The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2566 วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร Annual Report 2023 Mukdahan Community College

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ptheera, 2024-03-15 10:02:25

รายงานประจำปี 2566 วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร

รายงานประจำปี 2566 วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร Annual Report 2023 Mukdahan Community College

โครงการตามแผนงานยุทธศาสตร์ พัฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 4. โครงการพัฒนาและส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านการเรียนออนไลน์ วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ดำ เนินโครงการพัฒนาและส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านการเรียนออนไลน์ เพื่อมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้ผ่านการเรียนออนไลน์ ของหลักสูตรพัฒนาทักษะและเสริมสร้างประสบการณด้านอาชีพ และคุณภาพชีวิต (หลักสูตรฝึกอบรมอาชีพ) จำ นวน 2 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรงานซ่อมประกอบคอมพิวเตอร์พร้อม ติดตั้งซอฟต์แวร์ และหลักสูตรการประยุกต์ใช้โปรแกรมสำ เร็จรูปในสำ นักงาน กลุ่มเป้าหมายจำ นวน 200 คนผลลัพธ์ ได้แก่ สื่อการเรียนการสอนออนไลน์อย่างน้อย 2 รายวิชา ผู้สอนได้ผลิตและสร้างเนื้อหาความรู้ในรายวิชาที่รับผิด ชอบสามารถออกแบบให้มีการเรียนการแบบออนไลน์ได้อย่างมีคุณภาพและเป็นมาตรฐาน วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารมี บทเรียนออนไลน์เป็นมาตรฐาน คือ หลักสูตรพัฒนาทักษะและเสริมสร้างประสบการณด้านอาชีพ และคุณภาพชีวิต (หลักสูตรฝึกอบรมอาชีพ) จำ นวน 2 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรงานซ่อมประกอบคอมพิวเตอร์พร้อมติดตั้งซอฟต์แวร์ และหลักสูตรการประยุกต์ใช้โปรแกรมสำ เร็จรูปในสำ นักงาน ผู้ที่ผ่านการเรียนรู้และฝึกอบรมสามารถนำ ไปประยุกต์ ใช้ในชีวิตประจำ วันได้ นักศึกษาและผู้รับบริการเข้าถึงความรู้และเรียนรู้ได้ตามอัธยาศัย ทุกที่ ทุกเวลา ได้เป็นอย่างดี 50


แผนงานบูรณาการเตรียมความพร้อม เพื่อรองรับสังคมสูงวัย ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. โครงการการจัดการความรู้ภูมิปัญญาทางการตลาดของชุมชนผู้สูงอายุในจังหวัดมุกดาหาร (KME : สินค้าสูงวัย) วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ดำ เนินโครงการการจัดการความรู้ภูมิปัญญาทางการตลาดของชุมชนผู้สูงอายุในจังหวัด มุกดาหาร (KME : สินค้าสูงวัย) มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการจัดการความรู้ภูมิปัญญาของชุมชนผู้สูง อายุในจังหวัดมุกดาหาร (KME : สินค้าสูงวัย) เพื่อออกแบบรูปแบบการจัดการความรู้ภูมิปัญญาทางการตลาดและ ความสุขของชุมชนผู้สูงอายุในจังหวัดมุกดาหาร (KME : สินค้าสูงวัย) รวมทั้งเพื่อดำ เนินการฝึกอบรมอาชีพตามรูป แบบการจัดการความรู้ภูมิปัญญาทางการตลาดและความสุขของชุมชนผู้สูงอายุในจังหวัดมุกดาหาร (KME : สินค้าสูง วัย) และเพื่อประเมินผลตามรูปแบบการจัดการความรู้ภูมิปัญญาทางการตลาดและความสุขของชุมชนผู้สูงอายุใน จังหวัดมุกดาหาร (KME : สินค้าสูงวัย) กลุ่มเป้าหมายจำ นวน 126 คน จำ นวนผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากผู้สูงอายุ และสร้าง รายได้ให้กับผู้สูงอายุ จำ นวน 3 ผลิตภัณฑ์ 51


แผนงานยุทธศาสตร์ การเกษตรสร้างมูลค่า ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. โครงการการจัดการสมุนไพรพื้นบ้านเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม (สมุนไพรเพื่อการอุปโภค บริโภค บ้านนิคม ทหารผ่านศึก ตำ บลดงหมู อำ เภอหว้านใหญ่ อำ เภอหว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ดำ เนินโครงการการจัดการสมุนไพรพื้นบ้านเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม (สมุนไพรเพื่อการ อุปโภค บริโภค บ้านนิคม ทหารผ่านศึก ตำ บลดงหมู อำ เภอหว้านใหญ่ อำ เภอหว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร มี วัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้และส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพรพื้นบ้านสระแหน่ ใบเตย ตะไคร้ เพื่อการอุปโภค บริโภค รวมทั้งเพื่อส่งเสริมและพัฒนาแปรรูปผลิตภัณฑ์สมุนไพรพื้นบ้านบ้านนิคมเกษตร สระแหน่ ใบเตย และตะไคร้ และ เพื่อสร้างช่องทางการจัดจำ หน่ายผลิตภัณฑ์สมุนไพรพื้นบ้านเพื่อการอุปโภค บริโภค กลุ่มเป้าหมายจำ นวน 30 คน ได้แก่ กลุ่มศูนย์หมอดินนำ ทิศชีวิตพอเพียง บ้านเทพนิมิตร ตำ บลคำ ป่าหลาย อำ เภอหว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ได้ คือ ชาสมุนไพรพร้อมดื่ม จำ นวน 3 สูตร ได้แก่ สูตร 1 สูตรสระแหน่ ตะไคร้ ใบเตย สูตร 2 สูตรสระแหน่ตะไคร้ สูตร 3 สระแหน่ใบเตย ชุมชนมีองค์ความรู้ด้านการปลูก แปรรูป และเห็นคุณค่าสมุนไพรพื้นบ้าน เกิดการทำ งานเป็นทีม เกิดความ สามัคคีในชุมชน และรวมกลุ่มทำ ให้กลุ่มยั่งยืนต่อไป 52


แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาพื้นที่ เขตเศรษฐกิจพิเศษ ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โครงการพัฒนาทักษะอาชีพตามความต้องการทางด้านโลจิสติกส์ (Logistic for SEZ) ในเขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ดำ เนินโครงการพัฒนาทักษะอาชีพตามความต้องการทางด้านโลจิสติกส์ (Logistic for SEZ) ในเขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการการพัฒนาทักษะความรู้ ทางด้านโลจิสติ กส์ (Logistic for SEZ) ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร รวมทั้งเพื่อพัฒนาหลักสูตรแบบ non-degree โดย เน้นการสร้างงานให้บุคลากรในหน่วยงานทั้งภาครัฐ/ภาคเอกชน ประชาชน ทางด้านโลจิสติกส์ (Logistic for SEZ) ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหารและเพื่อยกระดับทักษะด้านต่าง ๆ ให้กับบุคลากรในหน่วยงานทั้งภาครัฐ/ภาค เอกชน ประชาชน ทางด้านโลจิสติกส์ (Logistic for SEZ) ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษมุกดาหาร โดยมีจำ นวนเป้า หมายทั้งหมด 20 คน มี 3 ชุมชน ได้แก่ 1.ชุมชนเขตเทศบาลตำ บลดอนตาล ตำ บลดอนตาล อำ เภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร 2.เทศบาลเมืองมุกดาหาร ตำ บลศรีบุญเรือง อำ เภอเมือง จังหวัดมุกดาหารฃ 3.หว้านใหญ่ ตำ บลหว้านใหญ่ อำ เภอหว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร ผลลัพธ์ที่ได้รับ คือการพัฒนาทักษะอาชีพตามความต้องการทางด้านโลจิสติกส์ (Logistic for SEZ) ในเขต เศรษฐกิจพิเศษมุกดาหารร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน 53


แผนงานยุทธศาสตร์ ปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โครงการสร้างผู้นำ อย่างสง่า เพื่อพัฒนาชุมชนมุกดาหารอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ดำ เนินโครงการสร้างผู้นำ อย่างสง่า เพื่อพัฒนาชุมชนมุกดาหารอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาผู้นำ ที่มีความพร้อมที่จะพัฒนาเพื่อการเปลี่ยนแปลงในชุมชน เพื่อพัฒนาและยกระดับผู้นำ ให้ มีคุณลักษณะ 3 ประการ ได้แก่ สมรรถภาพ (เก่ง) คุณภาพ (ดี) สุขภาพ (มีความสุข) รวมทั้ง เพื่อสร้างเครือข่ายผู้นำ การเปลี่ยนแปลง เพื่อยกระดับเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งสร้างภูมิคุ้มกันให้กับชุมชน และเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม คู่ขนานไปกับวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร และภาคีเครือข่าย มีกลุ่มเป้าหมายจำ นวน 30 คน โดยเป็นผู้นำ ชุมชนใน จังหวัดมุกดาหาร ผลลัพธ์ที่ได้รับ คือ เกิดผู้นำ พันธ์ใหม่ ผู้นำ การเปลี่ยนแปลง ชุมชนสร้างกลไกในการพัฒนาสามารถ บริหารจัดการตนเองได้อย่างยั่งยืน รวมทั้งชุมชนมีความสุข เรียนรู้ พัฒนาปรับตัวให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงและ ชุมชนมีรากฐาน บนพื้นฐานของปัญญาสามารถนำ มาต่อยอดสร้างมูลค่าเพิ่มได้ในทุกมิติ 54


แผนงานยุทธศาสตร์ พัฒนาพื้นที่และเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โครงการ แหล่งเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรม กลุ่มชาติพันธุ์และการค้าอินโดจีนในรูปแบบดิจิทัล "มุกดาหารเมืองแห่งการเรียนรู้ Mukdahan Learning City" ปีที่ 2 (ภูมิปัญญาอาหารและเครื่องแต่งกายกลุ่มชาติพันธุ์) วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ดำ เนินโครงการ แหล่งเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรม กลุ่มชาติพันธุ์และการค้าอินโดจีนใน รูปแบบดิจิทัล มุกดาหารเมืองแห่งการเรียนรู้ Mukdahan Learning City” ปีที่ 2 (ภูมิปัญญาอาหารและเครื่องแต่ง กายกลุ่มชาติพันธุ์) มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพแหล่งเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อพัฒนารูป แบบแหล่งเรียนรู้ชุมชนดิจิทัล กรณีศึกษา จังหวัดมุกดาหาร รวมทั้งเพื่อทดลองระบบแหล่งเรียนรู้ชุมชนดิจิทัลโดยใช้ การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการทางภาษาและวัฒนธรรม กลุ่มชาติพันธุ์ และการค้าอินโดจีน และเพื่อนำ รูปแบบแหล่ง เรียนรู้ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์และการค้าอินโดจีน ให้บริการแก่ ชุมชน อย่างสร้างสรรค์ต่อเศรษฐกิจและสังคมต่อไป มี กลุ่มเป้าหมายจำ นวนทั้งสิ้น 200 คน ได้แก่ ชุมชนศรีมุกดาหาร ตำ บลมุกดาหาร อำ เภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้แก่ เกิดเครือข่ายกลุ่มชาติพันธุ์อินโดจีน จังหวัดมุกดาหารที่เข้มแข็ง แหล่งเรียนรู้พิพิธภัณฑ์ชุมชนมี ชีวิตจังหวัดมุกดาหาร เป็นที่รู้จักมากขึ้น จากเครือข่ายทั้ง 14 แห่ง ที่ชุมชนเปิดให้เข้าชม และจัดกิจกรรมอื่นต่อยอด องค์ความรู้ นำ เสนอในวงกว้างเพื่อเสริมสร้างรายได้ โดยเฉพาะ เมนูอาหารชนเผ่า โดยชุมชนไทย้อ บ้านดงยางตำ บล น้ำ เที่ยง อำ เภอคำ ชะอี จังหวัดมุกดาหาร 55


ส่วนที่ 4 ผลการประเมินความสำ เร็จ


ประเภท งบประมาณ รายจ่าย ร้อยละ งบดำ เนินงาน 1,791,589 1,791,589 100 งบบุคลากร 3,920,474.20 3,920,474.20 100 งบรายจ่ายอื่นงบเงินอุดหนุน 13,362,721 13,362,721 100 งบลงทุน 2,813,000 2,813,000 100 รวม 21,887,784.20 21,887,784.20 100 ผลการดำ เนินงานเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่าย ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ.2566 57


ส่วนที่ 5 ความภาคภูมิใจและผลงานเด่น


ผลงานเด่นวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โครงการวิจัยการพัฒนาพื้นที่เชิงยุทธศาสตร์ เมืองชายแดนแบบบูรณาการพหุภาคี เพื่อขจัดความยากจนและ สร้างโอกาสทางสังคม กรณีศึกษาจังหวัดมุกดาหาร (SRA) ด้วยแนวคิด "คุยกันทั้งจังหวัด" จังหวัดมุกดาหาร กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่ดำ เนินการ ครัวเรือนยากจน กลุ่มอาชีพ กลุ่มวิสาหกิจปลูกหม่อนแก้จน และประชาชนในจังหวัดมุกดาหารที่สนใจแก้ปัญหา ด้านอาชีพและรายได้จากการปลูกหม่อน และการแปรรูปด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี ผลผลิต 1. มีผู้นำ ไปประยุกต์ใช้เป็นอาชีพ 1 ราย (สบู่ใบหม่อนแบบพกพา) 2. มีผู้นำ ไปใช้ถ่ายทอดให้กับชุมชน 2 ราย (สบู่ใบหม่อนแบบพกพา) 3. มีการนำ ไปต่อยอดเป็นเส้นทางท่องเที่ยวสินค้าท่องเที่ยว 1 แหล่ง/ชิ้น (สบู่ใบหม่อนแบบพกพา) 4. มีการพัฒนารูปแบบใหม่ของผลิตภัณฑ์ 1 ราย (ออกแบบตัวสินค้าเป็นแบนร์ดใหม่) 5. มีการต่อยอดเป็นสินค้าเศรษฐกิจสร้างสรรค์จากภูมิปัญญา 1 ราย (บ้านกกแดง) ผลลัพธ์ โครงการทำ ให้ผู้รับบริการสามารถเข้าถึงองค์ความรู้เดิมปรับได้เข้าองค์ความรู้ใหม่เทคโนโลยี เทคโนโลยีที่ใช้มี หลายระดับ ผู้รับบริการสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ปรับให้เหมาะสมกับทรัพยากรและบริบทของชุมชนได้ 1. ผู้รับบริการสามารถนำ ความรู้ที่ได้รับไปใช้พัฒนาทักษะทั้งทางตรงและทางอ้อมมากขึ้น ผู้รับบริการสามาถนำ ไปประยุกต์ใช้เองได้ และหากต้องการใช้เทคโนโลยีที่สูงขึ้นสามารถปรึกษาได้ตลอดเวลา 2. ผลกระทบ แนวทางการดำ เนินโครงการมีส่วนช่วยแก้ไขปัญหาความยากจนเรื่องอาชีพและรายได้และทำ ให้คุณภาพชีวิตของ ผู้รับบริการดีขึ้นคือเกิดอาชีพเสริม นอกจากนี้ ยังมีการต่อยอดงานโดยหน่วยงานที่รับผิดชอบในพื้นที่เพิ่มมากขึ้น ปัจจัยความสำ เร็จ “โมเดลหม่อนแก้จน” มีการดำ เนินงานอย่างเป็นระบบมีการบูรณาการการทำ งานร่วมกันในพื้นที่ สามารถนำ ไปสู่การให้ต่อยอดการเพิ่มรายได้และสร้างอาชีพเสริมให้กับครัวเรือนยากจน ที่มีประสิทธิภาพและสร้าง ความยั่งยืน มีการดำ เนินงานโดยนึกถึงการนำ ไปใช้ของเป้าหมายชุมชนครัวเรือนยากจน ผู้มีรายได้น้อย ได้อย่าง เหมาะสม และยั่งยืน รวมไปถึงการถอดองค์ความรู้เพื่อเป็นพื้นฐานให้กับพื้นที่และชุมชน หน่วยงานหรือองค์กรที่มี ความชำ นาญเฉพาะด้านมาต่อยอดให้เกิดประโยชน์กับชุมชน รวมไปถึงยังเป็นจุดประสานงานรับเรื่องเพื่อส่งต่อให้กับ หน่วยงานหรือองค์กรที่มีหน้าที่รับผิดชอบในเรื่องนั้นโดยตรง นำ มาสู่การเป็นความร่วมมือในจังหวัดมุกดาหารและ จังหวัดใกล้เคียง 59


ผลงานเด่นวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โครงการวิจัยการพัฒนาพื้นที่เชิงยุทธศาสตร์ เมืองชายแดนแบบบูรณาการพหุภาคี เพื่อขจัดความยากจนและ สร้างโอกาสทางสังคม กรณีศึกษาจังหวัดมุกดาหาร (SRA) ด้วยแนวคิด "คุยกันทั้งจังหวัด" จังหวัดมุกดาหาร 60


ผลงานเด่นวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ประจำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โครงการพัฒนาทักษะการอ่าน การเขียนของนักเรียนในจังหวัดมุกดาหาร ภายใต้โครงการพัฒนาคุณภาพการ ศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง เครือข่ายเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษา (U-School Mentoring) เครือข่ายอุดมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 61


บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ MOU : Memorandum of Understanding วิทยาลัยชุมชนมุกดาหารได้ทำ บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ MOU : Memorandum of Understanding เพื่อประโยชน์ต่อนักศึกษา และผู้ใช้บริการ ดังนี้ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2566 มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 62


คณะที่ปรึกษา นายศศิพงษา จันทรสาขา ผู้อำ นวยการวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร นายสนอง แสนเสร็จ รองผู้อำ นวยการวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ดร.ทิวากร เหล่าลือชา รองผู้อำ นวยการวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร ดร.พรวุฒิ คำ แก้ว รองผู้อำ นวยการวิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร รวบรวมข้อมูลและจัดทำ รูปเล่ม นางสาวพิมพ์ประภา คำ จันทร์ ครูชำ นาญการ นายธีระ พร้อมเพรียง ครู นางประกายดาว สุริยวรรณ์ นักวิชาการศึกษา รายชื่อคณะทำ งาน จัดทำ รายงานประจำ ปี พ.ศ. 2566 วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร รายงานประจำ ปี2566 ANNUAL REPORT 2023 63


mukcc.ac.th mymukcc mukcc วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร 199 หมู่ 10 บ้านบุ่งอุทัย ตำ บลนาสีนวน อำ เภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร 49000 โทรศัพท์ : 042-049749 กด 0 โทรสาร : 042-049749 กด 4 E-mail : [email protected]


Click to View FlipBook Version