The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 4 การเงิน การคลังและงบประมาณ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หน่วยที่ 4 การเงิน การคลังและงบประมาณ

หน่วยที่ 4 การเงิน การคลังและงบประมาณ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4

กบั การนพโยฒั บนายาเกศารรษเงฐนิ กจิกขารอคงลปงัระเทศ

เงนิ ในระบบเศรษฐกจิ นโยบายการคลงั เพ่ือการพฒั นาเศรษฐกจิ
สถาบันการเงิน การคลงั ท้องถนิ่
นโยบายการเงนิ
บทบาทของรัฐบาลเกยี่ วกบั นโยบาย
การเงนิ และการคลงั ในการพฒั นา

เศรษฐกจิ



เงนิ

หมายถึง สิ่งที่ยอมรับกนั ทวั่ ไปวา่ เป็นส่ือกลางในการแลกเปลี่ยน
และถือวา่ เป็นทรัพยส์ ินที่มีสภาพคลอ่ งสูงสุด

เงนิ มคี วามสําคัญในระบบเศรษฐกจิ เพราะจาํ นวนเงนิ หรือปริมาณเงินท่ี
หมุนเวยี นอย่ใู นระบบเศรษฐกจิ จะมีผลต่อรายได้ ผลผลติ และการจ้างงานโดยรวม

หน้าทขี่ องเงนิ

1. เป็ นสื่อกลางในการแลกเปลย่ี น
• เป็นตวั เชื่อมระหวา่ งผซู้ ้ือและผขู้ าย หรือผบู้ ริโภคและผผู้ ลิต
• ทาํ ใหร้ ะบบเศรษฐกิจเกิดการแบ่งงานกนั ทาํ

2. เป็ นมาตรฐานการวดั ค่า
• เป็นหน่วยในการวดั ค่าของสินคา้ และบริการ
• ช่วยใหผ้ ซู้ ้ือและผขู้ ายเปรียบเทียบมูลค่าของสิ่งของไดง้ ่าย

3. เป็ นมาตรฐานในการชําระหนีใ้ นอนาคต
• การใชเ้ งินชาํ ระหน้ีในอนาคต ทาํ ใหเ้ กิดการซ้ือขายสินคา้ มากข้ึน
• ช่วยใหล้ ูกคา้ และเจา้ หน้ีไดร้ ับความสะดวก ไม่ตอ้ งจ่ายเงินสด
ทนั ที

4. เป็ นเครื่องเกบ็ รักษามูลค่า
• เงินเป็นสินทรัพยท์ ่ีคนทวั่ ไปนิยมเกบ็ สะสมไว้
• เงินช่วยใหส้ ามารถจบั จ่ายใชส้ อยไดอ้ ยา่ งรวดเร็วทนั ใจ

ปริมาณเงนิ ในระบบเศรษฐกจิ

• เงินท้งั หมดที่ใชห้ มุนเวยี นอยใู่ นระบบเศรษฐกิจขณะใดขณะหน่ึง
• ปริมาณเงินมีผลต่อระดบั รายไดแ้ ละผลิตโดยรวมของประเทศ
• ปริมาณเงินมีผลต่อระดบั ราคาและการจา้ งงานในระบบเศรษฐกิจ
• หน่วยงานท่ีทาํ หนา้ ที่ควบคุมปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ ธนาคารกลาง
• รัฐบาลจะควบคุมปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจโดยใชน้ โยบายการเงิน

ตลาดการเงนิ

ตลาดเงนิ

• เป็นตลาดที่มีการระดมเงินทุน และการใหส้ ินเช่ือระยะส้นั ไม่เกิน 1 ปี
• ตลาดเงินในระบบประกอบดว้ ยสถาบนั การเงินต่างๆ ที่จดั ต้งั ข้ึนตามกฎหมาย
• กิจกรรมในตลาดน้ี เช่น การกโู้ ดยตรง การกยู้ มื ระหวา่ งธนาคาร

ตลาดทุน

• เป็นตลาดที่มีการระดมเงินออมระยะยาว ใหส้ ินเชื่อต้งั แต่ 1 ปี ข้ึนไป
• สินเชื่อในลกั ษณะน้ี เช่น เงินฝากประจาํ หุน้ สามญั หุน้ กู้
• ตลาดสินเช่ือในลกั ษณะน้ี เช่น ธนาคารพาณิชย์ ตลาดหลกั ทรัพย์

ความสําคญั ของตลาดการเงนิ

• ช่วยระดมเงินทุนจากหน่วยเศรษฐกิจ
• ก่อใหเ้ กิดการจดั สรรทุนอยา่ งมีประสิทธิภาพ
• ช่วยสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
• ทาํ ใหผ้ ลู้ งทุนสามารถกยู้ มื เงินมาลงทุนได้
• ทาํ ใหเ้ กิดการจา้ งงาน สามารถผลิตสินคา้ และบริการไดม้ ากข้ึน



สถาบนั การเงนิ

หน่วยเศรษฐกิจที่ประกอบธุรกิจดา้ นการเงิน ทาํ หนา้ ท่ีเป็นตวั กลาง
ระหวา่ งผอู้ อมกบั ผลู้ งทุน รวมท้งั ใหบ้ ริการดา้ นการเงินอ่ืนๆ เช่น รับฝากเงิน
ปล่อยสินเช่ือใหผ้ ปู้ ระกอบการ เช่น ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารกลาง บริษทั
เงินทุน บริษทั ประกนั ภยั

ประเภทของสถาบนั การเงนิ

ธนาคารพาณิชย์

• เป็นสถาบนั การเงินท่ีทาํ หนา้ ที่รับฝากเงิน
• ใหบ้ ริการเงินกยู้ มื ท้งั ภาครัฐและเอกชน
• ใหบ้ ริการซ้ือขายเงินตราตา่ งประเทศ ซ้ือขายตราสารทางการเงิน
• ใหบ้ ริการชาํ ระโอนเงิน
• มีส่วนสาํ คญั ในการเพิม่ หรือลดปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ

ธนาคารท่มี ีกฎหมายจดั ต้งั เป็ นการเฉพาะ

• เป็นธนาคารท่ีรัฐจดั ต้งั ข้ึนทาํ หนา้ ท่ีใหค้ วามช่วยเหลือทางการเงิน
• มีบทบาทส่งเสริมนโยบายเฉพาะดา้ น เช่น ส่งเสริมการออม ช่วยเหลือเกษตรกร
• ธนาคารประเภทน้ี เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์

ธนาคารกลาง

• เป็นหน่วยงานของรัฐท่ีไม่ใช่ส่วนราชการหรือรัฐวสิ าหกิจ
• เป็นองคก์ รอิสระท่ีไม่แสวงหากาํ ไร
• อยภู่ ายใตก้ ารกาํ กบั ดูแลของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลงั
• มีอาํ นาจในการควบคุมดูแลเรื่องการเงินของประเทศ
• มุ่งรักษาเสถียรภาพทางการเงิน เสถียรภาพของระบบสถาบนั การเงิน และระบบ

การชาํ ระเงิน



นโยบายการเงนิ

นโยบายที่ธนาคารกลางใชเ้ พ่อื ดูแลปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
ใหอ้ ยใู่ นระดบั ท่ีเหมาะสม

เป้าหมายสําคัญ

เพอ่ื ใหเ้ ศรษฐกิจของประเทศขยายตวั อยา่ งมีเสถียรภาพ
ประชาชนมีความเป็นอยทู่ ่ีดีข้ึน

ประเภทของนโยบายการเงนิ

นโยบายการเงินอย่างเข้มงวด

• เป็นนโยบายที่มีผลทาํ ใหเ้ งินในเศรษฐกิจมีปริมาณลดลง
• เป็นนโยบายท่ีมกั ใชใ้ นกรณีท่ีระบบเศรษฐกิจเกิดปัญหาราคาสินคา้ สูง

หรือปัญหาเงินเฟ้อ
• การใชน้ โยบายน้ีจะช่วยลดความร้อนแรงของระบบเศรษฐกิจลง
• การดาํ เนินการตามนโยบายดงั กลา่ วมีผลทาํ ใหอ้ ตั ราดอกเบ้ียในตลาดปรับตวั ข้ึน
• เป็นสิ่งที่ช่วยใหอ้ ตั ราเงินเฟ้อลดลงเน่ืองจากกิจกรรมต่างๆ ทางเศรษฐกิจลดลง

ประเภทของนโยบายการเงนิ

นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย

• นโยบายที่มีผลทาํ ใหเ้ งินในระบบเศรษฐกิจมีปริมาณเพิม่ ข้ึน
• นโยบายท่ีมกั ใชใ้ นกรณีภาวะเศรษฐกิจซบเซาหรือเกิดปัญหาเงินฝืด
• ช่วยกระตนุ้ ใหเ้ ศรษฐกิจฟ้ื นตวั
• มีผลทาํ ใหอ้ ตั ราดอกเบ้ียในตลาดปรับตวั ลดลง
• ทาํ ใหก้ ิจกรรมต่างๆ ทางเศรษฐกิจเพิม่ มากข้ึนและอตั ราเงินเฟ้อเพิม่ ข้ึน

เคร่ืองมือของนโยบายการเงนิ

1. การดํารงสินทรัพย์สภาพคล่อง

สินทรัพย์สภาพคล่อง ไดแ้ ก่
• เงินสดในมือธนาคารพาณิชย์
• เงินฝากกระแสรายวนั ของธนาคารแห่งประเทศไทย
• หลกั ทรัพยท์ ่ีปราศจากภาระผกู พนั การดาํ รงสินทรัพย์

สภาพคล่องท่ีธนาคารแห่งประเทศไทยกาํ หนด ยอ่ มมีผลต่อสภาพคล่องของ
ระบบเศรษฐกิจของประเทศ

ตวั อย่าง

การกาํ หนดใหธ้ นาคารพาณิชยต์ อ้ งดาํ เนินเงินสดสาํ รองตามกฎหมาย หาก
ธนาคารแห่งประเทศไทยกาํ หนดในอตั ราสูง จะทาํ ใหธ้ นาคารมีเงินสาํ รองส่วนเกินไป
ปล่อยกไู้ ดน้ อ้ ย ทาํ ใหป้ ริมาณเงินเพิ่มไดน้ อ้ ย แตห่ ากาํ หนดในอตั ราต่าํ จะทาํ ใหป้ ริมาณ
เงินเพิม่ ไดม้ าก

2. การดําเนินการผ่านตลาดการเงนิ

• การซื้อคืนพนั ธบัตรแบบทวภิ าคี
เป็นการซ้ือขายพนั ธบตั รเพอ่ื ปรับสภาพคล่องแบบชว่ั คราว

• การซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาล
โดยส่วนใหญ่จะเป็นพนั ธบตั รรัฐบาล เน่ืองจากมีสภาพคล่องสูง

• การออกพนั ธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย
เป็นการดาํ เนินการที่มีผลตอ่ สภาพคลอ่ งของเศรษฐกิจ

เช่นเดียวกบั การซ้ือขายหลกั ทรัพยร์ ัฐบาล
• การซื้อ-ขายเงินตราต่างประเทศ

โดยมีสัญญาวา่ จะขายหรือซ้ือคืน ณ อตั ราแลกเปล่ียนท่ีตกลงกนั
ในวนั ที่กาํ หนดล่วงหนา้ โดยมากมกั ไม่เกิน 3 เดือน

3. หน้าต่างต้ังรับ

• ธนาคารแห่งประเทศไทยมีหนา้ ตา่ งปรับสภาพคลอ่ ง ณ สิ้นวนั
• เป็นช่องทางท่ีสถาบนั การเงินสามารถกหู้ รือใหก้ แู้ ก่ธนาคารแห่งประเทศไทยได้
• สถาบนั การเงินที่ขาดสภาพคลอ่ งสามารถเขา้ มากยู้ มื เงินโดยมีพนั ธบตั รเป็น

หลกั ประกนั

กลไกการส่ งผ่านของนโยบายการเงนิ

การดาํ เนินนโยบายภายใตก้ รอบเงินเฟ้อ จะส่งผลต่ออตั ราดอกเบ้ียในตลาด และ
ส่งผลตอ่ ปริมาณการผลิตและอตั ราเงินเฟ้อผา่ นระบบการเงินในช่องทางตา่ งๆ ไดแ้ ก่

• ช่องทางอตั ราดอกเบ้ีย
• ช่องทางสินเชื่อ
• ช่องทางราคาทรัพยส์ ิน
• ช่องทางอตั ราแลกเปลี่ยน
• ช่องทางการคาดการณ์

ตัวอย่าง

เมื่อธนาคารแห่งประเทศไทยดาํ เนินนโยบายการเงินแบบผอ่ นคลายโดยลด
อตั ราดอกเบ้ียนโยบาย ผลกระทบที่ผา่ นช่องทางอตั ราดอกเบ้ีย คือ อตั ราดอกเบ้ียใน
ตลาดจะปรับตวั ลง ตน้ ทุนในการบริโภคและการลงทุนกต็ ่าํ ลง ส่งผลใหก้ ารบริโภค
และการลงทุนเพิ่มข้ึน ผลผลิตในประเทศสูงข้ึน และมีอตั ราเงินเฟ้อสูงข้ึน



นโยบายการคลงั

นโยบายเก่ียวกบั รายรับ-รายจ่าย ของรัฐบาล เก่ียวขอ้ งกบั การ
จดั หารายได้ การใชจ้ ่ายของรัฐบาล การก่อหน้ีสาธารณะ และการบริหาร
เงินคงคลงั

เป้าหมายของนโยบายการคลงั

• เพ่ือใหเ้ กิดการจดั สรรทรัพยากรอยา่ งมีประสิทธิภาพ
• เพ่อื ใหเ้ กิดการกระจายรายไดอ้ ยา่ งเป็นธรรม
• เพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ
• เพอ่ื รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ

เคร่ืองมือของนโยบายการคลงั

• เครื่องมือของนโยบายการคลงั ท่ีสาํ คญั คือ งบประมาณแผ่นดิน
ซ่ึงเป็นท้งั แผนการใชจ้ ่ายเงินแผน่ ดินและแผนการบริหารการเงินการคลงั ของรัฐบาล

• หน่วยงานที่มีหนา้ ที่รับผิดชอบในการจดั ทาํ งบประมาณ คือ สํานักงบประมาณ
• องคป์ ระกอบสาํ คญั ในการบริหารงบประมาณแผน่ ดิน คือ การใชจ้ ่ายของรัฐบาล

การจดั หารายไดข้ องรัฐบาล การก่อหน้ีสาธารณะ และการบริหารเงินคงคลงั

การใช้จ่ายของรัฐบาล

เป็นการใชจ้ ่ายในการบริหารตามภาระหนา้ ที่ของรัฐบาล เพอื่ จดั ใหม้ ีสินคา้ และบริการ
ต่างๆ ที่เป็นประโยชนแ์ ก่ประชาชน ไดแ้ ก่

• การใช้จ่ายเงนิ งบประมาณ คือ การใชจ้ ่ายเงินงบประมาณแผน่ ดินที่ไดร้ ับอนุมตั ิ
จากรัฐสภาเพอ่ื การพฒั นาประเทศ

• การใช้จ่ายเงนิ นอกงบประมาณ คือ เงินต่างๆ ท่ีส่วนราชการไดร้ ับและกฎหมาย
อนุญาตใหใ้ ชจ้ ่ายไดต้ ามวตั ถุประสงค์ เช่น กองทุนหรือเงินหมุนเวยี น เงินรายรับ
ของสถานศึกษา

การจัดหารายได้ของรัฐบาล

• รายได้จากภาษอี ากร เป็นรายไดห้ ลกั ของรัฐบาล ซ่ึงรัฐทาํ การจดั เกบ็ ตามกรณีต่างๆ เช่น
ภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดน้ ิติบุคคล ภาษมี ูลค่าเพม่ิ ภาษีศุลกากร

• รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ เป็นรายไดท้ ่ีมาจากการขายทรัพยส์ ิน เช่น
ค่าขายทรัพยส์ ินซ่ึงเป็นอสงั หาริมทรัพย์ ค่าหนงั สือราชการ

• รายได้จากรัฐพาณิชย์ ประกอบดว้ ย ผลกาํ ไรขององคก์ ารรัฐบาล หน่วยงานธุรกิจ
ที่รัฐบาลเป็นเจา้ ของนาํ ส่งเป็นรายไดแ้ ผน่ ดิน และเงินปันผลจากบริษทั ท่ีรัฐบาลถือหุน้

• รายได้อื่น ประกอบดว้ ย ค่าแสตมป์ ฤชาและค่าปรับ เงินรับคืน และรายไดเ้ บด็ เตลด็ อื่นๆ



การก่อหนีส้ าธารณะ

• ในกรณีที่มีการต้งั งบประมาณแบบขาดดุล คือ มีรายจ่ายสูงกวา่ รายได้
• ในกรณีเม่ือเกิดภาวะเศรษฐกิจซบเซา รัฐบาลตอ้ งการกระตุน้ เศรษฐกิจ

ใหม้ ีการจา้ งงานและเพมิ่ ปริมาณการบริโภคในประเทศ



การบริหารเงนิ คงคลงั

• เงินคงคลงั คือ เงินสดและสินทรัพยท์ ี่ใกลเ้ คียงเงินสด ที่มีไวใ้ ชจ้ ่ายในการ
ดาํ เนินงานของรัฐบาล

• ประกอบดว้ ย เงินฝากกระแสรายวนั ของกระทรวงการคลงั ท่ีเปิ ดไวก้ บั
ธนาคารแห่งประเทศไทย

• การมีเงินคงคลงั ในระดบั ที่เหมาะสมจะทาํ ใหก้ ารบริหารการใชจ้ ่ายของ
รัฐบาลมีประสิทธิภาพ

• การมีเงินคงคลงั นอ้ ยเกินไปจะเกิดปัญหาสภาพคล่อง แต่ถา้ หากมีมากเกินไป
กไ็ ม่เกิดประโยชน์ เพราะเงินฝากในบญั ชีคงคลงั น้นั ไม่ไดด้ อกเบ้ีย

• ในกรณีที่มีเงินคงคลงั มากเกินไป รัฐบาลจะนาํ เงินส่วนเกินมาใชจ้ ่ายเพอ่ื ลด
การกยู้ มื หรือลดภาระหน้ี เพอ่ื ลดภาระดอกเบ้ียของรัฐบาล





การคลงั ท้องถน่ิ

การดาํ เนินการเก่ียวกบั การจดั หารายไดแ้ ละการใชจ้ ่ายขององคก์ ร
ปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน ซ่ึงมีความสาํ คญั ตอ่ พ้นื ที่ในทอ้ งถ่ินดา้ นตา่ งๆ

การคลงั ทอ้ งถ่ินช่วยใหท้ อ้ งถ่ินมีอิสระในการใชจ้ ่ายเงินเพอ่ื พฒั นา
ทอ้ งถิ่นไดเ้ หมาะสมกบั สภาพทอ้ งถ่ินของตน

ความสําคญั ของการคลงั ท้องถิ่น

• ช่วยสร้างความเจริญสู่ทอ้ งถิ่น
• ช่วยยกระดบั คุณภาพชีวิตของคนในทอ้ งถิ่นใหด้ ีข้ึน
• องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นที่มีฐานะการคลงั ดี ยอ่ มสร้างความเจริญ

ใหแ้ ก่ทอ้ งถิ่นไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว

โครงสร้างของการคลงั ท้องถ่ิน ภาษีท่ีทอ้ งถ่ินจดั เกบ็ เอง

รายได้ ค่าเช่าสาธารณูปโภคและ
เทศพาณิชย์
โครงสร้างการคลงั
ท้องถน่ิ เงินอุดหนุนท่ีไดร้ ับจาก
รัฐบาล
รายจ่าย
รายจ่ายประจาํ เพอ่ื การ
ดาํ เนินงานของทอ้ งถิ่น
รายจ่ายเพื่อการลงทุน

เพื่อสร้างความ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

เพื่อการสะสมทุน



บทบาทของรัฐบาลเกย่ี วกบั นโยบายการเงนิ การคลงั

การดาํ เนินนโยบายการเงินและการคลงั ของรัฐบาลเพ่อื พฒั นาเศรษฐกิจ
มีวตั ถุประสงคเ์ พือ่ ใหบ้ รรลุเป้าหมายสาํ คญั ตามหลกั เศรษฐศาสตร์ คือ
การจัดสรรทรัพยากรท่ีมอี ยู่อย่างจํากดั ให้เกดิ ประโยชน์สูงสุด โดยคาํ นึงถึง

• การจดั สรรทรัพยากรอยา่ งมีประสิทธิภาพ
• การกระจายรายไดใ้ หเ้ กิดความเป็นธรรม
• การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
• การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

บทบาทในการจดั สรรทรัพยากรอย่างมปี ระสิทธิภาพ

1. การดาํ เนินการเกย่ี วกบั สินค้าสาธารณะ

• รัฐจะเขา้ มาลงทุนในโครงการสาธารณูปโภคพ้นื ฐาน เช่น ถนน สะพาน
โรงเรียน โรงพยาบาล

• การดาํ เนินการของรัฐจะใชง้ บประมาณแผน่ ดินซ่ึงมาจากภาษีอากรเป็นหลกั
• กระบวนการเหลา่ น้ีอาจดาํ เนินโดยองคก์ รระดบั ตา่ งๆ เช่น องคก์ รระหวา่ ง

ประเทศ รัฐบาล องคก์ รในทอ้ งถิ่น เป็นตน้

2. การดาํ เนินการเกยี่ วกบั ผลกระทบภายนอก

• เป็นผลมาจากการดาํ เนินการของบุคคลหรือหน่วยธุรกิจท่ีมีท้งั
ดา้ นบวกและดา้ นลบ

• ผลกระทบทางบวก เช่น การใหบ้ ริการทางดา้ นการศึกษา การใหบ้ ริการทาง
การแพทย์

• ผลกระทบทางลบ เช่น โรงงานอตุ สาหกรรมสร้างมลภาวะ รัฐสามารถเขา้
มาดาํ เนินการโดยการเกบ็ ภาษีและใหเ้ งินอดุ หนุนเพ่ือแกไ้ ขปัญหา

บทบาทในการกระจายรายได้อย่างเป็ นธรรม

1. มาตรการทางภาษี

• เกบ็ ภาษีในอตั รากา้ วหนา้
• เรียกเกบ็ ภาษีสูงจากผมู้ ีรายไดส้ ูง
• จดั เกบ็ ภาษีสินคา้ ฟ่ มุ เฟื อยในอตั ราสูง
• เกบ็ ภาษีมรดก แลว้ นาํ เงินไปช่วยเหลือผดู้ อ้ ยโอกาส

2. การควบคุมราคาสินค้าและผลตอบแทนจากการใช้ปัจจยั การผลติ

• ประกนั ราคาสินคา้ เกษตรและ ควบคุมราคาสินคา้ จาํ เป็น
• กาํ หนดคา่ แรงข้นั ต่าํ ที่เหมาะสม

3. ลดช่องว่างการกระจายรายได้

• รัฐจะดาํ เนินการกระจายรายไดใ้ หแ้ ก่ประชาชนอยา่ ง
เป็นธรรมและทว่ั ถึง

การสร้างความเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ

• เพิม่ การลงทุนโครงสร้างพ้นื ฐานต่างๆ
• ใชม้ าตรการทางภาษีเพอ่ื ส่งเสริมการลงทุน
• ปรับลดอตั ราดอกเบ้ีย
• เพิ่มสินเชื่อเพือ่ กระตนุ้ ใหเ้ กิดการบริโภคและการลงทุน



การรักษาเสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ

1. การรักษาเสถยี รภาพภายในประเทศ
• เป็นการรักษาภาวะเศรษฐกิจไม่ใหร้ ะดบั ราคาในประเทศขยายตวั หรือ
หดตวั มากเกินไป
• เป็นการป้องกนั การเกิดปัญหาภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด การวา่ งงาน
• รัฐบาลใชน้ โยบาย การเงินและการคลงั

2. การรักษาเสถียรภาพภายนอกประเทศ
• เป็นการดาํ เนินการที่เกี่ยวขอ้ งกบั ดุลการคา้ ดุลการชาํ ระเงิน ภาระหน้ี
ต่างประเทศ ฐานะเงินสาํ รองระหวา่ งประเทศ และอตั ราแลกเปลี่ยน
• รัฐบาลอาจใชม้ าตรการรายรับ รายจ่าย และการก่อหน้ีสาธารณะ
• ธนาคารกลางอาจใชม้ าตรการทาํ ใหค้ ่าเงินบาทเพ่มิ ข้ึน ลดลง แลว้ แต่
สาเหตุของปัญหา

นโยบายในการรักษาเสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ

1. นโยบายการเงินการคลงั เพื่อแก้ปัญหาเงนิ เฟ้อ

• ในกรณภี าวะเงนิ เฟ้อที่เกดิ จากระบบเศรษฐกิจมกี ารใช้จ่ายมากเกินไป
รัฐบาลจะดาํ เนินนโยบายโดยใช้ งบประมาณแบบเกินดุล การเพม่ิ ภาษีและเพ่อื กาํ ลงั
ซ้ือและ ลดการลงทุนของธุรกิจลง
• ในกรณีเงนิ เฟ้อที่เกดิ จากต้นทุนการผลติ
รัฐบาลจะแกป้ ัญหาโดยใชน้ โยบายภาษี การยกเวน้ ภาษีหรือลดอตั ราดอกเบ้ียบาง
ประเภท

2. นโยบายการเงินการคลงั ในการแก้ปัญหาการว่างงาน

• รัฐบาลจะดาํ เนินนโยบายการคลงั โดยใชง้ บประมาณแบบขาดดุล
• มุ่งเพม่ิ การใชจ้ ่ายเพอ่ื กระตุน้ ใหม้ ีการผลิตสินคา้ และบริการเพ่มิ ข้ึน
• ธนาคารกลางจะดาํ เนินนโยบายการเงินแบบผอ่ นคลายโดยปรับลดอตั รา

ดอกเบ้ีย
• ดาํ เนินนโยบายปรับลดอตั ราเงินสดสาํ รองตามกฎหมายของธนาคารพาณิชย์
• มีการสนบั สนุนใหธ้ นาคารพาณิชยป์ ลอ่ ยสินเช่ือใหม้ ากข้ึน


Click to View FlipBook Version