ปจั จัยทม่ี ผี ลตอ่
ภาวะสมดลุ
ปจั จยั ทมี่ ผี ลตอ่ ภาวะสมดลุ
1. ความเขม้ ขน้
2. ความดนั
3. อุณหภมู ิ
2
กิจกรรม 9.4
การทดลองผลของความเขม้ ขน้ ของสารตอ่ สมดลุ
1. ปัญหา :
ถ้าระบบเข้าสสู่ มดลุ แล้วมีการเพิ่มหรือลดความ
เขม้ ข้นของสารต้งั ต้นจะทาใหส้ มดลุ เปลี่ยนแปลง
หรอื ไม่ อย่างไร
3
กจิ กรรม 9.4
การทดลองผลของความเขม้ ขน้ ของสารตอ่ สมดลุ
2. จุดประสงคก์ ารทดลอง :
1. เพอ่ื ศกึ ษาผลของความเขม้ ข้นของสารต่อสมดุล
2. อธิบายการเปลยี่ นแปลงสมดลุ เม่อื มกี ารเพ่ิมหรอื
ลดความเข้มขน้ ของสารตงั้ ตน้ หรือผลิตภณั ฑ์
4
กิจกรรม 9.4
การทดลองผลของความเขม้ ขน้ ของสารตอ่ สมดลุ
3. สมมตุ ฐิ าน :
ถ้าการเปลี่ยนความเขม้ ขน้ ของสารตั้งตน้ มีผลต่อภาวะ
สมดุล ดังนนั้ เม่อื เพิม่ หรอื ลดความเข้มข้นของสารตง้ั ตน้ จะ
ทาให้สมดุลเปล่ียนแปลงดว้ ย
5
กิจกรรม 9.4
การทดลองผลของความเขม้ ขน้ ของสารตอ่ สมดลุ
4. ตวั แปรทใี่ ชใ้ นการทดลอง :
- ตวั แปรต้น คือ ความเข้มข้นของสาร
- ตวั แปรตาม คือ การเปลย่ี นแปลงทีเ่ กดิ ข้ึน
- ตวั แปรควบคุม คอื ปริมาณนา้ อัญชัน อุณหภมู ิ
6
6. วิธกี ารทดลอง
7
6. วิธกี ารทดลอง
1. นา้ อญั ชนั 1 mL
2. HCl 5 หยด
12 3
สงั เกตการเปลยี่ นแปลงและบนั ทกึ ผล
8
6. วธิ ีการทดลอง
นา้ กลนั่ 5 หยด HCl 5 หยด NaOH 5 หยด
1 23
สังเกตการเปลยี่ นแปลงและบนั ทกึ ผล
ตงั้ ทง้ิ ไว้ 1 นาที
สงั เกตการเปลยี่ นแปลงและบนั ทกึ ผล
9
เตมิ นา้ กลนั่ เตมิ HCl เตมิ NaOH
10
6. ผลการทดลอง
หลอด สารที่ การเปลยี่ นแปลงทส่ี งั เกตได้
ท่ี เตมิ
หลงั เตมิ สาร วางไว้ 1 นาที
1 น้ากล่ัน สารละลายเปล่ยี นสจี ากสีมว่ ง สารละลาย
เปน็ ม่วงน้าเงนิ มสี มี ่วงน้าเงิน
2 HCl สารละลายเปลยี่ นสีจากมว่ ง สารละลาย
เปน็ ม่วงแดง มีสมี ่วงแดง
3 NaOH สารละลายเปล่ยี นสจี ากม่วงเปน็ น้าเงิน สารละลาย
11 มีสนี า้ เงนิ
แอนโทไซยานนิ เมอื่ ละลายนา้ จะอย่ใู นสมดุล เม่อื มกี ารรบกวน
ระบบโดยการเตมิ สารละลายกรดหรอื เบส สีของแอนโทไซยานนิ
จะเปล่ียนไป ท้งั นข้ี น้ึ อยู่กับชนิดของแอนโทไซยานินในพชื ต่าง ๆ
ซงึ่ ในการทดลองนี้ศึกษาสมดลุ ของแอนโทไซยานนิ จากดอกอัญชนั
ที่อยู่ในรปู สีแดงและสีนา้ เงิน แตย่ ังมสี มดลุ ของแอนโทไซยานินใน
รปู ท่ีมสี อี น่ื อีก ข้นึ อยู่กับ pH ของสารละลาย ดงั รูป
12
AH+(aq) + H2O(l) H3O+(aq) + A(aq)
(สีแดง) (สีน้าเงนิ )
HCl(aq) + H2O(l) H3O+(aq) + Cl-(aq)
NaOH(s) Na+(aq) + OH-(aq)
OH-(aq)+ H3O+(aq) H2O(l)
13
7. วเิ คราะหผ์ ลการทดลอง
สารละลายในหลอดท่ี 1 ประกอบด้วยนา้ อัญชนั HCl และนา้ ได้สารละลายสี
มว่ งนา้ เงิน แสดงวา่ ในสารละลายมแี อนโทไซยานนิ ในรูปของ A (สนี า้ เงิน) อยู่ใน
สมดุลกบั AH+ (สีแดง) เมอื่ เทียบกับหลอดท่ี 1 การเตมิ HCl ลงในหลอดที่ 2 เปน็ การ
เพิม่ H3O+ ซ่งึ ทาใหไ้ ดส้ ารละลายสีมว่ งแดง แสดงว่า H3O+ ทาใหค้ วามเขม้ ข้นของ
AH+ เพมิ่ ขนึ้ และความเขม้ ข้นของ A ลดลงในทานองเดยี วกนั การเติม NaOH ลงใน
หลอดที่ 3 เปน็ การลด H3O+ (โดยทาปฏกิ ิรยิ ากับ OH- ที่เติมลงไป) ซง่ึ ทาให้ได้
สารละลายสนี ้าเงิน แสดงว่าความเขม้ ข้นของ A เพิม่ ขนึ้ และความเขม้ ขน้ ของ AH+
ลดลง
ดงั นน้ั การเพมิ่ หรือลด H3O+ ทาใหค้ วามเข้มขน้ ของ A และ AH +
ใหป้ ฏิกิริยาปรบั ตวั เขา้ สูส่ มดลุ ใหม่ ซง่ึ สงั เกตไดจ้ ากสขี องสารละลายไมเ่ ปลีย่ นแปลงอีก
เม่อื เวลาผา่ นไป 14
8. สรปุ ผลการทดลอง
“การเปลี่ยนแปลงความเขม้ ขน้ มีผลตอ่ สมดลุ ของ
ระบบ โดยเมอ่ื เพมิ่ ความเข้มข้นของสารตงั้ ต้น
จะเกดิ ปฏิกริ ยิ าไปขา้ งหนา้ เพ่ิมขึ้น แล้วเขา้ สู่สมดุลใหม่
ในทางตรงขา้ มเม่อื ลดความเขม้ ขน้ ของสารต้ังต้น
จะเกิดปฏกิ ริ ยิ ายอ้ นกลบั เพิม่ ขนึ้ แล้วเขา้ ส่สู มดุลใหม่
15
หลกั ของเลอชาเตอริเอ
“เมอ่ื ระบบทอ่ี ยู่ในภาวะสมดุลถกู รบกวน
โดยการเปลย่ี นแปลงปัจจัยที่มผี ลต่อภาวะสมดลุ
ของระบบ ระบบจะเกิดการเปล่ียนแปลงใน
ทศิ ทางทจ่ี ะลดผลของการรบกวนนน้ั เพื่อให้
ระบบเขา้ สู่ภาวะสมดุลอีกคร้งั ”
1. ความเขม้ ขน้ ตอ่ ภาวะสมดลุ เคมี
17
ผลของการเปลยี่ นแปลงความเขม้ ขน้ ทม่ี ตี อ่ ภาวะสมดลุ
การเพมิ่ หรอื ลดความเขม้ ขน้ ของสารหน่งึ สารใดใน
ปฏิกิรยิ าเคมี เป็นเหตใุ หภ้ าวะสมดลุ เปลยี่ นไป แต่ค่าคงทสี่ มดลุ
ยงั คงเดมิ เช่น
H2(g) + I2(g) 2HI(g)
ถา้ เพิม่ ความเขม้ ข้นของ H2, I2 สมดลุ จะเล่อื นไปทางขวา
18
1. การเปล่ียนแปลงความเขม้ ขน้
Fe3+(aq) + SCN-(aq) [FeSCN]2+(aq)
สีเหลอื งออ่ น ไม่มสี ี สแี ดง 19
Fe3+
Fe3+(aq) + SCN-(aq) [FeSCN]2+(aq)
สีเหลอื งออ่ น ไมม่ สี ี สีแดง
Fe(NO3)3 - สมดลุ เลอ่ื นจากซ้ายไปขวา
- สารละลายมสี แี ดงเพม่ิ ขนึ้
Fe3+ [FeSCN]2+(aq)
Fe3+(aq) + SCN-(aq)
• ถ้าเตมิ Fe(NO3)3 ลงไปในระบบ
- ระบบจะปรบั ตวั เพอื่ ลดการรบกวน
- (โดย SCN- บางไอออนจะทาปฏกิ ริ ยิ ากบั Fe3+ ทีเ่ ตมิ
ลงไป ทาให้ SCN- ลดลง)
- สมดลุ เลอ่ื นจากซา้ ยไปขวา
- สารละลายมสี ีแดงเพมิ่ ขน้ึ
Fe3+(aq) + SCN- [FeSCN]2+(aq)
SCN-(aq)
NH4SCN - สมดุลเลอ่ื นจากซา้ ยไปขวา
- สารละลายมีสแี ดงเพม่ิ ขนึ้
SCN- [FeSCN]2+(aq)
Fe3+(aq) + SCN-(aq)
• ถ้าเตมิ NH4SCN ลงไปในระบบ
- ระบบจะปรบั ตวั เพอ่ื ลดการรบกวน
(โดย Fe3+ บางไอออนจะทาปฏกิ ริ ยิ ากบั SCN- ที่เติมลงไป
ทาให้ Fe3+ ลดลง)
- สมดลุ เลอ่ื นจากซา้ ยไปขวา
- สารละลายมสี แี ดงเพม่ิ ขนึ้
HPO42- [FeSCN]2+(aq)
Fe3+(aq) + SCN-(aq)
HPO42- -สมดลุ เลอ่ื นจากขวาไปซา้ ย
-เกิดตะกอนสขี าวของ FePO4
เติมสารละลาย Na2HPO4 ลงในระบบ
- รบกวนสมดลุ โดยลดความเขม้ ขน้ ของ Fe3+โดยเตมิ Na2HPO4
Fe3+(aq) + PO43-(aq) FePO4(s)
ตะกอนสขี าว
- [FeSCN]2+ สลายตัวให้ Fe3+ และ SCN-
สารละลายมสี จี างลง และเกดิ ตะกอนสขี าว FePO4
- สมดลุ เลอื่ นจากขวาไปซา้ ย
รูป 9.5 ความเขม้ ขน้ ของสารตา่ ง ๆ เมือ่ รบกวนสมดลุ ของปฏกิ ิรยิ า
Fe3+(aq) + SCN-(aq) [FeSCN]2+(aq)
เพิ่ม Fe3+
สมดุลเริ่มตน้ สมดลุ ใหม่
ความเข้ม ้ขน (mol/L) Fe3+
SCN-
[Fe(SCN)]2+
27 เวลา (s)
รูป 9.5 ความเขม้ ข้นของสารต่าง ๆ เมอื่ รบกวนสมดุลของปฏกิ ิรยิ า
Fe3+(aq) + SCN-(aq) [FeSCN]2+(aq)
เพ่มิ SCN-
สมดุลเริ่มตน้ สมดลุ ใหม่
ความเข้ม ้ขน (mol/L) Fe3+
SCN-
[Fe(SCN)]2+
28 เวลา (s)
รูป 9.5 ความเข้มขน้ ของสารต่าง ๆ เมอื่ รบกวนสมดุลของปฏกิ ิรยิ า
Fe3+(aq) + SCN-(aq) [FeSCN]2+(aq)
ลด Fe3+
สมดลุ เรมิ่ ตน้ สมดลุ ใหม่
ความเข้ม ้ขน (mol/L) Fe3+
SCN-
[Fe(SCN)]2+
29 เวลา (s)
รปู 9.5 ความเข้มขน้ ของสารตา่ ง ๆ เมอื่ รบกวนสมดุลของปฏกิ ิรยิ า
Fe3+(aq) + SCN-(aq) [FeSCN]2+(aq)
ลด SCN-
สมดลุ เร่มิ ต้น สมดลุ ใหม่
ความเข้ม ้ขน (mol/L) Fe3+
SCN-
[Fe(SCN)]2+
30 เวลา (s)
ตรวจสอบความเขา้ ใจ
สมดุลของปฏกิ ริ ยิ าเคมีระหวา่ งไอรอ์ อน (II)ไอออน (Fe3+)
และไทโอไชยาเนตไอออน(SCN-) ถา้ มีการเพ่มิ หรือลด [Fe(SCN)]2+
จะมีผลตอ่ ความเขม้ ขนั ของสารอื่นที่สมดลุ อยา่ งไร
31
Fe3+(aq) + SCN-(aq) [FeSCN]2+(aq)
1. เพ่มิ [Fe(SCN)]2+ สมดุลใหม่
สมดลุ เรมิ่ ต้น เวลา (s)
ความเข้ม ้ขน (mol/L) Fe3+
SCN-
[Fe(SCN)]2+
32
Fe3+(aq) + SCN-(aq)ความเข้ม ้ขน (mol/L) [FeSCN]2+(aq)
2. ลด [Fe(SCN)]2+ สมดุลใหม่
สมดุลเริม่ ต้น
Fe3+ เวลา (s)
SCN-
[Fe(SCN)]2+
33
ตาราง 9.3 ความเข้มข้นั ของสารท่ีสมดุลของปฏิกริ ยิ า Fe3+(aq)+ SCN-(aq) [FeSCN]2+(aq)
ที2่ 5 องศาเซลเซยี ส เม่ือมีการเพ่ิม Fe3+
ภาวะ ความเขม้ ขน้ เรม่ิ ตน้ (mol/L) [[Fe(SCN)]2+]
K=
สมดลุ เดิม Fe2+ SCN- [Fe(SCN)]2+
สมดุลใหม่ [Fe2+][SCN-]
0.200 0.200 5.680
0.125 0.125 5.755 142
142
จากขอ้ มูลในตารางจะเหน็ วา่ ค่าคงที่สมดุล ณ สมดุลเดมิ และสมดุลใหม่
มคี ่าเท่ากนั แสดงวา่ การรบกวนสมดุลโดยการเปลีย่ นแปลงความเขม้ ขันของสารใน
ปฏิกิรยิ าเคมีทาให้ความเข้มขนั ของสาร ที่สมดุลใหมเ่ ปล่ยี นแปลงไปจากสมดลุ เดิม
แตไ่ ม่มผี ลต่อคาคงท่ีสมดุล 34
EX. ปฏิกิริยา Fe3+(aq)+ SCN-(aq) [FeSCN]2+(aq) ที่ 25 C
ท่ีสมดุลมคี วามเข้มขันของไอร์ออน(II)ไอออน (Fe3+) และไทโอไชยาเนตไอออน
(SCN-) เทา่ กับ 0.200 M และไทโอไชยาเนโตไอร์ออน(II)ไอออน ([FeSCN]2+)
5.68 M มีคา่ คงที่สมดุลเทา่ กับ 142 เม่อื เพิม่ ความเขม้ ขนั ของ Fe3+ จาก 0.200 M
เปน็ 0.300 M ที่สมดลุ ใหมส่ ารแตล่ ะชนดิ มีความเข้มข้นเทา่ ใด
EX. ปฏิกิรยิ า Fe3+(aq)+ SCN-(aq) [FeSCN]2+(aq) ท่ี 25 C ทีส่ มดุลมีความเขม้ ขนั ของFe3+ และSCN-
เทา่ กับ 0.200 M และ[FeSCN]2+ 5.68 M มคี า่ คงทสี่ มดุลเท่ากบั 142 เมอื่ เพม่ิ ความเขม้ ขันของ Fe3+ จาก
0.200 M เปน็ 0.300 M ทสี่ มดลุ ใหม่สารแต่ละชนดิ มคี วามเข้มข้นเทา่ ใด
Fe3+(aq) + SCN-(aq) [FeSCN]2+(aq)
ตรวจสอบความเขา้ ใจ
EX. ปฏกิ ิรยิ า Fe3+(aq)+ SCN-(aq) [FeSCN]2+(aq) ที่ 25 C
ที่สมดลุ มคี วามเข้มขนั ของไอร์ออน(II)ไอออน (Fe3+) และไทโอไชยาเนต
ไอออน (SCN-) เท่ากบั 0.200 M และไทโอไชยาเนโตไอรอ์ อน
(II)ไอออน ([FeSCN]2+) 5.68 M เมอื่ ลดความเข้มขนั ของ Fe3+ จาก
0.200 M เปน็ 0.100 M ความเข้มข้นที่สมดุลใหม่ของสารแต่ละชนดิ มีคา่
เท่าใด
37
ปฏิกิรยิ า Fe3+(aq)+ SCN-(aq) [FeSCN]2+(aq) ) ท่ี 25 C ที่สมดลุ มคี วามเข้มขันของไอร์ออน(II)ไอออน (Fe3+) และ
ไทโอไชยาเนตไอออน (SCN-) เทา่ กับ 0.200 M และไทโอไชยาเนโตไอร์ออน(II)ไอออน ([FeSCN]2+) 5.68 M เมือ่
ลดความเข้มขนั ของ Fe3+ จาก 0.200 M เป็น 0.100 M ความเขม้ ขน้ ทสี่ มดลุ ใหม่ของสารแตล่ ะชนิดมคี า่ เทา่ ใด
Fe3+(aq) + SCN-(aq) [FeSCN]2+(aq)
ผลของการเปลยี่ นแปลงความดนั ทม่ี ตี อ่
ภาวะสมดลุ
39
ผลของการเปลย่ี นแปลงความดนั ทมี่ ีตอ่ ภาวะสมดลุ
N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g)
= N2
2 ลติ ร = H2
= NH3
สมดลุ เดมิ สมดลุ ใหม่
ในกรณที ี่สารในปฏิกิรยิ าเคมีเป็นแกส๊ การเปลย่ี นแปลงความดนั โดยการ
เพมิ่ หรอื ลดปริมาตรทาใหค้ วามเขม้ ขน้ ของแก๊สเปล่ยี นแปลง ดังนน้ั การเปล่ียนแปลง
ความดันจึงมผี ลตอ่ สมดลุ ของระบบ แตไ่ ม่มผี ลต่อคา่ คงที่สมดุล เชน่ เดียวกบั
การเปล่ยี นแปลงความเขม้ ขนั ตา่ งกันท่กี ารเปล่ียนความดนั เป็นการบกวนระบบโดย
เปลยี่ นความเขม้ ขนั ของสารทเ่ี ป็นแกส๊ ทกุ ชนดิ ในปฏิกิรยิ าพรอ้ ม ๆ กนั
พจิ ารณาสมดลุ ของแกส๊ ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) กบั
แก๊สไดไนโตรเจนเตตระออกไซด์ (N2O4) ดงั สมการเคมี
2NO2(g) N2O4(g)
สนี ้าตาลแดง ไม่มสี ี [N2O4]
[NO2]2
K =
ถ้าเพิ่มความดันของระบบโดยการลดปริมาตรลงคร่ึงหน่ึง จะทาให้ความเขม้ ข้นของ
[N2O4]
ทง้ั NO2 และ N2O4 เพิ่มขึน้ 2 เท่า ซง่ึ มผี ลทาให้ค่าอัตราสว่ น [NO2]2
เม่ือรบกวนระบบมคี ่านอ้ ยกว่าคา่ คงทสี่ มดุล
ดังนัน้ ระบบจึงปรบั ตัวโดย NO2 เกดิ ปฏิกิรยิ าไปข้างหน้าให้ N2O4 เพ่มิ ข้นึ เพือ่ ทา
ใหอ้ ัตราสว่ น [N2O4] กลบั มามีค่าเทา่ เดิม ซงึ่ สงั เกตว่าการรบกวนสมดลุ โดยการลด
[NO2]2
ปรมิ าตรหรอื เพิม่ ความดันของแกส๊ มผี ลทาใหส้ มดุลปรับตวั เข้าสูส่ มดลุ ใหมใ่ นทิศทาง
ท่ีทาให้จานวนโมลของแก๊สน้อยลง ซงึ่ พิจารณาไดจ้ ากเลขสัมประสทิ ธิ์ของสารที่มี
สถานะแกส๊ ในสมการเคมี โดยเลขสัมประสิทธ์ิของ NO2 มคี า่ เท่ากบั 2 สว่ น N2O4
มีคา่ เทา่ กับ 1 ดงั นน้ั เมื่อเพิม่ ความดนั ระบบจงึ ปรับตัวไปทศิ ทางทที่ าให้ N2O4
เพิ่มขึ้น 2NO2(g) N2O4(g)
ในทางตรงขา้ ม การลดความดันโดยการเพมิ่ ปริมาตร ระบบจะ
ปรบั ตัวไปในทิศทางทมี่ ีจานวนโมลของแก๊สมากกว่า ซึง่ ทาให้ NO2
เพิ่มขึน้
สาหรบั ปฏิกิริยาเคมที ี่ผลรวมของเลขสมั ประสิทธ์ิของสารต้งั ต้น
และผลติ ภณั ฑ์ท่มี ีสถานะแกส๊ มคี ่าเทา่ กนั การเปลี่ยนแปลความดันไมม่ ี
ผลในการรบกวนสมดลุ ของปฏิกิรยิ า เชน่
CO2(g) + H2(g) CO(g) + H2O(g)
นอกจากน้ีการเปลย่ี นแปลงความดันไมม่ ผี ลหรอื มผี ลนอ้ ยมากกบั
ความเขม้ ขนั ของสารท่ีมีสถานะเปน็ ของแขง็ และของเหลว เนอ่ื งจาก
ของแขง็ และของเหลวมีความหนาแน่นคงท่ี
สรปุ การเปลยี่ นแปลงความดนั ทม่ี ตี อ่ ภาวะสมดลุ
1. สารในระบบจะตอ้ งมอี ยา่ งนอ้ ย 1 ชนิดมสี ถานะแกส๊
2. จานวนโมลของสารตงั้ ตน้ จานวนโมลของผลติ ภณั ฑ์
3. ถา้ ลดความดนั ใหแ้ กร่ ะบบทอี่ ยใู่ นสภาวะสมดลุ
สมดลุ จะปรบั ตวั ไปในทศิ ทางทมี่ จี านวนโมลของแกส๊ มาก
4. ถา้ เพมิ่ ความดนั ใหแ้ กร่ ะบบทอ่ี ยใู่ นสภาวะสมดลุ
สมดลุ จะปรบั ตวั ไปในทศิ ทางทมี่ จี านวนโมลของแกส๊ นอ้ ย
ตรวจสอบความเขา้ ใจ
1. ปฏกิ ิรยิ าเคมี 2NO2(g) N2O4(g) ท่ี 25 องศาเซลเซยี ส ณ
สมดลุ มีแกส๊ ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) 0.100 โมลตอ่ ลติ ร
และแก๊สไดไนโตรเจนเตตรอกไซด์ (N2O4) 0.250 โมลตอ่
ลติ ร ถา้ ลดความดันโดยการเพิ่มปริมาตรของภาชนะทบี่ รรจุเป็น
2 เท่า ความเข้มข้นของแกส๊ แต่ละชนดิ ทีส่ มดุลใหมม่ ีค่าเท่าใด
45
1. ปฏิกริ ยิ าเคมี 2NO2(g) N2O4(g) ท่ี 25 องศาเซลเซยี ส ณ สมดลุ มีแกส๊ ไนโตรเจนได
ออกไซด์ (NO2) 0.100 โมลต่อลติ ร และแกส๊ ไดไนโตรเจนเตตรอกไซด์ (N2O4) 0.250 โมลตอ่
ลติ ร ถา้ ลดความดนั โดยการเพิ่มปริมาตรของภาชนะที่บรรจเุ ปน็ 2 เท่า ความเข้มขน้ ของแก๊สแตล่ ะ
ชนดิ ที่สมดลุ ใหม่มีค่าเท่าใด
46
ตรวจสอบความเขา้ ใจ
2. ปฏิกิริยาเคมี CaCO3(s) CaO(s) + CO2(g) ถ้าเพ่มิ ความดันของ
ระบบโดยการลดปรมิ าตรทส่ี มดลุ ใหม่ สารแต่ละชนิดมกี ารเปลี่ยนแปลง
อย่างไร
เม่อื เพม่ิ ความดนั โดยการลดปรมิ าตร ทาให้ความเขม้ ข้นของ CO2 เพิ่มขน้ึ ระบบจะปรบั ตวั เขา้ สู่
สมดุลใหมไ่ ปในทศิ ทางทมี่ ีจานวนโมลของแกส๊ นอ้ ยกวา่ หรอื ปรบั ตัวในทิศทางท่ีเกิดปฏกิ ริ ยิ าย้อนกลับ
กล่าวคือ CO2 ทาปฏิกริ ยิ ากับ CaO ทาให้ปรมิ าณของ CaCO3 เพม่ิ ขนึ้ สว่ นปริมาณของ CO2 และ CaO
ลดลง อยา่ งไรก็ตามทส่ี มดุลใหม่แมป้ ริมาณของCO2 ลดลง แต่ปรมิ าตรของระบบก็ลดลงดว้ ย ซง่ึ มีผลให้
ความเขม้ ข้น ของ CO2 ทีส่ ่มดุลใหมเ่ ทา่ กบั ความเขม้ ข้นของ CO2 ที่สมดุลเดมิ ซึ่งสอดคลอ้ งกับค่าคงที่สมดลุ
(K = [CO2]) ซง่ึ มคี ่าไม่เปลีย่ นแปลง
47
ชวนคดิ
ในปฏกิ ริ ยิ าเคมีทเี่ กี่ยวขอ้ งกับแกส๊ การเพิ่มความดนั ด้วยการเติม
แกส๊ ชนิดอนื่ ท่ไี ม่ทาปฏิกริ ิยาเคมกี ับสารในระบบ โดยปริมาตรของระบบ
ไมเ่ ปลี่ยนแปลง จะมผี ลตอ่ สมดลุ ของระบบหรอื ไม่ เพราะเหตุใด
การเพมิ่ ความดันดว้ ยการเติมแกส๊ ท่ีไ่มท่ าปฏิกิรยิ าเคมกบั สารในระบบ
โดยปริมาตรของระบบไม่เปล่ียนแปลง ไม่มผี ลตอ่ สมดลุ ของระบบ เนื่องจากแกส๊
ที่เติมลงไปไม่ทาใหค้ วามเข้มข้นของสารในปฏกิ ิริยาเปลี่ยนแปลง
การเปลีย่ นอุณหภูมมิ ผี ลตอ่ สมดลุ หรอื ไม่
ผลของการเปลย่ี นแปลงอณุ หภมู ทิ ม่ี ตี อ่ ภาวะสมดลุ
49
กจิ กรรม 9.5
การทดลองผลของอณุ หภมู ติ อ่ สมดลุ
1. ปัญหา :
ถ้าระบบเขา้ สูส่ มดลุ แลว้ มีการเพม่ิ หรือลด
อณุ หภมู ิจะทาให้สมดุลเปล่ียนแปลงหรอื ไม่ อยา่ งไร
50