รายงาน เรื่อ รื่ ง บทละครพูดคำ ฉันท์ มัทนะพาธา โดย นายธีร ธี ภัทัร ศิริโริส เลขที่ ๑๑ นางสาวชุติิกาญจน์ ปิ่น ปิ่ ประยูร ยู เลขที่ ๒๕ ชั้นชั้มัธยมศึกษาปีที่ ปีที่๕/๕ เสนอ อาจารย์อ ย์ รวรรณ ธวัชวัวงษ์ รายงานนี้เป็น ป็ ส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชวิ าภาษาไทย ท๓๒๑๐๑ ภาคเรีย รี นที่ ๑ ปีก ปี ารศึกษา ๒๕๖๖ โรงเรีย รี นลาดยาววิท วิ ยาคม อำ เภอลาดยาว จังหวัดวันครสวรรค์
รายงานเล่มนี่้จัดจัทำ ขึ้นขึ้เพื่อเป็นป็ ส่วนหนึ่งของวิชวิาภาษาไทย ท๓๒๑๐๑ ชั้นชั้มัธยม ศึึกษาปีที่ปีที่๕/๕ เพ่ืื่อให้ไห้ด้ศึกษาหาความรู้ใรู้นเรื่่องบทละครพูดคำ ฉันท์ มัทนะพาธาและได้ ศึกษาอย่าย่งเข้าข้ใจเพื่อเป็นป็ ประโยชน์กับการ เรียรีน ซึ่งซึ่คณะผู้จัดจัทำ ขอขอบคุณคุณครูอรวรณ ธวัชวงษ์ ที่ได้ทำ การแนะนำ ให้ข้อมูล ตลอดการทำ รายงาน ฉบับบันี้ จนทำ ให้รห้ายงานฉบับบันี้เสร็จร็สิ้นสมบูรณ์ ผู้จัดจัทำ หวังวัว่าว่รายงานเล่มนี้จะเป็นป็ ประโยชน์กับผู้อ่าน หรือรืนักเรียรีน ที่กำ ลังหา ข้อข้มูลเรื่อรื่งนี้อยู่ หาก มีข้อข้แนะนำ หรือรืข้อข้ผิดพลาดประการใด ผู้จัดจัทำ ขอน้อมรับรัไว้แว้ละขออภัยมา ณ ที่นี้ คณะผู้จัผู้ ดจัทำ คำ นำ ก
คำ นำ สารบัญบั ที่มาของเรื่อรื่ง ประวัติวั ติผู้แต่ง ลักษณะประพัันธ์ ตัวละคร ฉาก เรื่อรื่งย่อย่ วิเวิคราะห์คุห์คุณค่าด้านวรรณคดี ๓ ด้าน บรรณานุกรม ภาคผนวก ก ข ๑ ๒ ๓ ๕ ๖ ๗ ๙ ๑๒ ๑๓ ข สารบัญบั
๑ บทละครพูดคำ ฉันท์เรื่อรื่ง มัทนะพาธา เป็นป็บทละครที่พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชรักาลที่ ๖) ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้ธ์ขึ้น ตามจินตนาการของ พระองค์โดยทรงให้ความสำ คัญเรื่อรื่งความถูกต้องและความสมจริงริในราละเอียด ของเรื่อรื่ง ทั้ง ชื่อเรื่อรื่ง ชื่อตัวเอก และรายละเอียด ต่าง ๆเช่น ชื่อเรื่อรื่ง มัทนา มาจาก ศัพท์ มทน แปลว่า ความลุ่มหลงหรือรืความรักรัและชื่อนางเอกของเรื่อรื่งมัทนะพาธา มีความหมาย ว่า ความเจ็บปวดและความเดือนร้อร้เพราะความรักรัซึ่งตรงกับแก่น ของเรื่อรื่ง ที่ชี้ให้เห็นโทษของความรักรัระยะเวลาในการแต่ง พระบาทสมเด็จพระมงกุุฎเกล้าเจ้าจ้อยู่หัยู่ วหัทรงนำ ละครพูดมาสู่วงการ วรรณกรรมไทยเป็นป็ครั้งรั้แรกทั้งนี้เนื่องจากทรงสนพระทัยในบทละครของวิลวิเลียม เชคสเปียปีร์จึร์งจึทรงพระราชนิพนธ์บธ์ทละครพูดไว้เว้ป็นป็จำ นวนมาก แต่เรื่อรื่งมัทนะพาธาหรือรื ตำ นานดอกกุหลาบนี้เป็นป็บทพระราชนิพนธ์ที่ธ์ที่เป็นป็บทละครพููดคำ ฉันท์เพียงเรื่อรื่งเดียว โดยทรงเริ่มริ่พระราชนิพนธ์เธ์มื่อวันวัที่ ๒ กันยายน ๒๔๖๖ ขณะทรงพระประชวร และ ประทับอยู่ ณ พระราชวังวัพญาไท และทรงพระราชนิพนธ์เธ์สร็จร็สมบูรณ์เมื่อวันวัที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๔๖๖ นับได้ว่าว่ ใช้เช้วลาเพียง ๑ เดือน ๑๗ วันวัเท่านั้น ที่มาของเรื่อ รื่ ง
พระมหากษัตริย์ริลำย์ ลำดับที่ ๖ แห่งห่พระบรมราชจักจัรีวรีงศ์ เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันวัที่ ๑ มกราคม พ.ศ.๒๔๒๓ ทรงเป็นป็พระราชโอรสใน พระบาทสมเด็จ พระจุลจุจอมเกล้าเจ้าจ้อยู่หัยู่ วหัและ สมเด็จพระศรีพัรี พัชรินริทราบรม ราชินีชินีาถ ได้รับรัพระราชทานพระนามว่าว่ สมเด็จพระเจ้าจ้ลูกยาเธอ เจ้าจ้ฟ้ามหาวชิรชิาวุธ ขณะทรงพระเยาว์ ได้ทรงศึกษาในพระบรมมหาราชวังวัจนถึง พ.ศ.๒๔๓๖ เมื่อพระ ชนมายุไยุด้ ๑๒ พรรษาเศษ สมเด็จพระบรมชนกนาถทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ เสด็จไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษ นับเป็นป็พระมหากษัตริย์ริไย์ทยพระองค์แรกที่ทรง ได้รับรัการศึกษาจากต่างประเทศ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าจ้อยู่หัยู่ วหัได้ทรง ประกอบพระราชพิิธีอธีภิเษกสมรสกับ เจ้าจ้จอมสุวัทวันา (คุณเครือรืแก้ว อภัยวงศ์) เมื่อวันวั ที่ ๑๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๖๗ ได้ประสูติพระราชธิดธิา คือ สมเด็จพระเจ้าจ้ภคินีเธอ เจ้าจ้ ฟ้าเพชรรัตรันราชสุดา สิริโริสภาพัณณวดี เมื่อวันวัที่ ๒๔ พฤศจิกจิายน พ.ศ. ๒๔๖๘ พระบาทสมเด็จพระมงกุุฎเกล้าเจ้าจ้อยู่หัยู่ วหัได้ประกอบพระราชกรณียกิจมากมาย หลาย ด้านในการพััฒนาประเทศ พระราชกรณียกิจด้านด้านวรรณกรรมและหนังสือพิิมพ์์ที่ ทรงริเริริ่มริ่อาทิ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตห้ราพระราชบัญบัญัติญั ติการพิมพ์ฉบับบัแรก ขึ้นขึ้เรียรีกว่าว่พระราชบัญบัญัติญั ติสมุด เอกสาร และหนังสือพิมพ์ พ.ศ. ๒๔๖๕ ทรงพระราช นิพนธ์เธ์รื่อรื่งราวต่างๆ ไว้เว้ป็นป็อันมาก มีีภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ร้อร้ยแก้ว และร้อร้ย กรอง สารคดี และนิยาย มีบทละครรำ ละครร้อร้ง ละครพูด และได้ทรงพระราชนิพนธ์ บทความพระราชทานหนังสือพิมพ์ด้วย รวมกว่าว่๑,๐๐๐ เรื่อรื่งเป็นป็มรดกทาง วรรณกรรมให้ปห้ระชาชนชาวไทยได้อ่านและชื่นชื่ชมสืบทอดกันมา จึงจึได้รับรัพระสมัญญา นามว่าว่ สมเด็จพระมหาธีรธีราชเจ้าจ้และ องค์การการศึกษาวิทวิยาศาสตร์แร์ละวัฒวันธรรม แห่งห่ สหประชาชาติ (UNESCO) ก็ได้ยกย่อย่งพระเกีียรติคุณของพระองค์เป็นป็ ปราชญ์ สยาม ประวัติวั ติ ผู้แผู้ ต่ง ๒
ลักษณะคำ ประพันธ์ บทละครพูดคำ ฉันท์เรื่อรื่ง มัทนะพาธา ประกอบด้วยคำ ประพัันธ์หธ์ลายชนิดดังนี้ ๑. กาพย์ ๓ ชนิด คือ กาพย์ยย์านี ๑๑ กาพย์ฉย์บังบั๑๖ และกาพย์สุย์สุรางคนางค์ ๒๘ ๒. ฉันท์ ๒๑ ชนิด เช่นช่วิชวิชุมมาลาฉันท์ ๘ อินทรวิเวิชียชีรฉันท์ ๑๑ อุปชาติฉันท์๑๑ ภุชงคประยาต ฉันท์ ๑๒ อินทวงศ์ฉันท์ ๑๒ วสันตดิลกฉันท์ ๑๔ เป็นป็ต้น ๓ รูปที่๑กาพย์สุย์สุรางคนางค์ ๒๘ รูปที่๒กาพย์ฉย์บังบั๑๖ รูปที่๓อินทรวิเวิชียชีรฉันท์ ๑๑ รูปที่๔วสันตดิลกฉันท์ ๑๔ รูปที่๕วิชวิชุมมาลาฉันท์ ๘
๔ รูปที่๖อินทรวงศ์ฉันท์ ๑๒ รูปที่๗กมลฉันท์ ๑๒ รูปที่๘สาลินีฉันท์ ๑๑ รูปที่๙จิตจิระปทาฉันท์ ๘
ภาคสวรรค์ - สุเทษณะเทพบุตร์ - จิตจิระเสน (หัวหัหน้าคนธรรพ์ของสุเทษณ์) - จิตจิระรถ (สาระถีของสุเทษณ์) - มายาวินวิ (วิทวิยาธร) - มัทนา (เทพธิดธิา) - เทพบุตร์,ร์คนธรรพ์, และอัับสร(บริวริารของสุเทษณ์) ภาคพื้นดิน - พระกาละทรรศิน (คณาจารย์อย์ยู่ใยู่ นป่าป่หิมหิะวันวั ) - โสมะทััต (หัวหัหน้าศิษย์ขย์องพระกาละทรรศิน) - นาค (ศิษย์ขย์องพระกาละทรรศิน) - ศุน (ศิษย์ขย์องพระกาละทรรศิน) - ท้าวชัยชัเสน (กษััตริย์ริจัย์นจัทรวงศ์ผู้ทรงราชย์ใย์นนครหัสหัตินาปุร) - ศุภางค์ (นายทหารคนสนิธของท้าวชัยชัเสน) - นันทิวรรธนะ (อมาตย์ขย์องท้าวชัยชัเสน,ชาวสวนหลวง) - วิทูวิรทู (พราหมณ์หมอเสน่ห์)ห์ - พระนางจัณจัฑี(มเหสีของท้าวชัยชัเสน) - ปริยัริมยัวะทา (นางกำ นัลของท้าวชัยชัเสน) - อราลี(นางค่อมฃ้าฃ้หลวงพระนางจัณจัฑี) - เกศิินี (ฃ้าฃ้หลวงพระนางจัณจัฑี) - ศิษย์พย์ระฤษีี; นายทหาร, พราน ,ราชบริพริาร, และฃ้าฃ้หลวง๑ ตัวละคร ๕
องก์ที่ ๑ ลานหน้ามุขเด็จแห่งห่วิมวิานของสุเทษณะเทพบุตร์,ร์บนสวรรค์ องก์ที่ ๒ ตอนที่ ๑ ฉาก: ในกลางหิมหิะวันวั ตอนที่ ๒ ทางเดิรในดง ตอนที่ ๓ ลานหน้าอาศรมของพระกาละทรรศิน องก์ที่ ๓ ลานหน้าอาศรมของพระกาละทรรศิน องก์ที่ ๔ ตอนที่ ๑ สวนหลวงข้าข้งพระราชวังวั, ในกรุงหัสหัตินาปุระ ตอนที่ ๒ ริมริรั้งรั้ค่ายหลวง, ตำ บลกุรุเกษตร์ ตอนที่ ๓ สวนหลวงข้าข้งพระราชวังวั, ในกรุงหัสหัตินาปุระ องก์ที่ ๕ ตอนที่ ๑ พลับพลาในค่ายหลวงที่ตำ บลกุรุเกษตร์ ตอนที่ ๒ กลางป่าป่หิมหิะวันวั ฉาก ๖
เนื้อเรื่อรื่งย่อย่จะแบ่งบ่เป็นป็ สองภาค คือภาคสวรรค์ และภาคพื้นดิน ภาคสวรรค์ กล่าวถึงสุเทษณ์เทพบุตร ซึ่งซึ่ในอดีตชาตินั้นคือกษัตริย์ริย์แคว้นปัญจาล และนางมัทนา ซึ่งซึ่ในอดีตชาติ เป็นป็ราชธิดธิาในกษัตริย์ริย์แคว้นสุราษฎร์ ซึ่งซึ่ทั้งคู่ได้มาเกิดใหม่บนสวรรค์ สุเทษณ์เทพบุตรใฝ่ปองรักรันางฟ้ามัทนา แต่ก็ไม่อาจจะสมรักรัด้วยกรรมที่เคยทำ มาแต่ อดีต ทำ ให้ไร้ซึ่ร้ซึ่งซึ่ความสุขอย่างยิ่ง สุเทษณ์เทพบุตร จึงได้ให้วิทยา ธรนามว่า "มายาวิน" ใช้เช้วทมนตร์คร์าถาไปสะกดเอานางมัทนาเข้ามาหา ก่อนที่มายาวินจะใช้เช้วทมนตร์เร์รียรีก นางมัทนาได้ทูลสุเทษณ์เทพบุตรว่าการที่พระองค์ไม่อาจจะสมรักรักับมัทนาได้เป็นป็ เพราะเมื่อชาติปางก่อนเมื่อพระองค์เป็นป็กษัตริย์ริย์แคว้นปัญจาลนั้น พระองค์ได้ไปสู่ขอ มัทนาจากกษัตริย์ริย์แคว้นสุราษฎร์ผู้ร์ ผู้เป็นป็พระราชบิดาแต่ท้าวสุราษฎร์ไร์ม่ให้ จึงเกิดรบกัน ขึ้น ในที่สุดท้าวสุเทษณ์แห่งแคว้นปัญจาลก็ชนะ จับท้าวสุราษฎร์เร์ป็นป็เชลย และจะ ประหารชีวิชีวิตเสีย แต่นางมัทนาเข้ามาขอชีวิชีวิตพระราชบิดาไว้และยอมเป็นป็บาทบริจริาริกริา ก่อนที่นางจะ ใช้พช้ระขรรค์ปลงพระชนม์ตนเอง เมื่อสิ้นพระชนม์แล้ว นางมัทนก็ไปเกิด เป็นป็เทพธิดธิาบนสวรรค์ส่วนท้าวสุเทษณ์ก็ได้ทำ พลีกรรมบำ เพ็ญจนได้มาเกิดบน สวรรค์เช่นช่กันอย่างไรก็ตามสุเทษณ์เทพบุตรก็ยังยืนยันให้มายาวินลองวิชาดูก่อน มายาวินจึงเรียรีกเอามัทนามาด้วยวิชาอาคม เมื่อมัทนามาแล้ว ด้วยมนต์ที่ผูกไว้ ทำ ให้ ไม่ว่าสุเทษณ์์เทพบุตรจะถามอย่างไรมัทนาก็ตอบตามเป็นป็คำ ถามย้อนไปอย่างนั้น เหมือนไม่มีสติสุเทษณ์เทพบุตรขัดใจนักก็ให้มายาวินคลายมนต์ ครั้นรั้มนต์คลายแล้ว มัทนาก็ตกใจที่ตนล่วงเข้ามาในวิมานของสุเทษณ์เทพบุตรโดยไม่รู้ตัรู้ ตัวสุเทษณ์เทพ บุตรพยายามจะฝากรักรัมัทนาแต่มัทนามิรักรัตอบจะอย่างไรๆก็ไม่ยอมรับรัรักรัจนสุ เทษณ์เทพบุตรกริ้วริ้จัด สาปส่งให้นางลงไปเกิดเป็นป็ดอกกุพชกะ คือ ดอกกหลาบ อยู่ ในแดนมนุษย์ และจะกลับคืนเป็นป็คนได้ก็ต่อเมื่อวันเพ็ญ เพียง 1 วัน 1 คืนเท่านั้น แล้ว จะกลับคนเปนปกหลาบดังเดิม แต่หากนางได้รักรับุรุษใดแล้ว เมื่อนั้นจึงจะคงรูปมนุษย์ อยู่ได้ และหากเมื่อใดที่นางมีีทุกข์เพราะรักรัก็จงขประทานโทษมายังพระองค์พระองค์ จะยกโทษ เรื่อ รื่ งย่อ ๗
มัทนาได้ไปเกิดเป็นป็ดอกกุหลาบอยู่ใยู่ นป่าหิมวัน ในป่านั้นมีพระฤๅษีนามกาละทรรศินพ ร้อร้มด้วยศิษย์ทั้ย์ ทั้งหลาย พระกาละทรรศินได้เห็นกุหลาบมัทนาก็ชอบใจ สั่งให้ศิษย์ขุย์ขุด เอากุหลาบมัทนาไปปลูกใหม่ไว้ใกล้ อาศรม เมื่อถึงคืนวันเพ็ญ มัทนาก็กลายเป็นป็ร่าร่ง มนุษย์มย์าคอยรับรัใช้พช้ระกาละทรรศินและศิษย์ทั้ย์ ทั้งหลาย คอย ปรนนิบัติเรื่อรื่ยมา พระกา ละทรรศินก็็รักรัมัทนาเหมือนลูกตัว ต่อมาวันหนึ่ง ท้าวชัยชัเสนผู้ครองนครหัสดิน ได้เสด็จประพาสป่า ผ่านมายังยัอาศรมพระ กาละทรรศิน ประจวบกับเป็นป็คืนวันเพ็็ญ ก็ได้พบกับนางมัทนา ทั้งสองฝ่ายต่างรักรักััน พระกาละทรรศินก็จัดจัพิิธีอธีภิเษกให้ และนางมัทนาก็ได้เดินทางไปกับท้าวชัยชัเสน เข้าไป ยังยักรุงหัสดิน โดยไม่ได้กลับเป็นป็ดอกกุหลาบอีก ท้าวชัยชัเสนหลงรักรันางมัทนามาก จน กระท่ัั่งลืมมเหสีของตนคือนางจัณจัฑี พระมเหสีจัณจัฑีหึงหวงนางมัทนา ทั้งอิิจฉาริษริยา เป็นป็อัันมาก ก็ทำ อุบายใส่ร้าร้ยนางมัทนาว่าเป็นป็ชู้กัชู้ กับทหารเอกท้าวชัยชัเสนนามว่าศุภางค์ และยุยยุงท้าวมคธพระราชบิดาให้มาตีเมืองหัสดิน ท้าวชัยชัเสนออกไปรบ ครั้นรั้เมื่อกลับ มาได้ข่าวว่ามัทนาลอบเป็นป็ชู้กัชู้ กับศุภางค์ก็กริ้วริ้จัดจั สั่งประหารมัทนาเสียทันที แต เพชฌฆาตได้ปล่อยนางหนีไปเพราะความสงสาร ส่วนศุภางค์นั้น ด้วยความจงรักรัภักดี ต่อท้าวชัยชัเสน ก็ออกสนามรบกับท้าวชัยชัเสนเป็นป็ครั้งรั้สุดท้ายในฐานะไพร่ทร่หารเลว และตายในที่รบ มัทนาหนีกลับมายังยัป่าหิมวัน และได้ทำ พลีกรรม์บูชาสุเทษณ์เทพบุตร จนสุเทษณ์เทพบุตรเสด็จมา และเอ่ยปากจะช่วช่ยให้คืนสวรรค์ สุเทษณ์เทพบุตรได้ขอ ความรักรัจากนางอีก แต่มัทนามิสามารถจะรักรัใครได้อีกแล้ว และปฏิเสธไป สุเทษณ์ เทพบุตรกริ้วริ้นัก จึงจึสาปนางให้เป็นป็กุหลาบไปตลอดชีวิชีวิต ฝ่ายท้าวชัยชัเสน ต่อมาเม่ืื่อรบ ชนะท้้าวมคธ และได้รู้ครู้วามจริงริทั้งหมด ก็กริ้วริ้พระมเหสีจัณจัฑีมาก และได้ลงอาญา ไป ก่อนจะออกไปตามหามัทนาในป่า แต่สิ่งที่พบ ก็เพียงแต่กุหลาบกอใหม่อันขึ้นอยู่ยัยู่ งยั กองกูณฑ์บูชาสุเทษณ์ เทพบุตรเท่านั้น ท้าวชัยชัเสนทำ อะไรไม่ได้อีกต่อไป แต่ด้วย ความรักรั สุดจะรักรัจึงจึนำ กุหลาบมัทนากลับไปปลูก ใหม่ยังยัสวนขวัญกรุงหัสดิน ภาคพื้นดิน ๘
๑.๑ โครงเรื่อรื่งมัทนะพาธา เป็นป็บทละครพููดคำ ฉันท์ที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าแก่น สำ คัญของเรื่อรื่งมีีอยู่๒ ประการ ๒ ประการ คือ มีการกล่าวถึงตำ นานดอกกุุหลาบ ซึ่งซึ่เป็นป็ ดอกไม้ที่สวยงามแต่ไม่เคยมีตำ นานในเทพนิยายจึงมีีพระราชนิพนธ์ใธ์ห้ดอกกุหลาบมกำ เนิดมา จากนางฟ้้าที่ถููกสาปให้จุติลงมาเกิดเป็นป็ดอกไม้ชื่อชื่ว่า "ดอกกุพฺฺชกะ" คือ "ดอ กกุหลาบ" และเพ่ืื่อแสดงความเจ็บปวดอัันเกิดจากความรักรัซ่ึึ่งผู้ใดมีความรักรัก็อาจเกิดความ หลงขึ้นตามมา ๑.๒ ตัวละคร ๑) สุเทษณ์ เป็นป็เทพบุตรที่หมกมุ่นในตัณหาราคะ เจ้าจ้อารมณ์ เอาแต่ใจตนเอ และไม่คำ นึงถึง ความรู้สึรู้ สึกของผู้อื่น ดังตัวอย่าย่งบทกวีต่วีต่อไปนี้ “สุเทษณ์ : เหวยจิตจิรเสน มึงบังบัอาจเล่น ล้อกููไฉน? จิตจิระเสน : เทวะ, ข้าข้บาท จะบังบัอาจใจ ทำ เช่นช่นั้นไซร้ไร้ด้บ่พึงมี. สุเทษณ์ ์ : เช่นช่นั้นทำ ไม พวกมึึงมาให้ พรกูบัดบันี้,้ ว่าว่ ประสงค์ใด ให้สมฤดี?ี มึงรู้อรู้ยู่นี่ยู่นี่? ว่าว่กูเศร้าร้ จิตจิ เพราะ ไม่ได้สม จิตจิที่ใฝ่ชม, อกกรมเนืองนิตย์.ย์ จิตจิระเสน : ตูข้าข้ภักดี ีก็มีีแต่คิิด เพ่ืื่อให้ทรงฤทธิ์ โธิ์ปรดทุกขณะ. สุเทษณ์ ์ : กูไม่พอใจ ไล่คนธรรพ์ไป บัดนี้เทีียวละ อย่าย่มัวรอลั้ง (พระบาทสมเด็จพระมงกุุฎเกล้าเจ้าจ้อยู่หัยู่ หัว ๒๔๖๖:๔๗) ๒) มัทนา ซื่อซื่สัตย์ นิสัยตรงไปตรงมา คิดอย่าย่งไรก็พูดอย่าย่งนั้น ไม่รักรัก็บอกตรงๆ ไม่พูดปด หลอกลวง ไม่มีีเล่ห์เห์หลี่ยม พููดแต่ความจริงริแต่ความจริงริที่นางพููดทำ ให้นางต้องได้รับรัความลำ บากทุุกข์รข์ะทมใจ ดังตัวอย่าย่งเมื่อสุเทษณ์บอกรักรันางและขอนางให้คำ ตอบ “ฟัังถ้อยดำ รัสรัมะธุรธุะวอน ดนุนี้ผิเอออวย. จักจัเปนมุสาวะจะนะด้วย บมิตรงกะความจริงริ. อัันชายประกาศวะระประทาน ประดิพััทธะแด่หญิงญิ, หญิงญิควรจะเปรมกะมะละยิ่งยิ่ผิวะจิตจิตะตอบรักรั; แต่หากฤดีบอะภิรม จะเฉลยฉะนั้นจักจั เปนปดและลวงบุรุษะรักรัก็จะหลงละเลิงไป. ตูข้าข้พระบาทสิสุจริตริ บมิคิดจะปดใคร, จึ่งจึ่หวังวัและมุุ่่งมะนะสะใน วรเมตตะธรรมา.” (พระบาทสมเด็จพระมงกุุฎเกล้าเจ้าจ้อยู่หัยู่ หัว ๒๔๖๖:๖๐) ๑. คุณค่าด้านเนื้อหา วิเ วิ คราะห์คุณค่าทางวรรณคดี ๓ ด้าน ๙
๒.คุณค่าด้านวรรณศิิลป์ ๑) การใช้ถ้ช้ ถ้อยคำ และรูปแบบคำ ประพันธ์เธ์หมาะสมกับเนื้อหา ทำ ให้ผู้ห้ ผู้อ่านเกิดความรู้สึรู้ สึก คล้อยตาม เกิดความประทับใจอยากติดตามอ่านเช่นช่เมื่อมายาวินวิเล่าเรื่อรื่งราวในอดีต ถวายสุเทษณ์ว่าว่เหตุใดมัทนาจึงจึไม่รักรั สุเทษณ์ กวีเวีลือกใช้อิช้ อินทรวิเวิชียชีรฉันท์ ๑๑ ที่มี ท่วงทำ นองเร็วร็เหมาะแก่การเล่าความ หรือรืบรรยายเรื่อรื่ง ส่วนเนื้อหาตอนสุเทษณ์ฝากรักรั นางมัทนานั้นใช้วช้ สันตดิลกฉันท์ ซึ่งซึ่มีท่วงทำ นองที่อ่่อนหวาน เมื่อสุเทษณ์กริ้วริ้นางมัทนาก็ ใช้ กมลฉันท์ ซึ่งซึ่มีคำ ครุลหุที่หุที่มีจำ นวนเท่ากันแต่ขึ้นขึ้ต้นด้วยคำ ลหุ จึงจึมีทำ นองประแทกกระ ทั้นถ่ายทอดอารมณ์โกรธเกรี้ยรี้วได้ดี ดังตัวอย่าย่ง “มะทะนาชะเจ้าจ้เล่ห์ ชิชิชิช่ชิาช่งจำ นรรจา, ก็และเจ้าจ้มิเต็มจิตจิจะสดับดนูชวน, ผิวะให้อห้นงค์นวล ชนะหล่อนทนงใจ. บ่มิบ่ มิยอมจะร่วร่มรักรัและสมัครสมรไซร้,ร้ ก็ดะนูจะยอมให้ วนิดานิวาศสวรรค์,” (พระบาทสมเด็จพระมงกุุฎเกล้าเจ้าจ้อยู่หัยู่ วหั.(๒๔๖๖).มัทนะพาธา หรือรืตำ นานแห่งห่ ดอกกุหลาบ, 20 กันยายน 2566. www.vajirayana.org) ๒) การใช้โช้วหาร กวีใวีช้อุุช้อุุปมาโวหารในการกล่าวชมความงามของนางมัทนาทำ ให้ผู้ห้ ผู้อ่านมองเห็นห็ภาพ ความงามของมัทนาเด่นชัดชัขึ้นขึ้ดังตัวอย่าย่ง “งามผิวประไพผ่อง กลทาบศุุภาสุพรรณ งามแก้มแฉล้มฉัน พระอรุณแอร่มร่ละลาน งามเกศะดำ ขำ กลนำ้ ณ ท้องละหาน งามเนตรพิินิจปาน สุมณีมะโนหะรา งามทรวงสล้างสอง วรถันสุมนสุมาลีเลิดประเสริฐริกว่าว่วรุบลสะโรชะมาศ งามเอวอนงค์ราว สุระศิลปชาญฉลาด เกลากลึงประหนึ่งวาด วรรูปพิิไลยพะวง งามกรประหนึ่งงวง สุระคชสุเรนทะทรง นวยนาฏวิลวิาศวง ดุจะรำ ระบำ ระเบง ซำ้ ไพเราะนำ้ เสียง อรเพียงภิรมย์ปย์ระเลง, ได้ฟัังก็วังวัเวง บ มิว่าว่งมิวายถวิลวิ นางใดจะมีเทียบ มะทะนา ณ ฟ้า ณ ดิน เป็นป็ยอดและจอดจินจิ- ตะนะแน่ว ณ อก ณ ใจ” (พระบาทสมเด็จพระมงกุุฎเกล้าเจ้าจ้อยู่หัยู่ วหั.(๒๔๖๖).มัทนะพาธา หรือรืตำ นานแห่งห่ ดอกกุหลาบ, 20 กันยายน 2566. www.vajirayana.org) ๑๐
๓.๑ สอดแทรกความคิิดเกี่ยวกับความเชื่อชื่ในสังคมไทย เช่นช่ ๑) ความเชื่อชื่เรื่อรื่งชาติภพ ๒) ความเชื่อชื่เรื่อรื่งการทำ บุญมากๆ จะได้ไปเกิดในสวรรค์ และเสวยสุขในวิมวิาน ๓) ความเชื่อชื่เรื่อรื่งทำ กรรมสิ่งใดย่อย่มได้รับรัผลกรรมนั้น ๔) ความเชื่อชื่เรื่อรื่งเวทมนตร์คร์าถา การทำ เสน่ห์เห์ล่ห์กห์ล ๓.๒ แสดงกวีทัวีทัศน์ โดยแสดงให้เห้ห็นห็ว่าว่ "การมีรักรัเป็นป็ทุกข์์อข์์ย่าย่งยิ่งยิ่" ตรงตามพุุทธ วัจวันะที่ว่าว่ "ที่ใดมีรักรัที่นั่นมีทุุกข์์"ข์์ ๑) สุเทษณ์รักรันางมัทนาแต่ไม่สมหวังวัก็เป็นป็ทุกข์ แม้เมื่อได้เสวยสุขเป็นป็เทพบุตรก็ยังยั รักรันางมัทนาอยู่จึยู่ งจึทำ ทุกอย่าย่งเพื่อให้ไห้ด้นางมาแต่ไม่สมหวังวัก็พร้อร้มที่จะทำ ลาย ความ รักรัเช่นช่นี้เป็นป็ความรักรัที่เห็นห็แก่่ตัวควรหลีกหนีให้ไห้กล ๒) ท้าวสุราษฎร์รัร์กรัลูกและรักรั ศักดิ์ศรี พร้อร้มที่จะปกป้อป้งศักดิ์ศรีแรีละลูกแม้จะสู้ไม่ได้ และต้องตายแน่นอนก็็พร้อร้มที่จะสู้ เพราะรักรัของพ่่อแม่เป็นป็รักรัท่ีี่ลริสุริสุทธิ์แธิ์ละเท่ีี่ยงแท้้ ๓) นางมัทนารักรับิดบิา นางยอมท้าวสุเทษณ์เพื่อปกป้อป้งบิดบิา รักรั ศักดิ์ศรีแรีละรักรัษาสัจจะ เมื่อทำ ตามสัญญาแล้วจึงฆ่าตัวตายรักรัของนางมัทนาเป็นป็ความรักรัที่แท้จริงริมั่นคง กล้าหาญและเสียสละ ๔) ท้าวชัยชัเสนและนางจันที เป็นป็ความรักรัที่มีความใคร่แร่ละความหลงอยู่ด้วยจึงมี ความรู้สึรู้ สึกหึงหวง โกรธแค้นเมื่อถูกแย่งชิงชิคนรักรัพร้อร้มที่จะต่อสู้ทำ ลายทุกอย่างเพ่ืื่อ ให้ได้กลับคืนมา ข้อข้คิิดที่ได้รับรั ให้ข้ห้อข้คิดเกี่ยวกับการมีบริวริารที่ขาดคุณธรรมอาจทำ ให้นห้ายประสบหายนะได้ เช่นช่ บริวริารของท้าวสุเทษณ์ที่เป็นป็คนธรรพ์์ชื่อชื่จิตจิระเสนมีหน้าที่บำ รุงบำ เรอให้เห้จ้าจ้นายมี ความสุข มีความพอใจ ดังนั้นจึงจึทำ ทุกอย่าย่งเพ่ืื่อเอาใจผู้เป็นป็เจ้าจ้นาย เช่นช่แสวงหาหญิงญิ งามมาเสนอสนองกิิเลสตัณหาของเจ้าจ้นายให้วิห้ทวิยาธรชื่อชื่มายาวินวิใช้เช้วทมนตร์สร์ะกด นางมัทนามาให้ท้ห้ ท้าวสุเทษณ์ บริวริารลักษณะอย่าย่งนี้มีมากในสังคมจริงริซึ่งซึ่มีส่วนให้นห้าย หรือรืประเทศชาติ ประสบความเดือดร้อร้นเสียหายได้ ๓.คุณค่าด้านสังคม ๑๑
กระทรวงศึกษาธิกธิาร. ๒๕๕๕. “บทละครพูดคำ ฉันท์เรื่อ รื่ งมััทนะพาธา.” วรรณคดีวิจัวิ จัก ษ์์: หนังสือ เรีย รี นรายวิิชาพื้นฐานภาษาไทย ชั้นชั้มััธยมศึกษาปีท่ีี่ ปีท่ีี่ ๕. สำ นักงานคณะกรรมการการ ศึกษาขั้นขั้พ้ืื้นฐาน. บริษัริษัท อักษรเจริญริทัศน์อจท.จำ กัด.๒๕๕๙.หนังสือเรีย รี นรายวิิชาพื้นฐานภาษาไทย วรรณคดี และ วรรณกรรม.พิิมพ์์ครั้งรั้ที่ ๙.กรุงเทพมหานคร.อัักษรเจริญริทัศน์. พระบาทสมเด็จพระมงกุุฎเกล้าเจ้าจ้อยู่หัยู่ วหั.๒๕๔๒.มััทนะพาธาตำ นานรักรัแห่งดอก กุหลาบ.พิิมพ์์ครั้งรั้ที่ ่ ๒๕ กรุงเทพมหานคร.โรงพิมพ์์คุรุสภาลาดพร้าร้ว. วัชวัรญาณ.มััทนะพาธาหรือ รื ตำ นานแห่งดอกกุหลาบ.[ออนไลน์].เข้าข้ถึงได้จาก https://vajirayana.org. (วันวัที่ค้้นข้อข้มูล ๒๐ กันยายน ๒๕๖๖) วรรณคดีไทย.ที่มาของเรื่อ รื่ งมััทนะพาธา.[ออนไลน์].เข้าข้ถึงได้จาก https://sites.google.com/a/srw.ac.th/wrrnkhdi-thiy/home/thima-khxngreuxng-mathna-phatha. (วันวัที่ค้นข้้อข้้มูล ๒๐ กันยายน ๒๕๖๖) วรรณคดีไทย.ประวััติผู้แต่ง.[ออนไลน์].เข้าข้ถึงได้จาก https://sites.google.com/a/srw.ac.th/wrrnkhdi-thiy/home/pra-wati-phueteng (วันวัที่ค้นข้้อข้้มูล ๒๐ กันยายน ๒๕๖๖) บรรณานุกรม ๑๒
ภาคผนวก รูปภาพประกอบ ๑๒
๑๓ อภิธานศัพท์ คำ ศัพท์ ความหมาย กอบ กุพชะกะ คันธะ คู่สะมร เครื่อรื่งแต่ จะตูร์บร์าท ดนุ, ดนู ตรีพิรี พิธะโทษะ ทวิบวิท ธาดา นงรัตรัน์ บัณบัฑูร บาทบริจริาริกริา ประจิตจิ ประดิพัทธ์ ประติชญา ประโมทา พระฦๅสาย มรุ มะเมอ ปรารถนาจะได้ครอบครอง ดอกกุหลาบ กลิ่น คู่สมรส คู่รักรั มีแต่จะรำ คาญ ในความว่าว่ “เครื่อรื่งแต่ทรงรำ คาญ” จตุรบท สัตว์สี่ว์สี่เท้า ฉัน ข้าข้พเจ้าจ้ โทษ ๓ อย่าย่ง สัตว์สว์องเท้าหรือรืมนุษย์ พระพรหม นางแก้ว นางผู้ประเสริฐริ คำ สั่ง หญิงญิผู้มีหน้าที่รับรัใช้ปช้รนนิบัติบั ติพระเจ้าจ้แผ่นดิน สร้าร้ง ความรักรัใคร่ผูร่ผูกพัน คำ มั่นสัญญา ปราโมทย์ ความยินยิดี เป็นป็คำ โบราณใช้เช้รียรีกผู้เป็นป็ใหญ่ เช่นช่กษัตริย์ริย์ เทวดา ละเมอ
๑๔ คำ ศัพท์ ความหมาย มาลิส แมนะ ยุบยุล โยคะ ระตี ราน วิชวิชุ วิศิวิศิษฏ์ ศจี ศัลยะ สมพาส สมฤดี สวาหาย สิทธิ์ สุปริยริา สุรี หิมหิะวันวั, หิมหิาวันวัพระฦๅสาย อนุวัฒวัน์ อภิระตี อยู่หยู่ มัน อุวาทา ดอกไม้ เทวดา ข้อข้ความ อำ นาจจากการบำ เพ็ญสมาธิตธิามแบบนักบวชพราหมณ์ คือ รตี หมายถึง ความรักรั แตกร้าร้ว ในที่นี้ หมายถึง มีอำ นาจทำ ลาย สายฟ้า ดีเลิศ ชื่อชื่ชายาองค์หนึ่งของพระอินทร์ เป็นป็ทุกข์ ร่วร่มรักรั สติ ความรู้สึรู้ สึกตัว เป็นป็คำ กล่าวเมื่อจบการเสกเป่าป่ สำ เร็จร็ อ่านว่าว่ สุ-ปฺริ-ริยา หมายถึง ที่รักรัยิ่งยิ่ นางฟ้า ป่าป่หิมหิวันวั ป่าป่หิมหิพานต์ ทำ ตาม อภิรดี นางผู้น่ารักรัใคร่อร่ย่าย่งยิ่งยิ่ อยู่อยู่ ย่าย่งไม่มีประโยชน์ คำ พูดไม่ดี