การคมนาคม 1
เทคโนโลยี 2
การนาเทคโนโลยีมาใช้ในการคมนาคม 3-4
การนาเทคโนโลยีมาพฒั นา 5-8
การปรับปรุงด้านคมนาคมด้วยเทคโนโลยี 9-10
อนาคตการคมนาท่ีมเี ทคโนโลยมี าชว่ ยพฒั นา 11
การคมนาคม
การคมนาคมหรือการขนส่ง คอื การเคล่อื นยา้ ยคนและส่ิงของจากที่หน่ึงไปยงั อกี ที่หน่ึง การขนส่งแบง่ ออกเป็นหมวดใหญ่
ดงั น้ี ทางบก ทางน้า ทางอากาศ และ อ่ืน ๆเราสามารถพิจารณาการขนส่งไดจ้ ากหลายมุมมอง โดยคร่าว ๆ แลว้ เราจะ
พิจารณาในสามมุมคือ มมุ ของโครงสร้างพ้ืนฐาน, ยานพาหนะ, และการดาเนินการ
• โครงสรา้ งพน้ื ฐาน พจิ ารณาโครงข่ายการขนส่งท่ใี ช้ เช่น ถนน ทางรถไฟ เสน้ ทางการบิน คลอง หรือ ทอ่ ส่ง รวม
ไปถึงสถานีการขนส่ง เช่น ทา่ อากาศยานสถานีรถไฟ ทา่ รถ และ ท่าเรือ
• ยานพาหนะ คอื ส่ิงที่เคลอ่ื นที่ไปบนโครงขา่ ยน้นั เช่น รถยนต์ รถไฟ เครื่องบิน เรือ
• การดาเนินการ สนใจเกีย่ วกบั การควบคมุ ระบบ เช่น ระบบจราจร ระบบควบคุมการบิน และนโยบาย เชน่ วิธีการ
จดั การเงนิ ของระบบ เชน่ การเก็บคา่ ผา่ นทางหรือการเกบ็ ภาษนี ้ามนั เป็นตน้
กลา่ วคร่าว ๆ ไดว้ า่ การออกแบบโครงข่ายการขนส่งเป็นงานของสาขาวิศวกรรมขนส่ง (Transportation Engineering) และ
สาขาผงั เมอื ง การออกแบบยานพาหนะเป็นงานของสาขาวศิ วกรรมเคร่ืองกล และสาขาเฉพาะทางเชน่ วิศวกรรมเรือและ
วิศวกรรมอวกาศยานและสาหรบั ในส่วนของการดาเนินงานน้นั มกั เป็นสาขาเฉพาะทาง แต่ก็ไม่ผิดนกั ทจ่ี ะกล่าวว่าอยใู่ น
สาขาการวิจยั ดาเนินงาน (Operation Management) หรือวศิ วกรรมระบบ ท้งั น้ีรวมไปถึงวิศวกรรมโลจิสตกิ สแ์ ละการ
จดั การโลจิสติกสอ์ กี ดว้ ย เพราะการขนส่งจดั เป็น 1 ใน 13 กิจกรรมทางดา้ นโลจสิ ตกิ ส์
1
เทคโนโลยี
เทคโนโลยี (Technology) คอื การใชค้ วามรู้ เคร่ืองมือ ความคิด หลกั การ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวธิ ี กระบวนการตลอดจน
ผลงานทางวทิ ยาศาสตร์ท้งั ส่ิงประดษิ ฐ์และวิธีการ มาประยุกต์ใชใ้ นระบบงานเพอ่ื ชว่ ยใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงในการทางาน
ให้ดยี ิง่ ข้ึนและเพ่ือเพม่ิ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานให้มมี ากย่ิงข้ึน
ประโยชนข์ องเทคโนโลยี
-ชว่ ยยกระดบั คุณภาพชีวิตของมนุษย์ แถมยงั ชว่ ยพฒั นาระบบอารายธรรมโดยทางออ้ มอกี ดว้ ย เรื่องราวจากการเริ่มตน้
เทคโนโลยี ยาวนานจนบดั น้ีทาให้มนุษยเ์ ราแทบไม่สามารถแยกจากเทคโนโลยไี ปไดแ้ ลว้ -ชว่ ยใหม้ นุษยม์ ีความ
สะดวกสบายข้นึ -ช่วยให้เราทนั สมยั
ความสาคัญของเทคโนโลยี เทคโนโลยี Technology เม่อื พดู ถึงสิ่งน้ี เราทกุ คนจะนึกถงึ สิ่งประดษิ ฐท์ างดา้ น วิทยาศาสตร์ที่
ไดร้ ับ การปรับปรุงดูแล อีกท้งั สามารถ สร้างสรรคม์ ากมาย เพือ่ ให้เกิดการพฒั นา เพื่อหลายส่ิง ที่สามารถนามาใช้
ประโยชน์ใหก้ บั ประชาชน
ไดใ้ ชง้ านและ ใชป้ ระโยชน์จากมนั สาหรับเทคโนโลยี Technology ทเ่ี กดิ ข้ึน และถอื วา่ เป็นส่ิงที่ ประเทศผมู้ อี านาจท้งั หลาย
ต่างคิดจะพฒั นา เพอ่ื ผลประโยชน์ ของแต่ละประเทศน้นั ๆ และมกี ารแขง่ ขนั เพอื่ จะพฒั นาเทคโนโลยีตา่ งๆ เพอื่ เศรษฐกิจ
ของประเทศ เทคโนโลยีลา้ ยคุ สาหรับการพฒั นา เพอื่ สิ่งที่เป็นผลประโยชน์ ของเหล่าผูใ้ ชส้ ินคา้ หรือสิ่งของท่ีเป็นเทคโนโลยี
ที่ไดร้ บั การพฒั นา มาอยา่ งตอ่ เนื่อง โดยการนาเอาส่ิงทม่ี นุษ์ พฒั นามาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนส์ ูงสุด ไมว่ า่ จะเป็น เคร่ืองจกั รกล
การส่ือสารสารสนเทศ สารธาณูประโภค เทคโนโลยีมาใหม่
วสั ดุการกอ่ สรา้ ง ท่อี ยู่อาศยั การขนส่ง แมก้ ระทงั่ อาหารการกิน ยารกั ษาโรค ทุกสิ่งทกุ อยา่ ง มกี ารพฒั นาดา้ นเทคโนโลยี เขา้
มาเก่ยี วขอ้ งท้งั สิ้น แมก้ ระทง่ั ชีวติ ของมนุษยเ์ ราในปัจจุบนั ตา่ งก็มคี วามเกยี่ วขอ้ ง กบั เทคโนโลยที ้งั สิ้น แต่คนส่วนใหญ่ จะ
คนุ้ เคยกบั เทคโนโลยี ดา้ นการสื่อสารเป็นส่วนใหญ่ เพราะในปัจจบุ นั เทคโนโลยี ส่ิงประดิษฐต่างๆ ถอื ว่าเป็นสิ่งท่ีใกลช้ ิด
กบั มนุษยไ์ ปแลว้ จนมกี ารพฒั นา มากมายเกิดข้ึน เพอ่ื ใหไ้ ดเ้ ทคโนโลยี ที่ทนั สมยั และกา้ วล้าหน้าผอู้ น่ื ถือว่าเป็นการแข่งขนั
ดา้ นหน่ึงของ ในแต่ละประเทศทว่ั โลก เทคโนโลยีทว่ั โลก
ซ่ึงเป็นการแขง่ ขนั ในดา้ นเทคโนโลยี ถอื ว่าเป็นการแข่งขนั ทีม่ กั จะควบคู่ ไปกบั การพฒั นาประเทศของตนเอง สาหรบั
เทคโนโลยีในปัจจบุ นั เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม ทีพ่ ฒั นาเป็นอย่างมาก โดยมากเทคโนโลยี จะสามารถแยกได้ 3 จาพวก
ใหญ่ๆ คือ
1. เทคโนโลยีดา้ นผลผลิต (Product)
2. เทคโยโลยดี า้ นกระบวนการ (Process)
3. เทคโนโลยีผสมผสาน เป็นการนาเอาการผลติ มารวมกบั กระบวนการ (Product and rocess)
2
การนาเทคโนโลยีมาใชใ้ นการคมนาคม
ดา้ นการคมนาคม มกี ารใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในส่วนทีเ่ กยี่ วกบั การเดนิ ทาง เช่น การเดนิ ทางโดยรถไฟ มี
กรเช่ือมโยงขอ้ มลู การจองทนี่ งั่ ไปยงั ทกุ สถานี ทาให้สะดวกตอ่ ผูโ้ ดยสาร
การเชค็ อนิ ของสายการบิน ไดจ้ ดั ทาเครื่องมือทสี่ ะดวกตอ่ ลูกคา้ ในรูปแบบของการเช็คอนิ ดว้ ยตนเอง
การขนส่งมีการพฒั นาโดยตลอดเริ่มต้งั แตม่ นุษยอ์ าศยั พลงั งานจากธรรมชาติ ตลอดจนใชก้ าลงั สัตวเ์ ป็นพาหนะในการ
เดินทาง เมื่อความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และวศิ วกรรมเจริญกา้ วหนา้ มากข้นึ มนุษยจ์ งึ ไดน้ าความรูม้ าประยกุ ต์ใชใ้ น
ดา้ นการขนส่งโดยเฉพาะอย่างยิง่ กบั ยานพาหนะหรือเครื่องมอื ประเภทต่างๆ
1. ใชพ้ ลงั งานจากธรรมชาติ เป็นยุคแรกของการขนส่งซ่ึงรวมถงึ การใชก้ าลงั ของสัตวใ์ นการลากจงู เชน่ การใชก้ วาง
เรนเดียร์ หรือฝูงหมาป่ าเพื่อลากรถไปบนหิมะ หรือการใชแ้ รงลมเพื่อการแล่นเรือใบของชาวไวกง้ิ แห่งคาบสมทุ ร
สแกนดเิ นเวีย เป็นตน้ การเดินทางในยคุ แรกน้ีสามารถบรรทุกส่ิงของหรือคนไดจ้ านวนจากดั และตอ้ งใชก้ าลงั
สัตวเ์ ป็นจานวนมากเม่ือเทยี บกบั ปริมาณส่ิงของท่ตี อ้ งการบรรทุก
2. ยคุ วงลอ้ เป็นยุคทม่ี นุษยเ์ ร่ิมรู้จกั ประดษิ ฐ์วงลอ้ ใชเ้ ป็นอปุ กรณ์ชว่ ยในการลากจงู ทาใหเ้ พม่ิ ความ สามารถในการ
บรรทกุ ส่ิงของและเดนิ ทางได้ระยะไกลมากข้นึ แต่ยงั คงใชแ้ รงจากสัตวใ์ นการลากจงู เหมือนเดิม
3. ยุคเครื่องจกั รไอนา้ เกิดข้ึนในชว่ งปฏิวตั ิอตุ สาหกรรมโดย เจมส์ วตั ต์ (James Watt พ.ศ. 2279– 2360) เป็นผูค้ ดิ คน้
เคร่ืองจกั รไอน้า (steam engine) ซ่ึงนามาใชใ้ นการขนส่งทง้ั ทางบกและทางน้า เชน่ ใชใ้ นการเดนิ เรือประมาณศตวรรษ
ที่ 18 และนามาใชก้ บั หวั รถจกั รในตน้ ศตวรรษที่ 19 ในยคุ น้ีมีการขยายตวั และพฒั นาระบบการขนส่งอย่างรวดเร็ว
4. ยุคมอเตอร์ไฟฟ้า เป็นยุคทีม่ นุษยไ์ ดค้ ดิ ประดิษฐม์ อเตอร์ไฟฟ้าข้ึนแลว้ นามาใชโ้ ดยเฉพาะกบั การขนส่งทางบกใน
อดีต เชน่ รถราง ซ่ึงเป็นรูปแบบหน่ึงของการขนส่งคนในระยะใกลแ้ ละในปัจจบุ นั ยงั ใชก้ นั อยใู่ นหลายประเทศ
3
5. ยุคเคร่ืองยนตส์ ันดาปภายใน เป็นยุคที่มนุษยร์ ู้จกั นาความรูด้ า้ นการสนั ดาปภายใน (internal combustion) ของเครื่องยนต์
มาประยกุ ต์ใชเ้ ป็นตน้ กาลงั ของการขนส่งโดยนาเชื้อเพลงิ น้ามนั หรือแกส๊ มาใชป้ ระโยชน์ ซ่ึงเป็นทนี่ ิยมใชก้ นั อย่าง
แพร่หลาย ท้งั การขนส่ง ทางบก ทางน้า และทางอากาศ ต้งั แตอ่ ดีตจนถึงปัจจุบนั
6. ยุคไอพน่ และจรวด เริ่มตน้ ประมาณตน้ ศตวรรษท่ี 20 เป็นยุคทม่ี นุษยแ์ ข่งขนั กนั ในรูปของความเร็ว ซ่ึงตอ่ เนื่องจากยุค
เคร่ืองยนต์สันดาปภายใน โดยเน้นดา้ นการขนส่งทางอากาศซ่ึงตอ้ งการความรวดเร็ว จึงทาให้ประหยดั เวลาในการขนส่ง
สินคา้ และคน และยงั เกีย่ วโยงกบั ธุรกจิ ดา้ นท่พี กั ในแหล่งท่องเที่ยว การจดั กจิ กรรมและการขายเพือ่ การบริการดา้ นการ
ท่องเทีย่ ว
7. ยุคนิวเคลยี ร์ เป็นอีกยุคหน่ึงทม่ี นุษยน์ าความรู้ความเจริญกา้ วหน้าทางวิทยาศาสตร์สมยั ใหม่ทางดา้ นเคมีเชิงฟิ สิกส์
(Physical Chemistry) และฟิ สิกสน์ ิวเคลยี ร์ (Nuclear Physics) เขา้ มาชว่ ยในการขนส่ง แต่เป็นการลงทนุ ทส่ี ูงมาก จงึ ทาให้
เทคโนโลยกี ารขนส่งน้ีจากดั อยูก่ บั การใชง้ านดา้ นการทหาร และการคน้ ควา้ ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์เป็นส่วนใหญ่
ความสาคญั ของการขนส่ง
การเดนิ ทางหรือการขนส่งทเี่ กดิ ข้ึนแต่ละคร้งั ตอ้ งอา้ งองิ กบั กิจกรรมของผูท้ ่ที าใหเ้ กดิ การเดนิ ทางหรือขนส่งน้นั ดว้ ยเหตนุ ้ี
การเดินทางหรือขนส่งจงึ เป็นส่ิงที่สืบเนื่องมาจากกิจกรรมทีผ่ กู้ อ่ ให้เกดิ การเดินทางมีความประสงคท์ ่ี จะกระทา โดยทว่ั ไป
สามารถจาแนกการเดินทางตามวตั ถปุ ระสงคต์ า่ งๆ ได้ 7 ประเภทคอื การเดินทางเพ่อื ประกอบอาชีพ การเดินทางเพ่ือกลบั
บา้ น การเดนิ ทางเพื่อไปศกึ ษา การเดนิ ทางเพ่ือซ้ือสินคา้ การเดินทางเพื่อธุรกิจส่วนตวั การเดนิ ทางเพอ่ื ติดต่อสงั สรรคก์ บั
ผูอ้ ่ืน และการเดนิ ทางเพ่ือท่องเท่ียว
4
การนาเทคโนโลยมี าพฒั นา
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร มีส่วนทาให้ชีวติ ความเป็นอยู่ของคนในปัจจบุ นั มีความสะดวกสบายมากข้ึน ทาให้
คนในสังคมมีการตดิ ต่อส่ือสารถึงกนั ไดง้ ่ายและรวดเร็ว มีการทากิจกรรมหลายส่ิงหลายอยา่ งร่วมกนั ง่ายข้ึน การใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกอ่ ให้เกดิ ประโยชน์ในดา้ นตา่ งๆ
การพฒั นาเทคโนโลยีสมยั ใหม่ กา้ วหนา้ อยา่ งรวดเร็ว ผลกั ดนั ให้เกดิ การเปลี่ยนแปลงภายใตบ้ ริบท ท่เี ชื่อมโยงต่อเน่ืองกนั
ในลกั ษณะ เศรษฐศาสตร์เครือข่าย หรือท่เี รียกวา่ (networked economy) มีการเปล่ยี นแปลง เคลอ่ื นยา้ ยอย่างรวดเร็ว(เพียงแค่
กดเมา้ สข์ องคอมพิวเตอร์)เสมอื นดงั ไมม่ พี รมแดนของประเทศ ปรบั เปลีย่ นโครงสร้างความสมั พนั ธ์ ทาง เศรษฐกิจ การเมอื ง
สังคม ระหวา่ งประเทศ การพฒั นาเทคโนโลยสี ื่อสารและสารสนเทศ ส่งผลใหโ้ ลกมีสภาพ เหมือนเป็นหน่ึงเดียว มีการ
แขง่ ขนั สูงผลกระทบในวงกวา้ ง (systemic and dynamism ) ต่อผผู้ ลิต ผูบ้ ริโภค อย่างทไ่ี มเ่ คยปรากฏมากอ่ น และนนั่ เป็น
จดุ เริ่มตน้ ของกระบวนทที่ าไห้ทรพั ยากรมนุษยเ์ กิดการปรับตวั พฒั นาให้เป็นทรัพยากรมนุษยท์ ่ีอย่ใู นโลกเศรษฐกจิ ใหม่
เทคโนโลยีไดเ้ ขา้ ไปมบี ทบาทต่อวถิ ชี ีวติ ผูค้ นและสังคมในรูปแบบตา่ ง ๆ กล่าวคือ
1. ดา้ นการศกึ ษา
มีการนาเอาคอมพวิ เตอร์มาชว่ ยสอน (CAI)โดยทาเป็นสื่อประสม (Multimedia)มรี ะบบการเรียนการสอนทางไกล (Tele-
Education)มหี อ้ งปฏิบตั กิ ารคอมพวิ เตอร์เพ่มิ มากข้ึน นกั เรียน นกั ศกึ ษา ไดม้ โี อกาสเรียนรู้และปฏิบัตจิ ริงไดม้ ากข้ึน สาหรับ
โรงเรียนมธั ยม กม็ ีการจดั การเรียนการสอนดา้ นคอมพิวเตอร์ โดยกาหนดใหเ้ ป็นรายวชิ าเลือก ในระดบั วทิ ยาลยั และ
มหาวิทยาลยั มเี ปิ ดสอนสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา
5
2. ดา้ นการแพทย์
เริ่มต้งั แต่การจดั ทาประวตั คิ นไข้ ไปจนถึงการออกใบเสร็จรบั เงนิ การพิมพฉ์ ลากยา กย็ งั ใชร้ ะบบคอมพิวเตอร์ โดยจะพมิ พ์
ใส่กระดาษกาวไวก้ ่อน เมอื่ จะส่งให้คนไขก้ ็ติดท่ีขวดหรือถงุ ยา จะได้ไม่ผิดพลาดในการใหย้ าตรงตามแพทยส์ งั่ บางแห่งให้
แพทยส์ ่งั ยาผ่านระบบคอมพิวเตอร์ เพอ่ื ลดความผิดพลาดในการตีความหมายจากลายมอื ของแพทย์ นอกจากน้ีบางแห่งยงั มี
การรักษาทางไกลโดยผา่ นดาวเทียมส่ือสารความเร็วสูง ทีแ่ พทยต์ ่างประเทศ สามารถมองเห็นคนไข้ ในประเทศไทย และให้
คาแนะนา ในการรักษาผ่าตดั ทนั ที แต่ไมเ่ ป็นทน่ี ิยม เพราะตอ้ งใชเ้ งนิ ลงทุนสูงมาก
3. ดา้ นการธนาคาร
มกี ารใหบ้ ริการฝาก-ถอนเงิน โอนเงนิ ซ่ึงมีมานานแลว้ และในปัจจุบนั น้ีเร่ิมมีระบบe-bankingโดยสามารถใช้
โทรศพั ทม์ าทารายการที่ธนาคารได้ ไม่ตอ้ งเสียเวลาในการเดินทางมาทธ่ี นาคาร นอกจากน้ี ให้บริการบตั รเครดติ อีก
หลากหลายประเภท ซ่ึงสามารถถอนเงนิ ทต่ี ูA้ TMท่ีใดกไ็ ด้
6
4. ดา้ นหอ้ งสมดุ
การให้บริการยืม-คนื ผา่ นระบบคอมพวิ เตอร์ จะเป็นลกั ษณะที่ตอ้ งยมื ผ่านเจา้ หนา้ ท่ีบรรณารักษ์ ซ่ึงจะป้อนขอ้ มูลการยมื เขา้
ไป หรือใชเ้ ครื่องอา่ นรหัสแท่ง(Bar code) และเมือ่ คืนหนงั สือก็ตอ้ งผา่ นเจา้ หนา้ ที่บรรณารักษเ์ ชน่ เดิม หลายแห่ง เปล่ยี นมา
ใชก้ ารฝงั แถบแมเ่ หล็กเขา้ ไปในหนงั สือ และมีเคร่ืองตรวจจบั หนงั สือทถ่ี กู นาออกหอ้ งสมดุ โดยทย่ี งั ไม่ถูกยืม เพ่อื ป้องกนั
หนงั สือสูญหาย
5. ดา้ นการรถไฟแห่งประเทศไทย
แตเ่ ดมิ จะไมส่ ะดวกกบั ผซู้ ้ือเพราะซ้ือตวั๋ ท่ีไหนจะตอ้ งข้ึนรถไฟที่นนั่ แตใ่ นปัจจุบนั มีบริการซ้ือตว๋ั ดว้ ยระบบคอมพวิ เตอร์
ทาใหส้ ามารถจะซ้ือตวั๋ ท่ีสถานีใดก็ได้ กาหนดสถานีตน้ ปลายทาง ปลายทางไดอ้ ยา่ งอิสระ สามารถซ้ือตว๋ั ล่วงหนา้ ไดม้ าก
กวา่ เดมิ และมบี ริการเสริมข้นึ มากมาย เชน่ สามารถคืนตว๋ั กอ่ นออกเดินทางทส่ี ถานีใดก็ได้ โดยเฉพาะอย่างย่งิ การตรวจสอบ
ทน่ี งั่ วา่ วา่ งหรือไมว่ ่าง ทาไดท้ นั ที ทาให้ไม่เกดิ การซ้ือตว๋ั ซ้อนกนั ช่วยลดความผดิ พลาดไดม้ าก และเพิ่มความสะดวก
รวดเร็ว ในการให้บริการ
7
6. ดา้ นธุรกจิ บริษทั หา้ งรา้ นส่วนใหญ่ตอ้ งการบคุ ลากรทมี่ ีความรูด้ า้ นคอมพิวเตอร์ทว่ั ไป ระดบั ผูใ้ ชง้ าน
โปรแกรม (Users)ซ่ึงจะตอ้ งใชโ้ ปรแกรมทมี่ ใี ชใ้ นสานกั งานได้ เชน่ โปรแกรมพิมพเ์ อกสาร
ความกา้ วหน้าของเทคโนโลยที ี่มมี าต้งั แต่ศตวรรษที่ 21 เร่ือยมาทาให้เทคโนโลยีมกี ารพฒั นาอย่างตอ่ เน่ืองและตลอดเวลา
เทคโนโลยีทม่ี ีความกา้ วหน้าไปอย่างต่อเนื่อง จะทาใหส้ ังคมเกิดการเปลยี่ นแปลงตลอดเวลา ไปตามยคุ สมยั ในการพฒั นา
เทคโนโลยีที่กา้ วหน้าไปเรื่อยๆ ทาใหผ้ ทู้ ่ีเสพเทคโนโลยอี ยา่ งเราๆ ตอ่ กา้ วตามไปให้ทนั แต่นน่ั ตอ้ งหมายถึงการมสี ติในการ
ใชเ้ ทคโนโลยดี ว้ ย
ในชวี ติ ประจาวนั ของเรานนั ้ เกี่ยวข้องกบั การเดนิ ทางอยตู่ ลอด ทงั้ การเดนิ ทางไปทางาน การเดนิ ทางกลบั ภมู ลิ าเนา การเดินทาง
ไปเรียนต่อต่างประเทศ ฯลฯ การเดนิ ทางจัดได้วา่ เป็นสว่ นหนึ่งของกิจกรรมการขนสง่ โดยเน้นความสาคญั อยทู่ ่คี น อยา่ งไรก็
ตาม หากกล่าวถงึ การขนสง่ จะไมไ่ ด้มีหมายความเฉพาะแตบ่ คุ คล แตย่ งั รวมไปถงึ สตั ว์ และสิง่ ของอกี ด้วย ในหวั ข้อนจี ้ ะถึง
ความหมายของการขนสง่ พฒั นาการของเทคโนโลยีการขนส่งตงั้ แตอ่ ดตี จนถึงปัจจบุ นั
8
การปรบั ปรุงดา้ นคมนาคมดว้ ยเทคโนโลยี
ระบบ Sensor ติดตามการจราจรบนถนน
ดว้ ย Sensor สาหรับตรวจสอบขอ้ มูลการจราจรแบบ Real-time ที่ติดเอาไวบ้ นถนนตา่ งๆ ใน New Jersey ก็จะทาให้สามารถ
นาขอ้ มลู สภาพการจรมีความชดั เจนมากยิ่งข้นึ และสวามารถนาขอ้ มลู เหลา่ น้ีมาประมวลผลร่วมกบั ขอ้ มูลสภาพอากาศจาก
ดาวเทยี มและขอ้ มลู อื่นๆ จาก Social Media ได้ ทาให้การนาเสนอขอ้ มูลเก่ียวกบั สภาพการจราจรมีความแม่นยามากข้ึน และ
นาไปใชป้ ระกอบการตดั สินใจในการเดนิ ทางไดเ้ ป็นอย่างดี
ระบบ Sensor ตรวจสอบหมอกและควนั
โดยทว่ั ไปแลว้ หมอกหรือควนั มกั จะเกิดข้นึ อยา่ งรวดเร็วฉบั พลนั และบดบงั ทศั นะวิสยั ของผขู้ บั ข่ีเป็นอยา่ งมาก กอ่ ให้เกดิ
อนั ตรายบนทอ้ งถนน ดงั น้นั Gerogia Institute of Technology Research Institute จึงไดท้ างานร่วมกบั Georgia Department
of Transportation เพื่อติดต้งั ระบบแจง้ เตอื นสภาพอากาศเม่อื เกิดหมกหรือควนั ในพืน้ ทีต่ า่ งๆ และมปี ้ายไฟบอกผูข้ บั ขที่ วั่ รฐั
รวมถึงปรบั การเปิ ดไฟริมทางใหเ้ หมาะกบั ปริมาณหมอกหรือควนั ท่ีเกิดข้นึ โดยอตั โนมตั ิ ทาให้เหล่าผขู้ บั ขี่มีความปลอดภยั
มากยิ่งข้ึน และเดินทางไดง้ ่ายข้นึ ดว้ ย
ระบบตรวจสอบปริมาณน้าฝนและน้าทว่ ม
น้าท่วมเฉียบพลนั ถือเป็นอกี ปัญหาหน่ึงที่สร้างความเสียหายให้แก่ยานพาหนะและการเดนิ ทางได้เป็นอย่างมาก หน่วยงาน
U.S. Geological Survey ในเมือง Texas จึงไดท้ าการติดต้งั Sensor สาหรบั ตรวจสอบปริมาณน้าฝนและน้าทว่ มในบริเวณ
ไฮเวย์ และแสดงผลขอ้ มูลระดบั น้าพรอ้ มการแจง้ เตือนผา่ น Internet และยงั สามารถนาขอ้ มูลเหลา่ น้ีไปประมวลผลร่วมกบั
ขอ้ มลู IoT อื่นๆ ดอ้ กี ดว้ ย
9
ระบบตรวจสอบฝ่ ุนควนั
ฝุ่นควนั เองก็เป็นอีกปัจจยั ท่ีกอ่ ให้เกิดอนั ตรายบนทอ้ งถนนได้ การติดต้งั Sensor เพอ่ื ตรวจสอบปริมาณฝ่นุ ที่ลอยอยู่ใน
อากาศจงึ เป็นอกี ขอ้ มูลทีด่ ที ่ีจะช่วยใหก้ ารคมนาคมขนส่งสามารถตดั สินใจเลอื กเส้นทางการเดินทางได้ดีข้ึน และยงั ทาให้
การวางแผนปรบั ปรุงสภาพถนนสามารถทาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้นึ อกี ดว้ ย
Sensor ตดิ ต้งั ภายในยานพาหนะ
เหลา่ ผผู้ ลติ ยานยนตร์และรถบรรทุกตา่ งก็เริ่มมกี ารฝงั 3G/4G Modem ลงไปยงั ตวั รถเพ่ือให้รถแตล่ ะคนสามารถทาการ
เช่ือมตอ่ กบั Internet ไดต้ ลอดเวลา พรอ้ มส่งหรือรบั ขอ้ มลู ตา่ งๆ ทจี่ ะช่วยให้การขบั ขีม่ ีประสิทธิภาพและมีความปลอดภยั
ยง่ิ ข้ึน เช่น Volvo Trucks เองก็เร่ิมมกี ารนาเสนอบริการ Connected-fleet ท่ีมที ้งั ระบบ Navigation และขอ้ มลู สภาพทอ้ งถนน
แบบ Real-time โดยตอ่ ไปกอ็ าจจะมกี ารเสริมระบบวเิ คราะห์สภาพอากาศให้มคี วามแมน่ ยาข้นึ ดว้ ยการนาขอ้ มูลความเร็ว
ลมและขอ้ มูลแสงสวา่ งท่ตี รวจจบั ไดจ้ ากรถมาใชเ้ ป็นหน่ึงในขอ้ มลู กลางสาหรบั การวเิ คราะหส์ ภาพอากาศ ดว้ ยขอ้ มลู
สภาวะแวดลอ้ มจากรถแตล่ ะคนั ท่แี บง่ ปันกนั น้ี ก็จะทาใหฐ้ านขอ้ มลู กลางถกู อพั เดตอย่อู ย่างตลอดเวลา และนาเสนอขอ้ มูล
ไดแ้ ม่นยาข้นึ นน่ั เอง
10
อนาคตการคมนาคมที่มีเทคโนโลยีมาช่วยพฒั นา
ปัจจบุ นั มเี ทคโนโลยีดจิ ิทลั ช่วยเพิ่มทางเลือกในการเดินทางให้กบั ผูบ้ ริโภคในประเทศไทย โดยเฉพาะระบบนิเวศดา้ นยาน
ยนต์ไฟฟ้า
ทคี่ าดว่าภายในปี 2573 ไทยต้งั เป้าผลิตประมาณ 30% ของกาลงั การผลติ รถยนต์ท้งั หมด หน่ึงในตวั อยา่ งของความมุ่งมน่ั เพอื่
การพฒั นาดา้ นคมนาคมของรัฐบาล ทเ่ี หน็ ไดช้ ดั คือเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (EEC) ใน 3 จงั หวดั รอบอา่ วไทย ไดแ้ ก่
ชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา เป็นการพฒั นาการเช่ือมต่อการคมนาคมท้งั ทางบก ทางน้า และทางอากาศในระดบั ภมู ิภาค
อย่างจริงจงั
การลงทนุ ของภาครฐั ในโครงสร้างพ้ืนฐานน้นั ไดก้ ลายเป็นนโยบายอันดบั ตน้ ๆ ของประเทศ โดย 70% ของงบการลงทุน
เพือ่ พฒั นาโครงสรา้ งพืน้ ฐานในประเทศไทยระหวา่ งปี 2558-2565 ท่ีมมี ลู คา่ กว่า 75,000 ลา้ นดอลลาร์ เป็นการลงทุนเพื่อ
การพฒั นาดา้ นการคมนาคมขนส่ง โดยเนน้ ไปทก่ี ารปรับปรุงรางรถไฟเพือ่ ลดการขนส่งทางถนน ซ่ึงในปัจจุบนั เราใชท้ าง
ถนนซ่ึงเป็นเสน้ ทางการเดนิ ทางหลกั ของผูโ้ ดยสาร เพ่ือการขนส่งสินคา้ ถึง 85% การพฒั นาการคมนาคมสญั จรสาคญั ๆ ยงั
รวมไปถึงการเพิม่ ขอ้ กาหนดในเร่ืองเช้ือเพลงิ ชีวภาพสาหรับน้ามนั เบนซิน อี20 (E20) และเชื้อเพลงิ ดีเซล บ1ี 0 และบี20
(B10, B20) ความตอ้ งการใชน้ ้ามนั เกรดพรีเมียมท่มี ีการปลอ่ ยมลพษิ ต่า การมองหาทางเลอื กรถยนต์ไฟฟ้าท่ีใชแ้ บตเตอร่ี
เช่น เซลลเ์ ช้ือเพลิงไบโอเอทานอล และการพฒั นาระบบการกาหนดราคาคาร์บอนจากรฐั บาล
เราจะเห็นไดช้ ดั เจนว่าการตอบโจทยค์ วามทา้ ทายดา้ นการคมนาคมสญั จรของไทยน้นั มีหลากหลายแนวทางและเม่อื ผคู้ นเร่ิม
ตระหนกั ให้ความสาคญั ในเร่ืองความยง่ั ยืนและการลดการปลอ่ ยคาร์บอนมากข้นึ ประเทศกต็ อ้ งการการพฒั นาดา้ นการ
คมนาคมสัญจรเพ่ือตอบรับกบั ความตอ้ งการของประเทศ ควบคไู่ ปกบั การคานึงถึงเรื่องระบบนิเวศของเช้ือเพลิง และ
ขอ้ กาหนดทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั น้ามนั เช้ือเพลงิ ต่างๆ
อย่างไรก็ดี ไมว่ ่าเราจะมโี ซลชู นั่ เพือ่ ตอบรบั กบั ความทา้ ทายเหลา่ น้ีอย่างไร สิ่งสาคญั สาหรับทุกโซลูชนั่ คอื ความร่วมมอื จาก
ทุกภาคส่วน ท้งั จากรัฐบาล อตุ สาหกรรม และผบู้ ริโภค ที่จะร่วมกนั มองหาแนวทางในการรบั มือตอบรบั กบั เทรนด์ดา้ น
พลงั งาน และไม่มหี น่วยงานใดหรือใครเลยทีส่ ามารถดาเนินการน้ีให้สาเร็จไดเ้ พยี งลาพงั และประเทศไทยของเรา
11
บรรณานุกรม
อา้ งองิ https://www.ibm.com/blogs/journey-to-ai/