The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการสอน PSY3203

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nursery-babyboy, 2021-11-09 03:26:15

เอกสารประกอบการสอน PSY3203

เอกสารประกอบการสอน PSY3203

49

การปรกึ ษาทางอาชีพ

ความหมายของการบรกิ ารปรกึ ษาทางอาชพี
การปรึกษาทางอาชีพเป็นสิง่ จาเป็นในสถานศึกษา เนื่องจากเปน็ พนื้ ฐานสาคญั ทเี่ ดก็ นักเรียนจะรู้

ทิศทางการศึกษา ท่ีจะนาไปสู่การประกอบอาชพี ท่เี หมาะสมกับความสนใจ ความสามารถ และความถนดั ของ
ตนเอง ทงั้ น้ี การปรึกษาเป็นการสอื่ สารอยา่ งมคี วามหมายระหวา่ งผู้ใหก้ ารปรึกษากบั ผู้รบั การปรกึ ษา ภายใต้
สัมพันธภาพที่อบอนุ่ เปน็ กันเอง และนา่ ไว้วางใจ โดยผ้ใู ห้การปรกึ ษาจะใช้ความรคู้ วามสามารถและทักษะการ
ปรึกษาช่วยใหผ้ ู้รับการปรึกษาสามารถเรียนรูเ้ กย่ี วกบั ตนเอง เขา้ ใจตนเอง และสามารถเลือกอาชพี ท่ีเหมาะสม

วตั ถุประสงค์การบริการปรกึ ษาทางอาชพี
กระบวนการปรึกษามจี ดุ ม่งุ หมายเพื่อพัฒนา ป้องกัน และแก้ไขปัญหาของแตล่ ะบุคคล โดยผู้ให้การ

ปรกึ ษาจะช่วยเหลือใหผ้ ้รู ับบรกิ ารพิจารณาทางเลือกอยา่ งรอบคอบก่อนการตดั สินใจเลือกอาชพี ชว่ ยให้บคุ คล
ที่มีอาชีพอยู่แล้วแตต่ ้องการเปล่ยี นงานใหม่ สามารถพิจารณาเลือกอาชีพที่เหมาะสมกับความตอ้ งการ

คณุ สมบัติผู้ใหก้ ารปรกึ ษาทางอาชีพ
1. มคี วามเข้าใจอยา่ งลึกซ้งึ (Empathic Understanding)
2. มีความเคารพในตวั ผมู้ ารับบรกิ าร (Respect)
3. ความจริงใจ (Genuineness)
4. มคี วามกระจ่างชัดแจ้งในปัญหาท่ีกาลังเผชญิ (Specificity)
คุณสมบตั ิของผใู้ ห้การปรกึ ษาเป็นส่ิงสาคัญท่มี ผี ลต่อประสทิ ธิภาพของการใหบ้ ริการปรึกษา ซ่ึงเป็น

เงื่อนไขต่อการประสบความสาเร็จในการให้การปรึกษาจะเป็นบุคลกิ ภาพของผู้ให้การปรึกษาเอง รวมถึงการ
รกั ษาความลับของผ้มู ารับการปรกึ ษา

ส่ิงที่ควรตระหนกั ในการให้บรกิ ารปรึกษาทางอาชพี
1. ผใู้ ห้การปรึกษาแตล่ ะคนจะได้รับการฝกึ ฝนและมคี วามชานาญในแตล่ ะทฤษฎีแตกต่างกัน
2. การให้การปรึกษาในแตล่ ะรปู แบบข้นึ อยู่กับองคป์ ระกอบและปัจจยั อน่ื ๆ รว่ มด้วย
3. จัดเตรยี มสถานทีใ่ นการให้การปรกึ ษาท่ีเหมาะสม และเตรยี มพร้อมเอกสารที่เปน็ ขอ้ มลู หรอื

เครอื่ งมอื ท่ีใช้วดั ประเมินผู้รับการปรึกษา

50

ทฤษฏกี ารให้บริการปรกึ ษาเพื่อการเขา้ ใจธรรมชาติของมนุษย์
1. ทฤษฏกี ารให้บริการปรกึ ษาแบบบาบดั การร้คู ดิ อารมณ์ให้มีเหตผุ ล (Rational Emotive) โดย

Albert Ellis เชอ่ื ว่ามนุษยเ์ ป็นผ้มู เี หตุผลและขาดเหตุผลมักใช้อารมณม์ ากกว่าการไตรต่ รองดว้ ยเหตผุ ลในการ
ดาเนินชีวติ บุคลกิ ภาพของมนษุ ย์เป็นไปอยา่ งไรเ้ หตุผลตามระบบความเชื่อต่อสถานการณท์ ีเ่ ผชิญ ก่อใหเ้ กดิ
ความวติ กกังวล อารมณแ์ ปรปรวน รู้สกึ เศรา้ หดหู่โดยไมท่ ราบสาเหตุ สาเหตุของปัญหาอยทู่ ีค่ วามคิด

2. ทฤษฎีการให้บริการปรึกษาเชงิ พฤติกรรมนยิ ม (Behaviorism) โดย Crumboltz, Wolpe,
Dollard, Miller and Banduraอ เช่อื วา่ มนษุ ย์ตกอยู่ใต้อิทธิพลของสง่ิ แวดลอ้ ม โดยพฤติกรรมต่างๆท่เี กิดขึ้นมี
สาเหตเุ น่อื งจากการตอบโต้สิง่ แวดล้อม ผู้มีอานาจจะมีโอกาสควบคมุ ส่งิ แวดลอ้ ม นอกจากนี้ มนษุ ย์อย่ใู ต้
อทิ ธพิ ลของสงั คม พฤตกิ รรมกาหนดดว้ ยประสบการณ์ บุคลิกภาพเปล่ยี นแปลงได้ด้วยการวางเง่ือนไข
แรงจูงใจ และการเรยี นรู้ บุคคลมักสับสนไมร่ ้วู า่ ความทุกข์ท่ีแทจ้ รงิ คืออะไร และความทุกข์ท่ีมมี ักเกิดจากการ
เรยี นรู้ การเลยี นแบบ และการไดแ้ รงเสรมิ ท่ีไมเ่ หมาะสมในอดตี

3. ทฤษฎีการให้บริการปรึกษาท่ีเนน้ ความจรงิ (Reality) โดย William Glasser เชอื่ ว่ามนษุ ย์มีพลัง
แหง่ ความสามารถในการแสวงหาเอกลักษณ์แห่งตน สามารถประสบความสาเรจ็ หรือล้มเหลวในชีวติ ความ
ต้องการทางจติ ใจเปน็ กลไกให้บุคคลแสดงพฤติกรรมด้านความรักและการมีคณุ คา่ ต่อตนเองและสังคม
ก่อใหเ้ กิดพฤติกรรมแห่งความรับผิดชอบ ปัญหาของบคุ คลเกดิ จากการไม่รับผิดชอบในพฤติกรรมของตน มี
ความเก็บกดอารมณ์ วติ กกงั วล ไม่สามารถพฒั นาตนเอง

4. ทฤษฎีการใหบ้ ริการปรกึ ษาการส่ือสารระหว่างบคุ คล (Transactional Analysis) โดย Eric Berne
เชื่อว่ามนุษย์มีศกั ยภาพด้านการตระหนกั และรบั รใู้ นตนเอง มคี วามใกล้ชิดสนทิ สนมกับผู้อนื่ นอกจากนี้ มนุษย์
ทุกคนต้องการความรัก การดูแลเอาใจใส่ ทเี่ ป็นตวั กาหนดพฤติกรรมการสื่อสารเพ่ือสร้างสมั พันธ์กบั ผู้คนรอบ
ขา้ ง พฤติกรรมมกี ารเปล่ยี นแปลงจากสภาวะหนึ่งไปสู่อีกสภาวะหนงึ่ ผสมผสานกลายเปน็ บคุ ลกิ ภาพใหม่
มนุษย์เกดิ ความวติ กกงั วลเนือ่ งจากพฤติกรรมในอดีตทาให้บคุ คลไม่สามารถปรบั ตวั ไดอ้ ย่างเหมาะสม ทงั้ ดา้ น
การส่ือสาร ตาแหน่งชวี ิต

5. ทฤษฏีการใหบ้ ริการปรึกษาแบบบคุ คลเป็นศูนยก์ ลาง (Person Centered) โดย Carl R. Rogers
เชอื่ ว่ามนษุ ย์เกิดมามเี หตุผล เป็นคนดี เชอ่ื ถือได้ สามารถพัฒนาตนเอง และดาเนนิ ชีวิตในทิศทางท่ี
เจริญก้าวหน้า ความคิดรวบยอดของบคุ คลเกดิ จากผลของพฤติกรรมที่เกิดขน้ึ เป็นปกติ และความเข้าใจพนื้ ฐาน
ความเป็นจริงของแต่ละบุคคล ปัญหาของมนษุ ยเ์ กิดจากความคดิ มโนทัศน์ ไม่สอดคล้องกบั ประสบการณ์
รปู แบบการปรึกษาของคาร์ล โรเจอร์ (Client centered)

51

1. กระบวนการปรกึ ษา
1) การสร้างสัมพันธภาพ เป็นการพดู คุยซักถามระหว่างผ้ใู ห้การปรกึ ษากบั ผรู้ บั การปรกึ ษา

เพอ่ื ใหเ้ กิดความค้นุ เคยและรู้สึกไว้วางใจซึง่ กันและกนั พร้อมทงั้ ชแี้ จงวตั ถุประสงค์ ประโยชน์ทผ่ี ู้รับการปรกึ ษา
จะได้รบั รวมถึงอธบิ ายกฎเกณฑแ์ ละบทบาทหน้าทข่ี องแต่ละฝ่าย ทจี่ ะทาให้ผูร้ บั การปรึกษาให้ความร่วมมือ
ตลอดระยะเวลาท่ใี ห้การปรึกษา

2) การสารวจปัญหา ผใู้ หก้ ารปรกึ ษาจะทาการสมั ภาษณผ์ ู้รบั การปรึกษา โดยเลา่ เรื่องราว
ต่างๆ อยา่ งตรงไปตรงมา ทีจ่ ะทาให้ทราบถึงประเด็นต่าง ๆ ทเี่ ป็นปัญหา รวมถงึ ความรู้สกึ วิตกกังวล เครยี ด
คบั ข้อใจ หรอื ประเดน็ ท่ีอยากจะทาความเข้าใจและดาเนนิ การแกไ้ ข

3) การวิเคราะหป์ ัญหา ผู้ใหก้ ารปรึกษาและผูร้ ับการปรึกษาจะร่วมกนั วเิ คราะห์ปัญหา
เพ่ือทาความเขา้ ใจถึงสาเหตวุ า่ เกดิ จากจากปัจจยั ใดบ้าง

4) การดาเนนิ การปรึกษา ผู้ให้การปรกึ ษากระตนุ้ ใหผ้ ูร้ บั การปรกึ ษาสารวจและทาความ
เข้าใจตนเองและสถานการณ์ท่เี กดิ ขน้ึ เพือ่ พิจารณาแนวทางในการแกไ้ ขปญั หา พร้อมกับตดั สนิ ใจเลือกวธิ ีการ
ทจ่ี ะคล่คี ลายปัญหาได้เหมาะสมกับตนเองและสถานการณ์มากท่ีสุด

5) การยตุ ิการปรกึ ษา ผู้ใหก้ ารปรึกษาและผู้รบั การปรึกษาร่วมกันสรุปสิง่ ท่ีเกิดข้นึ และ
วธิ ีการทีใ่ ชใ้ นการแกไ้ ขปัญหา และใหผ้ ู้รับการปรกึ ษาบอกถึงความคดิ ความรู้สกึ ที่เกดิ ข้ึนในปัจจบุ นั หากยงั มี
ประเด็นท่ีต้องนดั หมายเพื่อให้การปรกึ ษาคร้ังต่อไป ผูใ้ ห้การปรึกษาจะทาการนดั หมายวนั เวลา และสถานที่
ในการปรึกษาคร้ังต่อไป พร้อมกบั กลา่ วลา และใหก้ าลังใจผ้รู ับการปรึกษาเพื่อนาเอาสิ่งทไี่ ดร้ ับจากการปรึกษา
ครงั้ นไี้ ปประยุกต์ใช้ในการพฒั นาตนเอง

2. ทกั ษะการปรึกษา
1) การฟัง การฟังอยา่ งใสใ่ จ ผใู้ ห้การปรกึ ษาจะฟังด้วยหูและคอยสังเกตลักษณะท่าทางของ

ผรู้ ับบรกิ ารไปด้วยพร้อมๆกนั ไมว่ า่ จะเป็นนา้ เสยี ง สายตา รวมไปถงึ กิรยิ าทา่ ทางต่างๆ เพอ่ื นาขอ้ มลู ทีไ่ ด้มา
วิเคราะห์ถงึ ปัญหา การฟังอย่างใสใ่ จจะชว่ ยให้ผูร้ ับการปรึกษารบั รูถ้ งึ การเอาใจใส่จากผู้ใหก้ ารปรกึ ษา

2) การถาม การถามจะมีอยู่ 2 ประเภท คือการถามปลายเปดิ และการถามปลายปิด
การพดู คุยในการปรึกษาควรถามคาถามปลายเปิดให้มาก ถามคาถามปลายปดิ ให้น้อย โดยคาถามปลายปิด
มักจะนามาใชถ้ ามชว่ งท้ายๆของการปรึกษา เพือ่ ที่จะใหผ้ ู้รบั บริการได้พิจารณาถึงสิง่ ท่ีได้ตัดสินใจไปแล้ว ที่จะ
ช่วยกระชับเวลา

3) การทวนความ เปน็ การพดู ซ้าประโยคเดมิ จะพูดซ้าทงั้ ประโยค หรือจะพูดเฉพาะบางคา
พุดก็ได้ เพื่อเนน้ ย้าวา่ ส่ิงท่ีผรู้ ับบริการเลา่ เปน็ ประเด็นเดยี วกับท่ผี ู้ให้การปรึกษาเข้าใจ ซ่งึ จะชว่ ยให้การปรกึ ษา
ขับเคลือ่ นไปได้อย่างมีประสทิ ธิภาพมากย่งิ ขนึ้ และให้การปรกึ ษาก็มคี วามเข้าใจเรื่องราวได้ชดั เจนมากขึ้น

52

4) การสะท้อนความร้สู กึ เป็นการแปลงเรือ่ งราวเหตกุ ารณจ์ ากการบอกเล่าของผู้รบั การ
ปรกึ ษาสะท้อนเปน็ ความรู้สกึ ทเี่ กิดข้นึ กบั ผรู้ ับการปรึกษาเอง ทีจ่ ะช่วยให้ผรู้ บั การปรึกษาได้สารวจตนเองวา่ มี
แทจ้ รงิ แลว้ ปัญหาหรือความทุกข์มีสาเหตเุ กดิ จากอะไร เมื่อผรู้ บั การปรึกษาเข้าใจความรู้สึกของตนเองได้ตรง
กบั ความเปน็ จรงิ ก็จะสามารถเลือกวธิ ีการเพ่ือแก้ไขปญั หาหรอื ความทุกข์ทเี่ กดิ ขึ้นได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

5) การกระตุน้ เปน็ การชกั ชวนหรอื ขบั เคลื่อนให้ผู้รับบรกิ ารพูดคยุ ในประเด็นต่อไป โดยจะพูดด้วย
ประโยคกว้างๆ หรอื ใชค้ าถาม รวมถงึ การใชท้ ่าทางในการกระตุ้นใหผ้ รู้ ับบริการพูด หรือแสดงความคดิ เห็น
อย่างตรงไปตรงมา ซึ่งจะช่วยใหก้ ารปรึกษาสามารถดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง

6) การให้กาลงั ใจ สามารถคาพดู หรอื การสมั ผสั เบาๆ เพื่อใหผ้ ู้รบั การปรึกษารสู้ ึกถึงการมี
ผู้สนบั สนนุ และเปน็ กาลังใจอยขู่ ้าง ๆ การให้กาลงั มีข้อทคี่ วรระวงั ก็คือ ไม่ควรใหก้ าลงั ใจดว้ ยการสมั ผสั หากผ้ใู ห้
การปรกึ ษาและผู้รบั การปรกึ ษาตา่ งเพศกัน และควรระมัดระวงั การพูดยกย่องเยนิ ยอเกินจรงิ หรือการ
รับประกันว่าผรู้ บั การปรึกษาจะสามารถทาสงิ่ ใดสิ่งหนึง่ ได้แนน่ อน ซงึ่ จะทาให้ผรู้ ับบริการมคี วามคาดหวังกบั สง่ิ
ทอี่ าจจะไมส่ ามารถเกดิ ข้นึ ได้

7) การสรปุ เป็นการกระชับประเด็นที่ได้พูดคยุ ให้ง่ายต่อการทาความเขา้ ใจ โดยสามารถ
สรปุ เร่อื งราวทพี่ ดู คยุ กนั เปน็ ช่วงๆ และการสรปุ เรื่องราวท้ังหมดกอ่ นที่จะยุติการปรึกษา ทัง้ น้ี ผู้ให้การปรึกษา
สามารถสรปุ ด้วยตัวเองหรือให้ผู้รับบริการเปน็ ผู้สรุปก็ได้ ขึ้นอย่กู ับวตั ถปุ ระสงค์และความเหมาะสม

นอกจากท่กี ล่าวมา ยงั มเี ทคนิคการให้คาปรกึ ษาอืน่ ๆ เช่น เทคนคิ การแสดงความเห็นชอบ การเงยี บ
การให้ความม่ันใจ การตีความ การชี้แนะ เปน็ ต้น อีกท้ังยังมีเทคนคิ ทไี่ ม่เหมาะกับผู้ให้การปรกึ ษาที่ไม่มคี วาม
ชานาญ เช่น เทคนคิ การเผชิญหน้า เทคนิคการท้าทาย เทคนิคการไมย่ อมรับ หรอื เทคนิคการสอบซกั เป็นตน้

การปรึกษารูปแบบของเฮอร์, ฮอเรน และเบเกอร์ (Herr, Horan and Baker) เปน็ การปรกึ ษาใน
รปู แบบจดั ระบบ (Systematic Approach) จะมวี ิธกี ารท่ีเดน่ ชดั และมีความแน่นอนทุกขน้ั ตอน โดยสามารถ
แบง่ ออกเปน็ 18 ข้นั ตอน ดังนี้

1. อธบิ ายถงึ จดุ มุ่งหมายของการปรกึ ษา รวมทงั้ บทบาทของผู้ใหก้ ารปรึกษาและผ้รู บั การปรึกษา
2. ใช้ทกั ษะช่วยผู้รบั คาปรึกษาตรวจสอบปัญหาเก่ยี วกับการเลือกอาชพี
3. ตรวจเชค็ ระดบั ความสาคัญในแตป่ ระเดน็ ท่ีเป็นปัญหา
4. อธิบายถึงความสาคัญของกระบวนการตัดสินใจ
5. อธบิ ายถึงสิ่งท่ีจาเปน็ ต่อการตดั สนิ ใจ
6. เชค็ ความตง้ั ใจจรงิ ของผู้รับการปรกึ ษาในการแก้ไขปัญหา

53

7. ให้ผูร้ ับการปรึกษาบอกทางเลือกเก่ยี วกบั อาชีพ
8. ให้ตัวเลอื กเสรมิ ท่ีเหมาะสมกับผู้รับการปรึกษา
9. รวบรวมข้อมลู ของผู้รับการปรกึ ษาให้มากท่สี ดุ
10. รวบรวมข้อมูลเพ่ิมเตมิ จากแหลง่ ข้อมลู อน่ื ๆ เชน่ แบบทดสอบ
11. นาข้อมลู ทไ่ี ด้มาร่วมกันพิจารณารว่ มกับผรู้ ับการปรึกษา
12. ให้ผรู้ บั การปรึกษาพจิ ารณาถงึ ขอ้ ดีและข้อเสียของแต่ละตวั เลือก
13. ชใ้ี หผ้ ู้รบั การปรึกษาเห็นถึงข้อดีและข้อเสียเพิ่มเติม
14. ให้ผูร้ บั การปรึกษาประเมินตัวเลอื กหลงั จากทรี่ ู้ถึงขอ้ ดีข้อเสียของตัวเลอื กแล้ว
15. ใหข้ ้อมูลเพ่มิ เติมเกย่ี วกับตวั เลือกทผ่ี รู้ ับการปรึกษาได้เลือกไปแลว้
16. ชว่ ยใหผ้ ู้รบั การปรกึ ษาวางแผนขนั้ ตอนไปส่อู าชพี ท่ีสนใจ
17. พจิ ารณาว่าแตล่ ะขั้นตอนเหมาะสมแลว้ หรือยัง
18. ยตุ ิการปรึกษา

การปรึกษาของไคร์ท (Comprehensive Model) เปน็ การผสมผสานวธิ กี ารและรูปแบบการปรึกษา
ทางอาชีพในทฤษฎีตา่ ง ๆ เข้าด้วยกัน โดยแบ่งออกเป็น 3 ขัน้ ตอน ดงั น้ี

1. วินจิ ฉยั ปัญหา เป็นการวเิ คราะหถ์ งึ ประเภทของปัญหา
1) แยกประเภทผู้รับการปรึกษาตามลักษณะของปญั หา
2) ตอบคาถามเกี่ยวกบั สาเหตุและที่มาของปัญหา
3) ศึกษากระบวนการตัดสนิ ใจของผูร้ ับการปรึกษา

2. ให้ความช่วยเหลือ
1) เกบ็ ข้อมลู ด้านตา่ ง ๆ จากผ้รู บั การปรึกษา
2) แปลผลแบบทดสอบ
3) ใหค้ วามกระจ่างด้านข้อมลู ทางอาชีพ

3. ประเมินผลการปรกึ ษา ผลท่ีได้จากการให้การปรึกษาขึ้นอย่กู ับลักษณะของปญั หา อาทิเช่น ผ้รู บั
การปรกึ ษาไมเ่ ขา้ ใจตนเองและไมร่ ู้ข้อมลู เกย่ี วกับงานหรอื อาชีพ หลงั จากยตุ ิการปรึกษาคือ ผรู้ ับการปรึกษา
ต้องมีความเขา้ ใจในตนเองมากขน้ึ ทั้งความสามารถ ความสนใจ ค่านิยม และรใู้ นรายละเอยี ดเกยี่ วกับอาชีพท่ี
เหมาะสมกบั ตนเอง จุดมุ่งหมายของการปรึกษาทางอาชีพจะเนน้ ทีค่ วามสามารถต่อการตัดสนิ ใจเลือกอาชพี ที่
เหมาะสมกับตนเองมากทสี่ ดุ

54

การสัมภาษณ์
การสมั ภาษณเ์ ปน็ ข้ันตอนสาคัญของการปรกึ ษาทางอาชีพ ทจ่ี ะทาใหท้ ราบถึงข้อมูลเบื้องต้นของผู้รบั

การปรกึ ษา โดยสามารถแบ่งเนือ้ หาที่สาคัญออกไดเ้ ปน็ 3 ประเภท ดงั นี้
1. ทักษะการสมั ภาษณ์ สามารถแบ่งออกได้เป็นหลายขั้นตอน ประเดน็ สาคญั ของการสัมภาษณค์ ือ

ตอ้ งการรภู้ ูมหลังท่วั ๆ ไปของผู้รับบรกิ าร ทกั ษะท่ีใช้ในการสัมภาษณท์ ว่ั ไป มดี ังนี้
1) การทวนความประโยคเดิม (Restatement) เปน็ การทวนประโยคคาพดู ของผูร้ ับบริการ

เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความกระจา่ งมากขึ้น
2) การสะท้อนความรู้สึก (Reflection of feeling) เทคนิคนี้จะคลา้ ยคลงึ กบั การทวนความ

ประโยคเดิม แต่ต่างกนั ตรงที่การสะท้อนเน้ือหาและความรู้สึกจะเรยี บเรยี งประโยคคาพูดใหมท่ ี่เจาะลึกลงไปถึง
ความรู้สกึ ของผูร้ ับบรกิ ารด้วย

2. การแปลผลแบบทดสอบ (Test Interpretation) ท่ีจะทาให้ทราบถงึ ความถนัด ความสนใจ และ
ความสามารถส่วนบคุ คล โดยผสู้ มั ภาษณต์ อ้ งเขา้ ใจถึงวัตถุประสงคข์ องการใชแ้ บบทดสอบแต่ละชนิด มคี วามรู้
ทางสถิติ รวมถงึ รหัสอาชพี เพ่ือเปน็ ประโยชน์ในการแปลผล

3. การให้ขอ้ มลู ทางอาชีพ (Occupational Information) เป็นสง่ิ สาคัญในการใหป้ รึกษาทางอาชีพ
ทง้ั น้ี ข้อมลู เกี่ยวกบั โลกของงานและอาชพี เปน็ สิง่ จาเปน็ ที่ผใู้ หก้ ารปรกึ ษาตอ้ งบรกิ ารใหผ้ ตู้ อ้ งการความ
ชว่ ยเหลือด้านอาชพี ไดท้ าความรู้จัก ปญั หาของนักเรียนทไ่ี ม่สามารถตดั สินใจในการเลอื กอาชพี ที่เหมาะสมกับ
ตนเองได้ ส่วนหนงึ่ มีสาเหตุเน่ืองขาดข้อมลู ทางอาชีพในการพิจารณาตัดสนิ ใจ

หลักการให้ข้อมูลทางอาชีพ
หลักการให้ข้อมลู ทางอาชพี สามารถแบ่งได้ 3 ประการ ดังน้ี
1. ผใู้ หบ้ ริการสามารถนาเสนอข้อมลู ทางอาชพี ผา่ นกระบวนการสัมภาษณ์โดยตรง
2. ผู้ให้การปรึกษาใช้วิธีสนับสนนุ สง่ เสริมให้ผู้ใชบ้ รกิ ารแสวงหาข้อมลู ทางอาชพี เพิม่ เตมิ หลงั จากเสร็จ

สิน้ การสมั ภาษณ์
3. ผูใ้ ห้การปรึกษาหาขอ้ มลู รว่ มกบั ผรู้ บั บรกิ ารปรึกษาพรอ้ ม ๆ กันด้วยคอมพิวเตอร์
จะเหน็ ไดว้ ่า การให้ข้อมูลทางอาชีพถือเป็นหนา้ ทีห่ ลักอีกประการของผใู้ ห้การปรกึ ษา ที่จะชว่ ยให้

ผรู้ ับบริการปรกึ ษาสามารถตัดสนิ ใจและวางแผนเกย่ี วกบั อาชพี ท่ีเหมาะสมกับตนเอง

55

จรรยาบรรณการปรกึ ษา
1. ผใู้ หก้ ารปรึกษาต้องไม่พยายามทจ่ี ะช่วยเหลอื ผู้รบั การปรึกษาโดยท่ีไม่มีความรู้ ไม่มีทักษะ หรอื การ

ฝกึ ฝนท่ีเพยี งพอ
2. ผู้ให้การปรึกษาต้องไมม่ ีอคติและความลาเอยี งทงั้ มวล
3. ผู้ใหก้ ารปรึกษาต้องไม่มีความสัมพนั ธฉ์ นั หนุม่ สาวกับผ้รู ับการปรึกษา
4. ผู้ใหก้ ารปรึกษาต้องคุ้มครองสิทธิของผรู้ ับการปรึกษา หากต้องเผยแพรข่ ้อมลู ใด ๆ ตอ้ งได้รับการ

ยินยอมจากผู้รบั การปรึกษา
5. ผใู้ หก้ ารปรึกษาต้องรักษาความลับของผรู้ ับการปรึกษา
6. เปา้ หมายการปรกึ ษาคือการช่วยให้ผ้รู ับการปรกึ ษาบรรลุส่ิงทม่ี งุ่ หวงั ยกเวน้ เปา้ หมายในทิศ

ทางการทาลาย การฝ่าฝนื กฎระเบียบ เปน็ ตน้
7. ผใู้ หก้ ารปรกึ ษาต้องรบั ผิดชอบต่อการฝกึ ฝน เพ่ิมเติมความรู้ และพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนื่อง

หลังจากจบการศึกษาแล้ว
8. ผใู้ ห้การปรกึ ษาต้องมคี วามรับผิดชอบต่อหน้าท่ีท่จี ะพิทักษว์ ิชาชพี พิทกั ษช์ มุ ชน และพิทกั ษ์ความ

ปลอดภัยของผรู้ ับบริการปรกึ ษา
9. ผ้ใู หก้ ารปรึกษาต้องคงไว้ซ่ึงการปฏบิ ตั ิงานที่มมี าตรฐานด้วยความซอื่ สตั ย์ จริงใจ และมคี ณุ ธรรมใน

ระดับสงู
10. ผูใ้ หก้ ารปรึกษาตอ้ งใหค้ วามสาคญั ต่อความผาสุกของผู้รบั การปรกึ ษาและสังคม พยายามชว่ ย

บคุ คลด้อยโอกาส

56

การบริการแบบกลมุ่

การปรึกษาแบบกลุ่ม (Counseling group)
การปรึกษาแบบกลุ่ม ผ้ใู หก้ ารปรึกษาจะใชก้ ระบวนการปรึกษาท่ีจัดขึน้ เพื่อช่วยเหลอื บุคคลตง้ั แตส่ อง

คนขนึ้ ไป มีเปา้ หมายทง้ั ป้องกัน พฒั นา และซอ่ มเสริม ทจ่ี ะเน้นเก่ียวกบั พฤติกรรมและพัฒนาการของแต่ละ
บคุ คล สมาชิกในกลุ่มจะมีโอกาสเข้าใจตนเองทง้ั ความคิด ทัศนคติ ความรสู้ กึ หรือปญั หาท่เี กิดขน้ึ มกี าร
อภิปรายถึงแนวคิดและประสบการณข์ องตนเอง เพื่อให้สมาชกิ ในกลุม่ ได้เรียนรแู้ ละแลกเปลย่ี นแนวทางในการ
แกไ้ ขปญั หาด้วยบรรยากาศท่ีอบอุ่น ปลอดภยั และมีความเข้าใจซงึ่ กันและกัน อันจะช่วยใหส้ มาชิกในกลุ่ม
สารวจตนเองเพื่อเรยี นรู้ แก้ไข และปรับตวั หรอื พฤติกรรมของตนเองไดอ้ ย่างถูกต้องและเหมาะสม ทัง้ นี้ การ
เปล่ียนแปลงของกล่มุ เกดิ จากการชว่ ยเหลือจากสมาชกิ ภายในกลมุ่ โดยขนาดของกล่มุ มีความแตกตา่ งกนั ไป
ตามอายุของผู้เข้ารว่ มปรกึ ษา ในการทากลุ่มที่สมาชกิ อยู่ในชว่ งวัยเด็กกค็ วรจะมีสมาชกิ ในกลุม่ ประมาณ 3-4
คน และกล่มุ ผู้ใหญ่ควรมีสมาชิกในกลุ่มประมาณ 8 คน

องค์ประกอบในการช่วยเหลือแบบกลุ่ม
ยาลอม (Yalom’s Curative Factors) กลา่ วถึงพลงั การบาบดั ในรปู แบบกลุ่ม ทงั้ กลมุ่ การปรกึ ษาและ

กลุม่ บาบัด โดยมีพื้นฐานอยูบ่ นความสัมพันธร์ ะหว่างบคุ คล สามารถจาแนกองคป์ ระกอบได้ 11 ประการ ดงั นี้
1. สรา้ งความหวัง
1) เกิดความศรทั ธาในวถิ สี ัมพันธ์แบบกลุ่ม
2) กอ่ ใหเ้ กดิ ความหวงั
3) เกิดการเรียนรู้
4) เกดิ กาลงั ใจ
2. ความเป็นสากลของกลมุ่
1) รสู้ ึกไม่ได้อยู่โดดเดี่ยวเพียงลาพงั
2) มคี วามรูส้ กึ เปน็ อนั หนึ่งอนั เดยี วกนั
3) กล่มุ จะทาให้มองปัญหาได้ลึกซง้ึ
4) ผู้คนมากมายล้วนมีปัญหาต่างกนั

57

3. การให้ข้อมูล
1) การแนะนา
2) การแนะแนว
3) การสอน

4. ความเออ้ื เฟ้ือเผื่อแผ่
1) ช่วยเหลอื กนั
2) ใหข้ ้อมลู ยอ้ นกลบั
3) ใหก้ ารสนบั สนนุ

5. การแกไ้ ขการเกิดปญั หาซา้
1) ปรบั ตวั ได้อยา่ งราบร่ืน
2) เกิดความเขา้ ใจตนเองและผอู้ ่ืน
3) สรา้ งความสัมพนั ธ์ได้อยา่ งเหมาะสม
4) เรียนร้ปู ระสบการณร์ ว่ มกัน
5) เข้าใจอดตี

6. พฒั นาเทคนิคกระบวนการเรยี นรทู้ างสงั คม
1) สามารถประเมนิ และพัฒนาทกั ษะทางดา้ นสงั คม
2) สามารถใช้ชวี ิตอยู่ร่วมกบั ผอู้ ื่นได้อยา่ งมีความสขุ
3) ช่วยใหด้ าเนนิ ชวี ิตไดอ้ ยา่ งราบร่ืน

7. การเลยี นแบบพฤติกรรม
1) พอใจการตอบสนองพฤติกรรมด้านบวก
2) เกิดการเรียนรู้ภายในกลุ่ม
3) เกิดพฤติกรรมซ้า ๆ

8. เรยี นรู้ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบุคคล
1) เกดิ ความไว้วางใจ
2) ทดลองมคี วามสัมพนั ธ์ในวิถที างใหม่
3) รู้สึกปลอดภยั

9. มีความสามคั คีเป็นอนั หนึ่งอันเดยี วกัน
1) มีความอดทนต่อความขัดแยง้ ตา่ ง ๆ
2) เกิดความกล้าทจ่ี ะคน้ หาตัวเอง

58

3) การยอมรับซึ่งกนั และกนั ภายในกลมุ่
10. การระบายอารมณ์

1) รสู้ ึกปลอดภยั
2) เช่ือมัน่ ในการไดร้ ับการยอมรับนบั ถอื
3) ปลดปล่อยตนเองจากความเครียด
4) ระสึกเป็นอสิ ระ
11. องค์ประกอบดา้ นอัตถิภาวนยิ ม
1) สามารถรับผดิ ชอบตอ่ ชีวติ ตนเองได้
2) มเี สรีภาพ
3) สามารถเลือกและตัดสนิ ใจด้วยตนเอง

การใช้กระบวนการกลุ่มในการปรึกษา
การให้การปรึกษาทางอาชพี แบบกลมุ่ (Group Career Counseling) เปน็ รปู แบบให้การปรกึ ษาทาง

อาชพี ที่ได้ใช้อยา่ งมีประสิทธภิ าพอีกประเภทหน่ึง โดยมวี ตั ถุประสงค์ ดงั น้ี
1. เพ่ือเผยแพรข่ ้อมลู ทางอาชีพ โดยการปรกึ ษาแบบกลุม่ จะสามารถเผยแพร่ข้อมลู ทางอาชีพไดด้ ีกวา่

การปรกึ ษาแบบรายบุคคล เนื่องจากในกล่มุ จะมผี ูท้ ี่สนใจในอาชีพเดียวกนั ทสี่ ามารถแบ่งเปน็ กลุ่มย่อยเพื่อ
ช่วยกันศกึ ษาแต่ละอาชพี ทาใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจและเกดิ ความชัดเจนในอาชีพท่ีตนเองสนใจมากขึ้น

2. เพ่อื กระตนุ้ แรงจูงใจ เนอ่ื งจากบุคคลบางประเภทจะรู้สึกเบอื่ หนา่ ยในเร่ืองท่ตี นเองยังไมใ่ หค้ วาม
สนใจ การท่สี มาชกิ กลุ่มแสดงความคิดเห็นท่ีมปี ระโยชน์ตอ่ การดาเนินชีวติ ก็จะสามารถดึงความสนใจและ
กระตุ้นให้คนที่ไมส่ นใจหันกลับมาทบทวนและให้ความสาคัญตอ่ การวางแผนเกย่ี วกบั อาชีพมากขึน้

3. เพอ่ื สอนเป็นกลมุ่ จะใชไ้ ด้ดีกับโรงเรียนที่มีครแู นะแนวไมเ่ พียงพอ สามารถทาได้ดว้ ยการสอน
หลักการตดั สนิ ใจให้ครูประจาชนั้ จากนนั้ ครทู สี่ อนแต่ละรายวิชาจะสอดแทรกการแนะแนวอาชีพเข้าไปในวชิ า
ของตนเอง

4. เพื่อฝกึ ฝนการแสดงออก ผา่ นการทากิจกรรมต่าง ๆ ทง้ั การสาธติ การเล่นละคร หรือการแสดง
บทบาท ที่จะช่วยกระตนุ้ ให้นักเรยี นมพี ัฒนาการทางอาชีพมากขน้ึ

5. เพอ่ื พัฒนาทศั นคติ รวมถงึ ความรู้ความเข้าใจ เก่ียวกบั ความสาคญั ในการวางแผนอาชีพ และ
ตระหนักถึงความสาคญั ในการตัดสนิ ใจเลอื กอาชีพท่เี หมาะสมกับตนเอง

6. เพอ่ื สารวจแหลง่ ข้อมลู อ่ืน ๆ ท่ีจะทาให้ได้มาซึ่งข้อเทจ็ จริงเก่ียวกบั อาชพี อยา่ งถูกต้อง เช่น การ
ออกทัศนศกึ ษา การเยี่ยมชมโรงงานหรือศนู ย์ฝึกอาชีพ

59

7. เพอื่ บรกิ ารปรึกษาเจาะลึก เนอ่ื งจากการให้การปรกึ ษากลุม่ จะมีสมาชกิ ภายในกลุ่มทีห่ ลากหลาย
และแตล่ ะคนจะแสดงออกถงึ บคุ ลกิ ภาพและแนวคิดทแ่ี ตกต่างต่อการเลอื กอาชีพ ผ้ใู ห้การปรึกษาสามารถท่จี ะ
ให้ความช่วยเหลือทั้งกลุ่มหรอื รายบุคคลแล้วแตก่ รณี

ประเภทของกลุ่ม
1. กลมุ่ การศึกษาทางจติ ใจ (Psycho-educational groups)
2. กล่มุ พัฒนาตนและประสบการณ์ (Growth group)
3. กลุ่มช่วยเหลอื ตนเอง (Self-help group)
4. กลมุ่ การปรึกษา (Counseling group)
5. กลุ่มอภปิ ราย (Discussion group)
6. กลุ่มสนับสนนุ (Support group)
7. กลุ่มงาน (Work group)
การชว่ ยเหลือในรปู แบบกลุ่ม ทั้งกลมุ่ แนะแนว (Group Guidance) หรอื กลมุ่ บริการปรึกษา (Group

Counseling) มีจดุ ม่งุ หมายเพื่อคน้ หาคุณลักษณะของบุคคล ให้รวู้ ่ามีทางเลือกไหนบ้างท่สี ามารถพจิ ารณาเพื่อ
หาคาตอบในประเดน็ ต่าง ๆ ใหก้ ับบุคคล ท่ีจะช่วยในการสร้างเสรมิ พฒั นา ป้องกัน หรอื แกไ้ ข ให้การดาเนนิ
ชวี ติ แตล่ ะดา้ นเปน็ ไปอย่างเหมาะสม

พลงั บาบดั 15 ประการ
จาคอบ แมสซัน และฮารว์ ลิ ล์ (Jacob, Masson and Harvill’s 15 Therapeutic Forces) ได้

กลา่ วถึงสง่ิ สาคัญ 15 อย่าง ที่จะทาให้การช่วยเหลอื แบบกลุ่มประสบความสาเร็จมี ดังนี้
1. ผ้นู าและสมาชกิ มีความกระจา่ งเกย่ี วกับเปา้ หมาย โดยผู้นากลมุ่ และสมาชิกต้องมีความเข้าใจอย่าง

ชัดเจนถงึ เปา้ หมายของกลุ่ม
2. เป้าหมายของกลุ่มสอดคล้องกับสมาชกิ การเลือกประเด็นทจ่ี ะพูดคยุ ภายในกลมุ่ ควรจะมเี น้ือหาท่ี

สอดคล้องกบั สภาพของสมาชิกภายในกลุม่ เช่น กลมุ่ นักเรียนควรพูดคยุ เกีย่ วกบั ประเดน็ เรอื่ งการศึกษา ไม่ใช่
การทางาน เปน็ ต้น

3. ขนาดของกลุม่ กลุ่มปรึกษาควรมีสมาชกิ ในกล่มุ 8 คน แต่อาจจะมี 3 คนหรือ 12 คน ก็ข้ึนอยู่กับ
ปัจจัยอนื่ ท่มี ีความสัมพนั ธ์กับสมาชิกกล่มุ เชน่ อายุ

4. ระยะเวลาของการพบกันแต่ละคร้ัง กลมุ่ ปรึกษาใช้เวลาประมาณ 40-50 นาที

60

5. ความถี่ในการพบกนั ขน้ึ อยูก่ บั ปจั จยั หลายอย่าง ทั้งเป้าหมายของกลุม่ สว่ นประกอบท่เี กีย่ วข้องกบั
สมาชกิ เช่น สถานท่ีพักอาศัย ความสะดวกในการเข้ากล่มุ เป็นต้น ทง้ั นี้ ไม่ควรบอ่ ยจนเกิดความเบ่ือหนา่ ย
หรอื ทง้ิ ระยะห่างจนความสมั พันธร์ สู้ กึ ห่างเหนิ ไม่คุ้นเคย

6. ความเหมาะสมของสถานที่ ตอ้ งมคี วามเป็นสว่ นตวั มคี วามสะดวกสบาย ปลอดโปร่ง จดั ที่น่งั เปน็
วงกลม หากใชเ้ กา้ อี้กค็ วรจะมีลกั ษณะทเี่ หมือนกัน ทีไ่ ม่ทาให้ร้สู กึ ถึงความแตกต่าง

7. ช่วงเวลาของการพบกัน ควรนดั ในเวลาทส่ี ะดวกของคนสว่ นใหญ่ และควรเลอื กในชว่ งเวลาที่
เหมาะสม ไม่เร่งรีบ หรอื ก่อใหเ้ กิดความไม่สะดวกในการใชช้ ีวติ ดา้ นอืน่ ๆ

8. เจตคติของผ้นู า ควรเป็นด้านบวก ไม่กลวั การทากลุ่มหรอื ตารางการทากลุ่มแน่นมาก
9. กลุ่มปดิ หรอื กลุ่มเปิด กลุม่ ปดิ คือกลุม่ ท่ีไม่รับสมาชกิ ใหม่เพ่ิม โดยจะมีระยะเวลาทากลุ่มท่ีจากัดและ
มุ่งไปสเู่ ปา้ หมายในการให้ความช่วยเหลือ ส่วนกลมุ่ เปดิ จะเปน็ ลักษณะทส่ี มาชิกสามารถเข้าออกกล่มุ ได้อยา่ ง
อสิ ระ
10. ความสมคั รใจหรือไมส่ มัครใจของสมาชกิ สมาชิกทเ่ี ขา้ กลุม่ ดว้ ยความสมัครใจจะขบั เคลอื่ นกลุ่มไป
ไดอ้ ย่างราบร่นื เกดิ การเรยี นรแู้ ละพฒั นาไปไดอ้ ย่างเหมาะสม สว่ นกลุ่มที่สมาชกิ ไม่สมคั รใจ หรืออาจมาด้วย
การบงั คับ เช่น สถานพินิจ การขับเคลอ่ื นกลุม่ อาจจะมีความยากลาบากในการหลาย ๆ ด้าน
11. ความทมุ่ เทของสมาชกิ ในกลุ่ม หากสมาชิกภายในกล่มุ ให้ความร่วมมอื มากกว่าการต่อตา้ นหรือ
รบกวน จะทาให้การชว่ ยเหลือแบบกลุ่ม ดาเนนิ ไปได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
12. ระดบั ความไว้วางใจของสมาชิกกลุ่ม ระดับความไว้วางใจจะขน้ึ อยู่กบั ความก้าวหนา้ ของกลุ่ม
ปฏกิ ริ ยิ าทสี่ มาชกิ มีตอ่ กันในทางบวก แสดงความเหน็ อกเห็นใจ มีการยอมรับและให้การนับถอื กนั จะทาให้
สมาชิกในกลุ่มมคี วามกลา้ ท่จี ะเปดิ เผยตนเองมากข้นึ
13. เจตคติต่อผู้นากลุ่ม ผ้นู ากลุ่มทีส่ มาชกิ ร้สู ึกนับถือ ให้ความไวว้ างใจ ชื่นชอบ หรอื เชอ่ื ในการใช้
ทักษะ จะขบั เคล่ือนและสร้างปฏสิ ัมพันธภ์ ายในกลุ่มได้ดี
14. ประสบการณ์และความพร้อมของผนู้ า ในการจัดการกับกลุ่มน้ัน ผนู้ ากลมุ่ ท่ีขาดทักษะหรือขาด
ประสบการณ์ จะเกิดความวติ กกังวล กลวั การทาผดิ พลาด ทสี่ ง่ ผลต่อความเช่ือถือของสมาชกิ ในกลุ่ม
15. กระบวนการและเนื้อหา การช่วยเหลือแบบกลุ่มควรมีความสอดคล้องระหวา่ งกระบวนการ
ปรึกษาแบบกลุม่ และประเดน็ สาระท่ีเป็นใจความสาคญั ในการพูดคุย หากผนู้ ากล่มุ เน้นทีเ่ นื้อหามากเกินไปกจ็ ะ
มองข้ามการปฏสิ ัมพันธ์ของสมาชิกภายในกลุ่ม

61

การจดั ตั้งกลมุ่
1. ใครบา้ งทจ่ี ะเขา้ รว่ มเปน็ สมาชิกกล่มุ
2. มีวิธีการคดั เลอื กสมาชกิ มาได้อยา่ งไร
3. กลมุ่ จะต้องพบกันกี่ครัง้
4. ตอ้ งใช้เวลาในกล่มุ นานเท่าไหร่ ช่วงเวลาใด

การดาเนนิ กลุ่ม
1. ระยะต้น เมื่อสมาชิกไดพ้ บกนั แลว้ มกี ารประเมนิ ความสนใจของสมาชิก ก่อนท่ีจะมีการ

แลกเปลย่ี นพูดคยุ เรื่องสว่ นตัว ควรสรา้ งความค้นุ เคยให้เกดิ ความไวว้ างใจ และสมาชิกมจี ิตใจจดจ่ออยู่กบั
เร่ืองราวท่ีพูดคุยในกลมุ่

2. ระยะกลาง การวางแผนควรพิจารณาวัตถุประสงค์ของกลุม่ ความต้องการของสมาชิก ประโยชนท์ ่ี
สมาชกิ จะได้รับ ความสนใจภายในกลุ่ม การมสี ว่ นร่วมของสมาชกิ ระดับความไวว้ างใจ โดยแผนการท่วี างไว้
สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์

3. ระยะยุติกลุ่ม ผ้นู าควรสรปุ และทบทวนส่งิ ท่ีเกดิ ขน้ึ ในกลุ่มเกี่ยวกับประเด็นสาคัญทสี่ มาชิกได้พูดคุย
เพื่อตรวจสอบส่ิงทคี่ งั่ ค้างคาใจระหว่างสมาชิก มกี ารประเมินความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงของสมาชิก
การนาส่งิ ท่ีไดเ้ รียนรไู้ ปประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนนิ ชวี ิต การวางแผนเพื่อจัดการกบั ปญั หาท่ีอาจเกิดข้ึนในอนาคต

การให้ข้อมลู ยอ้ นกลับ จะทาให้สมาชิกได้ทาความเข้าใจกบั ความรูส้ ึกของตนเองก่อนที่กระบวนการ
กลุ่มจะยตุ ิลง

สง่ิ ท่ีควรสังเกตภายในกลมุ่
1. การพูด
1) บุคคลที่พดู มากทส่ี ุด/บุคคลท่พี ูดนอ้ ย
2) บุคคลท่ีพูดให้การสนับสนุน/ไม่เห็นดว้ ยในกลุ่ม
3) บุคคลท่ีพดู ให้กาลังใจ/บุคคลทีว่ ิพากษ์วจิ ารณ์
2. การพดู ขดั จังหวะ
3. การใชส้ ายตา
4. การแสดงออกด้วยลักษณะท่าทาง

62

การชว่ ยเหลือแบบกลุม่ กับการพัฒนาทางอาชีพ
การชว่ ยเหลอื สามารถทาไดห้ ลายรปู แบบ การใหก้ ารปรึกษาทางอาชีพแบบกลมุ่ (Group Career

Counseling) เป็นการชว่ ยเหลอื อีกรปู แบบหนึง่ ท่สี ามารถช่วยเหลือทางอาชีพได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยมี
วัตถุประสงค์ ดงั น้ี

1. เพอ่ื เผยแพร่ข้อมูลทางอาชีพ โดยการปรกึ ษาแบบกลุ่มจะสามารถเผยแพรข่ ้อมลู ทางอาชพี ได้ดีกว่า
การปรึกษาแบบรายบุคคล เนื่องจากในกลมุ่ จะมีผทู้ ส่ี นใจในอาชพี เดยี วกัน ที่สามารถแบง่ เป็นกลุม่ ยอ่ ยเพื่อ
ชว่ ยกนั ศกึ ษาแตล่ ะอาชีพ ทาให้เกิดความเข้าใจและเกดิ ความชดั เจนในอาชพี ทีต่ นเองสนใจมากขึน้

2. เพอื่ กระตนุ้ แรงจูงใจ เนื่องจากบคุ คลบางประเภทจะรสู้ ึกเบ่ือหน่ายในเร่ืองท่ีตนเองยังไมใ่ หค้ วาม
สนใจ การที่สมาชกิ กลุม่ แสดงความคดิ เหน็ ที่มปี ระโยชน์ต่อการดาเนินชวี ติ กจ็ ะสามารถดึงความสนใจและ
กระต้นุ ให้คนท่ีไม่สนใจหันกลับมาทบทวนและใหค้ วามสาคัญตอ่ การวางแผนเก่ียวกับอาชีพมากขึ้น

3. เพื่อสอนเป็นกลมุ่ จะใชไ้ ด้ดีกบั โรงเรยี นทม่ี ีครแู นะแนวไมเ่ พียงพอ สามารถทาได้ดว้ ยการสอนครู
ประจาวชิ าอน่ื ๆ จากนนั้ ครทู ี่สอนแต่ละรายวชิ าจะสอดแทรกการแนะแนวอาชีพเข้าไปในวชิ าของตนเอง

4. เพื่อฝกึ ฝนการแสดงออก ผ่านการทากิจกรรมต่าง ๆ ทง้ั การสาธิต การเลน่ ละคร หรือการแสดง
บทบาท ทจี่ ะชว่ ยกระตนุ้ ให้นักเรียนมีพฒั นาการทางอาชีพมากขึน้

5. เพ่ือพัฒนาทศั นคติ รวมถงึ ความรู้ความเข้าใจ เกีย่ วกับความสาคญั ในการวางแผนอาชีพ และ
ตระหนกั ถึงความสาคญั ในการตัดสินใจเลอื กอาชีพทเี่ หมาะสมกับตนเอง

6. เพ่ือสารวจแหล่งข้อมูลอ่นื ๆ ทจ่ี ะทาใหไ้ ด้มาซ่งึ ข้อเท็จจรงิ เก่ยี วกับอาชพี อย่างถูกต้อง เช่น การ
ออกทศั นศึกษา การเยีย่ มชมโรงงานหรอื ศนู ยฝ์ ึกอาชีพ

7. เพ่อื บริการปรกึ ษาเจาะลึก เนอื่ งจากการให้การปรกึ ษากลุ่มจะมสี มาชกิ ภายในกลุ่มที่หลากหลาย
และแตล่ ะคนจะแสดงออกถึงบคุ ลกิ ภาพและแนวคิดที่แตกตา่ งตอ่ การเลือกอาชีพ ผใู้ ห้การปรึกษาสามารถทจ่ี ะ
ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ท้งั กลุม่ หรือรายบคุ คลแลว้ แต่กรณี


Click to View FlipBook Version