intelligence)
2) ปัญญาด้านตรรกะและคณิตศาสตร์ (Logical – Mathematical Intelligence) 3) ปัญญาด้านมิติสัมพันธ์
(Visual – Spatial Intelligence) 4) ปัญ ญ าด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว (Bodily – Kinesthetic
Intelligence) 5) ปัญญาด้านดนตรี (Musical Intelligence) 6) ปัญญาด้านมนุษย์สัมพันธ์ (Interpersonal
Intelligence) 7) ปัญญาดา้ นความเข้าใจตนเอง (Intrapersonal Intelligence) และ 8) ปัญญาดา้ นธรรมชาติ
วิทยา (Naturalist Intelligence) โดยทุกคนสามารถพัฒนาปัญญาแต่ละด้านให้สูงขึ้นถึงระดับใช้การได้ ถ้ามี
การฝึกฝนท่ีดี มีการให้กาลังใจที่เหมาะสม ในสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ โดยคนแต่ละคนสามารถใช้
ปัญญาด้านต่างๆ ร่วมกันได้ เช่น ในการดารงชีวิตประจาวันเราอาจต้องใช้ปัญญาในด้านภาษาในการพูด อ่าน
เขียน ปัญญาด้านคิดคานวณ ในการคิดเงนิ ทอง ปญั ญาดา้ นมนุษย์ สมั พันธ์ในการพบปะเข้าสังคมทาให้ตนเองมี
ความสุขด้วยการใช้ปัญญาด้านการเข้าใจตนเอง นอกจากนี้เขายังกล่าวว่า คนท่ีอ่านหนังสือไม่ออกก็ไม่ได้
ห ม าย ค ว าม ว่าไม่ มี ปั ญ ญ าท างภ าษ า แ ต่ เข าอ าจ จ ะเป็ น ค น เล่ าเร่ือ งท่ี เก่ งห รือ พู ด ได้ น่ าฟั ง

ในส่วนของประเทศไทย ได้มีการนาทฤษฎีนี้มาประยุกต์ใช้ในทางการศึกษาโดยนักการศึกษาของไทย
หลายท่าน อาทิ เยาวพา เดชะคุปต์ ได้สร้างรูปแบบการพัฒนาพหุปัญญาในรูปแบบ ACACA บังอร พานทอง
ศกึ ษาเกี่ยวกับการพัฒนาพหุปัญญาด้านภาษาผา่ นการสอนภาษาโดยเน้นพ้ืนฐานประสบการณ์ และอารี สณั ห
ฉ วี ศึ ก ษ า ก า ร พั ฒ น า พ หุ ปั ญ ญ า ผ่ า น ก ร ะ บ ว น ก า ร เ รี ย น แ บ บ ร่ ว ม มื อ เ ป็ น ต้ น

และจากการวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ของนักเรียนในรายวิชา ชีววิทยาพ้ืนฐาน รหัส ว30141 ระดับช้ัน

มธั ยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรยี นรู้ ชีวิตกับส่ิงแวดล้อม เร่ือง ระบบนิเวศป่าไม้ ในปีการศึกษาท่ีผ่านมา พบว่า
นกั เรยี นท่ีมคี ะแนนต่าในการทาแบบทดสอบหลังเรยี น สว่ นหน่ึงมีความรูท้ ่สี ามารถอธบิ ายไดว้ ่าต้นไม้เด่นนา ใน
ป่าบางชนิดมีลักษณะเป็นอย่างไร มีประโยชน์หรือมีความสาคัญอย่างไรต่อชุมชนพ้ืนถิ่นท่ีตนอาศัยอยู่ โดย
สังเกตได้จากการอภิปรายในช้ันเรียน แสดงให้เห็นว่านักเรียนท่ีมีคะแนนต่าไม่ได้หมายความว่านักเรียนไม่มี
ความรเู้ ลย แต่อาจเป็นเพราะกิจกรรมการเรียนรู้ท่จี ัดขึ้นในชั้นเรียนนนั้ ไม่สอดคล้องกับสามารถทางปัญญาของ
ผู้เรียนซึ่งเป็นความแตกต่างระหว่างผู้เรียนแต่ละคน ดังนั้นในปีการศึกษา 2559 นี้ ผู้วิจัยจึงได้ออกแบบ
กจิ กรรมท่ีส่งเสริมให้นักเรียนทุกคนเกดิ การเรยี นรไู้ ปพร้อมๆ กัน โดยเน้นการพัฒนาพหปุ ัญญาด้านปัญญาดา้ น
คณิตศาสตร์ และด้านธรรมชาติวิทยา ผ่านกิจกรรมการสร้างโมเดล 3 มิติ ของระบบนิเวศป่าไม้ต่างๆ ของ
ประเทศไทย ทเ่ี น้นการใช้ความรแู้ ละทักษะดา้ นตา่ งๆ ท่ีจาเป็นในศตวรรษที่ 21 รวมถึงใช้รูปแบบการวัดผลเชิง
ประจักษ์ ( Authentic Assessment) จากผลงานท่ีนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง เพื่อให้บทเรียน เร่ือง ระบบ
นิเวศป่าไม้ เป็นบทเรียนที่มีความหมายต่อนักเรียนอย่างแท้จริง โดยนักเรียนสามารถนาความรู้ที่ได้รับในชั้น
เรียนไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวนั ตอ่ ไป

2. วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั

1. เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เร่ือง ระบบนิเวศป่าไม้ รายวิชาชีววิทยาพื้นฐาน รหัส ว 30141
ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4

2. เพื่อพัฒนาพหุปัญญาและทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4
ปกี ารศกึ ษา 2559 ในรายวชิ าชีววิทยาพื้นฐาน รหสั ว30141

3. เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2559 ของหน่วยการ
เรยี นรทู้ ่ี 1 ชีวิตกบั สิง่ แวดล้อม รายวิชาชวี วิทยาพ้นื ฐาน รหสั ว30141

3. ประชากร/กลุม่ ตวั อย่าง

ประชากร ในการศึกษาครัง้ นี้ คอื นักเรยี นช้นั มัธยมศึกศกึ ษาปที ี่ 4/1 โรงเรยี นมาบตาพุดพันพิทยาคาร
ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2559 จานวน 42 คน

4. เคร่อื งมือทใ่ี ช้ในการวจิ ัย/นวัตกรรม

1. คาถามท้ายกิจกรรม แบบอตั นยั 1 ฉบับ จานวน 5 ขอ้ คดิ เปน็ 20 คะแนน
2. แบบประเมนิ ชน้ิ งาน
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู้
4. แบบวดั ความพึงพอใจของนักเรยี นท่มี ตี ่อรูปแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้

5. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู
ในการดาเนินการศึกษาวิจัยคร้ังนี้เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชา

ชีววิทยาพ้ืนฐาน รหัส ว30141 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 หน่วยการเรียนรู้ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม เร่ือง ระบบ
นิเวศป่าไม้ ท่ีผู้วิจัยได้วางแผนการดาเนินการศึกษา สร้างส่ือ ออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และสร้าง
เคร่ืองมือประเมิน โดยยึดสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง ตามหลักสูตร
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน 2551 ซ่ึงได้ดาเนินการเป็นข้ันตอน โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ขน้ั วเิ คราะห์ (Analysis)
1.1 วเิ คราะหก์ จิ กรรมการเรียนรู้
วิเคราะห์ผลคะแนนของนักเรียน เรื่อง ระบบนิเวศป่าไม้ หน่วยการเรียนรู้ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
รายวิชาชีววิทยาพื้นฐาน รหัส ว30141 ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในปีการศึกษาท่ีผ่านมา รวมถึงการ
วเิ คราะห์ผลการใชร้ ูปแบบการจัดการเรยี นรู้ท่ีผ่านมา เพือ่ หารูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่เี หมาะสม จน
ได้ข้อสรุปคือ เป็นการจัดการเรียนรู้แบบ 5E (Inquiry Cycle) ตามแนวทฤษฎี Constructivism โดยใช้
กิจกรรมการสร้างโมเดล 3 มิติ ในข้ันอธิบายและลงข้อสรุป และขั้นขยายความรู้ เพ่ือกระตุ้นให้นักเรียนได้ใช้
ปัญญาด้านตรรกะและคณิตศาสตร์ (Logical–Mathematical Intelligence) ด้านมิติสัมพันธ์ (Visual –
Spatial Intelligence) และธรรมชาติวิทยา (Naturalist Intelligence) จากนั้นจึงทาการวิเคราะห์รูปแบบ
วิธกี ารสาหรบั การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ โดยผู้วิจัยได้เลือกแนวทางการวดั และประเมินผลการเรียนรู้เชิง
ประจักษ์ (Authentic Assessment) ท่ีสามารถประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียนตามสภาพจริงโดยไม่ได้มุ่งเน้น
เฉพาะผลการทดสอบ แต่เป็นการประเมินผู้เรียนระหว่างการเรียนรู้ ซ่ึงทาให้งานวิจัยน้ีมีการประเมินชิ้นงาน
และการประเมินพฤตกิ รรมการเรียนร้ขู องผู้เรียนด้วย
1.2 วเิ คราะห์ผูเ้ รยี น ได้กาหนดไว้ดังนี้
วิเคราะห์ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร ภาคเรียนท่ี 1 ปี
การศึกษา 2559 จานวน 42 คน โดยใช้ข้อมูลจากแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน และคะแนนในส่วนต่างๆ ท่ี
ได้จากการประเมินในหอ้ งเรียนที่ผา่ นมา เพ่อื ใชเ้ ป็นฐานข้อมูลในการแบง่ กลมุ่ การทางาน
1.3 วิเคราะหเ์ นือ้ หา ข้ันตอนดาเนนิ การมีดังน้ี
วิเคราะห์สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รวมถึงสาระสาคัญที่
เก่ยี วกับ ระบบนิเวศบนบก และระบบนิเวศปา่ ไม้

2. ข้นั ออกแบบ (Design) มีข้นั ตอนดงั นี้
2.1 ออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ใช้การจัดการเรียนรู้แบบ 5E (Inquiry Cycle) ตามแนว
ทฤษฎี Constructivism โดยใช้กิจกรรมการสร้างโมเดล 3 มิติ ในข้ันอธิบายและลงข้อสรุป และขั้นขยาย
ความรู้ เพื่อกระตนุ้ ให้นักเรยี นได้ใชป้ ัญญาด้านตรรกะและคณิตศาสตร์ ปัญญาด้านมติ ิสมั พันธ์ และปัญญาดา้ น
ธรรมชาตวิ ทิ ยา
2.2 ออกแบบส่ือการเรยี นรู้

2.2.1 ศึกษาค้นคว้ารูปแบบของโมเดล 3 มิติ ที่สามารถสร้างได้ง่าย เพื่อให้นักเรียนสามารถ
ปฏิบัตกิ จิ กรรมภายในเวลาท่ีกาหนดตามแผนการจดั การเรยี นรู้

2.2.2 ทดลองสร้างโมเดล 3 มิติ ท่ีทาจากกระดาษ ในรูปแบบตา่ งๆ ท่ีได้ทาการศึกษาค้นคว้า
และสรปุ รปู แบบทเ่ี หมาะสมที่สามารถนามาใชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นได้ตามแผน

2.2.3 ปรบั ปรุงโมเดล 3 มิติ ใหเ้ ปน็ ส่ือท่มี คี วามนา่ สนใจ
2.3 ออกแบบเคร่ืองมือวัดประเมินผล ออกแบบและสร้างคาถามท้ายกิจกรรม แบบอัตนัย 1 ฉบับ
จานวน 5 ข้อ คิดเป็น 20 คะแนน แบบประเมินช้ินงาน และแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้

3. ขน้ั ดาเนนิ การ ดังนี้
3.1 ดาเนินการจัดการเรียนรู้ ตามแผนการเรียนรู้ เร่ือง ระบบนิเวศป่าไม้ หน่วยการเรียนรู้
ชี วิ ต กั บ ส่ิ งแ ว ด ล้ อ ม รา ย วิ ช า ชี ว วิ ท ย า พ้ื น ฐ าน ร หั ส ว 30141 ร ะ ดั บ ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ าปี ท่ี 4
3.2 ประเมินผลการเรียนรขู้ องนักเรียน โดยใช้เคร่ืองมือวัดประเมนิ ผลทไี่ ด้ออกแบบไวโ้ ดยการวดั และ
ประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ทุกขั้นตอน
3.3 นาผลการวดั ไปวเิ คราะห์ส่กู ารประเมนิ ผลการเรียนรู้ของนักเรยี น

4. ขน้ั วเิ คราะห์ข้อมูล
4.1 วเิ คราะห์ข้อมูล

4.1.1 วิเคราะห์ผลการเรยี นรู้ของนักเรียนจากคะแนนจากการตอบคาถามทา้ ยกิจกรรม และ
คะแนนช้นิ งาน

4.1.2 วเิ คราะห์ประสิทธภิ าพการจัดการเรียนรู้ จากคะแนนในแบบสงั เกตพฤตกิ รรมการ
เรียนรู้ และแบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ตี ่อรปู แบบกิจกรรมการเรียนรู้

6. การวิเคราะห์ข้อมูล/สถติ ิทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั

สถิตทิ ใ่ี ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมลู
1) การหาค่ารอ้ ยละ

คา่ ร้อยละ = คะแนนท่ีได้ × 100/ คะแนนเต็ม
2) การหาค่าเฉลี่ย

คา่ เฉลี่ย = ผลรวมของคะแนนทงั้ หมดในกลุ่ม/ จานวนคะแนนในกลุ่ม

7. ผลการวจิ ัย

ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้
การวิเคราะหป์ ระสทิ ธภิ าพการจัดการเรยี นร้แู บง่ ออกเป็น 2 สว่ น คอื

1) ผลคะแนนเฉลยี่ ในแบบสังเกตพฤตกิ รรมการเรียนรขู้ องนักเรียน และ
2) ผลคะแนนเฉล่ียจากแบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้
ผลการวิเคราะห์พฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน พบว่า นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียน
ระดับ ดีมาก (4.65) นักเรียนให้ความร่วมมือในการทากิจกรรม ระดับ ดีมาก (4.72) นักเรียนกล้าซักถาม และ
แสดงความคิดเห็น ระดับ ดีมาก (4.85) มีการวางแผนการทางานเป็นขั้นตอน ระดับ ดีมาก (4.75) นักเรียน
ท างาน ทั น ต าม กาห น ด เวล า ร ะดั บ ดีม าก (4.65) มี ค่ าเฉ ลี่ย เท่ ากั บ 4.72 อ ยู่ใน ระดั บ ดีม าก
ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจ พบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการ
สร้างโมเดล 3 มิติ ในระดับ มากที่สุด (4.69) โดยพบว่า รูปแบบกิจกรรมสอดคล้องกับจุดประสงค์/เน้ือหา
ระดับ มากท่ีสุด (4.62) รูปแบบกิจกรรมมีความน่าสนใจ ระดับ มากที่สุด (4.71) นักเรียนมีส่วนร่วมในการ
เรยี นรู้ ระดับ มากท่ีสดุ (4.73) การทากิจกรรมสร้างโมเดล 3 มิติ ทาให้นักเรียนเขา้ ใจบทเรยี นดีข้ึน ระดบั มาก
ทีส่ ดุ (4.76) เป็นกิจกรรมท่ีช่วยพฒั นาทักษะการคดิ ระดับ มากทส่ี ดุ (4.62)

8. อภปิ รายผลการวิจยั

จากการศึกษารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นการพัฒนาพหุปั ญญาของผู้เรียนในรายวิชา
ชีววิทยาพื้นฐาน รหัส ว30141 ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ ชีวิตกับส่ิงแวดล้อม เรื่อง ระบบ
นิเวศป่าไม้ ผ่านกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ 5E โดยมีการสืบค้นข้อมูลและการสร้างโมเดล 3 มิติเพ่ือ
จาลองลักษณะของไม้เด่นในป่าไม้แต่ละประเภทในประเทศไทย พบว่า รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้นี้มี
ประสิทธิภาพ สามารถนาไปพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนได้เป็นอย่างดี เห็นได้จาก ผลการ
วเิ คราะห์พฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.72 อยู่ในระดับ ดีมาก และผลการวิเคราะห์ความ
พึงพอใจ พบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการสร้างโมเดล 3 มิติ ในระดับ มาก
ท่ีสุด (4.69) และเป็นรูปแบบทสี่ ามารถพัฒนาพหุปัญญาและทักษะท่ีจาเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 ของนักเรียนและ
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนได้จริง ซ่ึงเห็นได้จากผลการวิเคราะห์คะแนนแสดงผลการเรียนรู้ที่มีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 16.83 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 84.17 อยู่ระดับ ดีมาก ท้ังน้ีเป็นกิจกรรมท่ีมีความน่าสนใจ กระตุ้นให้
เกิดการคิด และการค้นคว้าหาคาตอบ สอดคล้องกับงานวิจัยของ ศรสี มัย สอดศรี (2546: 54) ที่พบว่า ผู้เรียน
ทไี่ ด้รับการสอนโดยใช้กระบวนการสร้างทกั ษะและวธิ คี ิด จะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวา่ ผู้เรียนท่ีไดร้ ับการ
สอนในรูปแบบปกติ

9. ข้อเสนอแนะ

การใช้กิจกรรมสร้างโมเดล 3 มิติน้ัน สามารถพัฒนาต่อยอดข้ึนไปในรูปแบบต่างๆ ท่ีใช้วัสดุ
อื่นๆ มาประดิษฐ์ได้อีก และสามารถนาไปใช้เป็นกิจกรรมเพื่อสรุปความเข้าใจ และพัฒนาทักษะการคิดใน
บทเรียนต่างๆ ได้ด้วย อาทิ โครงสร้างของเซลล์ หรือกายวิภาคของพืช โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ
5E หรอื รปู แบบการจดั การเรยี นร้อู ื่นๆ ที่เหมาะสม ในส่วนของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาพหุ
ปัญญาน้ัน สามารถบูรณาการเข้าไปได้ในทกุ กิจกรรม หากแต่ผู้สอนจะต้องเข้าใจความแตกต่างของผเู้ รียนและ
การประยุกตเ์ นือ้ หาสาระรวมถึงวธิ กี ารใหเ้ หมาะสมกบั ผเู้ รยี น

ลงช่ือ.........................................ผ้วู ิจยั ลงช่ือ............................................
(นายกิตติศกั ดิ์ ปราบพาล ) (นางสาวบุญรุ่ง บุญอากาศ)

หัวหนา้ กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

ลงช่อื ...............................................
(นางสาวกลุ ธิดา สวุ ชั ระกลุ ธร)

หวั หน้างานส่ือนวตั กรรมวิจยั และเทคโนโลยี

ลงชอื่ ...............................................
(นายศริ ชิ ยั หอมดวงศรี)

รองผอู้ านวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ


Click to View FlipBook Version