The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการวิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ และจัดทำหน่วยการเรียนรู้ รายวิชา ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 รหัสวิชา ว30203 ภาคเรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2562 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KruJayPhysics, 2020-05-28 01:15:12

62-1-02วิเคราะห์หลักสูตร2562

รายงานการวิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ และจัดทำหน่วยการเรียนรู้ รายวิชา ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 รหัสวิชา ว30203 ภาคเรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2562 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560)

รายงานการวิเคราะห์หลกั สตู ร มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
รายวชิ า ฟสิ กิ ส์เพม่ิ เติม3 รหัสวิชา ว30203
ภาคเรียนท่ี 1 ประจำปีการศึกษา 2562

นางสาวกลุ ธิดา สวุ ัชระกลุ ธร
ครู วิทยฐานะ ชำนาญการพิเศษ

กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนมาบตาพดุ พันพทิ ยาคาร
สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 18

สำนกั งานคณะกรรมการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

แบบวิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชว้ี ัด/ผลการเรียนรู้

รายวชิ า ฟสิ ิกส์เพ่ิมเติม 3 รหสั วิชา ว30203 จำนวน 60 ชัว่ โมง 1.5 หน่วยกิต

กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 5 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2562

มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ (สสวท.) สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่นิ
1. ทดลองและอธิบายการ -
สาระฟิสกิ ส์ เคลื่อนทีแ่ บบฮารม์ อนิก - การเคลือ่ นที่แบบฮารม์ อนกิ อยา่ งงา่ ยเป็น
อย่างงา่ ยของวัตถตุ ดิ ปลาย การเคลื่อนท่ีของวตั ถุทก่ี ลบั ไปกลบั มาซำ้ รอย
2. เขา้ ใจการเคลอ่ื นที่ สปริงและลกู ตมุ้ อย่างงา่ ย เดิมผ่านตำแหนง่ สมดลุ โดยมคี าบและแอมพลิ
แบบฮารม์ อนกิ อย่าง รวมทัง้ คำนวณปรมิ าณต่าง ๆ จดู คงตวั และมกี ารกระจดั จากตำแหน่งสมดลุ ที่
ง่าย ธรรมชาตขิ องคลนื่ ท่ีเกย่ี วขอ้ ง เวลาใดๆ เปน็ ฟังกช์ นั แบบไซน์
เสยี งและการไดย้ ิน - การสั่นของวตั ถุตดิ ปลายสปรงิ การแกวง่ ของ
ปรากฏการณ์ท่ี 2. อธิบายความถ่ีธรรมชาตขิ อง ลกู ตุ้มอยา่ งงา่ ยเป็นการเคล่ือนทแี่ บบฮารม์ อนิ
เกี่ยวขอ้ งกับเสียง แสง วตั ถุและการเกดิ การสั่นพ้อง กอย่างงา่ ยท่ีมีขนาดของการกระจดั จาก
และการเหน็ ตำแหน่งสมดลุ แตม่ ที ศิ ทางตรงขา้ ม
ปรากฏการณท์ ่ี 3. อธบิ ายปรากฏการณค์ ล่ืน
เกย่ี วขอ้ งกบั แสง ชนดิ ของคลนื่ ส่วนประกอบ เม่ือดึงวตั ถุท่ีติดปลายสปรงิ ออกจากตำแหน่ง
รวมทัง้ นำความรู้ ไปใช้ ของคล่ืน การแผข่ องหน้าคล่ืน สมดลุ แล้วปลอ่ ยให้ส่ัน วตั ถจุ ะสน่ั ดว้ ยความถี่
ประโยชน์ ด้วยหลกั การของฮอยเกนส์ เฉพาะตวั การดึงลกู ตมุ้ จะแกวง่ ด้วยความถ่ี
และการรวมกนั ของคลน่ื ตาม เฉพาะตวั เชน่ กัน ความถ่ีทีม่ คี า่ เฉพาะตัวนี้
หลักการซอ้ นทบั พร้อมทง้ั เรียกวา่ ความถีธ่ รรมชาติ เมอ่ื กระตุ้นใหว้ ัตถุ
คำนวณอตั ราเรว็ ความถ่ี และ ส่นั ด้วยความถี่ทีม่ คี ่าเท่ากบั ความถ่ีธรรมชาติ
ความยาวคล่นื ของวตั ถุ จะทำใหว้ ัตถุส่ันด้วยแอมพลจิ ูด
เพมิ่ ขึน้ เรียกว่า การส่นั พ้อง

- คล่ืนเปน็ ปรากฎการณก์ ารถา่ ยโอนพลงั งาน
จากทห่ี นึง่ ไปยังอีกท่ีหนง่ึ
- คล่นื ทถ่ี ่ายโอนพลงั งานโดยตอ้ งอาศยั
ตวั กลาง เรียกวา่ คลืน่ กล และไมอ่ าศัย
ตัวกลาง เรียกว่า คลนื่ แมเ่ หล็กไฟฟา้
นอกจากนี้ยงั จำแนกชนดิ ของคล่นื ออกเป็น
สองชนิด ไดแ้ ก่ คลื่นตามยาว และคลน่ื ตาม
ขวาง
- คลน่ื ทีแ่ หลง่ กำเนิดคล่ืนส่งคล่ืนเคลื่อนท่ี
อยา่ งตอ่ เน่อื ง และมีรปู แบบท่ีซำ้ กนั บรรยาย
ได้ดว้ ยความยาวคลื่น ความถี่ คาบ แอมพลิ
จดู และอตั ราเร็ว
- การแผ่ของหน้าคลนื่ เปน็ ไปตามหลักการ
ของฮอยเกนส์ และถ้าคลน่ื ต้ังแตส่ องขบวนมา
พบกนั จะรวมกนั ตามหลกั การซ้อนทับ

มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ (สสวท.) สาระการเรียนรทู้ ้องถ่นิ
4. สงั เกตและอธิบายการ
สะท้อน การหักเห การแทรก คลืน่ มีการสะท้อน การหักเห การแทรกสอด ในบรเิ วณรอบโรงงาน
สอด และการเลีย้ วเบนของคลน่ื และการเลย้ี วเบน การสะทอ้ นของคล่นื เกิด อุตสาหกรรมมักประสบ
ผวิ น้ำ รวมทัง้ คำนวณปริมาณ เมื่อคลืน่ เคล่ือนทไ่ี ปถงึ สิ่งกดี ขวางแลว้ เปลย่ี น ปัญหามลภาวะทาง
ต่าง ๆ ที่เกย่ี วข้อง ทศิ ทางกลับมาในตวั กลางเดิม โดยเป็นไปตาม เสยี งทเี่ กดิ ขึ้นจากการ
กฎการสะทอ้ น การหกั เหของคล่ืน เกิดคลืน่ ทำงานของเครื่องจักร
5. อธบิ ายการเกดิ เสียง การ เคล่ือนทผี่ ่านรอยต่อระหว่างตัวกลางที่ตา่ งกนั ขนาดใหญ่ท่ีมรี ะดบั
เคลื่อนทข่ี องเสียง ความสัมพันธ์ แล้วอัตราเร็วคล่ืนเปลีย่ นไป เป็นไปตามกฎ ความเขม้ เสียงสงู ซึ่ง
ระหวา่ งคลื่นการกระจดั ของ การหกั เห การแทรกสอดของคลื่นเกิดเม่อื กอ่ ให้เกดิ ความรำคาญ
อนภุ าคกับคลื่นความดนั คล่ืนสองคลนื่ เคลอ่ื นที่มาพบกนั แล้วรวมตัว แก่ผูท้ อี่ าศัยในชมุ ชน
ความสัมพันธร์ ะหวา่ งอัตราเร็ว กันตามหลักการซอ้ นทับ ซง่ึ ในกรณคี ล่ืน รอบข้าง การออกแบบ
ของเสยี งในอากาศทข่ี น้ึ กับ อาพันธจ์ ะเกดิ คล่ืนนง่ิ การเลี้ยวเบนของคลืน่ วัสดุสำหรับกอ่ สร้าง
อุณหภูมใิ นหน่วยองศาเซลเซยี ส เกดิ เมือ่ คลนื่ เคลอื่ นท่ีพบสงิ่ กีดขวางแล้วมี บา้ นเพื่อลดระดบั ความ
สมบตั ขิ องคลนื่ เสยี ง ไดแ้ ก่ การ คลื่นแผจ่ ากขอบสิง่ กีดขวางไปด้านหลงั ไดซ้ ึ่ง เขม้ เสยี งจึงเปน็ วัสดุ
สะทอ้ น การหกั เห การแทรก อธบิ ายด้วยหลักของฮอยเกนส์ ทางเลอื กที่สำคัญ
สอด การเลีย้ วเบน รวมทง้ั เสียงเกิดจากการถ่ายโอนพลังงานจากการสั่น
คำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ที่ ของแหลง่ กำเนิดเสยี งผา่ นอนุภาคตวั กลาง ทำ
เกีย่ วข้อง ให้อนภุ าคของตัวกลางส่นั โดยการกระจดั ของ
6. อธบิ ายความเขม้ เสียง ระดบั อนุภาคกับตำแหนง่ ตามแนวการเคล่ือนทมี่ ี
เสยี ง องค์ประกอบของการได้ ความสมั พันธ์เป็นคลืน่ รูปไซนใ์ นตวั กลาง
ยนิ คณุ ภาพเสียง และมลพิษ หนง่ึ ๆ เสยี งมอี ตั ราเรว็ คงตวั เม่อื อณุ หภมู ิของ
ทางเสยี ง รวมทัง้ คำนวณ ตัวกลางคงตัวและอัตราเร็วของเสยี งเพมิ่ ขนึ้
ปรมิ าณต่าง ๆ ท่เี กย่ี วข้อง ถ้าอณุ หภมู ิของตวั กลางเพม่ิ ขึน้ เสยี งเป็นคลน่ื
กลตามยาวมีคณุ สมบตั ิการสะท้อน การหักเห
การแทรกสอด และการเลี้ยวเบน

บอกเป็นคา่ ลอการิทมึ ของอัตราสว่ นระหว่าง
ความเข้มเสียงกับความเขา้ เสยี งตำ่ สดุ ท่ีหู
มนษุ ยส์ ามารถได้ยิน ส่วนระดับสงู ตำ่ ของ
เสยี งเปน็ ความถ่ขี องเสยี งต่าง ๆ แหลง่ กำเนิด
เสียงตา่ ง ๆ จะใหเ้ สยี งที่มีลักษณะเฉพาะตวั ท่ี
ตา่ งกนั เรียกวา่ มคี ณุ ภาพเสยี งต่างกนั เสียงที่
มีระดบั เสยี งสงู หรือเสียงทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ ความ
รำคาญแกผ่ ู้ฟงั เป็นมลภาวะของเสยี ง

มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ (สสวท.) สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่นิ

7. ทดลองและอธิบายการเกิด - เมอื่ กระตุ้นใหว้ ัตถสุ น่ั แล้วหยุดกระตนุ้ วตั ถุ
การสนั่ พ้องของอากาศในท่อ จะยงั คงสนั่ ตอ่ ไปด้วยความถ่ที เี่ รียกว่า ความถี่
ปลายเปดิ หนงึ่ ด้าน รวมทัง้ ธรรมชาติ ปรากฏการณ์ที่มีแรงกระทำให้วตั ถุ
สังเกตและอธบิ ายการเกิดบตี ส่นั หรอื แกว่ง โดยความถขี่ องแรงทีก่ ระทำให้
คลื่นนิ่ง ปรากฏการณด์ อป วตั ถสุ ัน่ หรือแกวา่ งเท่ากับความถธ่ี รรมชาติ
เพลอร์ คล่ืนกระแทกของเสยี ง ของวตั ถนุ ้ัน ทำใหว้ ัตถุสั่นดว้ ยแอมพลิจูดของ
คำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่ี การส่นั กวา้ งท่สี ดุ เรยี กวา่ การสั่นพ้อง
เกี่ยวข้อง และนำความรเู้ รอื่ ง - เสียงทำให้เกิดปรากฎการณ์ เช่น การบติ
เสยี งไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน คล่ืนนิ่ง การส่ันพอ้ ง ปรากฎการณด์ อปเพลอร์
ของเสียง เสียงสะท้อนกลบั และคล่นื กระแทก
8. ทดลองและอธิบายสมบัตกิ าร เปน็ ต้น และการนำความรูม้ าประยกุ ตใ์ ช้
แทรกสอดของแสงผา่ นสลติ คู่ ประโยชนด์ า้ นตา่ งๆ เชน่ การประมง
และเกรตตงิ สมบัติการ การแพทย์ ธรณวี ทิ ยา อุตสาหกรรม เป็นต้น
เลีย้ วเบนและการแทรกสอดของ เมือ่ แสงผ่านสลิตเด่ยี วและสลิตคู่ จะเกิดการ
แสงผ่านสลติ เด่ียว รวมท้งั เลย้ี วเบนและการแทรกสอด ทำให้เกิดแถบ
คำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่ี มืดแถบสว่างบนฉากซึง่ อธบิ ายไดโ้ ดยใชห้ ลัก
เกย่ี วขอ้ ง ของฮอยเกนส์ และหาตำแหน่งของแถบตา่ งๆ
ได้ สลติ ทีม่ จี ำนวนชอ่ งมาก ระยะหา่ งระหว่าง
9. ทดลองและอธิบายการ ชอ่ งมีค่าน้อยและเทา่ กนั เรียกว่า เกรตตงิ ใช้
สะท้อนของแสงที่ผวิ วตั ถุตามกฎ สำหรับหาความยาวคลนื่ ของแสงและศึกษา
การสะท้อน เขียนรงั สีของแสง การเลยี้ วเบนและการแทรกสอดของแสง
และคำนวณตำแหนง่ และขนาด เมอ่ื แสงตกกระทบผวิ วัตถุ จะเกดิ การสะท้อน
ภาพของวตั ถเุ มือ่ แสงตกกระทบ ซ่ึงเปน็ ไปตามกฎการสะทอ้ นของแสง วัตถทุ ่ี
กระจกเงาราบและกระจกเงา อยหู่ น้ากระจกเงาราบและกระจกเงาโคง้ ทรง
ทรงกลม รวมทั้งอธิบายการนำ กลม จะเกดิ ภาพ โดยตำแหนง่ ขนาด และ
ความรเู้ รื่องการสะท้อนของแสง ชนิดของภาพที่เกิดข้นึ หาไดจ้ ากการเขยี น
จากกระจกเงาราบและกระจก ภาพของรงั สีแสงหรือการคำนวณจากสมการ
เงาทรงกลมไปใช้ประโยชน์ใน กระจกเงา
ชีวิตประจำวนั
10. ทดลองและอธบิ ายความ เม่อื แสงเคล่ือนที่ผ่านผิวรอยตอ่ ของตัวกลาง
สัมพันธ์ระหวา่ งดรรชนหี ักเห สองตัวกลาง จะเกดิ การหกั เหซงึ้ เปน็ ไปตาม
มุมตกกระทบ และมมุ หักเห กฎการหักเหของแสง สำหรบั ตัวกลางคู่หนึง่
รวมทั้งอธิบายความสมั พันธ์ อตั ราสว่ นระหว่างไซนข์ องมุมตกกระทบกับ
ระหวา่ งความลึกจรงิ และความ ไซนข์ องมมุ หกั มีคา่ คงตัว ซง่ึ เป็นไปตามกฎ
ลึกปรากฏ มุมวกิ ฤตและการ ของสเนลล์ การหกั เหของแสงทำใหภ้ าพของ
สะท้อนกลับหมดของแสง และ วัตถมตี ำแหนง่ ไม่ตรงกับตำแหนง่ ของวตั ถุ
คำนวณปรมิ าณต่าง ๆ และทำให้เกิดการสะทอ้ นกลับหมด

มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ (สสวท.) สาระการเรียนรทู้ ้องถ่ิน
เมอ่ื วางวัตถุหนา้ เลนส์บางจะเกิดภาพของวัตถุ
11. ทดลองและเขยี นรังสขี อง โดยตำแหนง่ ขนาด และชนดิ ของภาพที่เกดิ
แสงเพื่อแสดงภาพท่ีเกดิ จาก จากเลนสบ์ าง หาไดจ้ ากการเขียนภาพของ
เลนส์บาง หาตำแหน่ง ขนาด รงั สแี สงหรือการคำนวณจากสมการเลนสบ์ าง
ชนดิ ของภาพ และความสมั พันธ์
ระหวา่ งระยะวัตถุ ระยะภาพ หลกั การสะท้อนและหักเหของแสงใช้อธิบาย
และความยาวโฟกสั รวมทั้ง ปรากฎการณท์ ่ีเกยี่ วกบั แสง เชน่ การกระจาย
คำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ที่ แสง รุง้ การทรงกลด และมริ าจ
เกี่ยวขอ้ ง และอธิบายการนำ
ความรู้เรือ่ งการหกั เหของแสง
ผ่านเลนส์บางไปใชป้ ระโยชนใ์ น
ชีวติ ประจำวัน
12. อธบิ ายปรากฏการณ์
ธรรมชาตทิ ่เี กย่ี วกับแสง เชน่ รุ้ง
การทรงกลด มริ าจ และการเหน็
ท้องฟา้ เปน็ สีตา่ ง ๆ ในชว่ งเวลา
ต่างกัน

13. สังเกตและอธบิ ายการ แสงเปน็ พลังงานท่ีทำใหเ้ กิดความสว่างบน การจัดสภาพแวดลอ้ ม
มองเหน็ แสงสี สขี องวัตถุ การ พนื้ ท่ีแสงตกกระทบ อัตราพลังงานแสงท่ีตก ในห้องเรยี นให้
ผสมสารสี และการผสมแสงสี บนพนื้ ที่ตอ่ หน่ึงหน่วยพน้ื ท่ตี ้งั ฉากทร่ี บั แสง เหมาะสม ช่วยให้การ
รวมทัง้ อธิบายสาเหตุของการ เรยี กวา่ ความสว่าง มีหนว่ ย ลักซ์ การจดั เรียนรเู้ กิดข้ึนได้อยา่ งมี
บอดสี ความสว่างทเี่ หมาะสม ในสถานทตี่ ่างๆ จะ ประสิทธภิ าพ แสงสว่าง
ชว่ ยประหยดั พลังงานและช่วยถนอมสายตา ถอื เป็นปจั จัยหนึง่ ทเี่ ออ้ื
การมองเห็นสีขึ้นอย่กู บั เซลล์รปู กรวยซ่ึงเป็น ต่อการเรียนรขู้ อง
เซลล์รับแสงชนิดหนึง่ บนจอตาและยังข้ึนอยู่ ผเู้ รยี น ในหอ้ งเรียนควร
กบั แสงสที ่ีตกกระทบวัตถุและสารสบี นวัตถุ จัดใหม้ ีแสงสว่าง
โดยสารสจี ะดดู กลืนบางแสงสีและสะท้อนบาง เหมาะสมสำหรบั การ
แสงสี อ่าน

รายวิชาเพิม่ เติม คำอธบิ ายรายวิชา
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 รหัสวิชา ว30203 ฟิสกิ ส์เพ่ิมเตมิ 3

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์
จำนวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาการเคลื่อนท่ีแบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของวัตถุติดปลายสปริงและลูกตุ้มอย่างง่าย ความถ่ี
ธรรมชาติของวัตถุและการเกิดการสั่นพ้อง องคประกอบและการเคล่ือนที่ของคลื่น สมบัติของคล่ืน ธรรมชาติ
ของเสียง สมบตั ิของคลื่นเสยี ง ความเข้มของเสยี งและมลพิษทางเสียง การสั่นพองของเสยี ง บีต ปรากฏการณ
ดอปเพลอร คลื่นกระแทกของเสียง สมบัติการเลี้ยวเบนและการแทรกสอดของแสง การสะท้อนของแสง ภาพ
ทเี่ กดิ กระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลม การหักเหของแสง ความลึกจริงและความลึกปรากฏ มุมวิกฤตและ
การสะท้อนกลบั หมดของแสง ภาพทเี่ กดิ จากเลนส์บาง ปรากฏการณ์ธรรมชาติทีเ่ กีย่ วกับแสง การมองเหน็ แสงสี
สีของวตั ถุ การผสมสารสี และการผสมแสงสี โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ
สำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสือ่ สาร
สิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม
คุณธรรม และค่านยิ มทเ่ี หมาะสม

ผลการเรียนรู้
1. ทดลองและอธิบายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของวตั ถุติดปลายสปริงและลูกตุม้ อยา่ งง่าย
รวมทง้ั คำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
2. อธบิ ายความถธี่ รรมชาติของวัตถุและการเกดิ การสัน่ พ้อง
3. อธิบายปรากฏการณ์คล่ืน ชนิดของคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น การแผ่ของหน้าคล่ืนด้วยหลักการ
ของฮอยเกนส์ และการรวมกันของคล่ืนตามหลักการซ้อนทับ พร้อมท้ังคำนวณอัตราเร็ว ความถี่
และความยาวคลืน่
4. สังเกตและอธิบายการสะท้อน การหักเห การแทรกสอด และการเลี้ยวเบนของคล่ืนผิวน้ำ รวมท้ัง
คำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วข้อง
5. อธิบายการเกิดเสียง การเคล่ือนที่ของเสียง ความสัมพันธ์ระหว่างคล่ืนการกระจัดของอนุภาคกับ
คล่ืนความดัน ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็วของเสียงในอากาศที่ข้ึนกับอุณหภูมิในหน่วยองศา
เซลเซียส สมบัติของคลื่นเสียง ได้แก่ การสะท้อน การหักเห การแทรกสอด การเล้ียวเบน รวมท้ัง
คำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ที่เก่ยี วข้อง
6. อธิบายความเข้มเสียง ระดับเสียง องค์ประกอบของการได้ยิน คุณภาพเสียง และมลพิษทางเสียง
รวมทั้งคำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
7. ทดลองและอธิบายการเกิดการส่ันพ้องของอากาศในท่อปลายเปิดหนึ่งด้าน รวมท้ังสังเกตและ
อธิบายการเกิดบีต คล่นื นิ่ง ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ คล่ืนกระแทกของเสียง คำนวณปริมาณต่าง ๆ
ทเี่ กีย่ วข้อง และนำความรู้เร่อื งเสียงไปใชใ้ นชีวติ ประจำวัน
8. ทดลองและอธิบายสมบตั ิการแทรกสอดของแสงผา่ นสลิตคแู่ ละเกรตตงิ สมบัติการเลี้ยวเบนและการ
แทรกสอดของแสงผา่ นสลิตเด่ยี ว รวมท้ังคำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง

9. ทดลองและอธิบายการสะท้อนของแสงท่ีผิววัตถุตามกฎการสะท้อน เขียนรังสีของแสงและคำนวณ
ตำแหน่งและขนาดภาพของวัตถุเมื่อแสงตกกระทบกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลม รวมทั้ง
อธิบายการนำความรู้เร่ืองการสะท้อนของแสงจากกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลมไปใช้
ประโยชน์ในชวี ิตประจำวนั

10. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างดรรชนีหักเห มุมตกกระทบ และมุมหักเห รวมท้ังอธิบาย
ความสัมพันธ์ระหว่างความลึกจริงและความลึกปรากฏ มุมวิกฤตและการสะท้อนกลับหมดของแสง
และคำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ทเี่ กี่ยวข้อง

11. ทดลองและเขียนรังสีของแสงเพ่ือแสดงภาพที่เกิดจากเลนส์บาง หาตำแหน่ง ขนาด ชนิดของภาพ
และความสมั พันธ์ระหวา่ งระยะวัตถุ ระยะภาพและความยาวโฟกัส รวมท้ังคำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ที่
เกี่ยวข้อง และอธิบายการนำความรู้เรื่องการหักเหของแสงผ่านเลนส์บางไปใช้ประโยชน์ใน
ชีวติ ประจำวนั

12. อธิบายปรากฏการณธ์ รรมชาตทิ ี่เก่ียวกบั แสง เช่น ร้งุ การทรงกลด มิราจ และการเห็นทอ้ งฟ้าเป็นสี
ตา่ ง ๆ ในช่วงเวลาต่างกัน

13. สังเกตและอธิบายการมองเห็นแสงสี สีของวัตถุ การผสมสารสี และการผสมแสงสี รวมท้ังอธิบาย
สาเหตขุ องการบอดสี

รวมทั้งหมด 13 ผลการเรียนรู้

รายวชิ าเพิ่มเติม โครงสรา้ งรายวิชา
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 รหัสวชิ า ว30203 ฟิสิกส์เพ่ิมเติม3

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์
จำนวน 60 ชัว่ โมง 1.5 หนว่ ยกิต

ลำดบั ชือ่ หน่วย มาตรฐานการเรียนร้/ู สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั
(ชว่ั โมง) คะแนน
ที่ การเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้
15
1 คลื่น 1, 2, 3, 4 - การเคลอ่ื นท่ีแบบฮารม์ อนิก 16
2 เสยี ง 14 15
3 แสง อยา่ งงา่ ย 30
20
- การเกดิ การสัน่ พ้อง 30

- องคประกอบและการเคลื่อนทีข่ อง 20
100
คล่ืน

- สมบัติของคล่ืน

5, 6, 7 - ธรรมชาตขิ องเสียง

- สมบัตขิ องคลนื่ เสียง

- ความเขม้ ของเสียงและมลพิษทาง

เสียง

- การสนั่ พองของเสยี ง บตี ส ปรากฏ

การณดอปเพลอร

- คลน่ื กระแทกของเสียง

สอบกลางภาค

8, 9, 10, 11, 12, 13 - สมบัตกิ ารเลย้ี วเบนและการแทรก

สอดของแสง

- การสะทอ้ นของแสง

- ภาพทเี่ กิดกระจกเงาราบและกระจก

เงาทรงกลม

- การหักเหของแสง

- ความลกึ จริงและความลกึ ปรากฏ

- มมุ วกิ ฤตและการสะท้อนกลับหมด

ของแสง

- ภาพท่เี กิดจากเลนส์บาง

- ปรากฏการณ์ธรรมชาตทิ ่ีเก่ียวกับแสง

- การมองเหน็ แสงสี

- การผสมสารสี และการผสมแสงสี

สอบปลายภาค

รวมตลอดภาคเรยี น 60

รายวิชาเพิ่มเติม กำหนดการสอนรายวชิ า
ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 5 รหัสวชิ า ว30203 ฟิสิกส์เพิ่มเตมิ 3

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์
จำนวน 60 ชวั่ โมง 1.5 หน่วยกิต

สัปดาห์ หนว่ ยการเรียนรู้/ สาระ จำนวน กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ภาระงาน น้ำหนกั
ที่ แผนการเรยี นรู้ การเรียนรู้ คะแนน
1 ปฐมนิเทศ - ช่วั โมง
1-2 -
หน่วยท่ี 1 คลนื่ การ 1 ผลการเรียนรู้ การวัดประเมินผล - 3
2 แผนการจดั การ เคลื่อนที่
เรียนรู้ เรื่อง การ แบบฮาร์ วเิ คราะหผ์ ู้เรียน 2
เคลือ่ นท่ีแบบฮาร์ มอนกิ อ
มอนิกอยา่ งงา่ ย ย่างง่าย 3 การจัดการเรียนร้แู บบสบื เสาะหา 1. ใบกจิ กรรมการ

หน่วยท่ี 1 คลื่น คลน่ื น่ิงใน ความร้แู บบวัฏจักรการเรยี นรู้ ทดลอง เรื่อง การ
แผนการจัดการ เส้นเชือก
เรียนรู้ เรือ่ ง คลืน่ 5 ขนั้ (5Es) บูรณาการกบั หลัก เคลอื่ นทีแ่ บบฮาร์
นงิ่ ในเสน้ เชือกและ
การสั่นพ้อง ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มอนิกอยา่ งง่าย

- ทำการทดลองเพื่อสังเกตการ 2. ใบงาน เรื่อง

เคลอื่ นที่ของวัตถตุ ิดปลายสปริง การเคลือ่ นที่แบบ

และลูกต้มุ อย่างง่าย ฮารม์ อนิกอย่างง่าย

- อภิปรายเพอ่ื สรุปลักษณะการ

เคลื่อนทีแ่ บบฮาร์มอนิกอยา่ งงา่ ย

- คำนวณปริมาณที่เกย่ี วข้องกับการ

เคลื่อนทแ่ี บบฮาร์มอนิกอยา่ งงา่ ย

2 การจัดการเรียนรู้แบบสบื เสาะหา ใบงาน เรื่อง การ

ความรแู้ บบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 สน่ั พอ้ งของคลนื่

ขัน้ (5Es)

- สาธิตคล่ืนนิ่งในถาดคลื่น

- อภิปรายและสรปุ ลักษณะและ

การเกดิ คลน่ื นงิ่

- สงั เกตลกั ษณะของคลืน่ ที่

เปลีย่ นแปลงไปเม่ือเปล่ยี นความตึง

ของเชือก ครใู หน้ ักเรยี นวเิ คราะห์

วา่ คลนื่ นงิ่ ทเี่ กดิ ขึ้นมคี วามสมั พันธ์

อยา่ งไรกบั ความยาวเชอื กและ

ความตงึ เชอื ก

- คำนวณปรมิ าณที่เกีย่ วข้องกับการ

สนั่ พ้องของคล่นื

สปั ดาห์ หน่วยการเรยี นรู้/ สาระ จำนวน กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ภาระงาน น้ำหนกั
ท่ี แผนการเรียนรู้ คะแนน
3 หนว่ ยท่ี 1 คลน่ื การเรยี นรู้ ชั่วโมง
แผนการจดั การ 2
3 เรียนรู้ เรอ่ื ง 1.การเกดิ 2 การจดั การเรียนรู้แบบสบื เสาะหา 1.แผนผังความคิด
4 องคป์ ระกอบและ 2
การเคลือ่ นทข่ี อง คลืน่ ความรู้แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 5 เร่ือง คล่ืน 2
คลน่ื
2.ชนดิ ของ ข้ัน (5Es) 2. ใบงาน เร่ือง
หน่วยที่ 1 คลืน่
แผนการจัดการ คลนื่ - สาธติ การสะบดั เชือกทม่ี ีเม็ดโฟ คลื่นกล
เรียนรู้ เรอ่ื ง การ
สะท้อนของคล่นื 3. สว่ น มติดอยู่ใหเ้ กิดคล่ืนในเส้นเชอื ก

หน่วยที่ 1 คลน่ื ประกอบ สังเกตการเคล่ือนท่ีของเม็ดโฟม
แผนการจัดการ
เรียนรู้ เร่ือง การ ของคล่ืน และเสน้ เชอื ก อภปิ รายและสรุป
หกั เหของคล่ืน
การเคลือ่ นทขี่ องคลื่น

- สาธติ การเกดิ คล่นื ตามยาวและ

คล่นื ตามขวางโดยใช้ขดลวดสปรงิ

สรุปความแตกต่างของคลน่ื

ตามยาวและคลนื่ ตามขวาง

- สาธิตการเกิดคลน่ื ผวิ น้ำโดยใช้

ถาดคลื่น สังเกตการกระจดั สัน

คลน่ื ท้องคลืน่ ความยาวคล่ืน และ

แอมพลจิ ดู สรปุ ความร้เู กี่ยวกับ

อตั ราเร็ว ความถ่ี และความยาว

คลน่ื

- คำนวณอตั ราเรว็ ความถี่ และ

ความยาวคลื่น

การ 1 การจัดการเรียนร้แู บบสบื เสาะหา 1. ใบกิจกรรมการ

สะทอ้ น ความรู้แบบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 5 ทดลอง เรอ่ื ง การ

ของคลน่ื ข้นั (5Es) สะท้อนของคลนื่

- ทดลองการสะท้อนของคลื่น 2. เกมคำถาม

อภิปรายและสรุปกฎการสะท้อน คำตอบ

- เกมคำถามคำตอบ

การหกั เห 2 การจัดการเรียนรูแ้ บบสืบเสาะหา 1. ใบกจิ กรรมการ

ของคลื่น ความรู้แบบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 5 ทดลอง เร่อื ง การ

ขัน้ (5Es) หักเหของคล่นื

- ทดลองการหักเหของคลนื่ 2. ใบงาน เรื่อง

อภปิ รายและสรุปกฎของสเนลล์ การหกั เหของคล่ืน

- คำนวณปริมาณท่ีเก่ียวข้องกับการ

หักเหของคล่นื

สปั ดาห์ หน่วยการเรยี นรู้/ สาระ จำนวน กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ภาระงาน น้ำหนกั
ท่ี แผนการเรียนรู้ การเรยี นรู้ คะแนน
4-5 หน่วยท่ี 1 คลนื่ การแทรก ชั่วโมง
แผนการจดั การ สอดของ 2
5 เรียนรู้ เรอ่ื ง การ คลืน่ 2 การจดั การเรยี นรู้แบบสบื เสาะหา 1. ใบกิจกรรมการ
แทรกสอดของคลน่ื 2
5-6 การ ความรูแ้ บบวฏั จักรการเรียนรู้ 5 ทดลอง เร่ือง การ
หนว่ ยท่ี 1 คล่นื เลยี้ วเบน 2
6 แผนการจัดการ ของคลนื่ ขั้น (5Es) แทรกสอดของคล่นื
เรียนรู้ เรอื่ ง การ 2
เลี้ยวเบนของคล่นื ธรรมชาติ - ทดลองการแทรกสอดของคลน่ื 2. ใบงาน เรอื่ ง
และ
หนว่ ยที่ 2 เสียง อัตราเร็ว อภิปรายและสรุปการแทรกสอด การแทรกสอดของ
แผนการจัดการ ของเสียง
เรียนรู้ เรอ่ื ง ของคล่ืน คลนื่
ธรรมชาตแิ ละ สมบตั ขิ อง
อตั ราเรว็ ของเสยี ง เสียง - คำนวณปริมาณท่ีเก่ียวข้องกับการ

หนว่ ยท่ี 2 เสียง แทรกสอดของคลืน่
แผนการจดั การ
เรียนรู้ เรื่อง สมบัติ 1 การจัดการเรยี นรแู้ บบสบื เสาะหา 1. ใบกจิ กรรมการ
ของเสียง
ความรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ทดลอง เร่ือง การ

ขนั้ (5Es) เลีย้ วเบนของคล่ืน

- ทดลองการเลี้ยวเบนของคลน่ื 2. ใบงาน เร่ือง

อภปิ รายและสรปุ การเลย้ี วเบนของ การเลย้ี วเบนของ

คล่นื คลนื่

- คำนวณปริมาณท่ีเก่ียวข้องกับการ

เล้ียวเบนของคลื่น

2 การจัดการเรียนรแู้ บบสืบเสาะหา 1. ใบงาน เรื่อง

ความรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 5 อตั ราเรว็ ของเสยี ง

ขั้น (5Es)

- อภปิ รายและสรุปการเกดิ เสียง

- ออกแบบวิธกี ารวัดอัตราเร็วเสียง

- ดวู ิดโี อ เรอื่ ง เสียงเดนิ ทางไดเ้ รว็

แคไ่ หน สรุปอตั ราเรว็ ของเสียง

- คำนวณปริมาณท่ีเกย่ี วข้องกับ

อตั ราเรว็ ของเสียง

1 การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหา 1. ใบงาน เรื่อง

ความรแู้ บบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 5 สมบัตขิ องเสียง

ขั้น (5Es)

- ดวู ิดีโอเรอื่ ง คา้ งคาวออกหากนิ

ยามค่ำคืน และโซนารห์ มอดูแมน่ ๆ

ของชาวประมง

- อภิปรายและสรุปการประยุกตใ์ ช้

สมบัตขิ องเสยี ง

- คำนวณปรมิ าณท่ีเกยี่ วข้องกับ

สมบตั ขิ องเสียง

สปั ดาห์ หน่วยการเรยี นรู้/ สาระ จำนวน กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ภาระงาน นำ้ หนกั
ท่ี คะแนน
7 แผนการเรียนรู้ การเรียนรู้ ชว่ั โมง
2
8 หนว่ ยที่ 2 เสยี ง 1. ความ 3 การจดั การเรียนรแู้ บบสืบเสาะหา ใบงาน เรื่อง ความ
3
8 แผนการจดั การ เข้มเสยี ง ความร้แู บบวัฏจกั รการเรียนรู้ 5 เข้มเสียง
3
เรียนรู้ เร่อื ง ความ 2. ระดบั ขัน้ (5Es)

เขม้ เสยี งและระดบั ความเขม้ - เปิดเสียงจากลำโพงทีว่ างอยู่หน้า

ความเข้มเสยี ง เสียง ห้องเรยี น อภิปรายและสรุปปัจจัย

ท่สี ง่ ผลตอ่ การไดย้ ินเสียงดงั -เบา

- สบื คน้ ขอ้ มูลเกีย่ วกบั การเปล่ียน

ความเขม้ เสยี งเปน็ ระดบั ความเขม้

เสยี ง

- คำนวณปรมิ าณท่ีเกยี่ วข้องกับ

ความเข้มเสียง ระดบั ความเข้มเสียง

หน่วยท่ี 2 เสยี ง มลภาวะ 2 การจัดการเรยี นรู้ตามแนวทางสะ ใบกิจกรรม เร่ือง

แผนการจดั การ ทางเสียง เต็มศึกษา บูรณาการกับ ฉนวนป้องกันเสียง

เรยี นรู้ เรื่อง ฉนวน สงิ่ แวดล้อมในท้องถน่ิ

ป้องกันเสียง - ระดมความคิดเก่ยี วกับปัญหา

เสียงท่ีพบในชุมชน

- ใช้สถานการณ์ปัญหาเสียงจาก

โรงงานอุตสาหกรรม ใหน้ ักเรียน

ศกึ ษาและออกแบบวัสดุทจี่ ะทำ

ฉนวนป้องกนั เสียงสำหรับใชใ้ นการ

บผุ นงั บ้านเรือนในชมุ ชนท่ปี ระสบ

ปัญหาเสียงรบกวนจากโรงงาน

อตุ สาหกรรม

หนว่ ยที่ 2 เสียง ระดับเสียง 2 การจดั การเรียนรู้ตามแนวทางสะ ใบกิจกรรม เร่ือง

แผนการจัดการ เตม็ ศกึ ษา รวมวงบรรเลงเปน็

เรยี นรู้ เรื่อง รวมวง - ทดลองวัดความถี่เสียงตวั โนต้ เพลง

บรรเลงเป็นเพลง ดนตรขี องขลุ่ย

- อภิปรายและสรปุ อตั ราสว่ นเทยี บ

C ชองความถีโ่ นต้ ดนตรี

- นำความรู้เรอื่ งคล่ืนนิ่งมาอธิบาย

การเกดิ เสยี งของเครื่องดนตรีตา่ งๆ

- ออกแบบและประดิษฐเ์ คร่อื ง

ดนตรีโดยใช้ความรู้เร่ืองคล่นื นง่ิ ใน

ท่อปลายปดิ หรือท่อปลายเปดิ และ

ระดบั เสียง

สปั ดาห์ หน่วยการเรยี นรู้/ สาระ จำนวน กระบวนการจดั การเรียนรู้ ภาระงาน น้ำหนัก
ที่ แผนการเรยี นรู้ คะแนน
9 หน่วยที่ 2 เสียง การเรยี นรู้ ช่วั โมง
แผนการจดั การ 2
10 เรียนรู้ เร่ือง 1.บืตส์ 4 การจัดการเรยี นร้แู บบสืบเสาะหา 1. ใบงาน เรื่อง
11 ปรากฎการณ์ของ 20
เสียง 2. ดอป ความรแู้ บบวัฏจกั รการเรียนรู้ 5 ปรากฎการณ์ของ 2
11
หน่วยที่ 3 แสง เพลอร์ ขั้น (5Es) เสียง 2
แผนการจัดการ
เรยี นรู้ เรอื่ ง การ 3. คล่นื - อภิปรายเกี่ยวกับการได้ยินเสยี ง
แทรกสอดของแสง
กระแทก จากแหล่งกำเนิดเสยี งท่ีอยู่นงิ่ และ
หน่วยท่ี 3 แสง
แผนการจัดการ กำลังเคลอ่ื นที่
เรยี นรู้ เรอ่ื ง การ
เลย้ี วเบนของแสง - สรุปเก่ยี วกับปรากฎการณ์ดอป

เพลอร์

- เปิดเสียงจากลำโพง 2 ตวั ท่ีมคี า่

ความเสยี งแตกต่างกันเลก็ นอ้ ย

อภิปรายเกีย่ วกับเสียงที่ไดย้ นิ เพ่อื

สรปุ เก่ียวกับบีตสข์ องเสียง

- ดวู ดิ ีโอเครือ่ งบนิ F16 เพอื่

อภปิ รายเก่ียวกับคลื่นกระแทก

สอบกลางภาคเรียน

การแทรก 2 การจัดการเรยี นรู้แบบสืบเสาะหา 1. ใบกจิ กรรมการ

สอดของ ความรแู้ บบวัฏจกั รการเรียนรู้ 5 ทดลอง เรื่อง การ

แสง ข้นั (5Es) แทรกสอดของแสง

- ทดลองการแทรกสอดของแสง 2. ใบงาน เรอื่ ง

อภิปรายและสรุปการแทรกสอด การแทรกสอดของ

ของแสง แสง

- คำนวณปรมิ าณที่เกีย่ วข้องกับการ

แทรกสอดของแสง

การ 2 การจัดการเรยี นรแู้ บบสืบเสาะหา 1. ใบกิจกรรมการ

เลยี้ วเบน ความรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ทดลอง เร่ือง การ

ของแสง ขนั้ (5Es) เลยี้ วเบนของแสง

- ทดลองการเลยี้ วเบนของแสง 2. ใบงาน เรอ่ื ง

อภิปรายและสรปุ การเลยี้ วเบนของ การเล้ยี วเบนของ

แสง แสง

- คำนวณปรมิ าณที่เกย่ี วข้องกับการ

เล้ยี วเบนของแสง

สปั ดาห์ หนว่ ยการเรยี นรู้/ สาระ จำนวน กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ภาระงาน น้ำหนกั
ที่ แผนการเรียนรู้ การเรยี นรู้ ชวั่ โมง คะแนน
12 หน่วยที่ 3 แสง การ 1.บัตรคำถามก่อน
แผนการจดั การ สะทอ้ น 2 การจดั การเรียนรู้แบบสบื เสาะหา เรยี น เรื่อง การ 2
12 เรียนรู้ เรือ่ ง การ ของแสง ความรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 สะทอ้ นของแสง
สะทอ้ นของแสง ข้นั (7Es) 2.ใบกจิ กรรม เร่ือง 2
13 ภาพทเ่ี กิด - กิจกรรมการทดลองเรื่อง ผวิ ของ ผิวของวัตถกุ บั การ
หน่วยท่ี 3 แสง จาก วตั ถุกบั การสะท้อนของแสง สะทอ้ นของแสง 2
แผนการจัดการ กระจกเงา - อภิปรายและสรุปการสะทอ้ นของ 3. ใบกจิ กรรม เรอ่ื ง
เรียนรู้ เรอื่ ง ภาพท่ี ราบ แสง กฎการสะท้อนแสง
เกิดจากกระจกเงา - กิจกรรม เร่อื ง เดง้ ไปเด้งมา 4.ใบกิจกรรม เร่ือง
ราบ ภาพทีเ่ กิด เด้งไปเดง้ มา
จาก 1 การจดั การเรียนร้แู บบสืบเสาะหา 1. บตั รคำถามก่อน
หน่วยท่ี 3 แสง กระจกเงา ความรแู้ บบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 เรียน เรือ่ ง ภาพ
แผนการจดั การ โคง้ ขั้น (7Es) จากกระจกเงาราบ
เรยี นรู้ เรอื่ ง ภาพที่ - สังเกตและอภปิ รายสรุปเกย่ี วกบั 2.ใบกิจกรรม เร่ือง
เกิดจากกระจกเงา ภาพทเ่ี หน็ จากกระจกเงาราบ การหาตำแหน่ง
โค้ง - กจิ กรรมการทดลอง เร่ือง การ ภาพท่เี กิดจาก
เกิดภาพจากกระจกเงาราบ กระจกเงาราบ
- อภปิ รายเกี่ยวกับการการใช้ 3.ใบกจิ กรรม เร่ือง
ประโยชน์จากกระจกเงาราบ ภาพทเี่ กดิ จาก
กระจกเงาราบ
2 การจัดการเรยี นรแู้ บบสบื เสาะหา 4.ใบกิจกรรม เร่ือง
ความรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 การใชป้ ระโยชน์
ขน้ั (7Es) จากกระจกเงาราบ
- สังเกตและอภปิ รายสรปุ เกย่ี วกบั 1. บัตรคำถามกอ่ น
ภาพท่เี ห็นจากกระจกเงาโคง้ เรยี น เรื่อง ภาพท่ี
- กจิ กรรมการทดลอง เร่ือง เกดิ จากกระจกโคง้
คุณสมบตั ิของผิวสะท้อนโค้งนูน- 2. ใบกจิ กรรม เรื่อง
เว้า คุณสมบัติของผวิ
- อภิปรายเกี่ยวกับการการใช้ สะทอ้ นโค้งนนู -เว้า
ประโยชน์จากกระจกโค้ง 3. ใบกิจกรรม เรื่อง
ภาพที่เกิดจาก
กระจกโค้ง
4. ใบกิจกรรม เรอ่ื ง
การใชป้ ระโยชน์
จากกระจกโค้ง

สปั ดาห์ หน่วยการเรยี นรู้/ สาระ จำนวน กระบวนการจัดการเรียนรู้ ภาระงาน นำ้ หนัก
ท่ี แผนการเรียนรู้ การเรียนรู้ ช่วั โมง คะแนน
13 หนว่ ยท่ี 3 แสง การหกั เห 1. กระดาษใบเลก็
แผนการจดั การ ของแสง 1 การจัดการเรยี นรู้แบบสบื เสาะหา เร่อื ง การหักเหของ 2
14 เรียนรู้ เร่อื ง การ ความรแู้ บบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 แสง
หักเหของแสง ความลกึ ขนั้ (7Es) 2. ใบกิจกรรม เรื่อง 2
14 จริง ความ - กิจกรรมกระดาษใบเลก็ เรอื่ ง การหกั เหของแสง
หนว่ ยที่ 3 แสง ลกึ ปรากฏ การหกั เหของแสง 3. ใบกิจกรรม เรือ่ ง 2
แผนการจดั การ - กิจกรรมการทดลองเรื่อง การหกั ดรรชนีหักเหของ
เรียนรู้ เร่อื ง ความ 1. มุม เหของแสง แสง
ลกึ จริง ความลกึ วิกฤติ - คำนวณปรมิ าณท่ีเกีย่ วข้องกับ 4. ใบกจิ กรรม เรอ่ื ง
ปรากฏ 2.การ ดรรชนีหักเหของแสง ภาพมริ าจ
สะท้อน - อภิปรายปรากฎการณ์ท่เี กี่ยวขอ้ ง
หนว่ ยที่ 3 แสง กลบั หมด กบั การหักเหของแสง 1. บตั รคำถามกอ่ น
แผนการจดั การ เรยี น เร่อื ง ความ
เรยี นรู้ เรอื่ ง มุม 2 การจัดการเรยี นรูแ้ บบสบื เสาะหา ลกึ จริง ความลกึ
วกิ ฤติและการ ความรู้แบบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ปรากฏ
สะท้อนกลับหมด ขัน้ (7Es) 2. ใบกจิ กรรม เรอ่ื ง
- กจิ กรรม POE เรอ่ื ง เหรียญ เหรยี ญล่องหน
ลอ่ งหน 3. ใบกจิ กรรม เรื่อง
- สืบคน้ ขอ้ มูลเกี่ยวกบั ความลึกจริง ความลกึ จริง ความ
ความลกึ ปรากฏ ลึกปรากฏ
- กจิ กรรมตาดีได้ตารา้ ยเสีย 4. ใบกิจกรรม เรอ่ื ง
ตาดไี ด้ ตาร้ายเสยี
1 การจดั การเรยี นรู้แบบสืบเสาะหา 1. ใบกิจกรรม เรอ่ื ง
ความรู้แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 มุมวิกฤต
ขนั้ (7Es) 2. ใบกจิ กรรม เร่อื ง
- กิจกรรมการทดลองเรื่อง มุม การสะท้อนกลับ
วกิ ฤติ และการสะท้อนกลบั หมด หมด
- อภิปรายและสรปุ เก่ียวกบั มุม 3. ใบกิจกรรม เรอื่ ง
วกิ ฤติ และการสะท้อนกลบั หมด เส้นใยนำแสง
- อภปิ รายเกยี่ วกับการการใช้
ประโยชน์แสงในเสน้ ใยนำแสง

สปั ดาห์ หนว่ ยการเรยี นรู้/ สาระ จำนวน กระบวนการจัดการเรียนรู้ ภาระงาน น้ำหนกั
ท่ี แผนการเรยี นรู้ การเรยี นรู้ คะแนน
15 หน่วยที่ 3 แสง เลนส์นนู ชัว่ โมง
แผนการจดั การ 3
15 เรียนรู้ เร่อื ง ภาพ เลนสเ์ ว้า 3 การจัดการเรยี นรูแ้ บบสืบเสาะหา 1.บตั รคำถามก่อน
จากเลนสน์ นู 3
16 ความ ความรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 เรยี น เลนส์นนู
หน่วยท่ี 3 แสง ผิดปกติ 2
แผนการจัดการ ของการ ข้ัน (7Es) 2. ใบกจิ กรรม เรอ่ื ง
เรยี นรู้ เรอื่ ง ภาพท่ี มองเหน็
เกดิ จากเลนส์เว้า - กิจกรรมการทดลองเรื่อง สมบัติ สมบัตขิ องเลนสน์ ูน

หนว่ ยที่ 3 แสง ของเลนส์นูน 3. ใบกจิ กรรม เรอ่ื ง
แผนการจัดการ
เรยี นรู้ เร่อื ง ความ - อภปิ รายและสรปุ เกยี่ วกบั ภาพที่ การหกั เหของแสง
ผิดปกตขิ องการ
มองเหน็ เกดิ จากเลนสน์ ูน ผา่ นเลนส์นนู

- อภปิ รายเกย่ี วกบั การการใช้ 4. ใบกจิ กรรม เรอ่ื ง

ประโยชน์จากเลนส์นูน ภาพทีเ่ กดิ จากเลนส์

- คำนวณปรมิ าณท่ีเก่ียวข้องกับ นนู

ภารจากเลนส์นูน 5. ใบกจิ กรรม เรื่อง

การใช้ประโยชน์

จากเลนสน์ ูน

2 การจัดการเรียนร้แู บบสืบเสาะหา 1.บัตรคำถามกอ่ น

ความรู้แบบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 เรียน เร่อื ง เลนส์

ขน้ั (7Es) เว้า

- กจิ กรรมการทดลองเร่ือง สมบัติ 2. ใบกจิ กรรม

ของเลนส์เว้า เรื่อง สมบัติของ

- อภปิ รายและสรุปเกย่ี วกบั ภาพท่ี เลนส์เว้า

เกดิ จากเลนส์เว้า 3. ใบกิจกรรม

- อภปิ รายเก่ยี วกบั การการใช้ เรอ่ื ง ภาพที่เกดิ

ประโยชน์จากเลนส์เวา้ จากเลนสเ์ วา้

- คำนวณปริมาณท่ีเก่ียวข้องกับ

ภารจากเลนส์เว้า

2 การจัดการเรียนร้แู บบสบื เสาะหา ใบกิจกรรม เร่ือง

ความร้แู บบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 มองไกลไมช่ ัดเจน

ขนั้ (7Es)

- สืบค้นขอ้ มลู เก่ยี วกบั ความ

ผดิ ปกตขิ องการมองเห็น

- อภิปรายและสรุปเกี่ยวกบั ความ

ผดิ ปกตขิ องการมองเหน็

- ออกแบบแวน่ ตาสำหรบั คน

สายตาส้ันคนหนึ่งท่ีไม่สามารถ

มองเห็นวตั ถุทีอ่ ยู่ไกลเกิน 2.8 เมตร

ไดช้ ดั เจน

สปั ดาห์ หนว่ ยการเรียนรู้/ สาระ จำนวน กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ภาระงาน น้ำหนัก
ท่ี แผนการเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ชวั่ โมง แผนผังความคดิ คะแนน
หนว่ ยที่ 3 แสง ทัศน เร่อื ง ทัศนอปุ กรณ์
16 - 19 แผนการจดั การ อปุ กรณ์ 6 การจดั การเรียนรแู้ บบสบื เสาะหา 4
เรียนรู้ เร่ือง ทัศน ความรแู้ บบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ใบกจิ กรรม เรื่อง
19 อปุ กรณ์ ตาและ ขนั้ (7Es) ตาและการมองเหน็ 2
20 การ - สืบค้นขอ้ มลู เก่ียวทัศนอปุ กรณ์ สี 20
หนว่ ยท่ี 3 แสง มองเห็นสี ไดแ้ ก่ แว่นขยาย เคร่ืองฉายภาพนงิ่
แผนการจัดการ กลอ้ งถ่ายรปู กล้องจุลทรรศน์
เรียนรู้ เร่อื ง ตา กลอ้ งโทรทรรศน์
และการมองเห็นสี - นำเสนอผลการสบื คน้ ข้อมูลหนา้
ช้ันเรยี น
- สรุปหลักการทำงานของทศั น
อปุ กรณ์แต่ละชนิด

2 การจดั การเรยี นรแู้ บบสบื เสาะหา
ความรแู้ บบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7
ข้นั (7Es)
- กิจกรรมฐานการเรียนรู้ เรื่อง ตา
และการมองเห็นสี

สอบปลายภาคเรยี น













หนว่ ยการเรยี นรู้

รายวชิ าฟสิ กิ สเ์ พม่ิ เตมิ 3 รหัสวชิ า ว30203
ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5

หน่วยการเรียนรู้

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 เรอ่ื ง คลนื่ เวลา 16 คาบเรียน

รายวชิ า ฟิสิกส์เพม่ิ เติม 3 รหสั วชิ า ว30203 จำนวน 60 ชั่วโมง 1.5 หนว่ ยกิต

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต การเปล่ียนรูปพลังงาน

ปฏิสมั พันธ์ระหวา่ งสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานตอ่ ชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะ

หาความรู้ สอ่ื สารส่งิ ท่เี รยี นรู้และนำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์

2. ผลการเรยี นรู้
1. ทดลองและอธิบายการเคล่ือนทีแ่ บบฮารม์ อนิกอย่างง่ายของวตั ถุติดปลายสปริงและลูกต้มุ อย่าง

งา่ ย รวมท้ังคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2. อธิบายความถ่ธี รรมชาติของวตั ถุและการเกดิ การส่ันพ้อง
3. อธิบายปรากฏการณ์คล่นื ชนิดของคล่ืน สว่ นประกอบของคลืน่ การแผ่ของหนา้ คล่นื ด้วย

หลักการของฮอยเกนส์ และการรวมกันของคลื่นตามหลักการซอ้ นทบั พร้อมทง้ั คำนวณอัตราเร็ว ความถี่
และความยาวคล่นื

4. สังเกตและอธิบายการสะท้อน การหักเห การแทรกสอด และการเลี้ยวเบนของคลืน่ ผิวนำ้
รวมทั้งคำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ทีเ่ ก่ียวข้อง

3. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายเป็นการ เคลื่อนที่ของวัตถุที่กลับไปกลับมาซ้ำรอยเดิม

ผ่าน ตำแหน่งสมดุล โดยมีคาบและแอมพลิจูดคงตัว และมีการกระจัดจากตำแหน่งสมดุลที่เวลาใดๆ
คลื่นเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจากการถ่ายโอนพลังงานจากการรบกวนจากบริเวณหนึ่งไปสู่

อีกบริเวณหน่ึง โดยโมเลกุลของตัวกลางไม่เคลื่อนที่ตามไป การถ่ายโอนพลังงานของคลื่นสามารถแบ่ง
ได้เป็น 2 ลักษณะ คือ คลื่นที่อาศัยตัวกลางในการส่งผ่านพลังงาน เรียกว่าคล่ืนกล และคลื่นที่ไม่ต้อง
อาศัยตัวกลางในการส่งผ่านพลังงาน เรียกว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า นอกจากนี้ยังสามารถแบ่งคลื่นตาม
ลักษณะการส่ันของอนุภาคตัวกลางออกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ คลื่นตามยาวและคลื่นตามขวาง

เมื่อคล่ืนตั้งแต่ 2 คล่ืนข้ึนไปเคลื่อนท่ีมาพบกัน ณ ตำแหน่งหนึ่ง ขณะชั่วเวลาที่พบกัน จะเกิดการ
รวมตัวกันตามหลักพีชคณิตของเวกเตอร์ หลังจากนั้นก็จะผ่านเลยกันไปเหมือนไม่มีอะไรเกิดข้ึน หลักการ
รวมกันได้ของคล่ืน ถ้ามีคล่ืน 2 ขบวนหรอื มากกว่าเดินทางมาพบกัน การกระจัดของคล่ืนลัพธ์ (แอมพลิจูด
รวม) ทีต่ ำแหนง่ ใดๆ เทา่ กบั ผลบวกแบบเวกเตอรข์ องการกระจัดของคลืน่ ย่อยเหลา่ นัน้

การสะท้อนของคล่ืนเป็นปรากฏการณ์ท่ีสำคัญประการหนึ่งของคลื่น เกิดข้ึนเม่ือคลื่นเคลื่อนที่
ไปกระทบสิ่งกีดขวางแล้วเปลี่ยนทิศทางกลับสู่ตัวกลางเดิม ในการสะท้อนแต่ละครั้งพบว่ามุมที่หน้า
คล่ืนตกกระทบกระทำกับส่ิงกีดขวางจะเท่ากับมุมที่หน้าคล่ืนสะท้อนกระทำกับส่ิงกีดขวางเสมอ

การหักเหของคลื่น เกิดขึ้นเมื่อคลื่นมีการเปลี่ยนตัวกลางในการเคลื่อนที่ หรือคลื่นเคลื่อนที่

ผ่านรอยต่อระหว่างตัวกลางท่ีมีสมบัติต่างกัน มีผลทำให้อัตราเร็วและความยาวของคลื่นเปล่ียนไป

การแทรกสอดเป็นคุณสมบัติที่สำคัญประการหนึ่งของคลื่นที่แสดงถึงความแตกต่างระหว่าง
คลื่นกับอนุภาค โดยการแทรกสอดของคลื่น เกิดขึ้นเมื่อคลื่นจากแหล่งกำเนิดตั้งแต่สองแหล่งกำเนิด
ขึ้นไปเดินทางมาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่น จนเห็นเป็นแนวมืดและแนวสว่างสลับกัน

การเลี้ยวเบนของคลื่นเป็นคุณสมบัติที่สำคัญประการหนึ่งของคลื่นที่แสดงถึงความแตกต่าง
ระหว่างคล่ืนกับอนุภาค โดยการเลี้ยวเบนของคลื่น จะเกิดขึ้นเมื่อมีส่ิงกีดขวางมากั้นขวางการเคล่ือนที่
ของคล่ืนบางส่วน แล้วคล่ืนส่วนหนึ่งสามารถแผ่กระจายจากขอบของสิ่งกีดขวางไปทางด้านหลังของส่ิง
กีดขวางนั้นได้

คลื่นนิ่ง (Standing Waves) คือ ปรากฏการณ์ที่คล่ืนสองขบวน ที่มีความถี่ ความยาวคล่ืน
อตั ราเร็ว และแอมปลิจูดเท่ากัน เคล่ือนท่ีสวนทางกันเกิดการซ้อนทับกัน ทำให้เกดิ แนวเสริมและหักล้างกัน
ทำให้ได้ยินเสียงดัง – ค่อยสลับกันคงท่ีตลอดเวลา เช่น คลื่นในเส้นเชือกที่ปลายตึงทั้งสองข้างในแนวเส้น
เชอื กตำแหนง่ เสยี งดังเรยี กว่า ปฏบิ ัพ และตำแหน่งเสียงค่อยเรียกวา่ บัพ

4. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
4.1 ความรู้
1. อธิบายเกี่ยวกับการเคล่ือนท่ีแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ปริมาณท่ีเกี่ยวข้อง และการ
นำไปใช้ ประโยชน์ได้
2. อธิบายลักษณะการถ่ายโอนพลังงาน และการเคล่ือนที่ของคล่ืนได้
3. จำแนกประเภทของคลื่นได้
4. บอกสว่ นประกอบของคลืน่ และอธิบายความหมายของคาบ ความถ่ี ความยาวคลื่น
และบอกความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็วของคล่ืน ความถ่ีและความยาวคล่ืนได้
5. อธิบายการซ้อนทบั ของคลนื่
6. ใชห้ ลกั การซ้อนทับเขยี นภาพของคล่นื ใหมท่ เ่ี กิดจากการซ้อนทบั ของคลืน่ 2 ขบวน
7. บอกความหมายของการสะท้อนของคลน่ื ได้
8. ยกตัวอยา่ งเก่ียวกับการสะท้อนของคลื่นได้
9. บอกความสัมพันธ์ระหว่างไซน์ของมุมตกกระทบ ไซน์ของมุมหักเห ความยาวคล่ืนตก
กระทบ และความยาวคล่ืนหักเห และใช้ความสัมพันธ์ดังกล่าวแก้ปัญหาสถานการณ์ท่ี
กำหนดให้ได้
10. บอกความสัมพันธ์ระหว่าง ความยาวคล่ืนตกกระทบ ความยาวคล่ืนหักเห อัตราเร็วของ
คล่ืนตกกระทบ อัตราเร็วของคล่ืนหักเห และใช้ความสัมพันธ์ดังกล่าว แก้ปัญหา
สถานการณท์ ก่ี ำหนดใหไ้ ด้
11. บอกความหมายของปรากฏการณ์การแทรกสอดของคล่ืน การแทรกสอดแบบเสริม
การแทรกสอดแบบหกั ล้าง ตำแหน่งบพั ตำแหน่งปฏบิ ัพได้
12. นำความรู้เกี่ยวกับการแทรกสอดของคล่ืนไปแก้ปัญหาสถานการณ์การแทรกสอดของ
คลนื่ ทีก่ ำหนดใหไ้ ด้
13. บอกความหมายของปรากฏการณ์การเลย้ี วเบนของคลื่นได้
14. บอกความแตกต่างของภาพท่ีเกดิ จากการเลี้ยวเบนผ่านชอ่ งเปิดที่แคบกวา่ หรือเท่ากบั
ความยาวคลน่ื กับชอ่ งเปิดท่ีกวา้ งกวา่ ความยาวคลื่นได้

15. อธบิ ายการเกดิ คล่ืนนิง่ ของคลนื่ ผวิ นำ้ และคลน่ื นง่ิ ในเส้นเชอื ก
16. อธบิ ายการสั่นพอ้ งของคลื่น
4.2 ทักษะกระบวนการ
1. ทำการทดลองเพอ่ื สรปุ ลกั ษณะการเคลื่อนท่ีแบบฮาร์มอนิกอยา่ งงา่ ยได้
2. ทำการทดลองเพื่อสรุปเกี่ยวกับกฎการสะท้อนของคล่นื ได้
3. ทำการทดลองเพอื่ สังเกตปรากฏการณ์การหักเหของคล่นื น้ำได้
4. ทำการทดลองเพอ่ื สังเกตลวดลายการแทรกสอดของคลืน่ ได้
5. ทำการทดลองเพื่อศึกษาปรากฏการณก์ ารเล้ียวเบนของคลนื่ ผิวน้ำเมือ่ ผา่ นขอบส่ิงกีด

ขวาง และเม่ือผ่านช่องเปิด 1 ชอ่ ง ทีม่ ีความกวา้ งต่างๆ กัน
6. การปฏบิ ัตกิ จิ กรรมเป็นกลุ่ม
7. การคิด วิเคราะห์ และสังเคราะหค์ วามรู้อยา่ งสร้างสรรค์
8. การประยุกต์ใชค้ วามร้ใู นการแกป้ ัญหาตามสถานการณท์ ่ีกำหนดได้
4.3 คณุ ลกั ษณะ
1. เข้าเรยี น ปฏบิ ตั ิกจิ กรรม และส่งงานตรงเวลา (มวี นิ ยั )
2. ร่วมมือในการเรยี น แสวงหาความรู้ ตอบคำถาม ยอมรบั ความคดิ เหน็ ยกย่องผู้อื่น และ

แสดงความคิดเหน็ อยา่ งมเี หตุผล (ใฝ่เรียนร)ู้
3. ทำกิจกรรม และทำแบบฝึกหัดดว้ ยความซอ่ื สตั ย์ (ซอื่ สัตย์สุจรติ )
4. รกั ษาความสะอาดของผลงาน ห้องเรียน และสถานท่ปี ฏิบัติกิจกรรม (มีจติ สาธารณะ)

5. สมรรถนะสำคญั
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา

6. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. มีวนิ ยั
2. ใฝ่เรียนรู้
3. ซ่ือสตั ยส์ จุ ริต
4. มจี ติ สาธารณะ

7. ช้ินงาน/ภาระงาน
1. ใบงาน เรอ่ื ง การเคล่ือนทีแ่ บบฮารม์ อนิกอย่างง่าย
2. แผนผงั ความคิด เร่ือง การจำแนกประเภทของคลืน่
3. ใบงาน เรื่อง คล่ืนกล
4. ใบงาน เรอื่ ง การซ้อนทบั ของคล่ืน
5. ใบงาน เรื่อง การสะท้อนของคลน่ื
6. ใบกิจกรรม เรื่อง การสะท้อนของคล่ืน
7. ใบกจิ กรรม เรื่อง การหักเหของคล่นื
8. ใบงาน เรื่อง การหกั เหของคล่ืน
9. ใบกิจกรรม เร่ือง การแทรกสอดของคลนื่
10. ใบงาน เร่อื ง การแทรกสอดของคลื่น

11. ใบงาน เรือ่ ง การเลี้ยวเบนของคล่นื
12. ใบกจิ กรรม เร่ือง การเล้ียวเบนของคล่นื
13. ใบงาน เรอ่ื ง การสน่ั พ้องของคลื่น
8. สือ่ การเรียนร้/ู แหล่งเรยี นรู้

1. เกมจบั คสู่ ่วนประกอบต่าง ๆ ของคลืน่
2. ใบงาน เรอ่ื ง คลื่นกล
3. แผนผงั ความคดิ เรื่อง การจำแนกประเภทของคลน่ื
4. งานนำเสนอ PowerPoint เร่ือง ธรรมชาติของคลื่น
5. กระดาษใบเล็ก
6. ขดลวดสปรงิ
7. ใบงาน เร่ือง การซ้อนทับของคลน่ื
8. งานนำเสนอ PowerPoint เรื่อง การซ้อนทับของคลนื่
9. ชุดทดลองถาดคลน่ื
10. ใบงาน เรื่อง การสะท้อนของคล่ืน
11. ใบกิจกรรม เร่ือง การสะท้อนของคลน่ื
12. ใบความรู้ เร่อื ง การสะท้อนของคลนื่
13. งานนำเสนอ PowerPoint เรื่อง การสะทอ้ นของคล่นื
14. ชดุ ทดลองถาดคลื่น
15. ใบกจิ กรรม เร่ือง การหักเหของคลื่น
16. ใบงาน เรือ่ ง การหกั เหของคลืน่
17. งานนำเสนอ PowerPoint เร่ือง การหักเหของคลื่น
18. ชดุ ทดลองถาดคลืน่
19. ใบกจิ กรรม เร่ือง การแทรกสอดของคลื่น
20. ใบงาน เรอื่ ง การแทรกสอดของคลื่น
21. งานนำเสนอ PowerPoint เรื่อง การแทรกสอดของคล่ืน
22. ชดุ ทดลองถาดคลืน่
23. ใบงาน เร่อื ง การเล้ยี วเบนของคลื่น
24. ใบกจิ กรรม เรื่อง การเลีย้ วเบนของคลื่น
25. ใบความรู้ เร่ือง การเลย้ี วเบนของคล่ืน
26. งานนำเสนอ PowerPoint เรื่อง การเล้ียวเบนของคลืน่
27. เครือ่ งเคาะสญั ญาณเวลา
28. เชือก
29. ใบงาน เรือ่ ง การสัน่ พ้องของคลื่น
30. งานนำเสนอ PowerPoint เร่ือง คลืน่ นิ่งและการสั่นพอ้ ง
31. หนงั สือเรียนรายวชิ าเพิ่มเติม ฟิสิกส์ เลม่ 3 ของ สสวท.

9. กจิ กรรมการเรยี นรู้
1. กิจกรรมการเรียนรู้ เรอ่ื ง การเคลอื่ นที่แบบฮารม์ อนิกอย่างงา่ ย
1) ผู้เรยี นทำกจิ กรรมการทดลองเพ่ือสังเกตการเคล่อื นทีข่ องวตั ถตุ ิดปลายสปริง และการเคลอ่ื นที่

ของลกู ตมุ้ นาฬิกา และสรุปลกั ษณะการเคลอื่ นท่แี บบฮารม์ อนกิ อยา่ งง่าย และปจั จัยท่ีมผี ลตอ่ คาบการ
เคลือ่ นที่ของวตั ถุติดปลายสปรงิ และการเคล่ือนที่ของลูกตุ้มนาฬกิ า

2. กจิ กรรมการเรยี นรู้ เรอ่ื ง คล่ืนกล
1) ผู้สอนครูทบทวนเนื้อหาเร่ืองธรรมชาติและชนิดของคลื่น โดยสอบถามความหมายของ

สว่ นประกอบต่างๆของคล่ืนท่ีเรยี นมาในคาบทผี่ ่านมา และชวี้ ่ากรณีดังกล่าวน้ันเป็นการศึกษาคล่นื เพยี งชุด
เดียว หากมีคล่นื 2 ชุดหรอื 2 ขบวน เคลอื่ นท่มี าพบกนั ผลทีเ่ กิดข้ึนจะเป็นอย่างไร

2) ผู้สอนสาธิตการสะบัดลวดสปริง โดยให้ผู้เรียน 2 คน จับปลายลวดสปริงท่ีวางอยู่บนพ้ืนคนละ
ด้าน แล้วสะบัดปลายสปริงให้ไปทางเดียวกันพร้อมๆกัน เพื่อให้เกิดคลื่นดล จากน้ันสะบัดปลายสปริง
พร้อมๆ กันในทิศตรงข้าม โดยก่อนการสาธิตผู้สอนให้ผู้เรียนสังเกตลักษณะของคล่ืนดลทั้งสองในขณะก่อน
พบกัน ขณะพบกัน เมื่อผ่านพ้นกันไปแล้ว อภิปรายร่วมกันเก่ียวกับส่ิงท่ีสังเกตได้จากการสาธิตการสะบัด
ลวดสปรงิ

3. กจิ กรรมการเรียนรู้ เร่อื ง สมบตั กิ ารสะท้อนของคล่ืน
1) ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสนทนาเก่ียวกับคลื่นกลที่เราศึกษาผ่านมาแล้ว เช่น คลื่นในลวดสปริง

คลื่นในเส้นเชือก คล่ืนผิวน้ำ ซึ่งถือว่าเป็นคลื่นที่เคล่ือนที่ในตัวกลางเนื้อเดียวโดยไม่มีสิ่งกีดขวาง จากน้ัน
ผู้สอนต้ังคำถามเพื่อให้ผู้เรียนได้คิดว่า “ถ้าคลื่นเคล่ือนที่จากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหน่ึง หรือ
เคลอื่ นท่ไี ปในตวั กลางเดยี วกันแล้วพบสง่ิ กีดขวาง นกั เรยี นคดิ วา่ ผลจะเป็นอยา่ งไร”

2) นักเรยี นทำกจิ กรรมการทดลอง เรือ่ ง การสะท้อนของคลนื่ อภิปรายและสรุปรว่ มกนั

4. กิจกรรมการเรียนรู้ เรอ่ื ง สมบัตกิ ารหกั เหของคลื่น
1) ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเก่ียวกับการสะท้อนของคล่ืนท่ีเรียนผ่านมาในหัวข้อที่แล้ว ซึ่ง

ถือเป็นสมบัติหน่ึงของคล่ืน จากนั้นต้ังคำถามว่า “ถ้านักเรียนทำให้คลื่นน้ำเคล่ือนท่ีจากบริเวณน้ำตื้นไปยัง
บริเวณน้ำลึก คลื่นนำ้ จะแสดงสมบัติอะไรเกดิ ขึ้นบ้าง”

2) นกั เรยี นทำกจิ กรรมการทดลอง เรอื่ ง การหักเหของคลน่ื อภิปรายและสรุปรว่ มกนั

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้ เรื่อง สมบตั ิการแทรกสอดของคล่นื
1) ครูนำสนทนาร่วมกันกับนักเรียนเก่ียวกับปรากฎการณ์ตา่ ง ๆ ของคล่ืนท่ีศึกษาผ่านมาแล้ว เช่น

การสะท้อน การหักเหของคลื่น พร้อมตั้งคำถามว่า “ถ้านักเรียนทำให้เกิดคล่ืนต่อเนื่องวงกลมสองคล่ืน
พร้อมกันบนถาดคลื่น นักเรียนคิดว่าจะเกิดอะไรข้ึนเม่ือคล่ืนท้ังสองเดินทางมาพบกัน ส่วนประกอบต่างๆ
ของคล่ืนจะเกดิ การเปลยี่ นแปลงหรอื ไม่ อย่างไร”

2) นกั เรียนทำกจิ กรรมการทดลอง เร่อื ง การแทรกสอดของคล่นื อภิปรายและสรปุ ร่วมกัน

6. กิจกรรมการเรยี นรู้ เรือ่ ง สมบตั ิการเล้ียวเบนของคลน่ื
1) ครูสนทนาร่วมกันกับนักเรียนเกี่ยวกบั ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ของคลนื่ ที่ศกึ ษาผ่านมาแล้ว เช่นการ

สะท้อน การหักเห และการแทรกสอดของคล่ืน พร้อมต้ังคำถามว่า “เม่ือคล่ืนเคลื่อนท่ีไปพบส่ิงกีดขวาง
คล่ืนจะสะท้อนกลับไปยังตัวกลางเดิม แต่ถ้าสิ่งกีดขวางนั้นขวางกั้นทางเดินของคล่ืนเพียงบางส่วน คลื่นจะ
เกิดการเคลอ่ื นทอี่ ย่างไร จะเกิดปรากฏการณ์อะไรเกดิ ขึ้นบ้าง”

2) ครูสาธิตเพ่ือสนับสนุนหลักการของฮอยเกนส์ ด้วยการใช้เข็มหมุดตัวเล็กปักลงบนโฟม 4 ชุด
(ชุดท่ี 1 ปักเข็มหมุดต่างๆ เป็นแนวตรง ชุดที่ 2 ปักห่างกันเล็กน้อย ชุดที่ 3 ปักเข็มหมุดติดๆ กนั และชุดท่ี
4 ปักเข็มหมุนติดๆ กัน ตามแนวโค้งของวงกลม) ครูนำเข็มหมุดชุดท่ี 1 แตะผิวน้ำในถาดคล่ืน 1 ครั้ง ให้
นักเรียนสังเกตหน้าคลื่นรวมท่ีเกิดจากเข็มหมุดแต่ละตัว จะเห็นเป็นเส้นโค้งเว้า นำเข็มหมุดชุดที่ 2 แตะผิว
น้ำ จะได้หน้าคล่ืนรวมยังเป็นส่วนโค้ง เม่ือใช้เข็มหมุดชุดที่ 3 แตะผิวน้ำ จะได้หน้าคลื่นรวมเป็นเส้นตรง
และเม่ือใช้เข็มหมุดชุดท่ี 4 แตะผิวน้ำ จะได้หน้าคลื่นรวมเป็นส่วนของวงกลม หลังจากน้ันทำให้เกอดคล่ืน
ต่อเนื่องสำหรับเขม็ หมุดชุดท่ี 3 และ 4 จะเห็นหน้าคล่ืนเสน้ ตรงและหน้าคลื่นวงกลมเกิดต่อเนื่องกันออกไป
เสมือนเกิดจากแหล่งกำเนิดเส้นตรงและแหล่งกำเนิดวงกลม ครูช้ีให้เห็นว่าเข็มหมุดที่ปักติดๆ กัน
เปรยี บเสมือนเป็นแหล่งกำเนิดทเี่ ป็นจดุ ตามหลักของฮอยเกนส์ ซึ่งจะทำให้หน้าคล่ืนรวมออกมาเป็นเส้นตรง
ถ้าหน้าคลน่ื เดมิ เป็นเส้นตรง และใหห้ น้าคลนื่ รวมเป็นวงกลม ถา้ หน้าคลืน่ เดมิ เปน็ วงกลม

3) นักเรยี นทำกจิ กรรมการทดลอง เร่ือง การเล้ยี วเบนของคลน่ื อภปิ รายและสรปุ รว่ มกัน

10. การวดั และประเมนิ ผล
10.1 การประเมินผลระหว่างจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

เปา้ หมายการเรียนรู้ วิธีวัดผล เครือ่ งมือวดั และประเมนิ ผล เกณฑ์การประเมนิ
- แบบสังเกตพฤติกรรม - พจิ ารณาคำถามและ
1. อธิบายลักษณะการถ่ายโอน - สังเกตการตอบคำถาม - คำถามของครู การมีสว่ นรว่ มในการตอบ
พลังงาน และการเคล่ือนท่ีของ คำถามอย่างน้อย 50%
- แบบสังเกตพฤติกรรม - พจิ ารณาคำถามและ
คล่ืนได้ - คำถามของครู การมีส่วนร่วมในการตอบ
คำถามอยา่ งน้อย 50%
2. จำแนกประเภทของคล่ืนได้ - สงั เกตการตอบคำถาม - จับค่ไู ดถ้ ูกต้องอย่าง
นอ้ ย 50%
3. บอกสว่ นประกอบของคลน่ื - เล่นเกมจับคู่ - เกมจับคู่สว่ นประกอบต่างๆ - ตอบคำถามในใบงาน
และอธิบายความหมายของ สว่ นประกอบต่างๆ ของคลื่น ของคล่นื ถูกต้องอย่างนอ้ ย 50%
คาบ ความถ่ี ความยาวคล่ืน - ทำใบงาน เรื่อง คล่ืนกล - ใบงาน เร่อื ง คลื่นกล
และบอกความสัมพันธ์ระหว่าง พจิ ารณาคำถามและการมี
อัตราเร็วของคลื่น ความถ่ีและ สงั เกตการตอบคำถาม - แบบสังเกตพฤติกรรม สว่ นร่วมในการตอบคำถาม
ความยาวคล่ืนได้ คำถามของครู อยา่ งน้อย 50%
ตอบคำถามในใบงาน
4. อธิบายการซอ้ นทบั ของคลื่น ถกู ต้องอย่างนอ้ ย 50%

5. ใชห้ ลักการซ้อนทบั เขยี นภาพ ทำใบงาน เรื่อง การซ้อนทบั ใบงาน เรื่อง การซ้อนทบั ของคลน่ื
ของคลื่นใหมท่ ่เี กดิ จากการ ของคลนื่

เปา้ หมายการเรียนรู้ วิธีวัดผล เคร่ืองมือวัดและประเมนิ ผล เกณฑก์ ารประเมนิ
ซอ้ นทบั ของคล่นื 2 ขบวน - สงั เกตการณต์ อบคำถาม - แบบสังเกตพฤติกรรม - พจิ ารณาคำถามและ
6. บอกความหมายของการ ทำใบงาน - คำถามของครู การมีส่วนร่วมในการตอบ
สะทอ้ นของคลื่นได้ สังเกตการตอบคำถาม ใบงาน เร่อื ง การสะท้อนของคลืน่ คำถามอยา่ งน้อย 50%
- แบบสังเกตพฤติกรรม - พิจารณาคำถามและ
7. ยกตัวอยา่ งเกย่ี วกบั การ - ทำการทดลอง เรื่อง การ คำถามของครู การมสี ว่ นร่วมในการตอบ
สะทอ้ นของคลน่ื ได้ สะทอ้ นของคลืน่ - ใบกิจกรรม เร่ือง การสะท้อน คำถามอย่างน้อย 50%
สังเกตพฤตกิ รรมการทำการ ของคล่ืน ตอบคำถามในใบงาน
8. ทำการทดลองเพื่อสรุป ทดลอง - แบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบตั ิ ถูกต้องอย่างนอ้ ย 50%
เกีย่ วกับกฎการสะท้อนของคลื่น - ทำการทดลอง เรื่อง การ กจิ กรรมกลมุ่
ได้ หกั เหของคลื่น - ใบกิจกรรม เรื่อง การหักเหของ ตอบคำถามในใบงาน
สังเกตพฤตกิ รรมการทำการ คล่นื ถกู ต้องอย่างน้อย 50%
9. ทำการทดลองเพ่ือสงั เกต ทดลอง - แบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏบิ ตั ิ
ปรากฏการณ์การหกั เหของคล่นื - ทำแบบฝึก กิจกรรมกลุ่ม ตอบคำถามไดถ้ ูกต้องอย่าง
นำ้ ได้ - ใบงาน เร่ือง การหักเหของคลื่น น้อย 50%
- ทำแบบฝกึ
10. บอกความสัมพันธร์ ะหว่าง - ใบงาน เรอื่ ง การหักเหของคลน่ื ตอบคำถามได้ถูกต้องอย่าง
ไซนข์ องมุมตกกระทบ ไซน์ของ - ใชค้ ำถาม นอ้ ย 50%
มุมหกั เห ความยาวคลื่นตก - คำถามของครู
กระทบ และความยาวคลน่ื หกั - ทำการทดลอง เร่ือง การ ตอบคำถามได้ถูกต้องอย่าง
เห และใชค้ วามสมั พันธ์ดังกล่าว หักเหของคลื่น - ใบกจิ กรรม เรื่อง การแทรกสอด น้อย 50%
แก้ปญั หาสถานการณ์ที่ สังเกตพฤตกิ รรมการทำการ ของคล่ืน
กำหนดให้ได้ ทดลอง แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติ ตอบคำถามในใบงาน
11. บอกความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง กจิ กรรมกลมุ่ ถกู ต้องอย่างนอ้ ย 50%
ความยาวคล่ืนตกกระทบ ความ
ยาวคลนื่ หกั เห อตั ราเร็วของ
คลื่นตกกระทบ อตั ราเรว็ ของ
คล่ืนหักเห และใช้ความสัมพันธ์
ดงั กล่าวแกป้ ัญหาสถานการณ์ที่
กำหนดใหไ้ ด้
12. บอกความหมายของ
ปรากฏการณ์การแทรกสอดของ
คลนื่ การแทรกสอดแบบเสรมิ
การแทรกสอดแบบหักล้าง
ตำแหน่งบพั ตำแหน่งปฏิบัพได้
13. ทำการทดลองเพอ่ื สงั เกต
ลวดลายการแทรกสอดของคลน่ื
ได้

เปา้ หมายการเรียนรู้ วิธีวัดผล เคร่อื งมือวัดและประเมนิ ผล เกณฑก์ ารประเมนิ
ตอบคำถามได้ถูกต้องอย่าง
14. นำความรู้เกยี่ วกบั การแทรก ทำใบงาน ใบงาน เรอื่ ง การแทรกสอดของ นอ้ ย 50%
สอดของคลน่ื ไปแกป้ ัญหา คลนื่
ตอบคำถามไดถ้ ูกต้องอย่าง
สถานการณ์การแทรกสอดของ - ใช้คำถาม - คำถามของครู นอ้ ย 50%
คลน่ื ท่ีกำหนดให้ได้ ทำใบงาน - ใบงาน เร่อื ง การเล้ียวเบนของ ตอบคำถามในใบงาน
คลน่ื ถกู ต้องอย่างนอ้ ย 50%
15. บอกความหมายของ
ปรากฏการณ์การเลีย้ วเบนของ ตอบคำถามไดถ้ ูกต้องอยา่ ง
คลื่นได้ น้อย 50%

16. ทำการทดลองเพ่อื ศกึ ษา - ทำการทดลอง เรื่อง การ - ใบกิจกรรม เร่ือง การเล้ยี วเบน ตอบคำถามไดถ้ ูกต้องอยา่ ง
ปรากฏการณ์การเลย้ี วเบนของ นอ้ ย 50%
คลืน่ ผิวน้ำเมอ่ื ผ่านขอบสง่ิ กีด เลย้ี วเบนของคลน่ื ของคล่นื ตอบคำถามในใบงาน
ขวาง และเม่ือผ่านช่องเปิด 1 ถกู ต้องอย่างนอ้ ย 50%
ชอ่ ง ท่มี ีความกว้างตา่ งๆ กนั สังเกตพฤตกิ รรมการทำการ - แบบสงั เกตพฤติกรรมการ
ทดลอง ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกลุ่ม

17. บอกความแตกต่างของ ใชค้ ำถาม - คำถามของครู
ภาพท่ีเกดิ จากการเล้ยี วเบนผ่าน
ชอ่ งเปดิ ทีแ่ คบกว่า หรอื เทา่ กับ

ความยาวคล่นื กับช่องเปดิ ที่
กว้างกวา่ ความยาวคลื่นได้

18. อธิบายการเกดิ คลื่นนิง่ ของ ใช้คำถาม - คำถามของครู
คล่นื ผิวน้ำและคลื่นนง่ิ ในเส้น

เชอื ก

19. อธบิ ายการสัน่ พ้องของ - ทำการทดลอง เรื่อง การ - ใบงาน เร่อื ง การส่ันพ้องของ
คลน่ื
สั่นพอ้ งของคลื่น คลนื่

สงั เกตพฤติกรรมการทำการ - แบบสังเกตพฤตกิ รรมการปฏิบัติ
ทดลอง กจิ กรรมกลมุ่

10.2 การประเมนิ เม่ือส้ินสุดกจิ กรรมการเรยี นรู้
1. ความรู้

ผลการเรยี นรู้ วิธีการวดั เครื่องมอื เกณฑท์ ใ่ี ช้ประเมิน
1-4 ต้องได้ไม่ต่ำกวา่ 70%
- ทดสอบประจำหนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 - แบบทดสอบประจำหนว่ ย

เรอื่ ง คลืน่ การเรียนรู้ที่ 1 เร่ือง คล่ืน

2. ทักษะ / กระบวนการ

ทกั ษะ/กระบวนการ วธิ กี ารวดั เครื่องมอื เกณฑท์ ใ่ี ชป้ ระเมนิ
1. การปฏิบัติกิจกรรมกลมุ่ ต้องได้ไม่ต่ำกว่าระดับ
- สังเกตพฤติกรรมการ - แบบสังเกตพฤติกรรม คุณภาพ 3 คือ ดี จาก
ทำงานร่วมกนั ในกลมุ่ การปฏิบัติกิจกรรมกลมุ่ ระดับคุณภาพ 4 ดมี าก

ทกั ษะ/กระบวนการ วิธีการวดั เครอื่ งมือ เกณฑท์ ใี่ ช้ประเมิน
2. การคดิ วิเคราะห์ และ ตอ้ งไดไ้ ม่ตำ่ กว่าระดบั
สังเคราะห์ความรู้อย่างสร้างสรรค์ - ใชค้ ำถามกระตนุ้ ความคิด - คำถามของผ้สู อน คุณภาพ 3 คือ ดี จาก
ระดับคุณภาพ 4 ดมี าก
3. การประยุกตใ์ ชค้ วามร้ใู นการ - ตรวจสอบการทำกจิ กรรม - ใบงาน เรอ่ื ง คลนื่ กล ตอบคำถามในใบงาน
แกป้ ญั หาตามสถาน ในใบงาน เรื่องคลื่นกล ถกู ต้องอย่างนอ้ ย 50%
การณท์ ี่กำหนดได้

3. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ วิธกี ารวดั เครื่องมือ เกณฑท์ ใี่ ช้ประเมนิ
1. ตรงตอ่ เวลา - สงั เกตพฤติกรรมการเขา้ เรยี น - แบบประเมนิ ผ้เู รยี นเป็น ต้องไดไ้ ม่ต่ำกวา่ ระดบั
การปฏิบตั ิกจิ กรรม และการส่ง รายบคุ คล คุณภาพ 3 คือ ดี จาก
2. ใฝเ่ รียนรู้ และรับฟงั ความ งานของนกั เรียน ระดับคุณภาพ 4 ดีมาก
คิดเห็นของผอู้ นื่ - แบบประเมินผ้เู รียนเปน็ ตอ้ งได้ไม่ต่ำกวา่ ระดับ
- สงั เกตพฤติกรรม ความ รายบุคคล คณุ ภาพ 3 คือ ดี จาก
3. ความซอ่ื สตั ย์ ร่วมมือในการทำกิจกรรมต่างๆ ระดับคุณภาพ 4 ดีมาก
แสวงหาความรู้ ยอมรบั ฟังความ - แบบประเมินผเู้ รียนเปน็
คดิ เห็นของผูอ้ ่นื และแสดงความ รายบคุ คล ต้องได้ไม่ต่ำกวา่ ระดับ
คดิ เหน็ อย่างมีเหตผุ ล คณุ ภาพ 3 คือ ดี จาก
ระดับคุณภาพ 4 ดมี าก
- สงั เกตพฤตกิ รรมการทำ ตอ้ งได้ไม่ตำ่ กว่าระดบั
กิจกรรม และแบบฝกึ หดั คณุ ภาพ 3 คือ ดี จาก
ระดบั คุณภาพ 4 ดีมาก
4. รักษาความสะอาด - สงั เกตพฤตกิ รรมการรักษา - แบบประเมินผู้เรียนเป็น
ความสะอาดของผลงาน และ รายบคุ คล
หอ้ งเรียน

4. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน

คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ วธิ กี ารวัด เครอ่ื งมือ เกณฑ์ทใ่ี ชป้ ระเมนิ
1. ความสามารถในการ - แบบประเมนิ ผเู้ รยี นเปน็ ต้องไดไ้ ม่ตำ่ กว่าระดับ
สอ่ื สาร - สงั เกตพฤตกิ รรมการตอบ รายบุคคล คณุ ภาพ 3 คือ ดี จาก
คำถาม การแสดงความคิดเห็น ระดับคุณภาพ 4 ดีมาก
2. ความสามารถในการคิด การปฏิบตั กิ ิจกรรมในห้องเรยี น - แบบประเมินผู้เรียนเปน็
รายบุคคล ตอ้ งได้ไม่ต่ำกว่าระดับ
3. ความสามารถในการ - สงั เกตพฤติกรรมการตอบ คุณภาพ 3 คือ ดี จาก
แกป้ ัญหา คำถาม การแสดงความคดิ เห็น - แบบประเมินผู้เรยี นเปน็ ระดบั คุณภาพ 4 ดมี าก
การทำกิจกรรม และแบบฝกึ หัด รายบคุ คล
ตอ้ งได้ไม่ตำ่ กวา่ ระดับ
- สังเกตพฤติกรรมการทำ คุณภาพ 3 คือ ดี จาก
กจิ กรรม และแบบฝึกหัด ระดับคุณภาพ 4 ดีมาก

11. เกณฑก์ ารประเมินผลตามสภาพจรงิ

เกณฑร์ ะดบั คุณภาพการประเมนิ แผนผังความคิด เรื่อง ประเภทของคลืน่

เกณฑ์การประเมนิ ระดับ 1 ระดบั 2 ระดับ 3 ระดบั 4

1.ความชดั เจนของ มรี ายละเอียดไม่ มีรายละเอยี ดของ มรี ายละเอียดของ มรี ายละเอียดของ
แผนภาพความคิด แผนภาพความคิด
เน้ือหาสาระ ชัดเจนทุกสว่ น แผนภาพความคิด ชดั เจนเปน็ ส่วนใหญ่ ชัดเจนทุกสว่ น

ชัดเจนเปน็ บางสว่ น รายละเอียดของ รายละเอียดทกุ สว่ น
แผนภาพส่วนใหญ่ ของแผนภาพ
2.ความสอดคล้อง รายละเอียดของ รายละเอยี ดของ สอดคลอ้ งกับหัวข้อ สอดคลอ้ งกบั หวั ข้อ
เรื่อง เรื่อง
กับหัวขอ้ เรื่อง แผนภาพสอดคล้อง กับ แผนภาพรอ้ ยละ 50
ยงั ขาดเนื้อหาสาระที่ นำเสนอเนอื้ หาสาระ
หัวข้อเร่ืองเพยี ง สอดคลอ้ งกับหวั ข้อ สอดคลอ้ งกบั ชอ่ื เร่ือง ครบถว้ น ครอบคลุม
น้อยกว่าร้อยละ 50 หวั ข้อเร่ือง และมีมา
เลก็ น้อย เรอ่ื ง แตย่ งั ไม่ครบถ้วน กวา่ ทเี่ รยี น

3.ความครอบคลุม ยงั ขาดเน้ือหาสาระท่ี ยงั ขาดเน้ือหาสาระท่ี เน้อื หาสาระมากกว่า เน้อื หาสาระแต่ละ
รอ้ ยละ 50 มีการ สว่ นทน่ี ำเสนอมีการ
ของเน้ือหาสาระ สอดคล้องกับช่ือเรื่อง สอดคลอ้ งกับชือ่ เรื่อง เชือ่ มโยงตั้งแต่ เชื่อมโยงต้ังแต่
ความคดิ หลกั ความคิดหลกั
กบั หวั ขอ้ เร่ือง มากกวา่ ร้อยละ 50 รอ้ ยละ 50 ความคิดรอง และ ความคดิ รอง และ
ความคดิ ย่อย อย่าง ความคดิ ย่อยอยา่ ง
4.การเช่ือมโยง เนื้อหาสาระน้อยกวา่ เน้อื หาสาระร้อยละ ถูกต้อง เปน็ กล่มุ ถกู ต้อง เป็นกลมุ่
ความคิดหลัก เดยี วกัน เดยี วกัน
ความคิดรอง และ รอ้ ยละ 50 มีการ 50 มกี ารเช่ือมโยง
ความคดิ ย่อย แสดงถึงการใช้ แสดงถึงการใช้
เช่อื มโยงตัง้ แต่ ตง้ั แตค่ วามคิดหลกั ประโยชนข์ ององค์ ประโยชน์ขององค์
5.การนำองค์ ความรู้ท่ีเขียนข้ึน ความรูท้ เี่ ขียนขึ้น
ความรูไ้ ปใช้ ความคิดหลัก ความคิดรอง และ เฉพาะครอบครัวและ อย่างกว้างขวางถึง
ตนเอง สังคมโดยส่วนรวม
ความคดิ รอง และ ความคดิ ย่อย อย่าง
ผลงานมีความ ผลงานมคี วาม
ความคิดย่อย อย่าง ถูกต้อง เปน็ กลมุ่ สวยงาม มจี ดุ เด่น สวยงาม แปลกใหม่
น่าสนใจ แตย่ ังไม่ มจี ุดเด่น น่าสนใจ
ถูกต้อง เป็นกลุ่ม เดียวกนั แปลกใหม่

เดียวกัน

แสดงการใชป้ ระโยชน์ แสดงถึงการใช้

ขององค์ความรู้ท่ีเขียน ประโยชน์ขององค์

ข้นึ ไม่ชัดเจน ความรู้ทเี่ ขียนขน้ึ

เฉพาะตนเอง

6.รูปแบบการ ผลงานยงั ไม่สวยงาม ผลงานมีความ
นำเสนอ นา่ สนใจ สวยงาม น่าสนใจ แต่
ยังไมม่ จี ุดเด่นท่ี
ชัดเจน

หน่วยการเรยี นรู้

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 เร่อื ง เสยี ง เวลา 14 คาบเรียน

รายวิชา ฟิสิกส์เพมิ่ เติม 3 รหสั วิชา ว30203 จำนวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกติ

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2562

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. สาระฟิสกิ ส์

2. เขา้ ใจการเคล่ือนทีแ่ บบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย ธรรมชาติของคล่ืน เสยี งและการไดย้ ิน

ปรากฏการณ์ทเ่ี กย่ี วข้องกับเสยี ง แสงและการเห็น ปรากฏการณท์ ่ีเกี่ยวข้องกับแสง รวมท้ังนำาความรู้ไปใช้

ประโยชน์

2. ผลการเรยี นรู้
5. อธบิ ายการเกดิ เสยี ง การเคล่ือนท่ีของเสยี ง ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งคลื่นการกระจัดของอนุภาค

กับคล่นื ความดัน ความสมั พันธ์ระหวา่ งอตั ราเร็วของเสียงในอากาศที่ขึ้นกบั อุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซยี ส
สมบัติของคล่ืนเสียง ได้แก่ การสะทอ้ น การหกั เห การแทรกสอด การเล้ียวเบน รวมทัง้ คำนวณปรมิ าณตา่ ง
ๆ ทีเ่ กยี่ วข้อง

6. อธบิ ายความเข้มเสียง ระดับเสยี ง องคป์ ระกอบของการไดย้ นิ คุณภาพเสียง และมลพิษทาง
เสียง รวมทง้ั คำนวณปริมาณต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง

7. ทดลองและอธบิ ายการเกดิ การสัน่ พ้องของอากาศในท่อปลายเปดิ หน่ึงดา้ น รวมทั้งสังเกตและ
อธบิ ายการเกดิ บีต คล่นื นง่ิ ปรากฏการณด์ อปเพลอร์ คลื่นกระแทกของเสยี ง คำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่
เก่ยี วขอ้ ง และนำความรเู้ ร่อื งเสยี งไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน

3. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
เสียงเป็นพลังงานรูปหน่ึง เกิดจากการสั่นของแหลง่ กำเนิดเสียง เสียงเป็นคลื่นกล อาศัยตัวกลางใน

การเคลื่อนท่ี หรือแผ่กระจายพลังงานออกไป เสียงเป็นคล่ืนตามยาว (คล่ืนอัดขยาย) เม่ือเสียงเคล่ือนผ่าน
ตัวกลาง (อากาศ) โมเลกุลของอากาศจะเกิดการอัด การขยายตัวของอากาศสลับกันไปในทิศทางเดียวกับ
การเคล่ือนท่ีของคลื่นเสียง ทำให้อากาศที่อยู่รอบๆ เกิดการเปล่ียนแปลงความดัน เป็นผลทำให้เกิดเสียงดัง
หรอื เสียงคอ่ ย

คุณสมบัติของคลื่นเสียง มี 4 ประการได้แก่ การแทรกสอด การเล้ียวเบน การสะท้อน และการ
หักเห

1. การสะท้อน (Reflection) คือ ปรากฏการณ์ทเ่ี กิดข้นึ เมื่อเสียงเคลื่อนท่ีจากตัวกลางหน่ึงไปตก
กระทบส่ิงกดี ขวางหรอื ตวั กลางท่ีมคี วามหนาแน่นแตกตา่ งจากตวั กลางเดมิ แล้วเกิดการสะทอ้ นเข้าสู่ตัวกลาง
เดิม การสะท้อนจะเกิดได้ดีถ้าความยาวคล่ืนของเสียงน้อยกว่าส่ิงกีดขวาง การสะท้อนนั้นเป็นไปตามกฎ
การสะทอ้ นของคลนื่ คือ

1. ทิศทางคลืน่ ตกกระทบ เสน้ ปกตแิ ละทศิ ทางสะทอ้ นอยูใ่ นระนาบเดียวกนั เสมอ
2. มมุ ตกกระทบเทา่ กบั มมุ สะท้อน
2. การหักเห (Refraction) เกิดเมื่อเสียงเคลื่อนที่จากตัวกลางหน่ึงไปยังตัวกลางชนิดหน่ึง หรือ
ตัวกลางตัวชนิดเดียวกันแต่อุณหภูมิต่างกัน อัตราเร็วของเสียงเปลี่ยนไปทำให้ทิศทางของคลื่นเสียง
เปลย่ี นไปด้วย ยกเว้นเสยี งตกกระทบต้งั จากกับตัวกลางนัน้

3. การแทรกสอด เกิดจากแหล่งกำเนิดเสียงหลายแหล่งแผ่ผา่ นอากาศ บรเิ วณเดียวกันจะเกิดการ
รวมกันของคลื่นเสียง ทำให้เกิดการแทรกสอดกัน บริเวณใดท่ีเสียงรวมกันแบบเสริมกันจะเกิดแนวปฏิบัพ
(Antinode) จะมีเสียงดังมาก แต่ถ้าบริเวณใดที่เสียงรวมกันแบบหักล้างกันจะเกิดแนวบัพ (node) จะมี
เสยี งคอ่ ย และจะเกิดเสียงดังค่อยสลับกนั ไป

4. การเลี้ยวเบน เสียงสามารถเล้ียวเบนผ่านส่ิงกีดขวาง ที่ทึบ ที่เป็นมุม หรือช่องเล็กๆได้ เสียงท่ี
ตำแหน่งหลังส่ิงกีดขวางจะได้ยินเสียงค่อยกว่า ตำแหน่งท่ีไม่มีสิ่งกีดขวาง เพราะพลังงานของเสียง ณ
ตำแหน่งน้นั ลดลง ปรากฏการณ์ปรากฏการณ์การเล้ียวเบนของเสียง สามารถอธิบายได้โดยหลกั ของ “ฮอย
เกนส์” ซ่งึ กล่าววา่ “ทกุ ๆจุดบนหนา้ คล่นื สามารถทำให้เกดิ หนา้ คลืน่ ใหม่ได้”

อตั ราเรว็ ของเสียง คอื ระยะทางทเ่ี สียงเคลื่อนที่ได้ในหน่งึ หน่วยเวลา โดยทค่ี วามเรว็ ของ
เสยี งขน้ึ อยู่กบั ปจั จยั หลายๆ อยา่ ง ดงั ต่อไปนี้

1. ความเร็วของเสยี งขนึ้ อย่กู ับชนิดของตวั กลาง เม่อื เสยี งเคลื่อนที่ในตวั กลางทเี่ ปน็ ของ
แขง็ ของเหลวและอากาศ พบว่าความเรว็ ของเสยี งใน ของแข็ง > ของเหลว > อากาศ

2. ความเร็วของเสียงในอากาศจะข้นึ อยกู่ บั อุณหภูมิ
ความเข้มเสียง หมายถึง อัตราพลังงานของคลืน่ เสียงท่ีเคลื่อนทีไ่ ปตกกระทบกับหน่ึงหนว่ ยพื้นท่ีท่ี
ใช้รับเสียงในแนวต้งั ฉากวัดเปน็ วตั ต์ตอ่ ตารางเมตร(W/m2)
ระดับความเข้มของเสียง () คือ ระดับของเสียงว่ามีความดังมากน้อยเพียงใด โดยการปรับ

ความเข้มของเสยี งขณะนน้ั เทยี บกบั ความเขม้ เสียงต่ำสุด (I0 = 10−12...w/ m2)

หูมนุษย์มีส่วนประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ หูส่วนนอก หูส่วนกลาง และหูส่วนใน เสียงจะ
เคลื่อนท่ีผ่านหูส่วนนอกเข้าไปส่ันเย่ือหู ซึ่งเป็นรอยต่อระหว่างหูส่วนกลางกับหูส่วนนอก การสั่นจะถูก
ส่งผ่านกระดูกรูปค้อน รูปท่ัง และรูปโกลน ซึ่งอยู่ในหูส่วนกลาง จากนน้ั การส่ันของเสยี งจะถูกถ่ายทอด
เขา้ สู่หูส่วนในทางหนา้ ตา่ งรปู ไข่ซึ่งจะมปี ลายประสาทสำหรบั ฟงั เสยี งมารบั ทำใหเ้ ราไดย้ ินเสียง

บตี ส์ (Beat) คือ ปรากฏการณ์ที่คลื่นเสยี งสองขบวน ท่ีมีความถ่ตี า่ งกันเลก็ น้อย (ต่างกันไม่เกนิ 7
เฮิรตซ์) และเคลื่อนที่อยู่ในแนวเดยี วกนั เกดิ การรวมกัน ทำแอมปลิจูดเปลีย่ นไป เป็นผลทำให้เกิดเสยี งดัง-
คอ่ ยสลบั กันไปเป็นจังหวะคงตวั ดว้ ยความถ่หี นึ่ง เรียกว่า ความถีบ่ ตี ส์

ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ (Doppler effect) คือปรากฏการณ์ท่ีผู้ฟังได้ยินเสียงซึ่งมีความถี่
เปลยี่ นไปจากความถ่ขี องแหล่งกำเนดิ อนั เน่อื งมาจากการเคลอื่ นที่ของแหลง่ กำเนิดเสยี งหรอื ผู้ฟัง

คล่ืนกระแทก (Shock Waves) คือ ปรากฏการณ์ท่ีหน้าคล่ืนมาเสริมกันในลักษณะท่ีเป็นหน้า
คลื่นวงกลมซ้อนเรียงกันไป โดยแนวหน้าคล่ืนที่เสริมกันเป็น กรวย เรียกว่าหน้าคลื่นกระแทก เกิดจาก
แหลง่ กำเนิดคลน่ื เคลือ่ นทด่ี ว้ ยความเร็วทม่ี ากกวา่ ความเร็วของคล่ืนในตวั กลาง (vs  v)

4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
4.1 ความรู้
1. อธิบายการเกิดของเสียง และบอกได้ว่าคลื่นเสยี งเปน็ คลนื่ ตามยาว
2. บอกความสมั พันธ์ระหว่างความยาวคล่ืน ความถ่ีและอัตราเร็วของเสียงได้
3. นำความรเู้ รือ่ งอตั ราเร็วของเสียงไปอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดข้นึ ในชีวติ ประจำวันได้
4. อธิบายและยกตวั อยา่ งเพื่อแสดงว่าเสยี งมสี มบตั ิการสะท้อน การหกั เห การแทรกสอด
และการเลยี้ วเบน
5. อธบิ ายความหมายของกำลังเสียงและความเข้มเสยี ง
6. นำความรเู้ รื่องความเข้มเสยี งไปใช้ให้เกิดประโยชน์และป้องกนั อันตรายทีจ่ ะเกิดกับหู

7. บอกความหมายของระดับความเข้มเสียง
8. นำความรูเ้ ร่ืองระดบั ความเข้มเสยี งไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์และปอ้ งกนั อนั ตรายที่จะเกดิ

กบั หู
9. บอกองคป์ ระกอบของหู
10. สบื คน้ และนำเสนอข้อมลู เก่ยี วกับการได้ยินเสยี ง
11. นำความรเู้ รื่องการได้ยนิ เสียง ไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนแ์ ละป้องกันอันตรายท่อี าจเกิดกับหู
12. อธบิ ายความถธ่ี รรมชาติของวัตถุและยกตวั อย่างความถ่ธี รรมชาติของวตั ถุบางอยา่ งได้
13. อธิบายการเกิดการส่ันพ้องของเสียงสำหรบั ทอ่ ปลายปิดด้านหน่งึ ได้
14. อธิบายการเกดิ สั่นพ้องของเสียงสำหรบั ทอ่ ปลายปิดสองดา้ นได้
15. อธบิ ายการเกดิ บตี สข์ องเสยี ง พรอ้ มท้งั บอกเงื่อนไขท่หี ูคนไดย้ นิ เสยี งบตี ส์
16. บอกลักษณะของเสยี งที่ได้ยินจากปรากฏการณด์ อปเพลอร์
17. อธบิ ายการเกดิ คลืน่ กระแทก
18. ยกตวั อย่างเหตุการณ์ในชวี ิตประจำวนั ท่เี กดิ จากคลนื่ กระแทกพร้อมท้ังอนั ตรายทีเ่ กิด

จากคล่นื กระแทก
19. อธิบายหลกั การที่เกย่ี วข้องกับเสยี งทีน่ ำมาใชป้ ระโยชน์ดา้ นตา่ งๆ
20. สืบคน้ และนำเสนอข้อมลู เกย่ี วกบั การประยุกตใ์ ช้ความร้เู รื่องเสียง ด้านตา่ งๆ เชน่ ดา้ น

สถาปตั ยกรรม การประมง การแพทย์ ธรณวี ิทยา วิศวกรรมและอตุ สาหกรรม
21. อธบิ ายการเกิดเสียงและสมบัตขิ องเสยี ง ได้แก่ การสะทอ้ น การหกั เห การแทรกสอด

และการเล้ียวเบน
22. อธิบายเก่ียวกับการได้ยินได้แก่ ระดบั เสยี ง ระดับสงู ต่ำของเสียง คุณภาพเสยี ง และผล

ของมลพิษทางเสียงต่อการได้ยิน
23. อธิบายความถี่ธรรมชาติและการสั่นพ้องของเสียง
24. อธบิ ายปรากฏการณ์บางอยา่ งของเสียง และการนำความรู้มาประยุกตใ์ ช้ประโยชน์ดา้ น

ต่างๆ
4.2 ทักษะกระบวนการ

1. คำนวณหาอตั ราเรว็ ของเสียงได้
2. คำนวณปรมิ าณทีเ่ กีย่ วข้องกับสมบัติการสะท้อน การหกั เห การแทรกสอด และการ

เลย้ี วเบน
3. คำนวณหาปริมาณท่ีเกย่ี วข้องกับความเข้มเสยี ง
4. คำนวณหาปริมาณทีเ่ กย่ี วข้องกับระดบั ความเข้มเสยี ง
5. คำนวณหาค่าตา่ งๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับการส่นั พ้องของเสียงได้
6. คำนวณปรมิ าณท่ีเกี่ยวข้องกบั การเกิดบีตส์
7. คำนวณปริมาณทเี่ กีย่ วข้องกับปรากฏการณ์ดอปเพลอร์
8. การปฏิบัตกิ ิจกรรมเปน็ กลมุ่
9. การคิด วเิ คราะห์ และสงั เคราะห์ความรู้อยา่ งสรา้ งสรรค์
10. การประยุกต์ใชค้ วามรูใ้ นการแกป้ ญั หาตามสถานการณท์ ี่กำหนดได้

4.3 คณุ ลักษณะ
1. เข้าเรยี น ปฏบิ ตั ิกจิ กรรม และสง่ งานตรงเวลา (มวี นิ ัย)
2. ร่วมมือในการเรยี น แสวงหาความรู้ ตอบคำถาม ยอมรบั ความคิดเหน็ ยกย่องผู้อ่ืน และ
แสดงความคดิ เห็นอยา่ งมีเหตุผล (ใฝ่เรยี นรู้)
3. ทำกจิ กรรม และทำแบบฝึกหัดดว้ ยความซอ่ื สตั ย์ (ซ่ือสัตยส์ ุจรติ )
4. รักษาความสะอาดของผลงาน หอ้ งเรยี น และสถานทป่ี ฏิบตั ิกิจกรรม (มีจิตสาธารณะ)

5. สมรรถนะสำคัญ
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา

6. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
4. มีวินยั
5. ใฝเ่ รยี นรู้
6. ซอื่ สตั ยส์ จุ ริต
7. มจี ิตสาธารณะ

7. ชน้ิ งาน/ภาระงาน
1. ใบงาน เรอ่ื ง อตั ราเรว็ ของเสียง
2. ใบงาน เรอื่ ง สมบัติของเสยี ง
3. ใบงาน เร่อื ง ความเข้มเสยี ง
4. ใบงาน เร่ือง ระดับความเข้มเสียง
5. แผนภาพ กลไกการได้ยินเสยี ง
6. ใบงาน เรอื่ ง การสั่นพ้องของเสียง
7. ใบกจิ กรรม เรื่อง การสัน่ พ้องของเสยี ง
8. ใบงาน เรอ่ื ง การเกดิ บีตส์
9. ใบงาน เรอื่ ง ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์
10. ใบงาน เรอ่ื ง คลืน่ กระแทก
11. แผน่ พบั ความรู้ เร่ือง การประยุกตค์ วามรเู้ ร่ืองเสยี ง
12. การนำเสนอหนา้ ชัน้ เรียน เรือ่ ง การประยุกต์ความร้เู ร่ืองเสียง
13. แผนผังความคิด เรื่อง เสยี ง
14. แบบทดสอบหลงั เรียน เรื่อง เสียง

8. ส่อื การเรยี นรู้/แหล่งเรยี นรู้

1. ลวดสปริง
2. กระด่งิ
3. วดิ ีโอ เร่อื ง เสียงเดนิ ทางไดเ้ ร็วแคไ่ หน
4. งานนำเสนอ PowerPoint เร่ือง ธรรมชาติและอตั ราเรว็ ของเสียง
5. ใบความรู้ เรื่อง ธรรมชาติและสมบัตขิ องเสยี งใบงาน เร่ือง อัตราเรว็ ของเสียง

6. ใบงาน เร่อื ง อตั ราเร็วของเสยี ง
7. วดิ ีโอ เรอ่ื ง สมบตั ขิ องเสียง
8. งานนำเสนอ PowerPoint เรื่อง สมบตั ขิ องเสยี ง
9. ใบความรู้ เรอ่ื ง สมบัติของเสียง
10. ใบงาน เรือ่ ง สมบตั ิของเสียง
11. ลำโพง 1 ตวั
12. งานนำเสนอ PowerPoint เรื่อง ความเขม้ เสยี ง
13. ใบความรู้ เรื่อง ความเข้มเสียง
14. ใบงาน เร่อื ง ความเข้มเสยี ง
15. กระดาษหอ่ ลูกอม
16. งานนำเสนอ PowerPoint เร่ือง ระดบั ความเข้มเสียง
17. ใบความรู้ เรอ่ื ง ระดบั ความเข้มเสยี ง
18. ใบงาน เรื่อง ระดบั ความเขม้ เสียง
19. ใบความรู้ เรื่อง ความเข้มเสยี ง
20. ชดุ เคร่อื งกำเนดิ เสยี ง
21. ลำโพง
22. หลอดส่ันพอ้ ง
23. สายไฟ
24. งานนำเสนอ PowerPoint เร่ือง การสนั่ พ้องของเสียง
25. ใบความรู้ เรื่อง การสน่ั พ้องของเสียง
26. ใบกจิ กรรม เร่ือง การส่ันพอ้ งของเสียง
27. ใบงาน เรื่อง การส่นั พ้องของเสียง
28. หนังสอื เรียนรายวชิ าเพิ่มเติม ฟสิ ิกส์ เล่ม 3 ของ สสวท.
29. ชุดเคร่อื งกำเนิดเสียง 2 ชดุ
30. ลำโพง 2 ชุด
31. งานนำเสนอ PowerPoint เรื่อง การเกิดบีตส์
32. ใบงาน เร่ือง การเกดิ บีตส์
33. งานนำเสนอ PowerPoint เรื่อง ปรากฎการณ์ดอปเพลอร์
34. ใบงาน เรอ่ื ง ปรากฎการณด์ อปเพลอร์
35. งานนำเสนอ PowerPoint เร่ือง คลนื่ กระแทก
36. ใบงาน เร่ือง คล่นื กระแทก
37. ใบกิจกรรมแผนผังความคิด เรื่อง เสยี ง
38. แบบทดสอบหลังเรยี น เร่ือง เสียง
39. หนงั สือเรยี นรางยวชิ าเพิ่มเติม ฟสิ กิ ส์ เล่ม 3 ของ สสวท.

9. กิจกรรมการเรียนรู้
1) กจิ กรรมการเรยี นรู้ เรือ่ ง ธรรมชาตขิ องเสียง
1. ครูสาธิตการเกิดคล่ืนตามยาวบนลวดสปริงและให้นักเรียนสังเกตลักษณะการอัดและการขยาย

ของขดลวดแต่ละขดขณะเกิดคล่ืนตามยาว จากนั้นอธิบายลักษณะของส่วนอัดและส่วนขยาย การ
เปลีย่ นแปลงความดันอากาศขณะมีคล่นื เสียง เพอื่ ใหน้ กั เรียนทราบขอ้ แตกต่างระหวา่ งการเปลยี่ นแปลงการ
กระจดั ของโมเลกุลอากาศและการเปลีย่ นแปลงความดันอากาศขณะมีคลน่ื เสยี ง

2. นักเรียนทำกจิ กรรมการทดลอง เพ่ือวดั อัตราเร็วของเสียง

2) กิจกรรมการเรียนรู้ เร่ือง ความเข้ม ระดับความเขม้ เสียง และมลภาวะทางเสยี ง
1. ครเู ปิดเสียงจากลำโพงท่ีวางอยูห่ น้าห้องเรียน ซง่ึ ครเู ปิดเสียงที่มีความเข้มเสียงไมม่ ากนัก ซ่งึ ครูได้

ทดลองมาก่อนหน้าแล้วว่า นักเรียนที่อยู่หน้าห้องจะได้ยินเสียง แต่นักเรียนที่นั่งหลังห้องจะไม่ได้ยินเสียง
อภิปรายร่วมกันว่า ทำไมนกั เรียนท่ีน่ังอยูห่ น้าห้องจงึ ได้ยนิ เสียงจากลำโพง แต่นกั เรียนท่ีนง่ั หลังห้องจึงไม่ได้
ยินเสียง นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับกำลังเสียง ความเข้มเสียงและความสัมพันธ์ระหว่างความเข้ม
เสยี ง กำลงั เสยี งและระยะระหว่างตำแหนง่ ทจ่ี ะหาความเข้มเสียงกับแหล่งกำเนดิ เสียง

2. ครูให้นักเรียนสังเกตและเปรียบเทียบเสียงที่ได้ยิน เมื่อครูแกะกระดาษห่อลูกอมในขณะท่ีทุกคน
ในห้องเงียบและขณะที่ทุกคนในห้องส่งเสียงดัง ครูตั้งคำถามเพ่ือให้นักเรียนอภิปรายว่า ความเข้มเสียงท่ีได้
ยินเท่าเดิมหรือไม่ ความดังของเสียงท่ีได้ยินเท่ากันหรือไม่ ซึ่งจะได้ข้อสรุปว่า ความเข้มเสียงเท่ากัน แต่
ความดงั ของเสยี งไม่เทา่ กัน

3. นกั เรยี นทำกิจกรรม เรื่อง ฉนวนปอ้ งกนั เสยี ง เพ่อื ออกแบบวัสดปุ อ้ งกันเสยี ง

3) กจิ กรรมการเรยี นรู้ เร่ือง การสั่นพ้องของเสียง
1. ครนู ำนอต 3 อัน มาผกู กบั เส้นด้ายทีม่ คี วามยาวตา่ งกนั แล้วผูกเสน้ ด้ายกบั ตะเกยี บ สน่ั ตะเกียบ

เลก็ น้อยใหต้ รงกับคาบการแกว่งของนอตตัวทตี่ ้องการให้แกว่ง โดยครูได้ฝึกหาจังหวะการสนั่ มาก่อนแล้ว ถา้
ต้องการใหน้ อตท่แี ขวนกับดา้ ยเสน้ ที่ยาวท่ีสุดแกวง่ ก็ต้องส่ันตะเกียบชา้ ๆ แต่ถ้าต้องการใหน้ อตตัวทีแ่ ขวน
กับดา้ ยเส้นทสี่ น้ั ท่ีสุดแกวง่ ก็ต้องส่นั เร็วๆ โดยท้ังนีน้ อตตัวอ่ืนจะไม่แกว่งเลย ครใู หน้ ักเรียนร่วมกันอภปิ ราย
วา่ ทำไมจงึ เปน็ เช่นนัน้

2. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มทำกจิ กรรมการทดลอง เร่อื ง การส่นั พ้องของเสียง

4) กจิ กรรมการเรียนรู้ เรอ่ื ง ปรากฎการณท์ างเสียง
1. ครูเปิดเสียงจากลำโพง 2 ตัว ท่ีมีค่าความเสียงแตกต่างกันเล็กน้อย โดยหันหน้าลำโพงเข้าหากัน

จากน้ันให้ผู้เรียนฟังเสียงจากลำโพงท่ี 1 ลำโพงตัวท่ี 2 และเสียงท่ีเกิดข้ึนเมื่อเปิดลำโพงพร้อมกัน นักเรียน

รว่ มกนั อภิปรายเกี่ยวกับเสียงทไ่ี ดย้ ิน

2. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ทำกจิ กรรมการทดลอง เร่ือง การเกิดบีตส์

3. ครูให้ความรู้การเกิดปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ในกรณีต่างๆ ดังนี้ กรณีท่ี 1 แหล่งกำเนิดเสียง

เคล่ือนที่ กรณีที่ 2 ผสู้ ังเกตเคลอ่ื นท่ี กรณที ี่ 3 ทั้งแหลง่ กำเนิดเสียงและผู้สังเกตตา่ งเคล่ือนท่ีพร้อมวาดภาพ

อธิบายประกอบ ตามลำดบั

10. การวดั และประเมนิ ผล
10.1 การประเมินผลระหว่างจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

เป้าหมายการเรยี นรู้ วธิ วี ดั ผล เครื่องมือวัดและประเมนิ ผล เกณฑก์ ารประเมิน
สงั เกตการตอบคำถาม
1. อธบิ ายการเกดิ ของเสียง คำถามของครู - พจิ ารณาคำถามและ
และบอกได้วา่ คล่นื เสียงเป็น - สังเกตการตอบคำถาม
คลนื่ ตามยาว - ทำแบบฝกึ หดั การมีสว่ นรว่ มในการตอบ

2. บอกความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง คำถามอย่างน้อย 50%
ความยาวคลื่น ความถี่และ
อัตราเรว็ ของเสยี งได้ - คำถามของครู - พิจารณาคำถามและ

ใบงาน เรื่อง อัตราเร็วของ การมสี ่วนร่วมในการตอบ

เสียง คำถามอยา่ งน้อย 50%

ตามเกณฑ์การประเมิน

แผนผงั ความคิด จะตอ้ งได้

คะแนนอยา่ งน้อย 50%

3. คำนวณหาอัตราเรว็ ของ - ทำแบบฝกึ หดั แบบฝกึ หัด เรอ่ื ง สมบัตขิ อง ทำแบบฝกึ หดั ถกู ต้องอยา่ ง
เสยี งได้ - สงั เกตการตอบคำถาม
เสยี ง นอ้ ย 50%
4. นำความรเู้ รอ่ื งอตั ราเรว็
ของเสยี งไปอธบิ าย - คำถามของครู - พจิ ารณาคำถามและ
ปรากฏการณ์ทเ่ี กิดข้นึ ใน
ชีวิตประจำวนั ได้ การมสี ว่ นร่วมในการตอบ

คำถามอยา่ งน้อย 50%

5. อธบิ ายและยกตวั อยา่ งเพอ่ื สงั เกตการตอบคำถาม คำถามของครู พิจารณาคำถามและการมี
แสดงว่าเสียงมสี มบัตกิ าร ส่วนรว่ มในการตอบคำถาม
สะท้อน การหกั เห การแทรก อยา่ งน้อย 50%
สอด และการเลี้ยวเบน
ใบงาน เรอื่ ง สมบัติของเสียง ทำแบบฝกึ หัดในใบงาน
6. คำนวณปริมาณท่ีเก่ยี วข้อง - ทำแบบฝึกหัด ถูกต้องอย่างนอ้ ย 50%
กบั สมบตั กิ ารสะท้อน การหัก
เห การแทรกสอด และการ คำถามของครู พิจารณาคำถามและการมี
เล้ียวเบน ส่วนรว่ มในการตอบคำถาม
ใบงาน เร่อื ง ความเขม้ เสยี ง อย่างน้อย 50%
7. อธิบายความหมายของ สังเกตการตอบคำถาม คำถามของครู
กำลังเสยี งและความเข้มเสียง ทำแบบฝึกหดั ถูกต้องอยา่ ง
น้อย 50%
8. คำนวณหาปรมิ าณท่ี ทำใบงาน เร่ือง ความเขม้
เกีย่ วข้องกับความเขม้ เสยี ง เสียง พิจารณาคำถามและการมี
สังเกตการตอบคำถาม ส่วนร่วมในการตอบคำถาม
9. นำความรเู้ รื่องความเข้ม อยา่ งน้อย 50%
เสยี ง ไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ สงั เกตการตอบคำถาม
และปอ้ งกันอันตรายที่จะเกดิ คำถามของครู พิจารณาคำถามและการมี
กบั หู ส่วนรว่ มในการตอบคำถาม
อยา่ งน้อย 50%
10. บอกความหมายของ
ระดบั ความเขม้ เสียง

เป้าหมายการเรียนรู้ วิธวี ัดผล เครือ่ งมือวดั และประเมนิ ผล เกณฑก์ ารประเมิน

11. คำนวณหาปรมิ าณที่ ทำใบงาน เร่ือง ระดบั ความ - ใบงาน เรื่อง ระดับความ ทำแบบฝึกหดั ถูกต้องอยา่ ง
เกีย่ วข้องกับระดับความเขม้ เข้มเสยี ง น้อย 50%
เขม้ เสียง
เสียง

12. นำความรู้เรอื่ งระดบั สังเกตการตอบคำถาม คำถามของครู พจิ ารณาคำถามและการมี

ความเข้มเสียง ไปใช้ใหเ้ กิด ส่วนรว่ มในการตอบคำถาม

ประโยชนแ์ ละป้องกนั อยา่ งน้อย 50%

อันตรายทจี่ ะเกิดกับหู

13. บอกองค์ประกอบของหู สงั เกตการตอบคำถาม คำถามของครู พิจารณาคำถามและการมี

สว่ นร่วมในการตอบคำถาม

อยา่ งน้อย 50%

14. สืบค้นและนำเสนอข้อมูล ทำแผนภาพแสดงกลไกการ - แผนภาพแสดงกลไกการ ตามเกณฑก์ ารประเมินผล

เกย่ี วกบั การไดย้ ินเสยี ง ทำงานของหู ทำงานของหู งาน ต้องได้คะแนน

มากกวา่ 70%

15. นำความรเู้ รือ่ งการได้ยิน สังเกตการตอบคำถาม คำถามของครู พจิ ารณาคำถามและการมี

เสียง ไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ สว่ นร่วมในการตอบคำถาม

และปอ้ งกันอันตรายที่อาจ อย่างน้อย 50%

เกดิ กับหู

16. อธบิ ายความถี่ธรรมชาติ สังเกตการตอบคำถาม คำถามของครู พจิ ารณาคำถามและการมี

ของวตั ถุและยกตัวอย่าง สว่ นร่วมในการตอบคำถาม

ความถีธ่ รรมชาติของวตั ถุ อย่างน้อย 50%

บางอย่างได้

17. อธบิ ายการเกิดการส่ัน - สังเกตการณ์ตอบคำถาม - คำถามของครู - พจิ ารณาคำถามและ
พอ้ งของเสียงสำหรบั ท่อปลาย ทำกิจกรรมการทดลอง เร่ือง ใบกจิ กรรม เร่ือง การสน่ั พอ้ ง การมสี ว่ นรว่ มในการตอบ
ปิดด้านหน่งึ ได้
การส่นั พ้องของเสยี ง ของเสียง คำถามอย่างน้อย 50%

พิจารณาคำถามและการมี

ส่วนร่วมในการทำกจิ กรรม

การทดลอง อยา่ งน้อย

50%

18. อธิบายการเกิดสน่ั พ้อง - สังเกตการณต์ อบคำถาม - คำถามของครู - พิจารณาคำถามและ
ของเสยี งสำหรับทอ่ ปลายปิด ทำกจิ กรรมการทดลอง เร่ือง ใบกจิ กรรม เรื่อง การส่นั พอ้ ง การมีสว่ นร่วมในการตอบ
สองดา้ นได้
การส่ันพ้องของเสียง ของเสยี ง คำถามอยา่ งน้อย 50%

- พจิ ารณาคำถามและ

การมีส่วนร่วมในการทำ

กิจกรรมการทดลอง อย่าง

น้อย 50%

19. คำนวณหาคา่ ตา่ งๆ ท่ี - ทำแบบฝึกหดั - ใบงาน เรอ่ื ง การสนั่ พ้อง ทำแบบฝกึ หัดถกู ต้องอย่าง
เกีย่ วข้องกับการสั่นพ้องของ เสียง น้อย 50%

เสียงได้

เปา้ หมายการเรียนรู้ วธิ ีวัดผล เครอื่ งมือวดั และประเมนิ ผล เกณฑก์ ารประเมนิ

20. อธิบายการเกดิ บีตสข์ อง สงั เกตการตอบคำถาม คำถามของครู พิจารณาคำถามและการมี

เสียง พรอ้ มท้งั บอกเงื่อนไขท่ี สว่ นรว่ มในการตอบคำถาม

หคู นได้ยนิ เสียงบีตส์ อยา่ งน้อย 50%

21. คำนวณปรมิ าณท่ี ทำใบงาน เรื่อง การเกดิ บตี ส์ ใบงาน เร่อื ง การเกดิ บีตส์ พิจารณาการตอบคำถาม

เกยี่ วข้องกับการเกดิ บตี ส์ ตอ้ งตอบคำถามได้ถูกตอ้ ง

อย่างน้อย 50%

22. บอกลกั ษณะของเสยี งท่ี สงั เกตการตอบคำถาม คำถามของครู พิจารณาคำถามและการมี

ไดย้ ินจากปรากฏการณ์ดอป ส่วนรว่ มในการตอบคำถาม

เพลอร์ อย่างน้อย 50%

23. คำนวณปริมาณที่ ทำใบงาน เรื่อง ดอปเพลอร์ ใบงาน เร่อื ง ดอปเพลอร์ พิจารณาการตอบคำถาม

เกย่ี วข้องกบั ปรากฏการณ์ ต้องตอบคำถามได้ถูกตอ้ ง

ดอปเพลอร์ อย่างน้อย 50%

24. อธิบายการเกิดคล่นื สังเกตการตอบคำถาม คำถามของครู พจิ ารณาคำถามและการมี

กระแทก ส่วนรว่ มในการตอบคำถาม

อยา่ งน้อย 50%

25. ยกตวั อยา่ งเหตุการณ์ใน - ทำใบงาน เรือ่ ง คลนื่ - ใบงาน เร่ือง คลืน่ กระแทก พิจารณาการตอบคำถาม

ชีวติ ประจำวันท่เี กิดจากคลน่ื กระแทก ต้องตอบคำถามได้ถูกต้อง

กระแทกพรอ้ มทั้งอนั ตรายที่ อย่างน้อย 50%

เกดิ จาก

26. อธิบายหลกั การท่ี - การนำเสนอ - แผ่นพับความรู้ ไดค้ ะแนนมากกว่า 16

เกี่ยวข้องกับเสียงที่นำมาใช้ - การนำเสนอหน้าชัน้ เรยี น คะแนน ขึ้นไป

ประโยชน์ด้านตา่ งๆ

27. สืบคน้ และนำเสนอข้อมูล - การนำเสนอ - แผ่นพับความรู้ ได้คะแนนมากกว่า 16

เกี่ยวกับการประยกุ ตใ์ ช้ - การนำเสนอหน้าช้ันเรียน คะแนน ขน้ึ ไป

ความรูเ้ รื่องเสยี ง ดา้ นต่างๆ

เชน่ ด้านสถาปตั ยกรรม การ

ประมง การแพทย์ ธรณีวทิ ยา

วิศวกรรมและอตุ สาหกรรม

28. สามารถสรุปความคิด - ทำแผนผงั ความคิด - ใบกจิ กรรมแผนผงั ความคิด - สรปุ ความคดิ รวบยอด
รวบยอด เร่ือง เสียง ได้ ทำแบบทดสอบ เรือ่ ง เสียง
ไดถ้ ูกตอ้ งและเช่ือมโยงกนั
- แบบทดสอบหลงั เรยี น อยา่ งน้อย 50%
เรอื่ ง เสยี ง
ทำแบบทดสอบได้ถูกตอ้ ง

อยา่ งน้อย 70%

10.2 การประเมนิ เมื่อสน้ิ สดุ กิจกรรมการเรยี นรู้
1. ความรู้

ผลการเรียนรู้ วธิ กี ารวัด เคร่ืองมอื เกณฑ์ทีใ่ ช้ประเมิน
4–7 ต้องได้ไม่ต่ำกว่า 70%
- ทดสอบประจำหนว่ ย - แบบทดสอบประจำ

การเรยี นรทู้ ี่ 2 เรอ่ื ง เสียง หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2

เรอื่ ง เสียง

2. ทักษะ / กระบวนการ

ทกั ษะ/กระบวนการ วธิ ีการวดั เครื่องมือ เกณฑท์ ใี่ ช้ประเมนิ
4. การปฏิบตั กิ ิจกรรม - สงั เกตพฤตกิ รรมการ - แบบสงั เกตพฤติกรรม ต้องได้ไม่ต่ำกว่าระดับ
กล่มุ ทำงานรว่ มกนั ในกลุม่ การปฏบิ ัติกจิ กรรมกลุม่ คุณภาพ 3 คือ ดี จาก
ระดบั คุณภาพ 4 ดีมาก
5. การคดิ วิเคราะห์ และ - ใชค้ ำถามกระตุ้น - คำถามของผสู้ อน ต้องได้ไม่ต่ำกวา่ ระดับ
สงั เคราะห์ความรูอ้ ย่าง ความคดิ คุณภาพ 3 คือ ดี จาก
สรา้ งสรรค์ - ใบงาน เร่ือง คล่นื กล ระดับคุณภาพ 4 ดมี าก
- ตรวจสอบการทำ ตอบคำถามในใบงาน
6. การประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ กิจกรรมในใบงาน เร่ือง ถกู ต้องอย่างน้อย 50%
ในการแก้ปัญหาตามสถาน คลื่นกล
การณ์ที่กำหนดได้

3. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ วธิ กี ารวัด เคร่อื งมอื เกณฑท์ ใ่ี ช้ประเมิน
ต้องได้ไม่ตำ่ กวา่ ระดบั
1. ตรงต่อเวลา - สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ - แบบประเมนิ ผู้เรยี นเป็น คณุ ภาพ 3 คือ ดี จาก
ระดบั คุณภาพ 4 ดีมาก
เรียน การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม รายบคุ คล ตอ้ งไดไ้ ม่ตำ่ กวา่ ระดับ
คณุ ภาพ 3 คือ ดี จาก
และการส่งงานของนักเรยี น ระดบั คุณภาพ 4 ดีมาก

2. ใฝเ่ รียนรู้ และรับฟังความ - สังเกตพฤตกิ รรม ความ - แบบประเมินผเู้ รียนเปน็ ต้องไดไ้ ม่ต่ำกว่าระดับ
คิดเหน็ ของผ้อู น่ื คุณภาพ 3 คือ ดี จาก
รว่ มมอื ในการทำกจิ กรรม รายบคุ คล ระดับคุณภาพ 4 ดีมาก
ตอ้ งไดไ้ ม่ตำ่ กว่าระดบั
ต่างๆ แสวงหาความรู้ ยอมรบั คุณภาพ 3 คือ ดี จาก
ระดบั คุณภาพ 4 ดีมาก
ฟงั ความคิดเห็นของผู้อน่ื และ

แสดงความคิดเหน็ อยา่ งมี

เหตผุ ล

3. ความซอื่ สัตย์ - สงั เกตพฤติกรรมการทำ - แบบประเมนิ ผ้เู รียนเป็น

กจิ กรรม และแบบฝึกหดั รายบคุ คล

4. รักษาความสะอาด - สงั เกตพฤติกรรมการ - แบบประเมินผูเ้ รียนเป็น
รกั ษาความสะอาดของผลงาน รายบุคคล
และหอ้ งเรียน

4. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ วิธกี ารวดั เครอื่ งมอื เกณฑ์ที่ใชป้ ระเมิน
1. ความสามารถในการ ตอ้ งไดไ้ ม่ตำ่ กว่าระดบั
สอื่ สาร - สงั เกตพฤติกรรมการตอบ - แบบประเมนิ ผู้เรียนเป็น คณุ ภาพ 3 คือ ดี จาก
ระดบั คุณภาพ 4 ดีมาก
2. ความสามารถในการคดิ คำถาม การแสดงความ รายบคุ คล
ต้องไดไ้ ม่ต่ำกว่าระดบั
3. ความสามารถในการ คดิ เห็น การปฏบิ ัตกิ ิจกรรม คุณภาพ 3 คือ ดี จาก
แกป้ ัญหา ระดบั คุณภาพ 4 ดมี าก
ในหอ้ งเรยี น
ต้องได้ไม่ตำ่ กวา่ ระดบั
- สังเกตพฤตกิ รรมการ - แบบประเมินผเู้ รยี นเป็น คุณภาพ 3 คือ ดี จาก
ระดับคุณภาพ 4 ดมี าก
ตอบคำถาม การแสดงความ รายบคุ คล

คิดเห็น การทำกิจกรรม และ

แบบฝึกหดั

- สังเกตพฤติกรรมการทำ - แบบประเมินผูเ้ รยี นเปน็

กิจกรรม และแบบฝกึ หดั รายบคุ คล

หน่วยการเรียนรู้

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3 เรือ่ ง แสง เวลา 30 คาบเรยี น

รายวิชา ฟสิ ิกส์เพมิ่ เติม 3 รหสั วิชา ว30203 จำนวน 60 ช่ัวโมง 1.5 หน่วยกิต

กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2562

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. สาระฟิสิกส์

2. เขา้ ใจการเคล่ือนทแี่ บบฮารม์ อนกิ ส์อย่างง่าย ธรรมชาติของคล่ืน เสียงและการไดย้ นิ

ปรากฏการณ์ทเี่ กย่ี วข้องกับเสยี ง แสงและการเห็น ปรากฏการณท์ ่เี กย่ี วข้องกับแสง รวมท้ังนำาความร้ไู ปใช้

ประโยชน์

2. ผลการเรียนรู้
8. ทดลองและอธบิ ายสมบัติการแทรกสอดของแสงผา่ นสลิตคู่และเกรตตงิ สมบัติการเล้ียวเบนและ

การแทรกสอดของแสงผา่ นสลิตเดย่ี ว รวมทง้ั คำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ทีเ่ กย่ี วข้อง
9. ทดลองและอธบิ ายการสะทอ้ นของแสงท่ีผิววัตถตุ ามกฎการสะท้อน เขยี นรังสีของแสงและ

คำนวณตำแหนง่ และขนาดภาพของวัตถเุ มื่อแสงตกกระทบกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลม รวมทัง้
อธบิ ายการนำความรู้เรอื่ งการสะทอ้ นของแสงจากกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลมไปใชป้ ระโยชน์ใน
ชวี ติ ประจำวัน

10. ทดลองและอธิบายความสมั พันธร์ ะหว่างดรรชนีหกั เห มมุ ตกกระทบ และมมุ หกั เห รวมทัง้
อธิบายความสมั พันธร์ ะหวา่ งความลกึ จรงิ และความลึกปรากฏ มุมวกิ ฤตและการสะท้อนกลับหมดของแสง
และคำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง

11. ทดลองและเขียนรงั สีของแสงเพ่ือแสดงภาพทีเ่ กดิ จากเลนส์บาง หาตำแหน่ง ขนาด ชนิดของ
ภาพ และความสัมพันธร์ ะหว่างระยะวตั ถุ ระยะภาพและความยาวโฟกสั รวมทง้ั คำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ท่ี
เก่ียวข้อง และอธบิ ายการนำความรเู้ รื่องการหกั เหของแสงผ่านเลนสบ์ างไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจำวัน

12. อธบิ ายปรากฏการณธ์ รรมชาตทิ ี่เกยี่ วกบั แสง เช่น รุ้ง การทรงกลด มริ าจ และการเหน็ ท้องฟ้า
เปน็ สีตา่ ง ๆ ในชว่ งเวลาต่างกัน

13. สังเกตและอธิบายการมองเหน็ แสงสี สขี องวตั ถุ การผสมสารสี และการผสมแสงสี รวมท้งั
อธิบายสาเหตขุ องการบอดสี

3. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด
แสง คือ พลังงานทก่ี ระจายออกจากแหล่งกำเนดิ ในลกั ษณะของกลุม่ อนภุ าค เคลื่อนที่ตอ่ เนื่องกัน

เป็นลำแสง กล่มุ อนภุ าคนี้ เรยี กวา่ โฟตอน (photons) หรือควอนตา (quanta)
แสงอาทิตย์หรือแสงขาว เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยแสงสีต่าง ๆ หลายสี

ไดแ้ ก่ แสงสีมว่ ง คราม น้ำเงนิ เขยี ว เหลอื ง แสด แดง
แสงเดินทางในสุญญากาศดว้ ยอัตราเร็ว 3 x 108 เมตรตอ่ วนิ าที
การสะท้อนของแสง เกิดขน้ึ เม่ือแสงเคล่ือนที่ไปกระทบวัตถุต่างชนิดกัน แสงจะเปล่ยี นทิศทางการ

เคลอื่ นที่ ทำให้แสงท่ีตำแหน่งบนผิวท่ีแสงตกกระทบมีทศิ การเคลื่อนท่ีย้อนกลับในตัวกลางเดิม การสะท้อน

ของแสงท่ีตกกระทบพื้นผิวลักษณะต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นผิวราบ ผิวโค้งเว้า หรือผิวโค้งนูน จะเป็นไปตามกฎ
การสะทอ้ น คือ มุมตกกระทบจะเทา่ กบั มุมสะท้อน

เมื่อวางวตั ถุไว้หน้ากระจก เราสามารถมองเห็นภาพของวตั ถุได้จากการที่แสงจากวตั ถุไปตกกระทบ
ผวิ กระจกเงาราบ แล้วสะท้อนกลับมาเข้าตาเรา ถ้ารังสีสะท้อนมาตัดกันจริงที่หน้ากระจก ภาพท่ีเกิดข้ึนจะ
เป็นภาพจริง สามารถนำฉากมารับได้ แต่ถ้ารังสีสะท้อนไม่สามารถตัดกันได้จริงที่หน้ากระจก ต้องต่อรังสี
เสมือนไปตัดกันหลังกระจก ภาพที่เกิดข้ึนจะเป็นภาพเสมือน ภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบ จะเป็น
ภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดเท่ากับวัตถุ มีลักษณะกลับซ้ายเป็นขวา ส่วนภาพท่ีเกิดจากกระจกนูนจะเป็น
ภาพเสมือนหัวต้ังขนาดเล็กกว่าวัตถุ และภาพท่ีเกิดจากกระจกเว้าจะเป็นไปได้ทั้งภาพจริงและภาพเสมือน
โดยขนึ้ อยูก่ บั ตำแหนง่ ของวัตถุหนา้ กระจกเวา้

กระจกเงาโค้งมี 2 แบบคือ กระจกเงาเว้า (concave mirror) และกระจกนูน (convex mirror)
ความโค้งของกระจกที่กล่าวถึงน้ีเป็นความโค้งส่วนหน่ึงท่ีตัดมาจากวงกลม กระจกเว้าและกระจกนูน
แตกต่างกนั ท่ี กระจกเว้ารวมแสงส่วนกระจกนนู กระจายแสง

การหักเหของแสง หมายถึง การเปล่ยี นทิศทางของแสงเม่ือแสงเดินทางผ่านตัวกลางต่างชนดิ กัน
เน่ืองจาก อัตราเร็วของแสงในแต่ละตัวกลางไม่เท่ากัน โดยเม่ือแสงเกิดการหักเห องค์ประกอบในตัวกลาง
ทง้ั สองท่ีเปลีย่ นแปลง คือ ความเร็วและความยาวคล่นื สว่ นความถีม่ ีค่าคงที่

เลนส์ เปน็ วตั ถโุ ปร่งใสทำจากแกว้ หรือพลาสติก แบง่ เป็น 2 กล่มุ คือ เลนสน์ ูนและเลนส์เว้า
1. เลนส์นูน (convex lens) มีสมบัติในการรวมแสง โดยเมื่อฉายแสงขนานไปยังเลนส์นูนแสง
จะไปรวมที่จุดๆหน่ึงบนแกนมุขสำคัญ เรียกว่า จุดโฟกัสสำคัญของเลนส์ เลนส์นูนมี 3 แบบ ได้แก่ เลนส์
นูนสองหน้า (double convex lens) เลนส์นูนแกมระนาบ (Plato-convex lens) และเลนส์นูนแกมเว้า
(concavo-convex lens)
2. เลนส์เว้า (concave lens) มีสมบัติในการกระจายแสง เม่ือแสงขนานตกกระทบกับเลนส์
เว้ามักจะหักเหให้บานออกไป แต่แนวรังสีที่บานออกไปเม่ือย้อนกลับทางเดิมทุกแนวจะไปที่จุดโฟกัสเลนส์
เว้ามี 3 แบบ ได้แก่ เลนส์เว้าสองหน้า (double concave lens) เลนส์เว้าแกมระนาบ (plano-concave)
และเลนส์เว้าแกมนูน (convexo-concave)
เราสามารถนำความรู้เรื่องการหักเหของแสงผ่านเลนส์มาสร้างอุปกรณ์ต่างๆ ท่ีเป็นประโยชน์ได้
หลายอยา่ ง เชน่ เครื่องฉายภาพน่งิ กล้องถา่ ยรปู กล้องจลุ ทรรศน์ และกล้องโทรทศั น์

4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
4.1 ความรู้
1. อธิบายธรรมชาติของแสงท่ีมาจากแหลง่ กำเนิดแสงได้
2. อธบิ ายลักษณะการเคล่ือนท่ขี องแสงได้
3. อธิบายวธิ ีการวดั อัตราเรว็ ของแสงได้
4. อธบิ ายการสะทอ้ นแสงที่ผวิ วตั ถุลกั ษณะต่างๆ และสรปุ เป็นกฎการสะท้อนของแสงได้
5. บอกได้วา่ รังสตี กกระทบ รงั สีสะทอ้ น และเส้นแนวฉากอยู่บนระนาบเดยี วกนั
6. สรุปไดว้ า่ มุมตกกระทบเท่ากับมมุ สะท้อน
7. บอกตำแหน่งและชนิดของภาพทเ่ี กดิ ขึ้นจากกระจกเงาราบ
8. บอกความสมั พนั ธ์ระหวา่ งระยะวตั ถุและระยะภาพ
9. นำแนวคิดเรื่องภาพท่ีเกิดจากกระจกเงาราบไปใช้ในชวี ิตประจำวันได้
10.อธบิ ายลักษณะของกระจกเงาเว้าและกระจกเงานูน

11.อธิบายองค์ประกอบของกระเงาโค้ง ได้แก่ ศูนย์กลางความโค้ง รัศมีความโค้ง เส้นแกน
มขุ สำคัญ และจดุ ยอด

12.อธิบายความหมายของโฟกัส รัศมีความโค้ง ความยาวโฟกัส และความสัมพันธ์ของปริมาณ
ท้ังสอง

13.อธิบายความสมั พนั ธ์ระหว่างระยะวตั ถุ ระยะภาพ และความยาวโฟกัสของกระจกเงาโค้ง
14.อธิบายการหักเหของแสงท่ีรอยตอ่ ของตัวกลางคู่หน่ึงๆ
15.อธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งดรรชนหี ักเหและกฎของสเนลล์
16.อธบิ ายกฎการหักเหของแสงได้
17.นำแนวคิดเรอ่ื งการหกั เหของแสงไปใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้
18.อธบิ ายความหมายของมมุ วกิ ฤต
19.อธิบายความหมายของการสะทอ้ นกลับหมด
20.นำแนวคดิ เรื่องการมุมวิกฤติและการสะท้อนกลบั หมดของแสงไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้
21.อธบิ ายส่วนประกอบสำคัญของเลนสน์ ูน
22.หาความสมั พันธ์ระหวา่ งระยะวัตถุ ระยะภาพ และความยาวโฟกสั
23.นำแนวคิดเรื่องภาพทเ่ี กดิ จากเลนสน์ นู ไปใชใ้ นชีวิตประจำวันได้
24.อธบิ ายสว่ นประกอบสำคญั ของเลนสเ์ ว้า
25.นำแนวคดิ เรอื่ งภาพทเ่ี กดิ จากเลนส์เว้าไปใช้ในชีวติ ประจำวันได้
26.อธบิ ายเก่ียวกับความผิดปกติของคนทมี่ สี ายตาสั้น และสายตายาว
27.นำแนวคิดเรอื่ งเลนส์ ไปแก้ปัญหาสายตาสนั้ และสายตายาวได้
28.บอกเง่ือนไขของระยะวัตถุสำหรบั การเห็นภาพขนาดขยายของแวน่ ขยาย
29.อธบิ ายส่วนประกอบและหลักการทำงานของกลอ้ งถ่ายรูป
30.บอกส่วนประกอบและเงื่อนไขของภาพท่ีเกดิ จากกลอ้ งจลุ ทรรศน์
31.บอกส่วนประกอบและเง่ือนไขของภาพท่เี กดิ จากกลอ้ งโทรทรรศน์
32.อธิบายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งอตั ราการให้พลงั งานแสงของแหล่งกำเนดิ แสงกับความสว่าง

บนพืน้ ทที่ ร่ี บั แสง และใชค้ ำนวณหาปรมิ าณที่เกย่ี วข้องจากสถานการณ์ที่กำหนดให้นำ
ความรูเ้ ร่อื งความสวา่ งไปอธบิ ายการจัดแสงสว่างให้เหมาะสมในสถานทีต่ ่างๆได้
33.อธิบายการมองเห็นสตี ่างๆ ของตา
34.อธิบายสารสปี ฐมภมู ิ
35.นำความรู้เรื่องตาและการมองเหน็ สไี ปอธบิ ายลักษณะความผิดปกติต่างๆ ทีเ่ กี่ยวกบั ตา
36.อธิบายการสะท้อนของแสง การหาตำแหน่ง ขนาดและชนดิ ของภาพทเ่ี กิดจากกระจกเงา
ราบและกระจกเงาโคง้ ทัง้ โดยการเขยี นภาพและการคำนวณ
37.อธิบายการหักเหของแสงเมื่อผ่านรอยตอ่ ระหว่างตัวกลางสองชนดิ
38.อธิบายการหาตำแหนง่ ขนาดและชนดิ ของภาพที่เกิดจากเลนส์บาง ทัง้ โดยการเขียนภาพ
และการคำนวณ
39.อธิบายปรากฏการณ์ที่เกย่ี วกับแสง ได้แก่ การกระจายแสง การสะท้อนกลบั หมดของแสง
รุ้ง การทรงกลด และมิราจ
40.อธิบายหลกั การทำงานของทัศนอปุ กรณบ์ างชนดิ ได้แก่ เครอ่ื งฉายภาพ กลอ้ งถ่ายรปู
กล้องจุลทรรศน์ และกล้องโทรทรรศน์
41.อธิบายความสว่างและการมองเห็นสี

4.2 ทักษะกระบวนการ
1. การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเป็นกลมุ่
2. การคิด วิเคราะห์ และสังเคราะห์ความร้อู ยา่ งสร้างสรรค์
3. การประยกุ ตใ์ ชค้ วามรใู้ นการแกป้ ัญหาตามสถานการณ์ท่ีกำหนดได้

4.3 คุณลกั ษณะ
1. เขา้ เรียน ปฏิบัตกิ จิ กรรม และสง่ งานตรงเวลา (มวี ินัย)
2. ร่วมมือในการเรยี น แสวงหาความรู้ ตอบคำถาม ยอมรับความคิดเห็น ยกย่องผู้อนื่ และ
แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล (ใฝ่เรยี นรู้)
3. ทำกจิ กรรม และทำแบบฝกึ หัดดว้ ยความซื่อสตั ย์ (ซ่ือสัตยส์ ุจริต)
4. รักษาความสะอาดของผลงาน หอ้ งเรียน และสถานทปี่ ฏบิ ตั ิกิจกรรม (มจี ิตสาธารณะ)

5. สมรรถนะสำคัญ
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา

6. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. มีวนิ ยั
2. ใฝ่เรยี นรู้
3. ซอ่ื สัตย์สจุ ริต
4. มจี ิตสาธารณะ

7. ช้ินงาน/ภาระงาน
1. กระดาษใบเล็ก เร่ือง ธรรมชาติและอัตราเรว็ ของแสง
2. ใบกิจกรรมท่ี 1 เรื่อง แสงเดนิ ทางอย่างไร
3. ใบกจิ กรรมที่ 2 เรอ่ื ง การหาอัตราเร็วของแสง
4. ใบกจิ กรรมที่ 3 เรื่อง ธรรมชาตขิ องแสง
5. บัตรคำถามก่อนเรียน เรอื่ ง การสะทอ้ นของแสง
6. ใบกิจกรรมท่ี 4 เร่อื ง ผวิ ของวัตถกุ ับการสะท้อนของแสง
7. ใบกิจกรรมที่ 5 เรอ่ื ง กฎการสะท้อนของแสง
8. ใบกจิ กรรมที่ 6 เรอื่ ง เด้งไปเด้งมา
9. บตั รคำถามก่อนเรียน เรอ่ื ง ภาพท่เี กิดจากกระจกเงาราบ
10. ใบกิจกรรมท่ี 7 เร่อื ง การหาตำแหนง่ ภาพทเี่ กิดจากกระจกเงาราบ
11. ใบกจิ กรรมท่ี 8 เรอ่ื ง ภาพท่ีเกิดจากกระจกเงาราบ
12. ใบกิจกรรมท่ี 9 เรอ่ื ง การใช้ประโยชน์จากกระจกเงาราบ
13. บตั รคำถามก่อนเรียน เร่อื ง ภาพทีเ่ กดิ จากกระจกโค้ง
14. ใบกิจกรรมที่ 10 เร่ือง คุณสมบตั ิของผวิ สะทอ้ นโค้งนูน-เว้า
15. ใบกจิ กรรมท่ี 11 เร่ือง ภาพที่เกดิ จากกระจกโคง้
16. ใบกจิ กรรมท่ี 12 เรื่อง การใช้ประโยชนจ์ ากกระจกโค้ง
17. กระดาษใบเล็ก เรอ่ื ง การหกั เหของแสง


Click to View FlipBook Version