The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เศรษฐกิจพอเพียง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ohatakong, 2021-10-20 05:14:37

เศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง
กับการพัฒนาประเทศ

ปั ญหาท้องถิ่นไทย
มีการนำทรัพยากรมาใช้จำนวนมาก
นำมาสู่ปัญหาความเสื่อมโทรมของสภาวะแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของคนในท้องถิ่น

ปัญหา สภาพปัญหา สาเหตุของปัญหา แนวทางการป้องกัน
และแก้ไขปัญหา

ด้านสังคม ความยากจน การขาดแคลนที่ดินทำกิน นำหลักการแนวคิดเศรษฐกิจ
แรงงานต่างด้าว สภาพภูมิอากาศ พอเพียงมาใช้ในการดำเนินชีวิต
การบริหารจัดการ รัฐเข้าไปให้
ท้องถิ่นเพื่อนำไปสู่ ภาระค่าใช้จ่ายสูง ความช่วยเหลือ
การพึ่งตนเอง ขาดแคลนวิทยาการ ลดต้นทุนการผลิต

สมัยใหม่

ปั ญหาท้องถิ่นไทย
มีการนำทรัพยากรมาใช้จำนวนมาก
นำมาสู่ปัญหาความเสื่อมโทรมของสภาวะแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของคนในท้องถิ่น

ปัญหา สภาพปัญหา สาเหตุของปัญหา แนวทางการป้องกัน
และแก้ไขปัญหา
ด้าน ความเหลื่อมล้ำของ ที่มุ่งกกาารรพเัตฒิบนโาตเทศารงษกฐากิรจผลิต
เศรษฐกิจ การกระจายรายได้ การพึ่งพมาากปัเจกิจนัยไภปายนอก สร้างชุมชนเข้มแข็ง
โครงภสารค้ากงากราเรกผษลติตรจาก สร้างศักยภาพ
ค่าครองชีพ ของภากวาะรเผัศนรผษวฐนกิจโลก ทางการแข่งขัน

การบริโภคที่ฟุ่มเฟือย ปรับเปลี่ยนค่านิยม
ในการบริโภค

ลดการพึ่งพาจากภายนอก

ปั ญหาท้องถิ่นไทย
มีการนำทรัพยากรมาใช้จำนวนมาก
นำมาสู่ปัญหาความเสื่อมโทรมของสภาวะแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของคนในท้องถิ่น

ปัญหา สภาพปัญหา สาเหตุของปัญหา แนวทางการป้องกัน
ความเสื่อมโทรม และแก้ไขปัญหา
ด้าน ของทรัพยากร
สิ่งแวดล้อม ทีก่มุา่งรขพัยฒานยาเชเิศงรปษริฐมกาิจณ พัฒนาเศรษฐกิจ
ธรรมชาติ ควบคู่กับการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
คคน่าในนิยสัมงกคามรทีบ่เพริิ่โมภมคาขกอขึง้น สร้างค่านิยมในคุณภาพชีวิต
การมุ่งใช้เครื่องจักร ใกช้าเรคผรื่ลอิตงจอักย่รางเเทหคมโานะโสลมยี
ในการผลิตสินค้า ฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม
แทนการใช้แรงงานคน



แนวทาง การบริหารจัดการกระบวนการ
ชุมชนเข้มแข็ง
การแก้ปัญหาและ
การสร้างความมั่นคง
08พั ฒนาท้องถิ่น ของเศรษฐกิจชุมชน

ตามปรัชญาของ การเสริมสร้างศักยภาพชุมชน
เศรษฐกิจพอเพี ยง ในการอยู่ร่วมกันกับธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

การเสริมสร้างทุน
เพื่ อการพั ฒนาประเทศอย่างยั่งยืน

ขกัอบงกเศารรแพษันฒฐวกนคิิจดาพปอรเะพเีทยศง

ข้อควรคำนึงในการนำ
ปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงมาใช้

การพึ่งพาตนเองเป็นหลัก พิจารณาถึงความพอดี

การสร้างความสามัคคี ครอบคลุมทั้งทางด้านจิตใจ สังคม
เทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ

ลักษณะความพอดีในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ด้านสังคม

ด้านจิตใจ รู้ รัก สามัคคี
ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
เอื้ออาทร ประนีประนอม สร้างความเข้มแข็งให้
จิตใจเข้มแข็ง มีจิตสำนึกที่ดี ครอบครัวและชุมชน
คำนึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม

ด้านเศรษฐกิจ ด้านทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม

ไม่เสี่ยงเกินไป พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญา
ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเท่าที่จำเป็นอย่าง
คิดวางแผนรอบคอบ ระมัดระวัง
มีภูมิคุ้มกัน รู้จักใช้เทคโนโลยีให้สอดคล้องกับ
ความต้องการและเหมาะสมกับ
สภาพแวดล้อม

1 ผู้ คนในชุมชนดำเนินชีวิต
อย่ างมีความสุข

เป้าหมายของ

ปรัชญา
2 สมาชิกในชุมชนเกิดความสามัคคี



เศรษฐกิจพอเพียง 3 สร้างความสมดุลในทุกๆ ด้าน


4 เศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็ง

การนำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ปรระะดเัทบศ
มาใช้ในการพัฒนาระดับต่างๆ

บุรคะคดัลบ ระดับชุมชน

ความสัมพันธ์ของแนวคิด
เศรษฐกิจพอเพียงกับระบบสหกรณ์

มีการบริหารจัดการในรูปแบบของสหกรณ์

สหกรณ์

เป็นองค์กรที่เกิดจากการรวมกลุ่มบุคคลที่มารวมตัวโดยสมัครใจ
เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้เกิดประโยชน์ในการสนองความต้องการ
และบรรลุเป้าหมายของสมาชิกที่เป็นเจ้าของร่วมกัน

พร้อมไหม

ลักษณะ 1 เกิดจากการรวมตัวกันของกลุ่มคนด้วยความสมัครใจ
ของสหกรณ์ 2 มีวัตถุประสงค์ในการดำเนินธุรกิจที่แน่นอน

3 มีการจดทะเบียนถูกต้องตามกฏหมาย

ความเป็นมาของสหกรณ์

เกิดขึ้นครั้งแรกในทวีปยุโรป
มูลเหตุมาจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม

รวมกลุ่มคนที่มีปัญหาเศรษฐกิจ ไม่สามารถช่วยเหลือตนเอง

โดยลำพัง ร่วมทุน กำลังด้วยความสมัครใจ ยืดหลักประชาธิปไตย ทุกรอเบิร์ต โรเบอร์ต โอเวน

คนมีความเสมอภาค เป็นเจ้าของร่วมกัน ไม่ถือทรัพย์เป็นใหญ่ บิดาแห่งการสหกรณ์ของโลก
ไม่แข่งขันกัน ผลประโยชน์นำมาแบ่งปันกันอย่างยุติธรรม



หลักการของสหกรณ์

การเป็นสมาชิก การควบคุมตาม การจำกัดอัตรา
ด้วยความสมัครใจ หลักประชาธิปไตย ดอกเบี้ยที่จ่าย
มีการดำเนินงาน ให้แก่ทุนเรือนหุ้น
และไม่กีดกัน
การเข้าเป็นสมาชิก โดยอิสระ

หลักการของสหกรณ์

การจัดสรรผล ส่งเสริม การร่วมมือ
ประโยชน์ทาง การศึกษา ทางสหกรณ์

เศรษฐกิจ ทุกระดับ

ประเภทสหกรณ์ของประเทศไทย

สหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์
การเกษตร ประมง ร้านค้า ออมทรัพย์

สหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์
บริการ เครดิต นิคม
ยูเนียน

สหกรณ์กับการพัฒนาเศรษฐกิจ

นำหลักการของสหกรณ์มาปรับใช้ในการพัฒนาประเทศ
นำวิธีการรวมกลุ่มสหกรณ์มาแก้ปัญหาเศรษฐกิจเบื้องต้น

การนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
มาปรับใช้ในการพัฒนาประเทศ ที่เน้นให้
คนไทยดำรงตนอยู่บนทางสายกลาง อยู่ใน
ความพอดี พอประมาณ พึ่งพาตนเองได้

มีภูมิต้านทานกับการเปลี่ยนแปลง
รวมกลุ่มสร้างชุมชนเข้มแข็ง เพื่อสร้าง
ความมั่งคงทางเศรษฐกิจ ลดการพึ่งพา
ปัจจัยจากภายนอก จะทำให้คนไทยสามารถ
พึ่งพาตนเองได้ และร่วมกันอย่างสันติสุข

พบกันต่อในหน่วยที่ 3


Click to View FlipBook Version