The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สื่อและการรับส่งข้อมูล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thanatpornphimparsert2543, 2019-12-18 11:12:27

สื่อและการรับส่งข้อมูล

สื่อและการรับส่งข้อมูล

วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีนครราชสีมา
สังกดั สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
สานกั คณะกรรมการการศกึ ษากระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ส่ือและอุปกรณ์กำรรับส่งข้อมูล
(Communication Media)

นำเสนอโดย
นำงสำว ธนชั พร พิมพ์ประเสริฐ
นักศึกษำระดบั ช้ันประกำศนียบตั รวชิ ำชีช้ันสูงช้ันปี ท่ี 1

เสนอ
ครูวริ ยำ สีขำว
วทิ ยำลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครรำชสีมำ

คานา

รายงานเล่มน้ีจดั ทาข้ึนเพอื่ เป็นส่วนหน่ึงของวิชาสื่อสารขอ้ มลู และระบบเครือขา่ ย รหัสวิชา 3204-2003
ระดบั ช้นั ประกาศยานียบตั รวชิ าชีพช้นั สูงช้นั ปี ที่1 เพอื่ ให้ไดศ้ ึกษาหาความรู้ในเรื่องส่ือและอปุ กรณ์รบั ส่ง
ขอ้ มูล
ผจู้ ดั ทาหวงั ว่า รายงานเลม่ น้ีจะเป็นประโยชนก์ บั ผอู้ า่ น หรือ นกั เรียน นกั ศกึ ษา ทกี่ าลงั หาขอ้ มูลเรื่องน้ี
หากมคี าแนะนาหรือขอ้ ผิดพลาดประการใด ผจู้ ดั ทาขอรับไว้ ณ ท่ีน้ีดว้ ย

นางสาว ธนชั พร พิมพป์ ระเสริฐ

ส่ือกลำงทใ่ี ช้ในกำรส่ือสำรข้อมลู

องคป์ ระกอบท่สี าคญั ทีใ่ ชใ้ นการส่ือสารขอ้ มูลอนั หน่ึงที่ขาดไมไ่ ด้ คือสายส่ือกลาง ซ่ึงแบง่ เป็น 2
ประเภทใหญ่ คอื ส่ือกลางทกี่ าหนดเสน้ ทางได้ เช่น สายโคแอกเซียล (Coaxial) สายเกลยี วคู่ (Twisted-
pair) สายไฟเบอร์ออฟติก (Fiber Optic) และสื่อกลางที่กาหนดเส้นทางไม่ได้ เช่น คลน่ื วทิ ยุ คลืน่
ดาวเทียม คลื่นไมโครเวฟ เป็นตน้

การเลือกส่ือกลางทจี่ ะนามาใชใ้ นการเชื่อมต่อระบบสื่อสารขอ้ มลู น้นั จาเป็นตอ้ งพจิ ารณากนั หลาย
ประการ เช่น ความเร็วในการส่งขอ้ มลู ราคาของอปุ กรณท์ ่ีใช้
สถานท่ีใช้ การบริการ การควบคุม ตลอดจนเทคโนโลยีทจี่ ะนามาใช้ ซ่ึงลือ่ กลางแตล่ ะชนิดจะมี
คณุ สมบตั แิ ตกต่างกนั ไป

สำยโคแอกเซียล (Coaxial Cable)

สายโคแอกเซียลเป็นสายทน่ี ิยมใชก้ นั คอ่ นขา้ งมาก
ในระบบการส่ือสารความถส่ี ูง เช่น สายอากาศของทวี ี
สายชนิดน้ีถกู ออกแบบมาใหม้ ีคา่ ความตา้ นทาน 75
โอห์มและ 50 โอห์ม โดยสาย 75 โอหม์ ส่วนใหญใ่ ชก้ บั
สายอากาศทีวีและสาย 50 โอหม์ จะนามาใชก้ บั การ
สื่อสารท่เี ป็นระบบดิจิตอล

คุณสมบตั ิของสายโคแอกเซียลประกอบดว้ ยตวั นา
สองสาย โดยมสี ายหน่ึงเป็นแกนอยตู่ รงกลางและอกี
เสน้ เป็นตวั นาลอ้ มรอบอยอู่ กี ช้นั มีขนาดของสาย 0.4
ถงึ 1 น้ิว

สำยโคแอกเซียลมี 2 แบบ คอื แบบหนำ (Thick) และแบบบำง (Thin) แบบหนาจะแขง็ การเดนิ สายทาได้
คอ่ นขา้ งยาก แต่สามารถส่งสัญญาณไดไ้ กลกว่าแบบบาง
สำยค่บู ดิ เกลยี ว ( Twisted-Pair)

สายคู่เกลียวเป็นสายมาตรฐานสองเส้นหุม้ ดว้ ยฉนวนแลว้ บดิ เป็นเกลียว สามารถรบั ส่งขอ้ มูลไดท้ ้งั แบบ
อนาลอกและแบบดจิ ิตอล สายชนิดน้ีจะมขี นาด 0.015-0.056 น้ิว ส่งขอ้ มลู ไดด้ ว้ ยความเร็ว 10 เมกะบติ ตอ่
วนิ าที ถา้ ใชส้ ่งสัญญาณแบบอนาลอกจะตอ้ งใชว้ งจรขยายหรือแอมพลฟิ ายเออร์ ทุก ๆ ระยะ 5-6 กม. แต่ถา้
ตอ้ งการส่งสัญญาณแบบดจิ ติ อลจะตอ้ งใชอ้ ุปกรณ์ทาซ้าสญั ญาณ (Repeater) ทกุ ๆ ระยะ 2-3 กม. โดยทวั่ ไป
แลว้ สาหรบั การส่งขอ้ มูลแบบดิจติ อล สัญญาณทสี่ ่งเป็นลกั ษณะคล่นื สี่เหล่ียม สายค่บู ิดเกลยี วสามารถใชส้ ่ง
ขอ้ มูลไดห้ ลายเมกะบติ ต่อวนิ าทใี นระยะทางไดไ้ กลหลายกโิ ลเมตร เนื่องจากสายค่เู กลยี ว มีราคาไม่แพงมาก
ใชส้ ่งขอ้ มูลไดด้ ี และมนี ้าหนกั เบา นอกจากน้นั ยงั ง่ายตอ่ การตดิ ต้งั จงึ ถกู ใชง้ านอยา่ งกวา้ งขวางตวั อยา่ งของ
สายคบู่ ดิ เกลยี ว คอื สายโทรศพั ท์ สาหรับสายคบู่ ิดเกลียวน้นั จะมีอยู่ 2 ชนิดคือ

สายคู่บดิ เกลยี วชนิดหุม้ ฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็นสายคู่บดิ เกลียวที่หุม้ ดว้ ยฉนวนช้นั นอก
ที่หนาอกี ช้นั หน่ึง เพื่อป้องกนั การรบกวนของคลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าดงั รูป
สายคู่บดิ เกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP) เป็นสายคู่บิดเกลยี วท่หี ุม้ ดว้ ยฉนวน
ช้นั นอกทบี่ างทาใหส้ ะดวกในการโคง้ งอ แตจ่ ะป้องกนั การรบกวนของคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าไดน้ อ้ ยกว่าชนดิ
แรก ดงั รูปสายส่งแบบไฟเบอร์ออฟตกิ (Fiber Optic) เป็นการส่งสญั ญาณดว้ ยใยแกว้ และส่งสัญญาณดว้ ย
แสงมคี วามเร็วในการส่งขอ้ มูลสูงสามารถส่งขอ้ มลู ไดด้ ว้ ยเร็วเทา่ กบั แสง ไมม่ สี ัญญาณรบกวนจาก
ภายนอก
• สายส่งขอ้ มูลแบบไฟเบอร์ออฟติกจะประกอบดว้ ยเส้นใยแกว้ 2 ชนดิ ชนิดหน่ึงอยู่ตรงแกนกลาง อีก

ชนิดหน่ึงอยดู่ า้ นนอก โดยท่ใี ยแกว้ ท้งั 2 น้ีจะมดี ชั นีในการสะทอ้ นแสงตา่ งกนั ทาให้แสงทสี่ ่งจาก
ปลายดา้ นหน่ึงผา่ นไปยงั อกี ดา้ นหน่ึงได้

สำยใยแก้วนำแสง (Fiber Optic)
ทาจากแกว้ หรือพลาสติกมีลกั ษณะเป็นเสน้ บางๆ คลา้ ย เสน้ ใยแกว้ จะทาตวั เป็นสื่อในการส่ง

แสงเลเซอร์ท่มี คี วามเร็วในการส่งสญั ญาณเทา่ กบั ความเร็วของแสง
ข้อดขี องใยแก้วนำแสดงคอื
1. ป้องกนั การรบกวนจากสัญญาณไฟฟ้าไดม้ าก
2. ส่งขอ้ มลู ไดร้ ะยะไกลโดยไม่ตอ้ งมตี วั ขยายสญั ญาณ
3. การดกั สัญญาณทาไดย้ าก ขอ้ มลู จงึ มคี วามปลอดภยั มากกว่าสายส่งแบบอื่น
4. ส่งขอ้ มลู ไดด้ ว้ ยความเร็วสูงและสามารถส่งไดม้ าก ขนาดของสายเลก็ และน้าหนกั เบา

ตัวกลำงกำรสื่อสำรไร้สำย Wireless transmission Media
สื่อกลำงทก่ี ำหนดเส้นทำงไม่ได้ หรือ ระบบไร้สำย (Unguided Transmission media)

เป็นสื่อกลางประเภทท่ไี มม่ วี สั ดุใดๆในการนาสัญญาณแตจ่ ะใชอ้ ากาศ เป็นสื่อกลาง ซ่ึงจะไมม่ ีการกาหนดเส้นทางให้
สญั ญาณเดินทางซ่ึงเราเรียกวา่ การสื่อสารไร้ สาย ตวั กลางท่ีใชใ้ นการส่ือสารไร้สายคือ อากาศ สุญญากาศ หรือแมแ้ ต่
น้า , อากาศเป็นตวั กลางท่ใี ชอ้ ย่างแพร่หลายมากที่สุด
การส่งผ่านข้อมลู แบบไร้สาย (Wireless transmission) สามารถแบ่งได้ 3 กล่มุ คือ

• คลนื่ วิทยุ (Radio waves)
• ไมโครเวฟ (Microwaves)
• อนิ ฟราเรด (Infrared)
ควำมแตกต่ำงระหว่ำง คลน่ื วทิ ยุ (Radio waves) และ ไมโครเวฟ (Microwave)

ไมช่ ดั เจนนกั กบั ความแตกต่างระหวา่ ง คลืน่ วิทยุ (Radio waves)และ ไมโครเวฟ (Microwave)
• คล่นื แม่เหลก็ ไฟฟ้าทม่ี คี วามถ่ีต้งั แต่ในระหวา่ ง 3 KHz และ 1 GHz จะเรียกว่าปกตคิ ล่นื วทิ ยุ (Radiowaves)
• คล่ืนความถตี่ ้งั แตใ่ นระหว่าง 1 ถงึ 300 GHz จะเรียกว่าปกตไิ มโครเวฟ(Microwave) มนั เป็นเรื่องของการนา
ความถี่มาจดั กลุ่มมากกว่าของการส่ือสารไรส้ าย

คลน่ื วิทยุ (Radio waves)
คลนื่ วทิ ยุเป็นปกติรอบทศิ ทาง เมื่อเสาอากาศส่ง

คล่นื วทิ ยุที่พวกเขาจะแพร่กระจายไปในทุกทิศทาง ซ่ึง
หมายความว่าการส่งและรับเสาอากาศไมจ่ าเป็นตอ้ ง
ตรงกนั ลกั ษณะรอบทศิ ทางของคลื่นวทิ ยุทาใหพ้ วกเขา
มปี ระโยชน์สาหรับ multicasting ซ่ึงมหี น่ึงผสู้ ่ง แตร่ บั
จานวนมาก ตวั อย่างเชน่ สถานีวทิ ยุ ระบบมือถือ
โทรทศั น์ เป็นตวั อย่างของ multicasting

ข้อเสียของคลน่ื วทิ ยุ (THE DISADVANTAGE OF
RADIO WAVES)

คล่นื วทิ ยุที่ส่งมาจากหน่ึงในเสาอากาศมีความออ่ นไหว
ต่อการรบกวนโดยเสาอากาศทีอ่ ่นื จะส่งสญั ญาณ
ความถเ่ี ดียวกนั

ไมโครเวฟ (MICROWAVES)

คลื่นไฟฟ้าที่มีความถีร่ ะหวา่ ง 1 GHz ถึง 300
GHz ปกติจะเรียกวา่ ไมโครเวฟ ไมเ่ หมอื นกบั
คลืน่ วทิ ยุ (Radio waves) ไมโครเวฟเป็นทศิ ทาง
เดียวซ่ึงในการส่งและรบั เสาอากาศจะตอ้ งมี
ตรงกนั การส่งสญั ญาณจะตอ้ งอยใู่ นระดบั
เดียวกนั เน่ืองจากการส่งขอ้ มูลแบบทศิ ทางเดียว
ของไมโครเวฟ, เสาอากาศสามารถวางชิดกนั
โดยไม่รบกวนกบั เสาอากาศอืน่ ทใี่ ชค้ วามถี่
เดียวกนั (Microwaves)

ไมโครเวฟความถส่ี ูงไมส่ ามารถทะลผุ ่านผนงั นี่
คือเหตุผลท่ี เสาอากาศทไ่ี ดร้ บั ไมส่ ามารถอยู่
ภายในอาคาร

ดำวเทยี ม (Satellite) บลทู ธู (Bluetooth)

เนื่องจากคล่ืนไมโครเวฟมขี อ้ จากดั ในเรื่องของลกั ษณะ เทคโนโลยบี ลูทธู ถูกออกแบบมาเพอ่ื ใชเ้ ป็น
ภูมิประเทศ ทม่ี ผี ลตอ่ การบดบงั คล่นื ดงั น้นั จงึ ไดม้ กี าร วธิ ีใหม่ของการเชื่อมต่อหูฟังเขา้ กบั เซลลโ์ ฟน
พฒั นาดาวเทียม โดยความเป็นจริงแลว้ ดาวเทียมก็คอื ได้ สะดวกยิ่งข้นึ มีขอ้ ดี ตรงที่ลงทนุ ตา่ และใช้
สถานีไมโครเวฟนงั่ เอง แตเ่ ป็นสถานีไมโครเวฟท่ลี อยอยู่ พลงั งานต่า มคี วามแตกตา่ งเมื่อเทียบกบั การ
บนเหนือพ้ืนผวิ โลก ทาใหส้ ามารถติดตอ่ สถานี ส่ือสารดว้ ยแสงอนิ ฟราเรดตรงทส่ี ามารถ
ภาคพ้ืนดินทอี่ ยู่บนพน้ื โลกการนาดาวเทยี มดงั กล่าว ข้นึ ส่ือสาร ทะลุส่ิงกีดขวางหรือกาแพงได้ อกี ท้งั
ไปโคจรเหนือพ้ืนผวิ โลกเพยี ง 3 ดวง ก็สามารถ ยงั เป็นการส่ือสารไรส้ ายดว้ ยการแผค่ ล่ืน
ครอบคลุมการส่ือสารไดท้ กุ หมนุ โลก โดยดาวเทยี มดวง ออกเป็นรศั มรี อบทศิ ทางดว้ ย คลน่ื ความถี่
หน่ึงส่งสญั ญาณในบริเวณกวา้ งเท่ากบั 1 ใน 3 ของโลก สูง บลูทธู สามารถส่ือสารระหว่างอปุ กรณ์
(120 องศา) ดงั น้นั ดาวเทยี ม 3 ดวงกค็ รอบคลมุ บริเวณพ้นื หลายๆอุปกรณด์ ว้ ยกนั เช่น เคร่ือง
โลกไดท้ ้งั หมด (360 องศา) ส่วนการส่ือสารสามารถส่ง คอมพิวเตอร์ เคร่ืองพิมพ์ แฟกซ์ และรวมถึง
สัญญาณแบบขาข้นึ (Up-link) ซ่ึงเป็นการส่งสัญญาณจาก เครื่องพดี เี อ
สถานีพ้นื ดนิ ไปยงั ดาวเทียม และการส่งสญั ญาณแบบขา
ลง(Down-link) ซ่ึงเป็นการส่งสญั ญาณจากดาวเทียมมายงั
สถานีภาคพ้ืนดนิ และดว้ ยเทคโนโลยีดาวเทียมในอนาคต
ก็จะสามารถส่ือสารไดท้ ้งั สองทาง ไมว่ ่าจะเป็นแบบขา
ข้นึ หรือขาลงในขณะเดียวกนั

เอกสารอา้ งอิง

https://sites.google.com/site/bebenzkanokkan/sux-laea-tawklang-khxng-rabb-suxsar-



วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีนครราชสีมา

สงั กดั สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
สานกั คณะกรรมการการศกึ ษากระทรวงศกึ ษาธกิ าร


Click to View FlipBook Version