The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระราชประวัติ พ่อขุนรามคำแหงมหาราช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-01-15 07:25:14

พระราชประวัติ พ่อขุนรามคำแหงมหาราช

พระราชประวัติ พ่อขุนรามคำแหงมหาราช

พระราชประวตั ิ พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช

ผเู้ รยี บเรยี ง นายประสาร ธาราพรรค์

พอ่ ขนุ ราม คาแหง มหาราช ธ คอื ปราชญ์ ทรงสรา้ งสรรค์ สงิ่ ลาคา่

กอ่ กาเนดิ อกั ษรไทย ทรงปรชี า ทรงพฒั นา ชาตไิ ทย ใหร้ งุ่ เรอื ง

ทรงปกครอง รฐั ราษฎร์ ชาญฉลาด เศรษฐกจิ ชาติ ทรงสรา้ งเสริม อยา่ งตอ่ เน่ือง

ดา้ นการศาล ยตุ ธิ รรม ไรข้ นุ่ เคอื ง ทรงประเทอื ง ศาสนา พระรตั นตรยั

การชลประทาน ธ ทรงสรา้ ง ทานบกกั นา ทรงเลศิ ลา กลการศกึ ไม่หวนั่ ไหว

ทรงขยาย อาณาเขต ใหก้ วา้ งไกล ทรงทาให้ ราษฎรท์ ัว่ ไป สขุ รม่ เยน็

สัมพนั ธภาพ ตา่ งประเทศ ลว้ นดีเยย่ี ม ธ ทรงเปยี่ ม วเิ ทโศบาย ทรงเลอื กเฟน้

งานหตั ถกรรม ทรงสรา้ งไว้ ได้โดดเดน่ ธ ทรงเปน็ รม่ โพธทิ์ อง ของชาวไทย

............................................................

นายประสาร ธาราพรรค์ รอ้ ยกรอง

พ่อขนุ รามคาแหงทรงเปน็ มหาราชพระองคเ์ ดียวในสมยั สโุ ขทยั พระองคท์ รง
เป็นอัจฉริยกษัตริย์ทรงบาเพ็ญพระราชกรณียกิจอันทรงคุณประโยชน์แก่แผ่นดิน
ทรงชานาญทงั ในด้านการรบ การปกครอง และการศาสนา พระองค์ทรงรวบรวม
ขยายอาณาจักรสุโขทัยออกไปได้กว้างใหญ่ไพศาลด้วยวิเทโศบายอันแยบยลสุขุม
คัมภีรภาพทังทรงปกครองไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินด้วยความยุติธรรมได้รับความร่มเย็น
เป็นสุขกันทั่วหน้า พ่อขุนรามคาแหงมหาราช เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ท่ี 3
ในราชวงศ์พระรว่ งแหง่ ราชอาณาจักรสุโขทัย ทังยังได้ทรงประดษิ ฐต์ วั อกั ษรไทยขนึ
ทาให้ชาติไทยไดส้ ะสมความรูท้ างศิลปะ วัฒนธรรม และวิชาการตา่ ง ๆ สบื ทอดกนั
มากว่าเจ็ดร้อยปี

พระราชประวตั พิ อ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช

พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช หรอื พอ่ ขนุ รามราช ชอื่ ”รามราช” พบในจารกึ วดั
ศรชี ุมว่า “ลกู พอ่ ขนุ ศรอี นิ ทราทติ ยผ์ หู้ นึง่ ชอื่ พอ่ ขนุ รามราชปราชญ์รธู้ รรม” รวมทงั
พบในจารกึ และเอกสารอนื่ ๆอกี หลายแหง่ วา่ “พญารามราช” อาจารยพ์ ริ ยิ ะ ไกร
ฤกษ์ อธิบายคาวา่ “ราม” (จากชอ่ื พญารามราช) นา่ จะมาจาก “อตุ ตโมราม” ซง่ึ
แปลวา่ “พระรามผยู้ งิ่ ใหญ”่ ทท่ี รงเปน็ พระอนาคตพทุ ธเจา้ องคต์ อ่ ไปจากพระ
เมตไตรย ดงั ทก่ี ลา่ วถงึ ใน “โสตตตั ถกีมหานทิ าน” เพราะในชว่ งเวลานันตา่ งให้

ความสาคญั แกพ่ ระอนาคตพทุ ธเจา้ โดยเฉพาะ (เอกสารวิจยั เรอื่ ง “การศกึ ษาเชงิ
ประวตั ศิ าสตรศ์ ลิ ปะ : จารกึ พอ่ ขนุ รามคาแหง” : 2531)แตช่ อ่ื “รามคาแหง” พบ
เพยี งครงั เดยี วในจารกึ พอ่ ขนุ รามคาแหง และไมพ่ บในทอ่ี นื่ ๆอกี เลยทกุ วนั นชี อ่ื
“รามคาแหง” เปน็ ทร่ี จู้ กั กนั แพรห่ ลายกวา่ “รามราช” จงึ ขอเรยี กตามความนยิ ม
วา่ “พอ่ ขนุ รามคาแหง”

พอ่ ขนุ ศรอี นิ ทราทติ ย์ นางเสอื ง

พ่อขุนรามคาแหงมหาราชเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 3 ของพ่อขุนศรีอินทรา
ทิตย์กับนางเสือง พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ หรือพระนามเต็ม กามรเตงอัญศรี
อินทรบดินทราทิตย์ พระนามเดิม พ่อขุนบางกลางหาว ทรงเป็นปฐมวงศ์ราชวงศ์
พระรว่ งแหง่ อาณาจกั รสุโขทัย ครองราชสมบตั ิ ตงั แต่ พ.ศ. 1782 (คานวณศักราช
จากคัมภีร์สุริยยาตรตามข้อเสนอของ ศ. ประเสริฐ ณ นครและ พ.อ.พิเศษ เอือน
มณเฑยี รทอง) แต่ไมป่ รากฏหลกั ฐานการสวรรคตหรือสินสุดการครองราชสมบัติปี
ใด มีผู้สันนิษฐานท่ีมาของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ จากคัมภีร์ชินกาลมาลีปกรณ์ว่า
บา้ นเดิมของพระองคอ์ าจอย่ทู ่ี “บา้ นโคน” ในจงั หวดั กาแพงเพชร

พอ่ ขนุ ศรอี ินทราทิตย์เม่อื ครังยงั เป็นพ่อขุนบางกลาวหาวได้ร่วมกับพ่อขุนผา
เมือง เจ้าเมืองราดแห่งราชวงศ์ศรีนาวนาถุม รวมกาลังพลกัน กระทารัฐประหาร
ขอมสบาดโขลญลาพง โดยพ่อขุนบางกลางหาวตีเมืองศรีสัชนาลัยและ เมือง
บางขลงได้ และยกทังสองเมืองให้พ่อขุนผาเมือง ส่วนพ่อขุนผาเมืองตีเมืองสุโขทัย
ได้ ก็ได้มอบเมืองสุโขทัยให้พ่อขุนบางกลาวหาว พร้อมพระขรรค์ชัยศรีและพระ
นาม “ศรีอินทรบดินทราทิตย์” ซ่ึงได้นามาใช้เป็นพระนาม ภายหลังได้กลายเป็น
ศรีอินทราทิตย์ โดยคาว่า “บดินทร” หายออกไป เชื่อกันว่าเพ่ือเป็นการแสดงว่า
มิได้ เป็น บดีแห่งอินทรปัต คืออยู่ภายใต้อิทธิพลของเขมร (เมืองอินทรปัต) อีก
ต่อไป เมื่อแรกตังอาณาจักรสุโขทัยนัน อาณาเขตยังไม่กว้างขวางเท่าใดนัก เขต
แดนทางทิศใต้จดเพียงเมืองปากนาโพ ใต้จากปากนาโพลงมายังคงเป็นอาณาเขต
ของขอมอนั ได้แก่เมอื งละโว้ ทางฝ่ายตะวันตกจดเพียงเขาบรรทัด ทางเหนือมีเขต
แดนติดตอ่ กบั ประเทศลานนาท่ภี ูเขาเข่ือน ส่วนทางตะวันออกก็จดอยู่เพียงเขา
บันทัดที่กันแม่นาสักกับแม่นาน่าน การเข้ามาครองสุโขทัยของพระองค์ ส่งผลให้
ราชวงศ์พระร่วงเข้า มามีอิทธิพลในเขตนครสุโขทัยเพ่ิมมากขึน และได้แผ่ขยาย
ดินแดนกว้างขวางมากออกไป แต่เขตแดนเมืองสรลวงสองแคว ก็ยังคงเป็นฐาน
กาลงั ของราชวงศศ์ รนี าวนาถุมอยู่

พอ่ ขนุ ศรีอนิ ทราทติ ยม์ พี ระราชโอรสและพระธดิ ารวม 5 พระองค์ ไดแ้ ก่
1. พระราชโอรสองค์โต (ไมป่ รากฏนาม)เสยี ชวี ติ ตงั แตย่ งั ทรงพระเยาว์
2. พอ่ ขนุ บานเมอื ง
3. พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช
4. พระธดิ า (ไมป่ รากฏนาม)
5. พระธดิ า (ไม่ปรากฏนาม)

พอ่ ขนุ รามคาแหงชนชา้ งขนุ สามชนเจา้ เมืองฉอด

ในระหว่างทพ่ี ระเจ้าศรอี นิ ทราทติ ย์ทรงครองราชยอ์ ยนู่ นั กไ็ ดก้ ระทาสงคราม
เพ่ือขยายเขตแดนของไทยออกไปอีกในทางโอกาสที่เหมาะสม ดังท่ีมีข้อความ
ปรากฏอย่ใู นศิลาจารึกว่า พระองค์ได้เสด็จยกกองทัพไปตีเมืองฉอด ได้ทาการรบ
พุ่งตะลุมบอนกนั เปน็ สามารถถึงขนาดที่พระเจ้าศรีอินทราทิตย์ ได้ทรงกระทายุทธ
หัตถีกับขุนสามชนเข้าเมืองฉอด แต่พระองค์เสียทีแก่ขุนสามชน แลในครังนีเองท่ี
เจ้ารามราชโอรสองค์เล็กของพระองค์ได้เริม่ มบี ทบาทสาคญั ด้วยการทที่ รงถลันเข้า
ชว่ ยโดยไสชา้ งทรงเขา้ แก้พระราชบิดาไว้ทันท่วงที แล้วยังได้รบพุ่งตีทัพขุนสามชน
เขา้ เมอื งฉอดแตกพ่ายกระจายไป

การขนึ ครองราชย์

พอ่ ขนุ บานเมอื ง

เม่ือพ่อขุนศรีอินทราทิตย์สินพระชนม์ พ่อขุนบานเมืองเป็น พระราชโอรสของ

พอ่ ขุนศรอี นิ ทราทิตย์ ทรงเปน็ พระมหากษตั รยิ ์รชั กาลที่ 2 แหง่ ราชวงศ์พระรว่ งกรุงสุโขทัย
พ่อขุนบานเมืองทรงครองราชย์ต่อจากพ่อขุนศรีอินทราทิตย์จนถึง พ.ศ. 1822 พระนาม
ปรากฏในจารึกหลกั ท่ี 1 และหลักท่ี 45 คนทั่วไปมกั จะเขา้ ใจผดิ วา่ พระนามของพระองคค์ อื
บาลเมือง ทังนีเพราะสมัยก่อนพระภิกษุสงฆ์เป็นผู้จดบันทึกประวัติศาสตร์ จึงมักจะแปลง

พระนามเป็นภาษาบาลีไป พ่อขุนบานเมืองเสวยราชสมบัติในปีใดไม่ปรากฏ และเม่ือ
สินพระชนม์แล้ว พ่อขุนรามคาแหงมหาราชก็เสวยราชย์แทนต่อมารัชสมัยของพ่อ
ขนุ รามคาแหงมหาราชเปน็ ยุคทก่ี รุงสุโขทัยเฟอื่ งฟแู ละเจรญิ ขนึ กว่าเดิมเป็นอนั มาก
ระบบการปกครองภายในกอ่ ใหเ้ กิดความสงบเรียบร้อยอย่างมีประสิทธิภาพ มีการ
ติดตอ่ สมั พันธ์กับต่างประเทศทงั ในด้านเศรษฐกจิ และการเมอื ง ประชาชนอยดู่ กี นิ ดี
สภาพบา้ นเมอื งกา้ วหน้าทังทางเกษตร การชลประทาน การอตุ สาหกรรม และการ
ศาสนา อาณาเขตของกรงุ สโุ ขทยั ได้ขยายออกไปกวา้ งใหญไ่ พศาล

การขยายอาณาเขต
เมื่อพ่อขุนรามคาแหง เสด็จเถลิงถวัลราชสมบัติสืบต่อจากพ่อขุนบาลเมือง

นัน อาณาจักรสุโขทัยนับว่าตกอยู่ในระหว่างอันตรายรอบด้าน และยากทาการ
ขยายอาณาจักรออกไปได้ เพราะทางเหนือกต็ ิดตอ่ กบั แคว้นลานนา อนั เปน็ เชือ
สายไทยดว้ ยกนั มพี ระยาเม็งรายเป็นเจ้าเมืองเงินยางและพระยางาเมือง เป็น
เจ้าเมืองพะเยาและทังพระยาเม็งรายและพระยางาเมือง ขณะนันต่างก็มีกาลัง
อานาจแข็งแกร่งทังคู่ ตามพงศาวดารโยนก พ่อขุนรามคาแหงมหาราชแห่งกรุง
สโุ ขทัย พญามงั รายมหาราชแหง่ ล้านนา และพญางาเมืองแหง่ พะเยา เป็นศษิ ยร์ ่วม
พระอาจารยเ์ ดียวกัน ณ สานักพระสุกทันตฤๅษี ที่เมืองละโว้ จึงน่าจะมีอายุรุ่นราว
คราวเดยี วกัน โดยพ่อขนุ เม็งรายประสูตเิ มอื่ พ.ศ. 1782 พอ่ ขนุ รามฯ นา่ จะประสูติ
ในปีใกล้เคยี งกัน

พญางาเมอื ง พญามงั รายมหาราช พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช

ทรงทาพระราชไมตรกี บั พ่อขนุ เม็งรายมหาราชแห่งล้านนาและพ่อขุนงาเมือง
แห่งพะเยา โดยทรงยินยอมให้พ่อขุนเม็งรายมหาราชขยายอาณาเขตล้านนาทาง
แม่นากก แม่นาปิง และแม่นาวังได้อย่างสะดวก เพ่ือให้เป็นกันชนระหว่างจีนกับ
สโุ ขทัยกับทงั ยงั ได้เสดจ็ ไปทรงช่วยเหลือพ่อขุนเมง็ รายมหาราชหาชัยภูมิสร้างเมือง
เชียงใหม่เม่ือ พ.ศ. 1839 ด้วย ด้วยเหตุนีพ่อขุนรามคาแหงจึงต้องดาเนิน
วิเทโศบายในการแผอ่ าณาจกั รอยา่ งแยบยล และสุขมุ ที่สดุ เพอ่ื หลีกเล่ียงการฆ่าฟัน
ระหว่างคนไทยด้วยกันเอง คือแทนท่ีจะขยายอาณาเขตไปทางเหนือ หรือ
ตะวนั ออกซึง่ มีคนตงั หลกั แหล่งอยมู่ าก พระองคก์ ลับทรงตัดสนิ พระทยั ขยายอาณา
เขตลงไปทางใต้อันเป็นดินแดนของขอม และทางทิศตะวันตกอันเป็นดินแดนของ
มอญ เพ่อื ใหค้ นไทยในแควน้ ลานนาไดป้ ระจักษ์ในบุญญาธิการ และได้เห็นความ
แขง็ แกรง่ ของกองทพั ไทยแหง่ อาณาจกั รสุโขทัยเสียก่อน แล้วไทยในแคว้นล้านนาก็
อาจจะมารวมเข้าดว้ ยต่อภายหลังไดโ้ ดยไมย่ าก

พญามงั ราย

แต่แม้จะได้ตกลงพระทัย ดังนนั พ่อขุนรามคาแหงก็ยงั คงทรงวิตกอยใู่ นขอ้
ท่ีว่าถ้าแม้ว่าพระองค์กรีฑาทัพขยายอาณาเขตลงไปสู้รบกับพวกขอมทางใต้แล้ว
พระองค์อาจจะถูกศัตรูรุกรานลงมาจากทางเหนือก็ได้ บังเอิญในปี พ.ศ.
1829 กษัตริย์ในราชวงศ์หงวนได้ส่งทูตเข้ามาขอทาไมตรีกับไทย พระองค์จึง
ยอมรับเป็นไมตรีกับจีน เพ่อื ป้องกนั มใิ ห้กองทพั จีนยกมารกุ รานเม่อื พระองค์ยกทพั
ไปรบเขมร พรอ้ มกนั นนั ก็ได้ทรงพยายามสรา้ งความสนทิ สนมกบั ไทยลานนาเชน่ ได้
เสด็จด้วยพระองค์เองไปช่วยพญามังราย สร้างราชธานีที่นครเชียงใหม่เป็นต้น
แหละเมื่อเห็นว่าสัมพันธไมตรีทางเหนือมั่นคงแล้ว พระองค์จึงได้เร่ิมขยาย
อาณาจักรสุโขทัยลงไปทางใต้ตามลาดับ คือ ใน พ.ศ. 1823 ทรงตีได้เมือง
นครศรธี รรมราช และเมืองตา่ งๆ ในแหลมลายตู ลอดรวมไปถงึ เมอื งยะโฮรแ์ ละเกาะ
สงิ คโปรใ์ นปจั จุบนั นี

ใน พ.ศ. 1842 ตไี ด้ประเทศเขมร (กมั พูชา)

มะกะโท พระเจา้ ฟา้ รว่ั

สว่ นทางทิศตะวันตกทมี่ ีอาณาเขตจดเมืองมอญนนั เล่าพระเจ้ารามคาแหงก็ได้
ดาเนนิ การอย่างสขุ ุมรอบคอบเช่นเมื่อได้เกดิ ความขึนวา่ มะกะโท อามาตย์เชือสาย
มอญ ซึ่งมีสติปัญญาเฉลียวฉลาดและได้มารับราชการใกล้ชิดพระองค์ได้กระทา
ความผิดชันอุกฤษฏ์โทษ โดยลักพาเอาพระธิดาของพระองค์หนีกลับไปเมืองมอญ
แทนที่พระองค์จะยกทัพตามไปชิงเอาตัวพระราชธิดาคืนมา พระองค์กลับทรงเฉย
เสียด้วยไดท้ รงคาดการณไ์ กล ทรงมั่นพระทัยว่า มะกะโท ผ้นู ีคงจะคิดไปหาโอกาส
ตังตัวเป็นใหญ่ในเมืองมอญ ซ่ึงถ้าเม่ือมะกะโทได้เป็นใหญ่ในเมืองมอญก็
เปรียบเสมือนพระองค์ไดม้ อญมาไว้ในอุ้มพระหตั ถ์ โดยไมต่ อ้ งรบราฆา่ ฟนั กนั ใหเ้ สยี
เลือดเนือ ซ่ึงต่อมาการณ์ก็ได้เป็นไปตามที่ได้ทรงคาดหมายไว้ คือมะกะโท ได้เป็น
ใหญ่ครอบครองอาณาจักรมอญทังหมด แลได้เข้าสามิภักด์ิต่ออาณาจักร
สุโขทัย โดยพระเจ้ารามคาแหงมิต้องทาการรบพุ่งประการใดพระองค์ได้เสด็จไป
ทาพธิ รี าชภเิ ษกให้มะกะโท และพระราชทานนามใหใ้ หมว่ า่ “พระเจา้ ฟ้ารัว่ ”

ด้วยวิเทโศบายอันชาญฉลาด สุขุมคัมภีรภาพของพระองค์นีเอง จึงเป็น

ผ ล ใ ห้ อ า ณ า จั ก ร ไ ท ย ใ น ส มั ย พ ร ะ เ จ้ า ร า ม ค า แ ห ง แ ผ่ ข ย า ย อ อ ก ไ ป อ ย่ า ง

กว้างขวาง ปรากฎตามหลักศิลาจารึกว่าพ่อขุนรามคาแหงมหาราชได้ทรงขยาย

อาณาเขตออกไปอย่างกวา้ งขวางไพศาล คือ

ทิศตะวันออก ทรงปราบได้เมืองสรหลวงสองแคว (พิษณุโลก), ลุมบาจาย,

สะค้า (สองเมืองหลงั นอี าจอยู่แถวลุ่มแม่นาน่านหรือแควป่าสักก็ได้), ข้ามฝั่งแม่นา

โขงไปถงึ เวยี งจนั ทน์และเวยี งคาในประเทศลาว ทิศใต้ ทรงปราบได้คนที

(บา้ นโคน จังหวัดกาแพงเพชร), พระบาง (นครสวรรค์), แพรก (ชัยนาท), สุพรรณ

ภมู ิ, ราชบุรี, เพชรบุรี, และนครศรีธรรมราช โดยมฝี ั่งทะเลสมุทร (มหาสมุทร) เปน็

เขตแดนไทย ทศิ ตะวนั ตก ทรงปราบได้เมืองฉอด, เมืองหงสาวดี และมีสมุทร

เปน็ เขตแดนไทย ทศิ เหนอื ทรงปราบได้เมืองแพร่, เมืองน่าน, เมืองพลัว (อาเภอ

ปวั น่าน), ข้ามฝ่งั โขงไปถึงเมืองชวา (หลวงพระบาง) เปน็ เขตแดนไทย

เศรษฐกจิ และการคา้

ในรัชสมัยของพ่อขุนรามคาแหงมหาราช เป็นช่วงสมัยท่ีสุโขทัยมีความ
เจริญรุ่งเรืองสูงสุด ซึ่งนอกจากการทาสงครามเพื่อขยายอาณาเขตแล้ว ความ
รุ่งเรืองของสุโขทัยอาจเนื่องมาจากการที่สุโขทัยตังอยู่ในเส้นทางทาง การค้ามา
ตังแต่สมัยโบราณ และเมื่อการค้าขยายตัวเพิ่มขึน สุโขทัยซึ่งอยู่บนเส้นทาง
คมนาคมท่ีสามารถค้าขายติดต่อกับบ้านเมืองต่างๆได้ โดยรอบ โดยมีเส้นทางการ
เดินทางไปทางเหนือถึงลุ่มแม่นาโขง ทางตะวันตกมีเส้นทางติดต่อกับเมืองพุกาม
และหัวเมืองมอญ ซึ่งสามารถออกทะเลเบงกอลติดตอ่ กับลงั กา และอนิ เดยี ใต้ สว่ น
ทางใตม้ ีเสน้ ทางเดนิ ทางผา่ นลุ่มแม่นาปิง ลมุ่ แม่นาเจา้ พระยา ผา่ นนครศรธี รรมราช
ออกสู่ทะเล สนั นษิ ฐานว่าสโุ ขทัยอาจเปน็ เมืองศูนย์กลางการค้าแบบกองคาราวาน
และสุโขทัยเองอาจจะคา้ ของปา่ และแร่ธาตุสาคัญ นอกจากนันสุโขทัยยังยอมเป็น
เมืองผ่านทางการค้า โดยอนญุ าตให้พ่อค้าเอาสินค้าไปค้าขายแลกเปลี่ยนได้โดยไม่
เก็บภาษีผ่านดา่ น เป็นการส่งเสริมให้มีคนมาค้าขายท่ีสุโขทัยเพิ่มขึน ดังมีข้อความ
ปรากฏในศิลาจารึกหลักท่ี 1 วา่ “เจา้ เมอื งบ่เอาจกอบ ในไพร่ลู่ทาง เพื่อนจูงวัวไป
ค้า ข่ีม้าไปขาย ใครจะใครค่ ้าช้างค้า ใครจะใคร่ค้าม้าค้า ใครจะใคร่ค้าเงือนค้าทอง
ค้า” จึงอาจเป็นเหตุผลสาคัญที่ทาให้ผู้คนจากที่ต่างๆโยกย้ายเข้ามาสู่ดินแดนใน

อาณาเขตของอาณาจักรสุโขทัย ดังปรากฏข้อความในศิลาจารึกหลักที่ 1 ว่า “พ่อ
ขุนรามคาแหง ลูกพอ่ ขนุ ศรีอนิ ทราทิตย์ เป็นขุนในเมืองศรีสัชนาลัย สุโขทัย ทังมา
กาว ลาวแลไทย เมืองใต้หล้าฟ้า ฏ…ไทยชาวอู ชาวของ มาออก”ทรงสนับสนุน
ในทางการค้าพานชิ เลกิ ด่านเกบ็ ภาษีอากรและจงั กอบ เพือ่ เปดิ โอกาสให้ผู้คนไป
มาค้าขายกนั ได้โดยสะดวกไดย้ ิ่งขนึ
พระราชกรณยี กจิ ดา้ นการตา่ งประเทศ

พระเจา้ หงวนสโี จว๊ ฮอ่ งเต้
การเช่ือมสัมพันธไมตรีกับประเทศเพ่ือนบ้าน นับเป็นพระราโชบายสาคัญ
อันหนึ่งของพ่อขุนรามคาแหง ทังนีก็เพ่ือยังประโยชน์ต่อประเทศชาติบ้านเมืองใน
ด้านต่าง ๆ หลังจากท่ีทรงขยายอาณาจักรสุโขทัยออกไปได้อย่างกว้างขวาง และ
ดาเนินการจัดระเบียบการปกครองเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จึงหันมาเอาพระทัยใส่ใน

ด้านต่างประเทศอย่างจริงจัง โดยเฉพาะกับประเทศจีนซ่ึงในเวลานันเป็นรัชสมัย
ของ "พระเจ้าหงวนสีโจ๊วฮ่องเต้" แห่งราชวงศ์หงวน ได้แต่งราชฑูตมาเจริญ
สัมพันธไมตรีกับไทยในราวปี พ.ศ.2825 หลังจากนันพ่อขุนรามคาแหงได้เสด็จไป
เมอื งจีนถึง 2 ครัง โดยมีหลกั ฐานจากจดหมายเหตขุ องจีนยนื ยนั วา่ ได้เสด็จไปในปี
พ.ศ. 1837 และในปี พ.ศ.1843 และในสมัยสุโขทัยเป็นราชธานขี องไทยไดม้ ีบนั ทกึ
ทางประวัติศาสตร์ว่า ไทยได้ส่งคณะทูตไปเมืองจีน 10 ครัง จีนส่งมา 4 ครัง (แต่
มาถึงกรุงสุโขทัยเพียง 3 ครัง) พ่อขุนรามคาแหงส่งราชทูตเดินทางมาเฝ้าและแจ้ง
พระราชประสงค์แก่พระเจ้าหงวนสีโจ๊วฮ่องเต้ ณ กรุงปักก่ิงในปี พ.ศ.2835 ว่าจะ
เสด็จฯ มาเฝ้าด้วยพระองค์เอง แต่เกิดศึกทางด้านเมืองชวา ครันถึงปี พ.ศ.1837
พระเจ้าหงวนสีโจ๊วฮ่องเต้เสด็จสวรรคต พ่อขุนรามคาแหงจึงเสด็จไปถวายคานับ
พระบรมศพ ณ กรุงจีนภายในปีนัน และประทับอยู่จนถึงต้นปี พ.ศ.1838 เพ่ือเข้า
ร่วมในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระราชนัดดา (บางตาราว่าคือ ติมูรข่าน ทรง
เป็นพระราชโอรส) ของพระเจา้ หงวนสโี จว๊ ซ่ึงเสด็จครองราชยเ์ ปน็ รัชกาลที่ 2 แห่ง
ราชวงศห์ งวน ทรงพระนามว่ามหาจกั รพรรดิ "หงวนเซ่งจง" หรอื "พระเจา้ หงวนเส
งจงฮอ่ งเต้"

ในการเสด็จไปประเทศจนี นนั มผี ลดีทางดา้ นการเมือง 2 ประการ คอื

1. เพม่ิ พนู สมั พนั ธไมตรรี ะหวา่ งราชวงศไ์ ทยและจีนใหแ้ นน่ แฟน้ ยง่ิ ขนึ กวา่
สมยั ใด ๆ ทผ่ี า่ นมา

2. ไทยมกี ารพัฒนาทางดา้ นงานศลิ ปหตั ถกรรม โดยเมอื่ เสดจ็ กลบั จากเมอื ง
จีนแลว้ พอ่ ขนุ รามคาแหงไดใ้ หต้ งั โรงงานทาถว้ ยชามเครอื่ งเคลือบดนิ เผาขนึ ในกรงุ
สโุ ขทยั และเมอื งศรสี ชั นาลยั ซงึ่ มนี ายชา่ งทน่ี ามาจากเมอื งจนี เป็นผู้ควบคมุ ดแู ล
โดยในระยะแรกทรงใหส้ รา้ งโรงงานขนาดเลก็ ขนึ กอ่ น เปน็ โรงงานสาหรบั ฝกึ ชา่ ง
ไทยและทาผลติ ผลสง่ หลวง

เครอ่ื งปน้ั ดนิ เผาสวรรคโลก

ครันอีก 6 ปีต่อมาพ่อขุนรามคาแหงเสด็จไปเยือนเมืองจีนเป็นครังท่ี 2 ในปี
พ.ศ.1843 พระมหาจกั รพรรดหิ งวนเซ่วจนได้ถวายชา่ งฝีมือเพ่ิมเติมจึงโปรดเกล้าฯ
ให้สร้างโรงงานขนาดใหญ่ขึน ณ เมืองสวรรคโลก (เมืองเชลียง) อีกแห่งหนึ่ง โดย
ระดมทงั ชา่ งไทยและช่างจนี ทาการผลิตเครอื่ งป้ันดินเผาเคลือบนานาชนิด ส่งเป็น
สินค้าทางทะเลออกจาหน่ายทังภายในและต่างประเทศ ณ ประเทศ ฟิลิปปินส์
อินโดนีเซีย บอร์เนียว และมาเลเซีย เป็นต้น ซึ่งได้รับความนิยมแพร่หลาย
เนือ่ งจากมลี วดลายวิจิตรวายงามและขนาดไม่ใหญ่เทอะทะเหมอื นแบบเดิมทใี่ ชก้ นั
อยู่ ทงั อายุการใช้งานกย็ าวนาน จึงเปน็ ท่ตี อ้ งการของตลาด

เครอื่ งปนั้ ดนิ เผาสวรรคโลก

ในสมัยต่อมาคาว่าสวรรคโลกได้เพียนไป ถ้วย ชาม เคร่ืองเคลือบดินเผาที่
ผลติ ขนึ ในสมัยนันจงึ ถูกเรยี กว่า "เคร่ืองสังคโลก" ปัจจุบันเป็นสิ่งท่ีทรงคุณค่าหาได้
ยากยิ่ง มีราคาซ่ือขายกันแพงลิบลิ่ว และมีช่ือเสียงเป็นที่รู้จักและยอมรับในนานา
ประเทศ สาหรับเตาเผาทใ่ี ช้เผาเคร่อื งสคั โลกเรียกว่า "เตาทุเรยี ง" อนั เปน็ คาทเี่ พยี น
มาจากเมืองเชลียง ลักษณะเตาก่อด้วยอิฐกว้าง 1.50 เมตร ยาว 4-5 เมตร ทา
รปู รา่ งคล้ายกบั ประทุนเกวยี น แบง่ ออกเป็น 3 ตอน คือ1. ปล่องไฟ 2. ที่สไี ฟ 3. ที่
วางถ้วยชาม นอกจากการติดต่อกับประเทศจีนแล้ว จากข้อความในหนังสือ
ราชาธิราชปรากฏว่ามีการตดิ ต่อกับประเทศใกลเ้ คียงคอื เมอื งรามญั เมืองหงสาวดี
ชวา มลายูและลงั กา

การปกครอง

ในด้านการปกครองเพื่อความปลอดภัยและม่ันคงของประเทศนันพระองค์
ทรงถือว่าชายฉกรรจ์ท่ีมีอาการครบ 32 ทุกคนเป็นทหารของประเทศ พระเจ้า
แผ่นดนิ ทรงดารงตาแหนง่ จอมทพั ข้าราชการกม็ ีตาแหนง่ ลดหลน่ั เปน็ นายพล นาย
ร้อย นายสิบ ถดั ลงมาตามลาดบั ในดา้ นการปกครองภายใน จดั เปน็ สว่ นภมู ิภาค
แบง่ เปน็ หวั เมอื งชันใน ชนั นอกและเมอื งประเทศราชสาหรับหวั เมอื งชนั ใน มพี ระ
เจ้าแผ่นดินเป็นผู้ปกครองโดยตรง มีเมืองสุโขทัยเป็นราชธานี เมืองศรีสัชนาลัย
(สวรรคโลก) เปน็ เมืองอปุ ราช มเี มืองท่งุ ยังบางยม สองแคว (พิษณโุ ลก) เมืองสระ
หลวง (พิจิตร) เมอื งพระบาง(นครสวรรค์) และเมอื งตากเป็นเมืองรายรอบ

สาหรบั หวั เมอื งชนั นอกนัน เรียกวา่ เมืองพระยามหานคร ใหข้ นุ นางผใู้ หญท่ ่ี
ไว้วางพระราชหฤทัยไปปกครองมีเมืองใหญ่บ้างเล็กบ้าง เวลามีศึกสงครามก็ให้
เกณฑ์พลในหัวเมืองขึนของตนไปช่วยทาการรบป้องกันเมือง หัวเมืองชันนอกใน
สมยั นนั ได้แก่ เมืองสรรคบุรี อทู่ อง ราชบุรี เพชรบุรี ตะนาวศรี เพชรบรู ณ์ และ
เมอื งศรีเทพ สว่ นเมอื งประเทศราชนนั เป็นเมอื งทอ่ี ยชู่ ายพระราชอาณาเขตมกั มี
คนต่างด้าวชาวเมืองเดิมปะปนอยู่มาก จึงได้ตังให้เจ้านายของเขานันจัดการ
ปกครองกนั เอง แต่ต้องถวายดอกไม้เงนิ ดอกไม้ทองทุกปี แลเม่ือเกิด ศึกสงคราม
จะตอ้ งถลม่ ทหารมาชว่ ย เมอื งประเทศราชเหล่านี ได้แก่ เมอื งนครศรีธรรมราช มะ
ละกา ยะโฮร์ทะวาย เมาะตะมะ หงสาวดี น่าน หลวงพระบาง เวียง
จนั ทร์ และเวียงคา

พระพทุ ธสหิ งิ ค์

การศาสนา

ทรงรับเอาพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท ลัทธิลังกาวงศ์ จากลังกา ผ่านเมือง

นครศรีธรรมราช มาประดิษฐานท่ีเมืองสุโขทัย ทาให้พระพุทธศาสนาวางรากฐาน

มั่นคงในอาณาจักรสุโขทัย และเผยแผ่ไปยังหัวเมืองต่างๆในราชอาณาจักรสุโขทัย

จนกระท่ังได้กลายเป็นศาสนาประจาชาตไิ ทยมาจนถึงทกุ วนั นี เ มื่ อ

พระพุทธศาสนาได้มาตังมั่นที่นครศรีธรรมราช พ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรง

เ ลื่ อ ม ใ ส ศ รั ท ธ า ใ น พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า จึ ง ใ ห้ นิ ม น ต์ พ ร ะ เ ถ ร ะ ชั น ผู้ ใ ห ญ่ จ า ก เ มื อ ง

นครศรีธรรมราชไปตงั เผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาทีก่ รุงสุโขทยั ดว้ ย และนบั เปน็ การเรมิ่

การเจริญสัมพันธไมตรีกับลังกา อีกทังทรงได้สดับกิตติศัพท์ของ "พระพุทธสิหิงค์"

ซงึ่ เป็นพระพุทธรูปท่เี จา้ ราชวงศล์ งั กาสรา้ งขนึ ด้วยพระพุทธลกั ษณะทง่ี ดงาม และมี

ความศักดสิ์ ิทธิ์ จงึ ทรงใหพ้ ระยานครศรีธรรมราช เจ้าประเทศราชแต่งสาส์นให้ทูต

ถอื ไปยังลงั กา เพ่ือขอเป็นไมตรีและขอพระราชทานพระพุทธสิหงิ คม์ าเพื่อเป็นพระ

คู่บ้านคู่เมืองไทยสืบไป ศิลปะทางด้านพุทธศาสนา ในสมัยสุโขทัยได้รับพระพุทธ

สิหิงคม์ าจากลังกา ซึ่งเป็นแม่แบบของพระพุทธรูปสุโขทัย พระพุทธรูปในประเทศ

ไทยก่อนหน้านีทุกยุคไม่เคยมีเปลวรัศมีสูง เพิ่งจะมีขึนครังแรกในสมัยสุโขทัย

สังฆาฏิพระพุทธรูปในสมัยก่อนหน้านี ไม่เคยเป็นแฉกชนิดที่เรียกว่า เขียวตะขาบ

พระเจดีย์แบบลอมฟางซ่งึ ถา่ ยทอดมาจากมรีจิวัดเจดยี ใ์ นลงั กากด็ ี ถปู ารามในลงั กา

ก็ดี สมัยสุโขทัยก็สร้างขึนเลียนแบบ เช่น พระมหาธาตุวัดช้างร้อง เมืองชะเลียง

ดว้ ยอิทธพิ ลเกี่ยวกับประเพณีทางศาสนา ในศิลาจารกึ ของพอ่ ขุนรามคาแหง

ไดพ้ รรณนาถึงสภาพของของชาวสุโขทยั และประเพณีทางศาสนามคี วามว่า "คนใน

เมืองสุโขทัยนี มักทาน มักทรงศีล มักโอยทาน พ่อขุนรามคาแหงเจ้าเมืองสุโขทัย

ทังชาวแมช่ าวเจ้า ทว่ ยปัว่ ทว่ ยนาง ลกู เจา้ ลกู ขนุ ทังสนิ ทงั หลาย ทงั ผชู้ ายผู้หญิง ฝูง

ท่วยมีศรัทธาในพระพุทธศาสนา ทรงศีลเมื่อพรรษาทุกคน เมื่อออกพรรษา กราน

กฐนิ เดือนหนึง่ จงึ แลว้ เมอ่ื กรานกฐินมีพนมเบยี พนมหมากมพี นมดอกไม้ มหี มอนนงั่

หมอนนอน บรพิ ารกฐนิ โอยทานแล่ปี่แลญ้ บิ ลา้ น ไปสวดญตั ติกฐนิ ถึงอรัญญิกพนู้ …
ใครจะมักเล่น…เล่น ใครจะมักหัว…หัว ใครจะมักเลื่อน…เล่ือน เมืองสุโขทัยนีมีส่ี
ปากประตหู ลวง เทียนญอมคนเสยี ดกนั ดูท่านเผ่าเทียน เมอื งสโุ ขทัยนีมีดังจะแตก

พระอจั นะ วดั ศรชี ุม
นอกจากนีกรุงสุโขทัยยังมีวัดต่าง ๆ ท่ีสาคัญ เช่น วัดตะพังเงิน วัดชนะ
สงคราม วัดสระสี วัดตะกวน วัดศรีชุม เป็นต้น ภายในวัดศรีชุมมีพระพุทธรูปปาง
มารวิชัยขนาดมหึมา คือ "พระอัจนะ" ประดิษฐานอยู่ภายในพระวิหารซ่ึงสร้างเป็น
รปู สี่เหล่ยี มลกั ษณะคลา้ ยมณฑป แตห่ ลงั คาพงั ทลายลงมาหมดแล้ว เหลอื เพยี งผนงั
ทงั ส่ีดา้ น ผนงั แต่ละด้านก่ออิฐถือปนู อยา่ งแน่นหนาภายในช่องกาแพงตามฝาผนงั มี
ภาพเขยี นเกา่ แกแ่ ต่เลอะเลือนเกือบหมดภาพเขียนนมี อี ายเุ กือบ 700 ปี

พระแทน่ มนงั คศลิ า

พระองค์เองทรงเปน็ อคั รศาสนปู ถมั ภกไดท้ รงสรา้ งแทน่ มนงั คศลิ าไวท้ ด่ี งตาล
สาหรับใหพ้ ระสงฆแ์ สดงธรรมและบางครงั ก็ใชเ้ ป็นทปี่ ระทับวา่ ราชการแผน่ ดนิ

อทุ ยานประวตั ศิ าสตรศ์ รสี ชั นาลยั

สถาปตั ยกรรม

สถาปัตยกรรมที่สาคัญอื่น ๆ เช่น โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเจดีย์ครอบพระ
มหาธาตุ ณ เมืองศรีสัชนาลัย มีข้อความปรากฏในหลักศิลาจารึกตอนหน่ึงว่า "...
1207 ศกปีกุน ให้ขุนเอาพระธาตุออกทังหลายเห็น กระทาบูชาบาเรอแก่พระธาตุ
ได้เดือนหกวัน จึงเอาฝังในกลางเมืองศรีสัชนาลัยก่อพระเจดีย์เหนือหกเช้าจึงแล้ว
ตังเวียงผาล้อมพระธาตุสามเช้าจึงแลัว.." และได้ทรงให้สร้างโบสถ์ วิหาร ให้สกัด
ศลิ าแลงเปน็ แทง่ มาเปน็ กาแพงล้อมเขตวดั เช่น ท่วี ัดชา้ งล้อม อันเป็นวดั ทที่ รงสรา้ ง
ขึนครังแรกในเมืองศรีสัชนาลัยโดยมีเจดีย์ทรงกลมแบบลังกาเป็นประธานของวัด
และต่อมาจึงใช้เปน็ แบบในการสรา้ ง ณ วดั ในเมืองสโุ ขทัยและเมอื งกาแพงเพชร

ดา้ นการเมืองการปกครอง และการบรหิ ารรฐั กิจ

ลกั ษณะการปกครองในสมยั ของพอ่ ขนุ รามคาแหงหรอื ราษฎรมกั เรียกกนั ตดิ
ปากว่าพ่อขุนรามคาแหงนัน พระองค์โปรดการสมาคมกับไพร่บ้านพลเมืองไม่
เลอื กชันวรรณะ ถา้ แม้วา่ ใครจะถวายทูลร้องทุกข์ประการใดแล้ว ก็อนุญาตให้เข้า
เฝา้ ใกล้ชดิ ได้ไม่เลอื กหน้าในทุกวันพระมกั เสดจ็ ออกประทบั ยังพระแท่นศิลาอาสน์
ทาการสั่งสอนประชาชนใหต้ งั อยใู่ นศีลธรรม การปกครองของพ่อขุนรามคาแหง
ได้ใช้ระบบปิตุราชาธิปไตยหรือ "พ่อปกครองลูก" ดังข้อความในศิลาจารึกพ่อขุน
รามคาแหงวา่ คาพดู "....เม่ือชวั่ พอ่ กู กบู าเรอแก่พ่อกู กไู ด้ตัวเนอื ตวั ปลา กูเอามาแก่
พอ่ กู กูได้หมากส้มหมากหวาน อนั ใดกนิ อรอ่ ยดี กูเอามาแก่พ่อกู กูไปตีหนังวังช้าง
ได้ กเู อามาแก่พ่อกู กไู ปทอ่ บ้านท่อเมอื ง ไดช้ า้ งไดง้ วง ได้ป่ัวได้นาง ได้เงือนได้ทอง
กูเอามาเวนแก่พอ่ กู.."

ข้อความดังกล่าวแสดงการนับถือบิดามารดา และถือว่าความผูกพันใน
ครอบครัวเป็นเรอื่ งสาคัญ ครอบครวั ทังหลายรวมกันเขา้ เปน็ เมอื งหรอื รฐั มเี จา้ เมอื ง
หรือพระมหากษัตริยเ์ ป็นหวั หนา้ ครอบครวั ปรากฏข้อความในศิลาจารึกพ่อขุน
รามคาแหงวา่ พ่อขนุ รามคาแหงมหาราชทรงใช้พระราชอานาจในการยุติธรรมและ

นิติบัญญัติไว้ดังต่อไปนี 1) ราษฎรสามารถค้าขายได้โดยเสรี เจ้าเมืองไม่เรียกเก็บ
จังกอบหรอื ภาษผี า่ นทาง 2) ผใู้ ดล้มตายลง ทรัพย์มรดกก็ตกแก่บุตร และ 3) หาก
ผใู้ ดไมไ่ ดร้ บั ความเปน็ ธรรมในกรณีพพิ าท ก็มีสทิ ธไิ ปส่นั กระด่ิงท่ีแขวนไวห้ นา้ ประตู
วังเพื่อถวายฎีกาต่อพระมหากษัตริย์ได้ พระองค์ก็จะทรงตัดสินด้วยพระองค์เอง

นอกจากนี พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราชยังทรงใช้พทุ ธศาสนาเป็นเครื่องช่วยใน
การปกครอง โดยไดท้ รงสรา้ ง "พระแทน่ มนงั คศลิ าบาตร"ขึนไว้กลางดงตาล เพื่อให้
พระเถรานุเถระแสดงพระธรรมเทศนาแก่ประชาชนในวันพระ ส่วนวันธรรมดา
พระองค์จะเสด็จประทับเปน็ ประธานใหเ้ จ้านายและข้าราชการปรกึ ษาราชการการ
ดา้ นศาลยตุ ธิ รรม

กระดง่ิ พอ่ ขนุ รามคาแหง

ในดา้ นทางศาลกใ็ หค้ วามยตุ ธิ รรมแกอ่ าณาประชาราษฎรโดยทั่วถึงกนั ไมเ่ ลอื ก
หนา้ ทรงเอาพระทยั ใส่ในทกุ ขส์ ขุ ของอาณาประชาราษฎรถ์ งึ กับสง่ั ใหเ้ จา้ พนกั งาน
แขวนกระดงิ่ ขนาดใหญไ่ วท้ ปี่ ระตพู ระราชวงั ดา้ นหนา้ แมใ้ ครมที กุ ขร์ อ้ นประการใด
จะขอใหท้ รงระงับดบั เขญ็ แลว้ กใ็ หล้ นั่ กระดง่ิ รอ้ งทกุ ขไ์ ดท้ กุ เวลา ในขณะพจิ ารณา
สอบสวนและตดั สนิ คดี พระองคก์ เ็ สดจ็ ออกฟงั และตดั สนิ ดว้ ยพระองค์เองไปตาม
ความยตุ ธิ รรม
การชลประทาน

เขอ่ื นสรดี ภงค(์ ทานบพระร่วง)
โปรดให้สร้างทานบกักนาที่เรียกว่า “สรีดภงส์” เพื่อนานาไปใช้ในตัวเมือง
สโุ ขทยั และบรเิ วณใกล้เคยี ง โดยอาศยั แนวคนั ดินท่ีเรยี กวา่ “เขื่อนพระรว่ ง” ทาให้
มนี าสาหรับใช้ในการเพาะปลูกและอปุ โภคบริโภคในยาม ที่บา้ นเมืองขาดแคลนนา
สรดี ภงส์ หรือ ศรดี ภงส์, สรดี ภงค์, สรีดภงษ์, ทานบพระร่วงคือ ทานบกันนา
หรือที่เรียกกันในปัจจุบันว่าเขื่อน ท่ีมีลักษณะเป็นเข่ือนดินกันนาระหว่างเขาพระ

บาทใหญ่และเขาก่ิวอ้ายมา เพ่ือทาการกักเก็บนาไว้ใช้ในการเกษตรกรรมและใช้
สอยในเมืองสมัยสุโขทัย สรีดภงส์หรือทานบพระร่วงอยู่ในอุทยานประวัติศาสตร์
สุโขทัย โดยตังอยู่นอกกาแพงเมืองเก่าทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตรงบริเวณที่ถูก
ขนาบดว้ ยภูเขาสองลูกเป็นรูปกา้ มปู คือ เขาพระบาทใหญ่และเขาก่ิวอ้ายมา ภูเขา
ทังสองลูกนีอยู่ในทวิ เขาหลวงด้านหลังตัวเมืองสุโขทัยโบราณ ลึกเข้าไปในทิวเขานี
เป็นซอกเขาอันเป็นตน้ กาเนิดของทางนาเรียกวา่ "โซกพระร่วงลองขรรค์"

เดิมคนท้องถิ่นตาบลเมืองเก่า อาเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย เรียก
ร่องรอยของคนั ดนิ โบราณเพื่อการชลประทานว่า ทานบพระร่วง เนื่องจากกษัตริย์
สโุ ขทยั พระองคใ์ ดพระองค์หน่งึ เปน็ ผ้สู รา้ งขนึ จงึ ถอื วา่ เปน็ ของทพี่ ระรว่ งทาขนึ หรอื
เกิดขึนด้วยอทิ ธิฤทธิ์ของพระร่วงทงั สิน

ปัจจุบันกรมชลประทานได้สร้างเข่ือนดินสูงเป็นแนวเชื่อมระหว่างปลายเขา
พระบาทใหญก่ ับเขากิ่วอ้ายมา สามารถกักเกบ็ นาทไ่ี หลออกมาจากโซกพระรว่ งลอง
ขรรค์ บริเวณระหว่างเขาทังสองลูกจึงกลายเป็นอ่างเก็บนาขนาดย่อมและระบาย
นาจากอ่างเก็บนานีลงคลองเสาหอ ซึ่งจะนานานีเข้าคูเมืองสุโขทัยท่ีมุมเมืองทิศ
ตะวันตกเฉียงใต้ อันเป็นตาแหน่งท่ีมีระดับความสูงของพืนดินสูงที่สุดของเมือ ง
สุโขทัย นาจากคลองเสาหอจะไหลลงคูเมืองด้านทิศตะวันตกและทิศใต้ จากนันจะ
ไหลเขา้ คเู มืองดา้ นทิศเหนอื และทศิ ตะวนั ออกไปสูม่ มุ เมอื งทศิ ตะวนั ออกเฉียงเหนอื
ซึ่งมีระดับต่าที่สุดก่อนที่จะไหลลงแม่นาลาพันไปลงแม่นายมท่ีอยู่ไกลออกไปทาง
ทศิ ตะวนั ออก

ศลิ าจารกึ พอ่ ขนุ รามคาแหง กาเนดิ อกั ษรไทย

การคน้ พบหลกั ศลิ าจารกึ พอ่ ขนุ รามคาแหง
วันที่ 17 มกราคม พ.ศ.2376 ปีมะเส็งเบญจศก ศักราช 1995

พระบาทสมเด็จฯ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซ่ึงทรงผนวชมาตังแต่รัชกาลท่ี
2 ประทับอยู่ ณ วัดราชาธิราชเสด็จขึนไปธุดงค์ทางมณฑลฝ่ายเหนือถึงเมือ
พิษณุโลก สวรรคโลก และเมืองสุโขทัย เมื่อเสด็จไปถึงเมืองสุโขทัยครังนัน

ทอดพระเนตรเห็นศิลาจารึก 2 หลกั คือ ศิลาจารึกของพอ่ ขนุ รามคาแหง หลักท่ี 1
และศิลาจารึกภาษาเขมรของพระมหาธรรมราชาลิไทย (หลักท่ี 4) กับแท่นมนัง
ศิลาอยทู่ ่ีเนนิ ปราสาท ณ พระราชวงั กรงุ สุโขทัยเก่า ราษฎร เช่นสรวงบูชานับถือ
กันว่าเป็นของศักดิ์สิทธ์ิ เป็นท่ีนับถือกลัวเกรงของหมู่มหาชน ถ้าบุคคลไม่เคารพ
เดินกรายเข้าไปใกล้ให้เกิดการจับไข้ไม่สบาย ทอดพระเนตรเห็นแล้วเสด็จตรงเข้า
ไปประทับแผ่น ณ ศิลานนั ก็มไิ ดม้ ีอันตรายสง่ิ หนึง่ สงิ่ ใดดว้ ยอานาจพระบารมี

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวดารัสถามว่าของทังสามส่ิงนันเดิม
อยทู่ ไี่ หน ใครเปน็ ผเู้ อามารวบรวมไว้ตรงนัน ก็หาได้ความไม่ ชาวสุโขทัยทราบทูล
ว่าแต่ว่าเห็นรวบรวมอยู่ตรงนันมาตังแต่ครังปู่ย่าตายายแล้ว พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยูห่ ัวพจิ ารณาดูเหน็ ว่าเป็นของสาคัญจะทิงไว้เป็นอันตรายเสีย จึงโปรดเกล้าฯ
ให้สง่ มากรุงเทพฯเดิมเอาไว้ท่วี ดั ราชาธิวาส ทังสามส่ิง พระแทน่ มนงั คศลิ านนั กอ่ ทา
เป็นแท่นท่ีประทับไว้ตรงใต้ต้นมะขามใหญ่ ข้างหน้าพระอุโบสถ ครันเสด็จมา

ประทับ ณ วัดบวรนเิ วศ โปรดฯ ใหส้ ง่ หลกั ศิลาทงั สองนนั มาดว้ ย พระบาทสมเดจ็
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพยายามอ่านหลักศิลาของพ่อขุนรามคาแหงเอง แล้ว
โปรดฯ ให้สมเด็จพระมหาสมณะเจ้าพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ พร้อมด้วยล่าม
เขมรอ่านแปลหลักศิลาของพระธรรมราชาลิไทย ได้ความทราบเร่ืองทังสองหลัก
ครังพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยู่หัวได้ เสวยราชย์ เมอ่ื พ.ศ. 2394 ต่อมา
จึงโปรด ฯ ให้ย้ายพระแท่นมนังคศิลามาก่อแท่นประดิษฐานไว้หน้าวิหารพระคัน
ธารราฐในวัดพระศรีรตั นศาสดาราม...

วนั พอ่ ขนุ รามคาแหง

สานักงานสภาจังหวัดสุโขทัย ได้มีหนังสือเสนอต่อ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี
ขอให้มีการกาหนด “วันพ่อขุนรามคาแหงมหาราช” ขึน ในเดือนธันวาคม พ.ศ.
2531 โดยถือวันที่พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลง
กรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะดารงพระราชอิสริยยศสมเด็จพระบรมโอรสาธิ
ราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดาเนินเพ่ือทรงประกอบพระราชพิธีเปิด
พระบรมราชานุสาวรยี ์พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช วันท่ี 17 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2526
เปน็ “วนั พ่อขุนรามคาแหงมหาราช”

ตอ่ มาคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ คณะกรรมการชาระประวัติศาสตร์
ไทย และจดั เอกสารทางประวัติศาสตรแ์ ละโบราณคดี ได้พิจารณาเรอื่ งการกาหนด
วนั สาคัญทางประวัตศิ าสตร์ใหม่ ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ โดยเสนอว่าควร
เป็นวนั ทพ่ี ระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว ทรงพบหลักศิลาจารึกของพ่อขุน
รามคาแหงมหาราช วนั ที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2376

มีการเสนอต่อที่ประชุมคณะรัฐมนตรี ในการกาหนดวันสาคัญทาง
ประวัติศาสตร์ของชาติ ซ่ึงคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ คณะกรรมการชาระ
ประวัติศาสตร์ไทยและจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี ได้
พิจารณาเห็นชอบด้วย จึงกาหนดให้ วันที่ 17 มกราคม ของทุกปีเป็น “วันพ่อขุน
รามคาแหงมหาราช”

พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั

ภายหลงั เม่อื พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดเ้ สวยราชยเ์ มอ่ื ปี พ.ศ.
2394 ไดโ้ ปรดใหเ้ อามาก่อแทนประดษิ ฐานไว้ท่ีหนา้ วหิ ารพระคนั ธาราฐในวัดพระ
ศรีรัตนศาสดาราม อยู่มาจนถึงในรัชกาลปัจจุบันนี เมื่องานพระราชพิธีบรมราชา
ภิเศกสมโภชใน พ.ศ. 2545 จึงโปรดให้ย้ายไปทาเป็นแท่นเศวตฉัตรราช
บลั ลังก์ ประดษิ ฐานไว้ในพระทน่ี ั่งดุสิตมหาปราสาทปรากฏอยู่ในทุกวันนี

วดั บวรนเิ วศ

ส่วนศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงนัน ครันพระบาทสมเด็จฯ พระจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัวเสด็จมาประทับอยู่ ณ วัดบวรนิเวศ โปรดให้ส่งหลักศิลานันมา
ดว้ ย ภายหลงั เมื่อไดเ้ สวยราชย์ พระจอมเกลา้ อยู่หวั โปรดฯ ใหย้ า้ ยจากวดั บวรนเิ วศ
เอาเข้าไปตังไว้ศาลารายในวัดพระศรีรัตนศาสดารามข้างด้านเหนือ พระอุโบสถ
หลงั ที่สองนบั แต่ทางตะวนั ตก อยู่ ณ ทีน่ ตี อ่ มาชา้ นานจนปลายเดอื นมนี าคม พ.ศ.
2466 จึ ง ไ ด้ ย้ า ย เ อ า ม า ร ว ม ไ ว้ ที่ ห อ พ ร ะ ส มุ ด

เร่ืองหลกั ศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหง ท่ีนักปราชญช์ าวยโุ รปแตง่ ไวใ้ นหนงั สอื
ต่างๆ นัน มีอยู่ในบัญชีท้ายคานาภาษาฝรั่งแล้ว ส่วนนักปราชญ์ไทยแต่ขึนนันได้
เคยพิมพ์ในหนังสอื วชิรญาณเล่มที่ 6 หนา้ 3574 ถงึ 2577 ในหนงั สือเรอื่ งเมอื ง
สุโขทัย ในหนังสือพระราชนิพนธ์เรื่องเท่ียวเมืองพระร่วง และในประชุม
พงศาวดารภาคที่หนึ่ง จากการสันนิษฐาน ผู้แต่งอาจมีมากกว่า 1 คน เพราะเนือ
เร่อื ง ในหลกั ศิลาจารกึ แบ่งได้เปน็ 3 ตอน

ศลิ าจารกึ พอ่ ขนุ รามคาแหง ดา้ นท่ี 1

ศลิ าจารกึ พอ่ ขนุ รามคาแหง ดา้ นที่ 1
ตอนที่ 1 ตังแต่บรรทัดท่ี 1 ถึง 18 กล่าวถึง พระราชประวัติของพ่อขุน
รามคาแหง และพระราชภารกิจของพระองค์ ใช้คาว่า “กู” เป็นพืนเข้าใจว่า พ่อ
ขุนรามคาแหงคงจะทรงแต่งเกย่ี วกับพระราชประวัตขิ องพระองค์เอง

ศลิ าจารกึ พอ่ ขนุ รามคาแหง ดา้ นท่ี 1 รูปคาปจั จบุ นั

ศลิ าจารกึ พอ่ ขนุ รามคาแหงดา้ นที่ 2

ศลิ าจารกึ พอ่ ขนุ รามคาแหงดา้ นท่ี 2
ตอนที่ 2 เปน็ การบนั ทึกเร่อื งราวเหตุการณต์ ่าง ๆ ตลอดจนขนบธรรมเนยี ม
ประเพณีของเมืองสุโขทัย เช่นเรื่องราวของการสร้างพระแท่นมนังคศิลาอาสน์ วัด
มหาธาตุ เมืองศรีสัชนาลัย และการประดิษฐ์ตัวอักษรไทย ใช้คาว่าพ่อขุน

รามคาแหง โดยเริ่มต้นว่า "เม่ือชั่วพ่อขุนรามคาแหงเมืองสุโขทัยนีดี......" จึงเข้าใจ

วา่ จะต้อง เป็นผู้อื่นแตง่ เพิม่ เติมภายหลังตอนที่ 2 เลา่ เหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ

ศลิ าจารกึ พอ่ ขนุ รามคาแหงดา้ นท่ี 2 รูปคาปจั จบุ นั

ศลิ าจารกึ พอ่ ขนุ รามคาแหงดา้ นที่ 3

ศลิ าจารกึ พอ่ ขนุ รามคาแหงดา้ นท่ี 3
ตอนท่ี 3 กลา่ วถงึ อาณาเขตของเมอื งสโุ ขทยั สรรเสรญิ และยอพระเกยี รติ

คุณของพอ่ ขนุ รามคาแหง โดยเรมิ่ ตน้ วา่ "พอ่ ขนุ รามคาแหง นนั หาเปน็ ทา้ วเปน็ พระ
ยาแกไ่ ทยทงั หลาย......" ศาสตราจารยย์ อรช์ เซเดย์ ผแู้ ปลอกั ษรพอ่ ขนุ รามคาแหง

ได้ ทา่ นไดส้ นั นษิ ฐานวา่ ความในตอนที่ 3 คงจารกึ หลงั ตอนที่ 1 และตอนท่ี 2 จงึ
เขา้ ใจวา่ ผอู้ นื่ แตง่ ตอ่ ในภายหลงั

ศลิ าจารกึ พอ่ ขนุ รามคาแหงดา้ นท่ี 3 รูปคาปจั จบุ นั

ศลิ าจารกึ พอ่ ขนุ รามคาแหงดา้ นที่ 4
ศลิ าจารกึ พอ่ ขนุ รามคาแหงดา้ นท่ี 4

ศลิ าจารกึ พอ่ ขนุ รามคาแหงดา้ นท่ี 4 รูปคาปจั จบุ นั

ลกั ษณะหลกั ศลิ าจารกึ พอ่ ขนุ รามคาแหง

หลกั ศลิ าจารกึ พอ่ ขุนรามคาแหง
หลกั ศลิ าจารึกพ่อขุนรามคาแหงมีลักษณะเป็นแท่งหินรูปสี่เหล่ียม ยอดกลม
มน สูง 1 เมตร 11 เซนติเมตร กว้าง 35 เซนติเมตร หนา 35 เซนติเมตร เป็น
หินชนวนสีเขียว มีจารึกทังส่ีด้าน ด้านที่ 1 มี 35 บรรทัด ด้านที่ 2 มี 35 บรรทัด

ดา้ นท่ี 3 มี 27 บรรทดั และดา้ นท่ี 4 มี 27 บรรทดั ในการจารึกอักษรไทย
ครังแรกนัน ได้ใช้พยัญชนะไม่ครบทัง 44 ตัว คือมีเพียง 39 ตัว โดยขาด ตัว ฌ ฑ
ฒ ฬ และตัว ฮ ไมค่ รบชุดพยญั ชนะเหมือนที่ใช้สอนวิชาภาษาไทยในปัจจุบนั ใน
บรรดาตวั อักษร 44 ตวั ท่มี มี าแต่สมัยโบราณ มีอยู่ 2 ตวั ทีเ่ ราเลิกใชไ้ ปแล้ว คอื ฃ
(ขอขวด) และ ฅ (คอคน) ท่ีเราเลิกใช้ก็เพราะเสียง 2 เสียงนีเปล่ียนไปแล้ว
กลายเป็นเสียงเดียวกันกับ ข (ขอไข่) ค (คอควาย) การเขียนสระในศิลาจารึก
สุโขทัยหลักท่ี 1 ต่างจากการเขียนสระในปัจจุบันมาก ทังรูปร่างสระ และวิธีการ
เขียน กล่าวคือ เขียนสระอยู่ในบรรทัดเช่นเดียวกับพยัญชนะ รูปวรรณยุกต์ท่ีใช้
เขียนกากับในยุคสุโขทัย มีเพียง 2 รูป คือไม้เอก และไม้โท แต่ไม้โทใช้เป็น
เคร่อื งหมายกากบาทแทน ตัวหนังสือที่ทรงประดิษฐ์ขึนใหม่นี มีการจัดวาง
รปู แบบตัวอักษรใกลเ้ คียงกบั อกั ษรของประเทศตะวันตก คือ เขียนจากซ้ายไปขวา
วางสระและวรรณยกุ ต์ไวใ้ นบรรทดั เดียวกันหมด เพื่อความสะดวกในการอ่านและ
เขียน(ต่างจากวิธีการเขียนของชาวจีนและอาหรับ ซึ่งเขียนจากขวามาซ้าย) และ
ต่อมาได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมในรัชสมัยของพระมหาธรรมราชาท่ี 1 (พระเจ้าสิไท
ครองราชย์ปี พ.ศ.1891- พ.ศ.1912 ) ซึ่งเป็นพระราชนัดดาของพ่อขุนรามคาแหง
ด้วยการนาสระไปไวข้ ้างบนบ้างขา้ งลา่ งบา้ ง ตามแบบอย่างหนังสือขอมท่ีไทยได้ใช้
กันมาแต่ก่อนจนเคยชนิ เช่น สระ อิ อี อือ นาไปเขียนไว้บนพยัญชนะสว่ นสระ อุ อู
เขียนไว้ใต้พยัญชนะ (ส่วน สระ อะ อา อา แต่เดิมเขียนไว้หลังพยัญชนะอยู่แล้ว
เชน่ เดยี วกบั สระ เอ แอ โอ ไอ ซงึ่ เขียนไวห้ น้าพยัญชนะมาแตเ่ ดมิ ) และไดท้ รงเพม่ิ
ไม้หันอากาศ เพือ่ ใช้แทนตัวอักษร เช่น คาว่า "อนน" เปลี่ยนเปน็ เขยี นวา่ "อนั " เปน็
ตน้ และรปู แบบตัวอักษร กเ็ ปล่ียนแปลงไปบา้ งเล็กนอ้ ย

ลายสือไทยที่พ่อขนุ รามคาแหงทรงคดิ ขึนนี ประเทศข้างเคยี ง เชน่ อาณาจกั ร
ล้านนา ล้านช้าง อโยธยา สุพรรณภูมิ ได้นาไปใช้กันอย่างแพร่หลายแต่ต่อมาครัน

เมื่ออาณาจักรสุโขทัยเสื่อมอานาจลง ทางล้านช้างได้เปลี่ยนไปใช้อักษรลาว ส่วน
ทางลา้ นนาเปลี่ยนไปใชอ้ กั ษรไทยลือ และเมอ่ื สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีที่ 1 (พระเจ้าอู่
ทอง ครองราชย์ปี พ.ศ. 1893- พ.ศ.1912) ทรงตังอาณาจักรเป็นอิสระกับสร้าง
พระนครศรีอยธุ ยาเปน็ ราชธานีในปี พ.ศ.1893 ก็ได้เอาแบบอักษรไทยสโุ ขทยั มาใช้
ซึง่ มกี ารแกไ้ ขดัดแปลงกันมาตามลาดับจนเป็นอย่างท่ีเห็นและใช้กันแพร่หลายเช่น
ในปจั จบุ นั

สระ วรรณยกุ ต์ และตวั เลข สมยั พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช

การแกไ้ ขอกั ษรขอมของพอ่ ขนุ รามคาแหง มดี งั นี

1. ตัวอกั ษรขอมท่มี หี นามเตยและเชิง พอ่ ขนุ รามคาแหงทรงเห็นว่ารุงรังมิได้
เป็นประโยชน์ในภาษาไทย ตัวอักษรตัวเดียวควรเขียนด้วยเส้นเดียวไม่ควรยก
ปากกาบ่อย ๆ ทาให้อักษรไทยเขียนได้ง่ายและรวดเร็ว พยัญชนะแต่ละตัวต่อเป็น
เส้นเดียวตลอด ในขณะที่พยัญชนะขอมต้องเขียนสองหรือสามเส้นต่อหน่ึง
พยญั ชนะ

2. เพ่ิมพยญั ชนะบางตัวที่มิได้มีในภาษาขอม เช่น ฃ ฅ ซ ฏ ด บ ฝ ฟ อ (ใน
ภาษาเขมร ตัว บ ใชเ้ ป็นทัง ป และ บ ตวั ฎ ใช้เป็นทัง ฎ และ ฏ)

3. เพม่ิ สระที่ทรงประดษิ ฐข์ นึ ได้แกส่ ระอึ สระออื สระแอ สระเออื ฯลฯ สระ
ออ และสระอือ ไม่ต้องมี อ เคียง เช่น เขียน พ่ช่ื แทน พ่อชื่อ สระ อิ อี อือ อุ อู
นามาเขียนขา้ งหนา้ ตดิ กบั พยัญชนะตน้ เชน่ อี ป น แทน ปืน ฯลฯ

4. สระอักษรขอมมีความสูงไม่เทา่ กนั แต่สระของพอ่ ขุนรามคาแหงสงู เทา่ กนั
หมด และสูงเท่ากับพยัญชนะทกุ ตัว หางของ ศ ส ก็ขีดออกไปข้าง ๆ ส่วน ป และ
ฝ หางสูงกวา่ อกั ษรตัวอ่ืน ๆ เพียงนิดเดียว สระกับพยัญชนะรวมทังสระโอ สระไอ
ไมล้ าย และสระไอไม้ม้วน

5. สระขอมวางไว้รอบด้านพยญั ชนะ ทังข้างหน้า ขา้ งหลัง ขา้ งลา่ ง แตพ่ ่อขนุ
รามคาแหงทรงดดั แปลงใหส้ ระอยูบ่ นบรรทดั เดียวกับพยัญชนะทงั หมดและอยหู่ นา้
พยัญชนะเป็นส่วนมาก ท่ีอยู่หลังมีแต่สระ อะ อา อา ที่มาเขียนไว้รอบตัวอย่าง
ปัจจุบันนีเรามักมาแก้กันในชันหลัง วิธีเรียงอักษรของพ่อขุนรามคาแหงคล้าย ๆ
กับวิธเี รยี งตวั อักษรของฝร่งั ผดิ แตท่ ข่ี องฝร่งั เรยี งสระไวข้ า้ งหลงั ตวั พยญั ชนะแตศ่ ลิ า
จารึกของพ่อขุนรามคาแหงสระบางตัวอยู่ข้างหลัง เช่น อา อา อะ บางตัวอยู่
ข้างหนา้ เช่น อิ อี อือ อุ อู เอ แอ ไอ ใอ โอ

คณุ คา่ ของศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหง

1. ดา้ นภาษาและสานวนโวหาร จารกึ ของพอ่ ขนุ รามคาแหงเปน็ หลกั ฐานท่ี
สาคญั ทส่ี ดุ ทแ่ี สดงให้เห็นถงึ กาเนดิ ของวรรณคดีและอกั ษรไทย เชน่ กลา่ วถึง
หลกั ฐานการประดษิ ฐอ์ กั ษรไทย

ดา้ นสานวนการใชถ้ อ้ ยคาในการเรยี บเรยี งจะเหน็ วา่
- ถอ้ ยคาส่วนมากเปน็ คาพยางคเ์ ดยี วและเปน็ คาไทยแท้ เชน่ อา้ ง โสง
นาง เปน็ ตน้
- มีคาทม่ี าจากภาษาบาลสี นั สกฤตปนอยบู่ า้ ง เชน่ ศรอี นิ ทราทติ ย์ ตรบี รู
อรญั ญกิ ศรทั ธา พรรษา เป็นตน้
- ใชป้ ระโยคสนั ๆ ใหค้ วามหมายกระชบั เชน่ แมก่ ชู อื่ นาง"เสอื ง พก่ี ชู อ่ื
บานเมอื ง” ขอ้ ความบางตอนใชค้ าซา เชน่ "ปา่ พรา้ วกห็ ลายในเมืองนี ปา่ ลางก็
หลายในเมอื งน”ี
- นยิ มคาคลอ้ งจองในภาษาพดู ทาใหเ้ กดิ ความไพเราะ เชน่ "ในนามีปลา
ในนามขี า้ ว
เจา้ เมอื งบเอาจกอบในไพร่ลทู่ าง เพอื่ นจงู ววั ไปคา้ ขม่ี า้ ไปขาย"
- ใชภ้ าษาทเี่ ปน็ ถอ้ ยคาพนื ๆ เปน็ ภาษาพดู มากกวา่ ภาษาเขยี น
2. ดา้ นประวตั ศิ าสตร์ ใหค้ วามรเู้ กยี่ วกับพระราชประวตั พิ อ่ ขนุ รามคาแหง
จารกึ ไวท้ านองเฉลมิ พระเกยี รติ ตลอดจนความรดู้ า้ นประวตั ศิ าสตร์ โบราณคดี
และสภาพสังคมของกรงุ สุโขทยั ทาใหผ้ ูอ้ า่ นรถู้ งึ ความเจรญิ รงุ่ เรอื งของกรงุ สุโขทยั
พระปรชี าสามารถของพอ่ ขนุ รามคาแหง และสภาพชวี ติ ความเปน็ อยู่ของชาว
สโุ ขทยั
3. ดา้ นสงั คม ใหค้ วามรดู้ า้ นกฎหมายและการปกครองสมยั กรงุ สโุ ขทยั วา่ มี
การปกครองแบบพอ่ ปกครองลกู พระมหากษตั รยิ ด์ แู ลทกุ ขส์ ุขของราษฎรอยา่ ง
ใกลช้ ดิ

4. ดา้ นวัฒนธรรม ประเพณี ใหค้ วามรู้เกย่ี วกับวัฒนธรรม ประเพณอี นั ดงี าม
ของชาวสุโขทยั ที่ปฏบิ ตั สิ บื มาจนถงึ ปจั จบุ นั เชน่ การเคารพบชู าและเลยี งดบู ดิ า
มารดา นอกจากนนั ยงั ไดก้ ลา่ วถงึ ประเพณที างศาสนา เชน่ การทอดกฐนิ เมอ่ื ออก
พรรษา ประเพณกี ารเล่นรน่ื เรงิ มกี ารจดุ เทยี นเลน่ ไฟ พอ่ ขุนรามคาแหงโปรดให้

ราษฎรทาบญุ และฟังเทศนใ์ นวนั พระ เชน่ "คนเมอื งสโุ ขทยั นมี กั ทาน มกั ทรงศลี มกั
อวยทาน.......ฝงู ทว่ ยมีศรทั ธา ในพระพทุ ธศาสนา ทรงศลี เมอ่ื พรรษาทกุ คน"

พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช ทรงประดษิ ฐ์อกั ษรไทยโดยจดั ทาศลิ าจารกึ ขนึ
เปน็ ครงั แรกแลนบั วา่ กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กท่ างประวตั ศิ าสตรเ์ ป็นอยา่ งมาก อนั
เปน็ รากฐานของหนงั สอื ไทยทเี่ ราไดใ้ ชก้ นั อยใู่ นทกุ วนั นี

วนั พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช

สานักงานสภาจังหวัดสุโขทัย ได้มีหนังสือเสนอต่อ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี
ขอให้มีการกาหนด “วันพ่อขุนรามคาแหงมหาราช” ขึน ในเดือนธันวาคม พ.ศ.
2531 โดยถือวันที่พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลง
กรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะดารงพระราชอิสริยยศสมเด็จพระบรมโอรสาธิ
ราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดาเนินเพื่อทรงประกอบพระราชพิธีเปิด
พระบรมราชานสุ าวรียพ์ ่อขุนรามคาแหงมหาราช วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526
เปน็ “วันพ่อขนุ รามคาแหงมหาราช”

ตอ่ มาคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ คณะกรรมการชาระประวัติศาสตร์
ไทย และจดั เอกสารทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี ได้พจิ ารณาเรอื่ งการกาหนด
วันสาคญั ทางประวตั ิศาสตรใ์ หม่ ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ โดยเสนอว่าควร
เปน็ วันท่พี ระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว ทรงพบหลักศิลาจารึกของพ่อขุน
รามคาแหงมหาราช วนั ท่ี 17 มกราคม พ.ศ. 2376

มีการเสนอต่อท่ีประชุมคณะรัฐมนตรี ในการกาหนดวันสาคัญทาง
ประวัตศิ าสตร์ของชาติ ซ่ึงคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ คณะกรรมการชาระ
ประวัติศาสตร์ไทยและจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี ได้
พิจารณาเห็นชอบด้วย จึงกาหนดให้ วันที่ 17 มกราคม ของทุกปีเป็น “วันพ่อขุน
รามคาแหงมหาราช”

...............................................................


Click to View FlipBook Version