The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by songprasertchadaporn, 2021-04-01 23:53:45

การทำงาน

การทำงาน

๕๑

ก. เพือ่ พัฒนาการพูดในครัง้ ต่อไป

ข. เพอื่ ทราบข้อบกพรอ่ งในการพูด

ค. เพื่อเกบ็ รายละเอยี ดหลักฐานในการพดู

ง. เพ่ือสรา้ งความสัมพนั ธ์อนั ดีระหว่างผูพ้ ดู และผูฟ้ งั

๒๖. การพดู สาธิตมีความจำเป็นในงานอาชีพหลายสาขา ยกเวน้ ขอ้ ใด

ก. ช่างอุตสาหกรรม สาธติ วธิ กี ารใช้เครือ่ งมือ เคร่อื งจกั ร

ข. นักธุรกิจต้องสาธิตสินคา้ และเสนอขายสนิ คา้

ค. ศิลปกรรม นำเสนอการวาดภาพที่สวยงามแก่ลูกค้า

ง. คหกรรมต้องสาธติ การทำอาหาร การแกะสลัก

๒๗. ข้อใดคือความหมายของการสมั ภาษณ์งาน

ก. การทำความเข้าใจกนั ระหว่างนายจ้างกบั ผสู้ มคั ร เพื่อให้มแี นวทางปฏิบตั ิร่วมกัน

ข. การตดิ ต่อส่ือสารระหว่างนายจ้างกบั ผ้สู มคั ร เพ่อื ความเป็นอนั หนึ่งอันเดียวกนั อย่างเหมาะสม

ค. การตรวจสอบความรู้พนื้ ฐานในตำแหนง่ หนา้ ทีท่ มี ีผู้สมัครได้ส่งใบสมคั รแก่บริษทั เพ่ือคัดเลอื ก

ทำงาน

ง. การสนทนาระหวา่ งนายจ้างกบั ผ้สู มคั รงาน เพ่ือหาความสอดคล้องคุณสมบัติของผ้สู มัครกบั ความ

ตอ้ งการของนายจ้าง

๒๘. คำถามประเภทใดทผี่ ตู้ อบจะไม่คอ่ ยมีโอกาสแสดงความคิดเหน็

ก. คำถามเปิด ข. คำถามปดิ

ค. คำถามทวน ง.คำถามหยงั่

๒๙. “คณุ มีความอดทนที่จะรับฟงั ความคดิ เหน็ ของคนอนื่ ไดห้ รือไม่ เพราะเหตุใด”

ก. ได้แนน่ อน ถ้าความคิดน้ันจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ตัวเราและการทำงาน

ข. ได้อยา่ งมากเลย เพราะความคิดเห็นของคนอ่ืนอาจดีกว่าของเรา

ค. ได้อยแู่ ล้ว เพราะหลายความคิดดกี ว่าความคิดเดียว

ง. ได้โดยไม่มีขอ้ แม้ เพราะถือว่าเป็นเกยี รตอิ ย่างยง่ิ

๓๐. ถา้ คณุ มีมเี จ้านายเปน็ คนเจา้ อารมณ์ คุณจะทำอย่างไร

ก. จะพยายามเข้าใจเขา คอยดแู ลอย่างใกลช้ ิด และยอมรบั ฟงั ความคดิ เขาเสมอ

ข. จะพยายามใจเยน็ ระมัดระวงั ความผิดพลาด และหลกี เลี่ยงการโตเ้ ถียงโดยตรง

ค. จะอ่อนนอ้ มถ่อมตนและโอนอ่อนผ่อนตามเจ้านายอย่างสมำ่ เสมอ

ง. จะปฏิบตั ิตามหนา้ ที่ไดร้ บั มอบหมายอยา่ งเต็มความสามารถ

๓๑. เพราะเหตุใดจงึ ต้องเสนอรายงานเป็นลายลักษณ์อักษร

ก. เป็นสือ่ กลางในการตดิ ต่อประสานงาน

ข. เพือ่ ประเมินผลการปฏบิ ัติงานที่ทำแลว้

ค. เพ่ือเสนอรายละเอียดท่ีชดั เจน

ง. เพอ่ื เกบ็ ไวเ้ ปน็ หลักฐาน

๓๒. ข้อใดคือความหมายของการโฆษณา

ก. วธิ กี ารท่ีให้ประชาชนเหน็ หรอื ทราบข้อเท็จจริง

๕๒

ข. วิธกี ารโฆษณาสนิ คา้ แก่ประชาชนทีส่ นใจซอ้ื ขาย

ค. การพยายามช้ีแจงอยา่ งมเี หตุผลเพ่อื ขายสนิ คา้ และบริการ

ง.การถา่ ยทอดความรู้ ความคิดแกผ่ บู้ รโิ ภคทั้งทางตรงและทางอ้อม

๓๓. ข้อใดเป็นการโฆษณาระดับชาติ

ก. ศัลยกรรมความงาม ศลั ยกรรมเลเซอร์

ข. อย่าด่วนตัดสนิ ใจเพราะเราลดน้ำหนกั ได้ถกู กว่า

ค. การบินไทย รักคูณเทา่ ฟ้า

ง. สถาบันทที่ ันสมยั เจาะจงใช้เครอ่ื งพิมพ์ดดี

๓๔. ข้อใดเป็นการโฆษณาเฉพาะวิชาชีพ

ก. โตชบิ า นำสง่ิ ท่ีดีสู่ชวี ติ ข. ปูนซีเมนต์.....เหมาะกบั การก่อสร้าง

ค. ...เตมิ ความมนั่ ใจไมร่ ู้สกึ กงั วล ง. ปวดแสบปวดรอ้ น ผ่อนคลายดว้ ย...

๓๕. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ “การโฆษณาประชาสัมพันธ์”

ก. การโฆษณาเพื่อการขอความสนบั สนนุ

ข. การโฆษณาเพื่อขายสง่ หรือคา้ ปลีก

ค. การโฆษณาตวั สถาบนั

ง. การโฆษณาสง่ เสรมิ สงั คม

๓๖. ผู้โฆษณาขายสง่ สนิ คา้ ประเภทเครื่องอุปโภคคือใคร

ก. บรษิ ทั เชลล์ เอส โซ่ คาลเท็กซ์

ข. บริษัทบญุ รอดบรวิ เวอร่ี

ค. บรษิ ัท ลเี วอรบ์ ราเธอร์

ง. บริษทั การบินไทย จำกัด

๓๗. ข้อใดคือความหมายของประชาสัมพนั ธ์

ก. การเผยแพรค่ วามรขู้ ่าวสารของหน่วยงานแกป่ ระชาชน สว่ นมากเป็นการสรา้ งภาพลักษณท์ ี่ดีของ

หนว่ ยงาน

ข. การนำเสนอข้อมูลท่ีเปน็ จริงอยา่ งละเอยี ดด้วยความถูกต้องชดั เจน

ค. การให้ความรู้และการสร้างทศั นะคตใิ ห้แก่ประชาชนทราบอย่างสม่ำเสมอ

ง. การเขียนเรอื่ งราวให้กระชับชดั เจน ตรงประเดน็ ทสี่ ุด

๓๘. ข้อใด ไมใ่ ช่ จดุ ประสงคใ์ นการเขียนประชาสมั พันธ์

ก. บอกกลา่ วให้ทราบให้เข้าใจ ข. เพอื่ เผยแพรผ่ ่านสอ่ื เทคโนโลยี

ค. แกไ้ ขความเข้าใจผิด ง. ป้องกันไม่ให้เกิดความเขา้ ใจผิด

๓๙. คำขวญั ในข้อใดแตกต่างจากข้ออ่ืน

ก. เปลวเทียนใหแ้ สง รามคำแหงให้ทาง

ข. ททบ.๕ นำคุณคา่ สูส่ งั คมไทย

ค. ธนาคารกรงุ ไทย คเู่ ศรษฐกิจไทย ใกลช้ ดิ ชมุ ชน

ง. มมุ มองใหม่ เมืองไทย Unseen Thailand

๕๓

๔๐. การเขยี นประชาสัมพันธ์ประเภทใด ทแี่ ทรกขอ้ เสนอแนะหรอื ทัศนะของผ้เู ขียน

ก. การเขียนคำบรรยายภาพ ข. การเขียนบทสัมภาษณ์

ค. การเขยี นประกาศ ง. การเขียนบทความ

๕๔

ตัวอย่าง แบบฝึกหัด

๕๕

หลกั ฐานประกอบการประเมินทีเ่ กดิ จากการปฏบิ ตั หิ น้าท่ี
ตำแหน่งครูอตั ราจ้าง

ดา้ นการจัดการเรียนการสอน
- แผนการจัดการเรียนรู้ การฟงั และพูดเพื่อพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ

๕๖

แผนการสอน หน่วยท่ี 1
ชื่อวชิ า 3000-1101
ช่ือหน่วย ความรู้ท่ัวไปเกยี่ วกบั ภาษาไทย สอนคร้ังท่ี 1
ชื่อเร่ืองหรือช่ืองาน ความรู้ท่ัวไปเกย่ี วกบั ภาษาไทย ชั่วโมงรวม 6
จานวนช่ัวโมง 3
หัวข้อเร่ืองและงาน
ปฐมนิเทศ

1. ลกั ษณะเฉพาะของภาษาไทย
2. ความรู้เร่ืองคา
สาระสาคัญ

ความรู้ทว่ั ไปเก่ียวกบั ภาษาไทยจะศึกษาเก่ียวกบั ลกั ษณะเฉพาะของภาษาไทย ความรู้เร่ืองคา ความรู้เรื่อง
ประโยคและความรู้เร่ืองสานวนไทย เน่ืองจากเน้ือหาสาระและความรู้ต่างๆ ในปัจจุบนั ไดพ้ ฒั นาข้ึนอยา่ ง
รวดเร็ว การใชภ้ าษาไทยแทรกอยใู่ นทุกกิจกรรมของชีวิต เพราะเป็นตวั กลาง ในการถา่ ยทอดความรู้และ
ประสบการณ์ต่างๆ ตลอดเวลา ดงั น้นั จึงควรศึกษาความรู้ทวั่ ไปเกี่ยวกบั ภาษาไทย เพอ่ื จะไดใ้ ชภ้ าษาไทย
ในชีวิตประจาวนั ไดเ้ ป็นอยา่ งดีและมีคุณภาพ

สมรรถนะประจาหน่วย

อธิบายลกั ษณะเฉพาะของภาษาไทย ความรู้เรื่องคา ความรู้เร่ืองประโยค ความรู้เรื่องสานวนไทย
ดว้ ยความมีเหตุผลอยา่ งรอบคอบ ดว้ ยสติปัญญา

จุดประสงค์การเรียนการสอน

จดุ ประสงค์ทว่ั ไป

1. อธิบายลกั ษณะเฉพาะของภาษาไทยได้
2. อธิบายเก่ียวกบั ความรู้เรื่องคาได้
3. อธิบายลกั ษณะเฉพาะของภาษาไทย ความรู้เรื่องคา ดว้ ยความมีเหตุผลอย่างรอบคอบ ดว้ ย

สติปัญญา

๕๗

2. จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
1. มีการพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคท์ ่ีผสู้ อนสามารถ

สงั เกตเห็นไดใ้ นดา้ นความมีมนุษยสมั พนั ธ์ ความมีวนิ ยั ความรับผดิ ชอบ ความเชื่อมนั่ ในตนเอง ความ
สนใจใฝ่รู้ ความรู้รักสามคั คี ความกตญั ญกู ตเวที
วเิ คราะห์ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
หลกั ความพอประมาณ

- พอประมาณกบั วสั ดุอุปกรณ์ที่ใชใ้ นการเรียน
- พอประมาณกบั เวลาท่ีใชใ้ นการเรียน
หลกั ความมเี หตุผล
- เพือ่ ใหม้ ีทกั ษะในการใชภ้ าษาไทย
- เพื่อเป็นการสร้างนิสยั ในการใชภ้ าษาไทยในชีวิตประจาวนั
หลกั ภูมคิ ้มุ กนั
- เพอ่ื ป้ องกนั อนั ตรายในการปฏิบตั ิงาน
- เพือ่ มีจิตใจท่ีเขม้ แขง็ ไมม่ วั เมาในอบายมุข
เงื่อนไขความรู้
- ความสาคญั ในการใชภ้ าษาไทยในการติดต่อส่ือสาร
- จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ มาตรฐานรายวิชา คาอธิบายรายวิชา
- การวดั และการประเมินผล
- ลกั ษณะเฉพาะของภาษาไทยและความรู้เรื่องคา

๕๘

เงื่อนไขคณุ ธรรม
- ผเู้ รียนมีความรอบรู้ ระมดั ระวงั และมีความซื่อสัตยส์ ุจริต
- ความประมาณกบั วสั ดุอปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการเรียน
การเช่ือมโยง 4 มิติ
สังคม
1. ผเู้ รียนสามารถทางานเป็นกลุ่ม มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และยอมรับความคิดเห็น ของ

ผอู้ ่ืน
2. การใชท้ รัพยากรร่วมกนั ใหเ้ กิดประโยชน์อยา่ งคุม้ คา่
เศรษฐกจิ
1. สามารถใชภ้ าษาไทยในการติดตอ่ สื่อสารใชใ้ นการประกอบอาชีพ
วฒั นธรรม
1. ผเู้ รียนมีจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ
2. มีการแลกเปล่ียนความคิดเห็น ความรู้ดา้ นภาษา เพ่ือการดารงชีพตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
สิ่งแวดล้อม
1. เกิดภูมิปัญญาที่เอ้ืออาทรตอ่ ธรรมชาติ การดารงชีวติ การประกอบอาชีพอยา่ งเหมาะสม

๕๙

เนอื้ หา (หัวข้อเร่ืองท่ีสอนพร้อมคาอธิบาย)
ลกั ษณะเฉพาะของภาษาไทย

1. ภาษาไทยเป็นภาษาคาโดด คาส่วนใหญ่เป็นคาพยางคเ์ ดียว ไมม่ ีเสียงควบกล้า มีความหมาย
สมบูรณ์ในตวั เอง มกั เป็นคาท่ีใชก้ นั มาแตด่ ้งั เดิมในชีวิตประจาวนั

2. ภาษาไทยเป็นภาษาเรียงคา การเรียงคาในภาษาไทยเป็นเรื่องสาคญั ยง่ิ
3. ภาษาไทยมีตวั สะกดตรงตามมาตรา คาไทยแทจ้ ะมีตวั สะกดตรงตามมาตราและไมม่ ีการันต์
มาตราตวั สะกดมี 8 มาตรา
4. ภาษาไทยมีเสียงวรรณยกุ ต์ คาทุกคาในภาษาไทยจะมีเสียงวรรณยกุ ต์ แมจ้ ะไมม่ ีรูปวรรณยกุ ต์
กากบั เมื่อเสียงวรรณยกุ ตเ์ ปลี่ยนไป ความหมายของคายอ่ มเปล่ียนไปดว้ ย
5. ภาษาไทยมีคาลกั ษณนาม ลกั ษณนาม คือคาท่ีใชแ้ สดงลกั ษณะของคานาม ซ่ึงแตกตา่ งกนั ไป มี
ท้งั ลกั ษณนามที่ซ้ากบั นามขา้ งหนา้ และลกั ษณนามท่ีใชค้ าอ่ืนแสดงรูปลกั ษณะ
6. ภาษาไทยมีคาอาการนาม คาอาการนาม
7. ภาษาไทยมีคาพอ้ งรูปพอ้ งเสียง
8. ภาษาไทยมีคาราชาศพั ทแ์ ละคาสุภาพ หมายถึง การใชค้ าใหเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ และฐานะ
ของแตล่ ะบุคคล
9. ภาษาไทยมีวรรคตอน วรรคตอนเป็นการแบ่งความ ถา้ เวน้ วรรคตอนผิด ความหมายจะ
เปล่ียนไป ดงั น้นั การพดู หรือเขยี นในภาษาไทย ตอ้ งแบง่ ระยะระหวา่ งคาหรือขอ้ ความใหถ้ กู ตอ้ ง
10. ภาษาไทยมีการสร้างคา ภาษาไทยเป็นภาษาคาโดด คาด้งั เดิมท่ีมีใชส้ ่วนใหญเ่ ป็นคาพยางค์
เดียว เมื่อสงั คมกวา้ งข้นึ ภาษาก็ตอ้ งขยายตวั ไปตามความตอ้ งการ ภาษาไทยจึงมีการสร้างคา เพอื่ ใหม้ ีคาใช้
ในภาษามากข้นึ
ความรู้เรื่องคา
1. ความหมายของคา
2. ชนิดของคา ตามหลกั ภาษาไทย
3. การเขียนสะกดคา

๖๐

กจิ กรรมการเรียนการสอน

ข้นั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั ตอนการเรียนการสอนหรือกจิ กรรมของนักเรียน

ข้นั นา ข้นั นา
1. ครูแจง้ สาระการเรียนรู้ 1. นกั ศึกษาทาแบบทดสอบก่อนเรียน (pre-test)

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การวดั ผลและ เพื่อทดสอบความรู้พ้นื ฐานเกี่ยวกบั เร่ืองความรู้ทวั่ ไป
ประเมินผล ใหน้ กั ศึกษาทราบ แลว้ ให้ เก่ียวกบั ภาษาไทย โดยใชแ้ บบทดสอบแบบปรนยั
นกั ศึกษาทาแบบทดสอบก่อนเรียน (pre- ชนิด 4 ตวั เลือก จานวน 10 ขอ้
test) เพื่อทดสอบความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกบั
เรื่องความรู้ทว่ั ไปเกี่ยวกบั ภาษาไทย โดยใช้ ข้นั สอน
แบบทดสอบแบบปรนยั ชนิด 4 ตวั เลือก 1. นกั ศึกษาแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละประมาณ 4-5
จานวน 10 ขอ้
คน
ข้นั สอน 2. นกั ศึกษาแตล่ ะกลมุ่ ศึกษาลกั ษณะเฉพาะ
1. ครูใหน้ กั ศึกษาแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ
ของภาษาไทยและชนิดของคาภาษาไทยจากวารสาร,
ประมาณ 4-5 คน หนงั สือพิมพโ์ ดยใหเ้ ลือกคาท่ีเห็นวา่ เกี่ยวขอ้ งกบั
2. ครูใหน้ กั ศึกษาแต่ละกลุ่มศึกษา อาชีพและชีวติ ประจาวนั แลว้ ร่วมกนั พจิ ารณาคา
เหลา่ น้นั วา่ มีความเหมาะสมหรือไม่ เช่น ความ
ลกั ษณะเฉพาะของภาษาไทยและชนิดของ ชดั เจน ส่ือความหมายไดเ้ ขา้ ใจ สละสลวย เป็นรูป
คาภาษาไทยจากวารสาร, หนงั สือพมิ พโ์ ดย ประโยคที่สมบรู ณ์ หรือไม่ ฯลฯ
ใหเ้ ลือกคาที่เห็นวา่ เกี่ยวขอ้ งกบั อาชีพและ
ชีวติ ประจาวนั แลว้ ร่วมกนั พิจารณาคา 3. ตวั แทนกลมุ่ แต่ละกลมุ่ นาเสนอผลงาน
เหล่าน้นั วา่ มีความเหมาะสมหรือไม่ เช่น หนา้ ช้นั เรียน
ความชดั เจน สื่อความหมายไดเ้ ขา้ ใจ
สละสลวย เป็นรูปประโยคท่ีสมบรู ณ์ 4. นกั ศึกษาฟังครูอธิบายเรื่องหลกั เกณฑ์
หรือไม่ ฯลฯ ลกั ษณะเฉพาะของภาษาไทย ชนิดของคาภาษาไทย
เพ่ือใชใ้ นการสื่อสารอยา่ งมีประสิทธิภาพ
3. ครูใหต้ วั แทนกลมุ่ แตล่ ะกลมุ่
นาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน

4. ครูอธิบายเรื่องหลกั เกณฑ์
ลกั ษณะเฉพาะของภาษาไทย ชนิดของคา
เพอื่ ใชใ้ นการสื่อสารอยา่ งมีประสิทธิภาพ

๖๑

5. ครูใหน้ กั ศึกษานาคาที่รวบรวมไว้ 5. นกั ศึกษานาคาท่ีรวบรวมไว้ มาแตง่ ใหเ้ ป็น

มาแตง่ ใหเ้ ป็นรูปประโยคใหม่ท่ีสละสลวย รูปประโยคใหมท่ ่ีสละสลวยเหมาะสมในการใช้

เหมาะสมในการใชส้ ื่อสารใหไ้ ดอ้ ยา่ งนอ้ ย สื่อสารใหไ้ ดอ้ ยา่ งนอ้ ยกล่มุ ละ 15 ประโยค

กลมุ่ ละ 15 ประโยค

6. ครูใหน้ กั ศึกษาแลกเปลี่ยนกบั 6. นกั ศึกษาแลกเปลี่ยนกบั กลมุ่ อ่ืน ๆ เพ่ือ

กลุม่ อื่น ๆ เพ่ือศึกษาและประเมินผลงานซ่ึง ศึกษาและประเมินผลงานซ่ึงกนั และกนั โดยแตล่ ะ

กนั และกนั โดยแตล่ ะกลมุ่ ใหก้ ล่มุ อ่ืนอยา่ ง กล่มุ ใหก้ ลมุ่ อ่ืนอยา่ งนอ้ ย 2 กลมุ่ ประเมินผลงานของ

นอ้ ย 2 กลุม่ ประเมินผลงานของตน ตน

7. ครูใหน้ กั ศึกษาทากิจกรรมท่ี 1 – 2 7. ครูใหน้ กั ศึกษาทากิจกรรมที่ 1 - 2

ข้นั สรุป ข้ันสรุป

ครูและนกั ศึกษาร่วมกนั สรุป ครูและนกั ศึกษาร่วมกนั สรุปบทเรียนโดย

บทเรียนโดยการอภิปราย ซกั ถามและแสดง การอภิปราย ซกั ถามและแสดงความคดิ เห็นร่วมกนั
ความคดิ เห็นร่วมกนั ในประเด็น “เราจะใช้ ในประเด็น “เราจะใชค้ าไทยใหเ้ หมาะสมตามหลกั
คาไทยใหเ้ หมาะสมตามหลกั ปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพยี งไดอ้ ยา่ งไร” (ความมี ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไดอ้ ยา่ งไร” (ความมี
เหตผุ ล ความพอประมาณ การมีภูมิคมุ้ กนั เหตผุ ล ความพอประมาณ การมีภูมิคุม้ กนั ในตวั ดี

ในตวั ดี โดยใชค้ วามรู้ที่เรียนมาบูรณาการ โดยใชค้ วามรู้ที่เรียนมาบูรณาการอยา่ งมีคุณธรรม)

อยา่ งมีคณุ ธรรม)

๖๒

งานทีม่ อบหมายหรือกจิ กรรม

ก่อนเรียน

ทดสอบก่อนเรียน

ขณะเรียน

1. แบง่ กล่มุ
2. ศึกษาและลกั ษณะของคาและชนิดของคาจากหนงั สือพิมพ์ วารสาร
3. นาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน
4. แตง่ ประโยค
5. แลกเปลี่ยนเรียนรู้กบั กลุม่ อ่ืน

หลงั เรียน

ทากิจกรรมท่ี 1 และ2

สื่อการเรียนการสอน

ส่ือส่ิงพมิ พ์

1. หนงั สือพิมพ์ วารสาร
2. ใบมอบหมายงาน
3. หนงั สือแบบเรียน

สื่อโสตทัศน์

1. คอมพิวเตอร์

2. อินเทอร์เน็ต

๖๓

การประเมินผล

ก่อนเรียน
ทาแบบทดสอบก่อนเรียน

ขณะเรียน

1. สงั เกตการทากิจกรรมกล่มุ
2. ตรวจผลงาน

หลงั เรียน

1. ประเมินผลงาน
2. กิจกรรมท่ี 1 และ2

๖๔

แผนการสอน หน่วยท่ี 1
ช่ือวชิ า 3000-1101
ชื่อหน่วย ความรู้ทว่ั ไปเก่ยี วกบั ภาษาไทย สอนคร้ังที่ 2
ช่ือเรื่องหรือชื่องาน ความรู้ทั่วไปเกยี่ วกบั ภาษาไทย ชั่วโมงรวม 6
จานวนช่ัวโมง 3
หัวข้อเร่ืองและงาน
ปฐมนิเทศ

1. ความรู้เร่ืองประโยค
2. ความรู้เรื่องสานวนไทย
สาระสาคัญ

ความรู้ทวั่ ไปเกี่ยวกบั ภาษาไทยจะศึกษาเกี่ยวกบั ลกั ษณะเฉพาะของภาษาไทย ความรู้เร่ืองคา ความรู้เร่ือง
ประโยคและความรู้เรื่องสานวนไทย เนื่องจากเน้ือหาสาระและความรู้ตา่ งๆ ในปัจจุบนั ไดพ้ ฒั นาข้ึนอยา่ ง
รวดเร็ว การใชภ้ าษาไทยแทรกอยใู่ นทกุ กิจกรรมของชีวติ เพราะเป็นตวั กลาง ในการถา่ ยทอดความรู้และ
ประสบการณ์ตา่ งๆ ตลอดเวลา ดงั น้นั จึงควรศึกษาความรู้ทวั่ ไปเก่ียวกบั ภาษาไทย เพ่อื จะไดใ้ ชภ้ าษาไทย
ในชีวติ ประจาวนั ไดเ้ ป็นอยา่ งดีและมีคุณภาพ

สมรรถนะประจาหน่วย

อธิบายลกั ษณะเฉพาะของภาษาไทย ความรู้เรื่องคา ความรู้เร่ืองประโยค ความรู้เร่ืองสานวนไทย
ดว้ ยความมีเหตผุ ลอยา่ งรอบคอบ ดว้ ยสติปัญญา

จดุ ประสงค์การเรียนการสอน

จดุ ประสงค์ทัว่ ไป

1. อธิบายเก่ียวกบั ความรู้เรื่องประโยคได้
2. อธิบายเก่ียวกบั ความรู้เร่ืองสานวนไทยได้
3. อธิบายความรู้เรื่องประโยค ความรู้เรื่องสานวนไทย ดว้ ยความมีเหตุผลอย่างรอบคอบ ดว้ ย

สติปัญญา

๖๕

2. จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
1. มีการพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคท์ ่ีผสู้ อนสามารถ

สงั เกตเห็นไดใ้ นดา้ นความมีมนุษยสมั พนั ธ์ ความมีวินยั ความรับผดิ ชอบ ความเช่ือมน่ั ในตนเอง ความ
สนใจใฝ่รู้ ความรู้รักสามคั คี ความกตญั ญกู ตเวที
วิเคราะห์ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
หลกั ความพอประมาณ

- พอประมาณกบั วสั ดุอปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการเรียน
- พอประมาณกบั เวลาที่ใชใ้ นการเรียน
หลกั ความมเี หตผุ ล
- เพอื่ ใหม้ ีทกั ษะในการใชภ้ าษาไทย
- เพ่ือเป็นการสร้างนิสยั ในการใชภ้ าษาไทยในชีวติ ประจาวนั
หลกั ภูมคิ ุ้มกนั
- เพือ่ ป้ องกนั อนั ตรายในการปฏิบตั ิงาน
- เพ่ือมีจิตใจที่เขม้ แขง็ ไม่มวั เมาในอบายมขุ
เงือ่ นไขความรู้
- ความสาคญั ในการใชภ้ าษาไทยในการติดต่อสื่อสาร
- จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ มาตรฐานรายวชิ า คาอธิบายรายวิชา
- การวดั และการประเมินผล
- ลกั ษณะเฉพาะของภาษาไทย, ความรู้เรื่องคา, ความรู้เรื่องประโยค, ความรู้เรื่องสานวนไทย
เงือ่ นไขคณุ ธรรม
- ผเู้ รียนมีความรอบรู้ ระมดั ระวงั และมีความซื่อสตั ยส์ ุจริต

๖๖

- ความประมาณกบั วสั ดุอปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการเรียน
การเช่ือมโยง 4 มติ ิ
สังคม

1. ผเู้ รียนสามารถทางานเป็นกลุ่ม มีการแลกเปล่ียนความคดิ เห็น และยอมรับความคิดเห็น ของ
ผอู้ ื่น

2. การใชท้ รัพยากรร่วมกนั ใหเ้ กิดประโยชน์อยา่ งคุม้ ค่า
เศรษฐกจิ

1. สามารถใชภ้ าษาไทยในการติดตอ่ สื่อสารใชใ้ นการประกอบอาชีพ
วฒั นธรรม

1. ผเู้ รียนมีจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ
2. มีการแลกเปล่ียนความคิดเห็น ความรู้ดา้ นภาษา เพ่อื การดารงชีพตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
ส่ิงแวดล้อม
1. เกิดภมู ิปัญญาท่ีเอ้ืออาทรต่อธรรมชาติ การดารงชีวิตการประกอบอาชีพอยา่ งเหมาะสม

๖๗

เนอื้ หา (หัวข้อเรื่องท่สี อนพร้อมคาอธบิ าย)
ความรู้เร่ืองประโยค

1. ความหมายของประโยค
ราชบณั ฑิตยสถาน (2546 : 711) ให้ความหมายของประโยคไวว้ ่า คาพดู หรือขอ้ ความ ที่

ไดค้ วามบริบูรณ์ตอนหน่ึงๆ เช่น ประโยคบอกเลา่ ประโยคปฏิเสธ ประโยคคาถาม
2. ส่วนประกอบของประโยค
ส่วนประกอบของประโยค ประโยคโดยทวั่ ไปประกอบดว้ ยส่วนประกอบสาคญั 2 ส่วน

คอื ภาคประธาน และภาคแสดง ซ่ึงจะขาดส่วนหน่ึงส่วนใดไมไ่ ด้
3. ชนิดของประโยค
ชนิดของประโยค การแบ่งชนิดของประโยค อาจทาไดห้ ลายวิธี อย่ทู ่ีว่าจะใชเ้ กณฑ์ใด

เป็ นหลกั ในการพิจารณา เช่น การแบ่งชนิดของประโยคตามลกั ษณะโครงสร้าง จะแบ่งไดเ้ ป็ น 3 ชนิด
ไดแ้ ก่ ประโยคความเดียว ประโยคความรวม และประโยคความซอ้ น ถา้ แบง่ ตามลกั ษณะการเรียงลาดบั คา
แบ่งไดเ้ ป็ น 4 ชนิด คือ ประโยคกรรตุ ประโยคกริยา ประโยคกรรม และประโยคการิต ในการเรียนการ
สอนคร้ังน้ีจะแบง่ ชนิดของประโยคตามเจตนาของผสู้ ่งสาร ซ่ึงแบ่งออกไดเ้ ป็น 4 ชนิด
ความรู้เร่ืองสานวนไทย

1. ความหมายของสานวน
ราชบณั ฑิตยสถาน (2556 : 1227) ใหค้ วามหมายของสานวนไวว้ า่ หมายถึง ถอ้ ยคาท่ีเรียบเรียง โวหาร บาง
ทีก็ใชว้ า่ สานวนโวหาร; ถอ้ ยคาหรือขอ้ ความที่กล่าวสืบต่อกนั มาชา้ นานแลว้ มีความหมายไม่ตรงตามตวั
หรือมีความหมายอ่ืนแฝงอยู่; ถอ้ ยคาที่แสดงออกมาเป็ นขอ้ ความพิเศษเฉพาะภาษาหน่ึงๆ ; ชนั เซ็งหรือ
ทว่ งทานองในการแตง่ หนงั สือหรือพดู

สรุปไดว้ ่า สานวนไทย หมายถึง กลุ่มคาท่ีเรียบเรียงข้ึนโดยไม่เคร่งครัดหลกั ไวยากรณ์ มีความหมายไม่
ตรงไปตรงมา แต่มีความหมายลึกซ้ึง คมภายในเชิงเปรียบเทียบ

2. ที่มาของสานวนไทย
สานวนไทย มีที่มาจากแหล่งต่างๆ มากมาย ดงั ที่ กาญจนาคพนั ธุ์ (2513 : 3) กล่าวว่า “สานวนน้ันเกิดมา
จากมลู เหตตุ า่ งๆ เป็นตน้ วา่ เกิดจากธรรมชาติ เกิดจากการกระทา เกิดจากส่ิงแวดลอ้ ม เกิดจากอบุ ตั ิเหตุ เกิด
จากการเล่น เกิดจากเรื่องแปลก ๆ ที่ปรากฎข้ึน เกิดจากนิทานตานาน ตลอดจนพงศาวดาร หรื อ
ประวตั ิศาสตร์ มูลเหตดุ งั กล่าว ใครช่างคิด ช่างนึกช่างสงั เกต และเป็นคนมีโวหาร กน็ าเอาแตใ่ จความมาพูด
ส้นั ๆ เป็นการเปรียบบา้ ง เปรยบา้ ง กระทบบา้ ง ประชดประชนั บา้ ง พดู เลน่ สนุกๆ ก็มี พดู เตือนสติใหค้ ิดก็มี
ต่างๆ กนั ”

๖๘

3. คณุ ค่าของสานวนไทย
ใชเ้ ป็นเครื่องเตือนใจใหค้ ิด เป็นเครื่องมือในการอบรมส่ังสอน แนะนาช้ีแนวทางควรปฏิบตั ิ ทาดว้ ยความ
นุ่มนวลละเมียดละไม หลีกเลี่ยงการหกั หาญน้าใจ
กจิ กรรมการเรียนการสอน

ข้นั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั ตอนการเรียนการสอนหรือกจิ กรรมของนกั เรียน

ข้นั นา ข้นั นา

1. ครูยกตวั อยา่ งประโยคและสานวน 1. นกั ศึกษาร่วมกนั พจิ ารณา แสดงความคิดเห็น

ไทย 4-5 ประโยค แลว้ ใหน้ กั ศึกษาร่วมกนั เปรียบเทียบประโยคท้งั 4 ชนิดโดยใหเ้ หตผุ ล
พจิ ารณา แสดงความคดิ เห็นเปรียบเทียบ ประกอบดว้ ย
ประโยคท้งั 4 ชนิดโดยใหเ้ หตุผล

ประกอบดว้ ย ข้นั สอน
1. นกั ศึกษาแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละประมาณ
ข้นั สอน
1. ครูใหน้ กั ศึกษาแบง่ กลมุ่ กล่มุ ละ 4-5 คน
2. นกั ศึกษาคน้ หาชนิดของประโยคและ
ประมาณ 4-5 คน
2. ครูใหน้ กั ศึกษาคน้ หาชนิดของ สานวนไทยจากสื่อสิ่งพมิ พ์ เช่น หนงั สือพมิ พ์
วารสาร อินเตอร์เนต็ ฯลฯ โดยรวบรวมกลุ่มละอยา่ ง
ประโยคและสานวนไทยจากสื่อส่ิงพมิ พ์ นอ้ ย 10 ขอ้ ความ
เช่น หนงั สือพมิ พ์ วารสาร อินเตอร์เน็ต
ฯลฯ โดยรวบรวมกล่มุ ละอยา่ งนอ้ ย 10

ขอ้ ความ 3. ตวั แทนกลุม่ แตล่ ะกลมุ่ นาเสนอผลงาน
3. ครูใหต้ วั แทนกลมุ่ แต่ละกล่มุ หนา้ ช้นั เรียน

นาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน 4. นกั ศึกษาฟังครูอธิบายเรื่องหลกั เกณฑ์
4. ครูอธิบายเรื่องหลกั เกณฑ์ ชนิดของประโยค และสานวนภาษาไทยเพ่ือใชใ้ น
การส่ือสารอยา่ งมีประสิทธิภาพ
ชนิดของประโยค และสานวนภาษาไทย
เพอื่ ใชใ้ นการสื่อสารอยา่ งมีประสิทธิภาพ 5. นกั ศึกษาคน้ หาสานวนไทยพร้อมอธิบาย
ความหมายอยา่ งนอ้ ยกลมุ่ ละ 10 สานวน
5. ครูใหน้ กั ศึกษาคน้ หาสานวนไทย
พร้อมอธิบายความหมายอยา่ งนอ้ ยกลุม่ ละ

10 สานวน 6. นกั ศึกษาแลกเปล่ียนกบั กล่มุ อื่น ๆ เพ่ือ
6. ครูใหน้ กั ศึกษาแลกเปลี่ยนกบั ศึกษาและประเมินผลงานซ่ึงกนั และกนั โดยแตล่ ะ

กล่มุ อื่น ๆ เพื่อศึกษาและประเมินผลงานซ่ึง

๖๙

กนั และกนั โดยแตล่ ะกลุ่มใหก้ ลุม่ อื่นอยา่ ง กลุ่มใหก้ ลุม่ อ่ืนอยา่ งนอ้ ย 2 กล่มุ ประเมินผลงานของ

นอ้ ย 2 กลมุ่ ประเมินผลงานของตน ตน

7. ครูใหน้ กั ศึกษาทากิจกรรมที่ 3 7. ครูใหน้ กั ศึกษาทากิจกรรมท่ี 3

ข้ันสรุป ข้นั สรุป
ครูและนกั ศึกษาร่วมกนั สรุป ครูและนกั ศึกษาร่วมกนั สรุปบทเรียนโดย

บทเรียนโดยการอภิปราย ซกั ถามและแสดง การอภิปราย ซกั ถามและแสดงความคดิ เห็นร่วมกนั
ความคิดเห็นร่วมกนั ในประเด็น “เราจะใช้ ในประเด็น “เราจะใชส้ านวนไทยใหเ้ หมาะสมตาม
สานวนไทยใหเ้ หมาะสมตามหลกั ปรัชญา หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งไดอ้ ยา่ งไร” (ความมี
เศรษฐกิจพอเพยี งไดอ้ ยา่ งไร” (ความมี เหตผุ ล ความพอประมาณ การมีภมู ิคุม้ กนั ในตวั ดี
เหตผุ ล ความพอประมาณ การมีภมู ิคุม้ กนั โดยใชค้ วามรู้ท่ีเรียนมาบูรณาการอยา่ งมีคุณธรรม)
ในตวั ดี โดยใชค้ วามรู้ที่เรียนมาบูรณาการ และใหน้ กั ศึกษาทาแบบทดสอบหลงั เรียน
อยา่ งมีคุณธรรม) และใหน้ กั ศึกษาทา
แบบทดสอบหลงั เรียน

งานท่มี อบหมายหรือกจิ กรรม

ก่อนเรียน
นกั ศึกษาแสดงความคดิ เห็นเปรียบเทียบประโยคท้งั 4 ชนิด

ขณะเรียน
1. แบง่ กลมุ่
2. ศึกษาและลกั ษณะของคาและสานวนไทยจากหนงั สือพมิ พ์ วารสาร
3. นาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน
4. แตง่ ประโยคและสานวนไทย
5. แลกเปลี่ยนเรียนรู้กบั กลุ่มอ่ืน

หลงั เรียน
ทาแบบทดสอบหลงั เรียน

ส่ือการเรียนการสอน
ส่ือส่ิงพมิ พ์

1. หนงั สือพมิ พ์ วารสาร

๗๐

2. ใบมอบหมายงาน
3. หนงั สือแบบเรียน
สื่อโสตทศั น์
1. คอมพิวเตอร์
2. อินเทอร์เน็ต

การประเมินผล

ก่อนเรียน
1. การแสดงความคดิ เห็นเปรียบเทียบประโยค

ขณะเรียน

1. สงั เกตการทากิจกรรมกลุ่ม
2. ตรวจผลงาน

หลงั เรียน

1. ประเมินผลงาน
2. กิจกรรมที่ 3
3. ทดสอบหลงั เรียน

๗๑

แผนการสอน หน่วยท่ี 2
ช่ือวชิ า 3000-1101
ชื่อหน่วย ความรู้เกยี่ วกบั การสื่อสาร สอนคร้ังที่ 3
ช่ือเรื่องหรือชื่องาน ความรู้เกี่ยวกบั การส่ือสาร ชั่วโมงรวม 3
จานวนช่ัวโมง 3
หัวข้อเรื่องและงาน
1. ความหมายการส่ือสาร

2. จุดประสงคก์ ารส่ือสาร

3. องคป์ ระกอบการสื่อสาร
4. ประเภทของการสื่อสาร

5. อุปสรรคของการสื่อสาร

สาระสาคัญ

การสื่อสารเป็ นปัจจัยสาคัญในการดาเนินชีวิต เพราะเป็ นเคร่ืองมือในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด
ประสบการณ์ และทศั นคติ มนุษยจ์ ึงมีความจาเป็ นท่ีตอ้ งใช้การสื่อสารตลอดชีวิต เร่ิมจากการส่ือสาร
ภายในตนเอง และขยายวงกวา้ งข้นึ ซ่ึงตอ้ งมีการสัมพนั ธ์กบั ผอู้ ่ืน เพ่อื ทากิจกรรมร่วมกนั ตลอดเวลา ดงั น้นั
จึงตอ้ งศึกษาหาความรู้เกี่ยวกบั การสื่อสาร เพื่อนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั และพฒั นาอาชีพอย่างมี
คณุ ภาพตอ่ ไป

สมรรถนะประจาหน่วย
สื่อสารในชีวติ ประจาวนั และพฒั นาอาชีพ ดว้ ยความมีเหตผุ ล และมีภูมิคุม้ กนั ในตวั เอง

จดุ ประสงค์การเรียนการสอน
จดุ ประสงค์ท่วั ไป

1. อธิบายความหมายการส่ือสารได้

2. บอกจุดประสงคก์ ารส่ือสารได้

๗๒

3. แยกองคป์ ระกอบการส่ือสารได้
4. แยกประเภทของการสื่อสารได้
5. บอกอุปสรรคของการส่ือสารได้
6. สารสารในชีวติ ประจาวนั และพฒั นาอาชีพดว้ ยความมีเหตุผล และมีภมู ิคมุ้ กนั ในตวั เอง
2. จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
1. มีการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคท์ ่ีผสู้ อนสามารถ
สงั เกตเห็นไดใ้ นดา้ นความมีมนุษยสมั พนั ธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมนั่ ในตนเอง ความ
สนใจใฝ่รู้ ความรู้รักสามคั คี ความกตญั ญูกตเวที
วเิ คราะห์ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
หลกั ความพอประมาณ
- พอประมาณกบั วสั ดุอุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการเรียน
- พอประมาณกบั เวลาท่ีใชใ้ นการเรียน
หลกั ความมเี หตุผล
- เพอื่ ใหม้ ีทกั ษะในการใชภ้ าษาไทย
- เพื่อเป็นการสร้างนิสยั ในการใชภ้ าษาไทยในชีวิตประจาวนั
หลกั ภูมคิ ุ้มกนั
- เพ่อื ป้ องกนั อนั ตรายในการปฏิบตั ิงาน
- เพอ่ื มีจิตใจท่ีเขม้ แขง็ ไม่มวั เมาในอบายมุข
เงอื่ นไขความรู้
- ความสาคญั ในการใชภ้ าษาไทยในการติดต่อสื่อสาร
- จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ มาตรฐานรายวชิ า คาอธิบายรายวิชา

๗๓

- การวดั และการประเมินผล
- ลกั ษณะเฉพาะของภาษาไทยและความรู้เรื่องคา
เงอ่ื นไขคณุ ธรรม
- ผเู้ รียนมีความรอบรู้ ระมดั ระวงั และมีความซื่อสัตยส์ ุจริต
- ความประมาณกบั วสั ดุอุปกรณ์ที่ใชใ้ นการเรียน
การเช่ือมโยง 4 มติ ิ
สังคม
1. ผเู้ รียนสามารถทางานเป็นกลุ่ม มีการแลกเปล่ียนความคิดเห็น และยอมรับความคิดเห็น ของ

ผอู้ ื่น
2. การใชท้ รัพยากรร่วมกนั ใหเ้ กิดประโยชน์อยา่ งคุม้ ค่า
เศรษฐกจิ
1. สามารถใชภ้ าษาไทยในการติดต่อส่ือสารใชใ้ นการประกอบอาชีพ
วัฒนธรรม
1. ผเู้ รียนมีจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ
2. มีการแลกเปล่ียนความคิดเห็น ความรู้ดา้ นภาษา เพือ่ การดารงชีพตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
สิ่งแวดล้อม
1. เกิดภูมิปัญญาท่ีเอ้ืออาทรต่อธรรมชาติ การดารงชีวติ การประกอบอาชีพอยา่ งเหมาะสม

๗๔

เนอื้ หา (หวั ข้อเรื่องที่สอนพร้อมคาอธิบาย)
ความหมายการส่ือสาร

ราชบณั ฑิตยสถาน (2556 : 1240) ให้ความหมายการสื่อสารว่า การนาถอ้ ยคา ขอ้ ความ หรือ
หนงั สือ ของฝ่ายหน่ึง ส่งใหอ้ ีกฝ่ายหน่ึง โดยมีส่ือนาไป

จุไรรัตน์ ลกั ษณะศิริ และบาหยนั อิ่มสาราญ (2548 : 3) ใหค้ วามหมายการส่ือสารวา่ เป็นการติดต่อ
กบั บุคคลหรือกลมุ่ บุคคล โดยมีจุดประสงคท์ ่ีจะเสนอเรื่องราวต่างๆ ไดแ้ ก่ ข่าวสารขอ้ มลู ความรู้สึกนึกคิด
ความตอ้ งการ ตลอดจนความคดิ เห็นในเร่ืองตา่ งๆ ใหบ้ ุคคลหรือกลมุ่ บุคคลรับรู้

จุดประสงค์การส่ือสาร การส่ือสารมีจุดประสงคด์ งั น้ี

1. การสื่อสารเพื่อใหค้ วามรู้ ขอ้ มลู ข่าวสาร คอื การส่ือสารที่มงุ่ ใหค้ วามรู้ ขอ้ มลู ข่าวสารแก่ผูร้ ับ
สาร ทาใหผ้ รู้ ับสารมีความรู้ ขอ้ มูล ขา่ วสารเพิ่มข้ึน

2. การส่ือสารเพ่ือให้ความบนั เทิง คือ การส่ือสารที่มุ่งให้ความบนั เทิงแก่ผูร้ ับสาร เน้ือหาสารท่ี
นาเสนอ ไดแ้ ก่ ละคร ภาพยนตร์ นวนิยาย เร่ืองส้นั เรื่องขาขนั ตา่ งๆ อาจแทรกขอ้ มลู ความรู้ได้
บา้ งแต่ไมใ่ ช่เน้ือหาหลกั

3. การส่ือสารเพื่อโน้มน้าวใจ เป็ นการสื่อสารท่ีมุ่งสร้างความเชื่อถือศรัทธาให้แก่ผูร้ ับสารให้
เชื่อถือเห็นคลอ้ ยตามและปฏิบตั ิตาม การสื่อสารประเภทน้ีผสู้ ่งสารจะตอ้ งมีทกั ษะการส่ือสาร
มากและต้องใช้จิตวิทยาในการส่งสารมาก ตอ้ งเตรียมเน้ือหาสารให้มีขอ้ เท็จจริง ขอ้ มูล
น่าเชื่อถือ เช่น การอภิปรายหาเสียง เป็นตน้

4. การส่ือสารเพ่ือจรรโลงใจ คอื การส่ือสารท่ีมุ่งใหผ้ รู้ ับสารมีความรู้สึกต่อตนเองหรือต่อสังคม
ดีข้ึน เช่น การสร้างศรัทธาในศาสนา การยกยอ่ งสดุดีวีรกรรม เป็นตน้

องค์ประกอบการสื่อสาร

องค์ประกอบสาคัญในการสื่อสาร จาแนกได้ 5 ประการ ได้แก่ ผูส้ ่งสาร สาร สื่อ ผูร้ ับสาร
กาลเทศะ และสภาพแวดลอ้ ม องค์ประกอบท้งั 5 ประการ มีความสัมพนั ธ์กนั ท่ีทาให้เกิดกระบวนการ
สื่อสารสมั ฤทธ์ิผลตามวตั ถปุ ระสงค์ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

1. ผูส้ ่งสาร หมายถึง ผูร้ ิเร่ิมในการสื่อสาร มีความตอ้ งการที่จะส่งข่าวสารหรือเรื่องราวออกไป ให้
ผรู้ ับสารทราบ หรือปฏิบตั ิ โดยวธิ ีการพดู เขยี น ใชส้ ญั ลกั ษณ์ หรือกิริยาทา่ ทางที่สามารถเขา้ ใจกนั
ได้

๗๕

2. สาร หมายถึง ขอ้ ความหรือเร่ืองราวท่ีผสู้ ่งสารตอ้ งการส่ือความหมาย ใหผ้ รู้ ับสารเขา้ ใจร่วมกนั ได้
ซ่ึง สวนิต ยมาภยั (2528 : 11) ไดจ้ าแนกประเภทของสาร ตามลกั ษณะของสารไว้ 3 ประเภทคอื

3. ส่ือ
ส่ือ คือ ช่องทางที่จะนาขอ้ มูลข่าวสารหรือเรื่องราวจากผสู้ ่งสารไปยงั ผรู้ ับสาร สื่อมีหลายประเภท

4. ผรู้ ับสาร
ผรู้ ับสาร คอื ผรู้ ับขอ้ มูลข่าวสาร เรื่องราว และเหตกุ ารณ์ต่างๆ จากผสู้ ่งสารดว้ ยการฟัง การอ่าน เช่น ฟังการ
พูดของคู่สนทนา ฟังการบรรยาย ฟังการอภิปราย ฟังวิทยุ ชมภาพยนตร์ อ่านหนังสือพิมพ์ อ่านบทความ
สารคดี อ่านเร่ืองส้ัน หรือนวนิยายและชมการแสดง เป็นตน้ ผูร้ ับสารอาจจะเป็นบุคคลเดียวเพียงคนเดียว
กลุ่มคน หรือเป็นมวลชน โดยผรู้ ับสารตอ้ งมีพ้ืนความรู้เก่ียวกบั สาร มีความต้งั ใจรับสารดว้ ยใจเป็ นกลาง
การสื่อสารจึงจะสมั ฤทธ์ิผล

5. กาลเทศะและสภาพแวดลอ้ ม
กาลเทศะและสภาพแวดลอ้ ม หมายถึง เวลา โอกาส สถานที่ และสภาพแวดลอ้ ม ขณะที่มีการส่ือสารที่
อานวยใหก้ ารส่ือสารบรรลุผลดงั่ ต้งั ใจ หรือเป็นอุปสรรคต่อการส่ือสาร เช่น ใกลว้ นั เลือกต้งั นกั การเมือง
พรรคหน่ึงกาลงั ปราศรัยหาเสียง ณ ทอ้ งสนามหลวงขณะแดดร่มลมตกจึงมีคนฟังอย่างคบั คง่ั กาลเทศะ
และสภาพแวดลอ้ มน้ีมีความเหมาะสมช่วยใหก้ ารสื่อสารสัมฤทธ์ิผล ในทางกลบั กนั การแสดงคอนเสิร์ต
ของวงดนตรีเพ่ือชีวิตวงหน่ึงตอ้ งประกาศงดการแสดงทนั ทีเมื่อมีกลมุ่ วยั รุ่นยกพวกตะลมุ บอนกนั หนา้ เวที
กาลเทศะและสภาพแวดลอ้ มน้ีเป็นอุปสรรคต่อการส่ือสาร

ประเภทของการส่ือสาร

การส่ือสารแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ดงั น้ี

1. แบ่งตามลกั ษณะการส่ือสาร มี 2 ชนิด ไดแ้ ก่
การสื่อสารทางเดียว เป็ นการสื่อสารท่ีผูส้ ่งสารและผูร้ ับสารไม่มีโอกาสพบกนั ในทนั ที แต่อาศยั สื่อเป็ น
ช่องทางนาสาร ผสู้ ่งสารไม่ทราบปฏิกิริยาของผรู้ ับสาร และผรู้ ับสารไมม่ ีโอกาสแสดงปฏิกิริยาตอบสนอง
ทนั ที สื่อท่ีเป็นช่องทางนาสารไดแ้ ก่ ส่ือส่ิงพิมพ์ ส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ สื่อมนุษย์ ส่ือเฉพาะกิจ การส่ือสารทาง
เดียว เช่น การแสดงนิทรรศการ การชมภาพยนตร์ และการเขยี นงานทุกประเภท ฯลฯ

2. แบง่ ตามกลมุ่ คนท่ีติดต่อส่ือสาร มี 3 ชนิด ไดแ้ ก่
การสื่อสารระหว่างบุคคล เป็ นการสื่อสารระหว่างบุคคล 2 คน เช่น การพูดคุย การเขียนจดหมาย การ
โทรศพั ท์ เป็นตน้
อุปสรรคของการสื่อสาร

๗๖

ในการสื่อสารแต่ละคร้ัง บางคร้ังเกิดผลสาเร็จเป็นที่น่าพอใจ บางคร้ังเกิดปัญหายงุ่ ยากตอ้ งแกไ้ ข
ทาให้เสียเวลา และไม่ประสบความสาเร็จ ที่เป็ นเช่นน้ีเพราะขาดความรู้ หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ หรือจาก
สภาพแวดลอ้ มอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง อปุ สรรคท่ีเกิดข้นึ อาจเกิดปัญหาจากส่ิงต่อไปน้ี

1. อุปสรรคท่ีเกิดจากผสู้ ่งสาร
2. อุปสรรคที่เกิดจากผรู้ ับสาร
3. อปุ สรรคที่เกิดจากสาร
4. อุปสรรคท่ีเกิดจากส่ือ
5. อปุ สรรคท่ีเกิดจากสภาพแวดลอ้ ม
สรุป

การส่ือสาร คือการทาความเขา้ ใจกนั ระหว่างบุคคลสองฝ่ าย โดยมีกระบวนการส่งสาร จากผูส้ ่ง
สารผ่านช่องทางหรือสื่อ เพ่ือให้ไปถึงผูร้ ับสาร จนเกิดความเขา้ ใจและรับรู้ร่วมกนั ตามจุดประสงค์ที่
ตอ้ งการ

ประเภทของการส่ือสาร แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท โดยแบ่งตามลกั ษณะการสื่อสาร และแบ่งตาม
กล่มุ คนท่ีติดต่อสื่อสาร

ในสถานการณ์ที่มีการส่ือสารยอ่ มมีอุปสรรคเกิดข้ึนเสมอ ซ่ึงอุปสรรคท่ีเกิดข้ึนน้นั ยอ่ มเกิดข้ึนท่ี
ส่วนใดส่วนหน่ึงในองค์ประกอบของการสื่อสาร อาจเกิดข้ึนท่ีผู้ส่งสาร สาร ส่ือ ผู้รับสาร หรื อ
สภาพแวดลอ้ ม หรือเกิดข้ึนท่ีหลายองคป์ ระกอบรวมกนั ก็ได้ หากมีความประสงคใ์ ห้การส่ือสารสัมฤทธ์ิ
ผลตามตอ้ งการ ก็ตอ้ งแก้ไขปัญหาองค์ประกอบท่ีเป็ นปัญหา ก็จะทาให้การสื่อสารน้ันสัมฤทธ์ิผลตาม
วตั ถุประสงค์

๗๗

กจิ กรรมการเรียนการสอน

ข้นั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั ตอนการเรียนการสอนหรือกจิ กรรมของนักเรียน

ข้นั นา ข้นั นา

1. ครูแจง้ สาระการเรียนรู้ 1. นกั ศึกษาทาแบบทดสอบก่อนเรียน (pre-test)

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การวดั ผลและ เพอื่ ทดสอบความรู้พ้นื ฐานเก่ียวกบั เรื่องความรู้
ประเมินผล ใหน้ กั ศึกษาทราบ แลว้ ให้ เกี่ยวกบั การส่ือสาร โดยใชแ้ บบทดสอบแบบปรนยั
นกั ศึกษาทาแบบทดสอบก่อนเรียน (pre- ชนิด 4 ตวั เลือก จานวน 10 ขอ้
test) เพื่อทดสอบความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกบั

เร่ืองความรู้เก่ียวกบั การส่ือสาร โดยใช้

แบบทดสอบแบบปรนยั ชนิด 4 ตวั เลือก

จานวน 10 ขอ้

ข้นั สอน ข้นั สอน

1. ครูใหน้ กั ศึกษาแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 1. นกั ศึกษาแบ่งกลมุ่ กลุ่มละประมาณ 4-5

ประมาณ 4-5 คน คน

2. ครูใหน้ กั ศึกษาแต่ละกลมุ่ ศึกษา 2. นกั ศึกษาแตล่ ะกลมุ่ ศึกษาความหมายของ

ความหมายของการส่ือสาร, ประเภทของ การส่ือสาร, ประเภทของการส่ือสารและอุปสรรค

การสื่อสารและอุปสรรคของการส่ือสาร ของการส่ือสารโดยสรุปความคิดเห็นวา่ เก่ียวขอ้ งกบั

โดยสรุปความคิดเห็นวา่ เก่ียวขอ้ งกบั การ การส่ือสารในชีวิตประจาวนั

ส่ือสารในชีวิตประจาวนั

3. ครูใหต้ วั แทนกล่มุ แต่ละกลุ่ม 3. ตวั แทนกลุม่ แตล่ ะกลุม่ นาเสนอผลงาน

นาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน หนา้ ช้นั เรียน
4. ครูอธิบายเรื่องหลกั เกณฑก์ าร 4. นกั ศึกษาฟังครูอธิบายเรื่องหลกั เกณฑก์ าร

ส่ือสาร เพ่อื ใชใ้ นการสื่อสารอยา่ งมี ส่ือสาร เพอ่ื ใชใ้ นการส่ือสารอยา่ งมีประสิทธิภาพ

ประสิทธิภาพ

5. ครูใหน้ กั ศึกษาทากิจกรรมท่ี 1 – 2 5. ครูใหน้ กั ศึกษาทากิจกรรมที่ 1 - 2

ข้นั สรุป ข้นั สรุป

1. ครูและนกั ศึกษาร่วมกนั แสดง 1. นกั ศึกษาร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น

ความคิดเห็น เสนอแนะ ซกั ถาม เพ่อื สรุป เสนอแนะ ซกั ถาม เพ่ือสรุปหน่วยการเรียนและทา

แบบทดสอบหลงั เรียน

๗๘

หน่วยการเรียนและทาแบบทดสอบหลงั
เรียน

งานที่มอบหมายหรือกจิ กรรม

ก่อนเรียน

1. ทดสอบก่อนเรียน

ขณะเรียน

1. แบ่งกลมุ่
2. ศึกษาความหมายของการสื่อสาร, ประเภทของการส่ือสารและอปุ สรรคของการ

ส่ือสาร
3. นาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน
4. แลกเปล่ียนเรียนรู้กบั กลุ่มอื่น

หลงั เรียน

1. ทากิจกรรมที่ 1 และ2

2. ทดสอบหลงั เรียน

ส่ือการเรียนการสอน

ส่ือส่ิงพมิ พ์

1. ใบมอบหมายงาน
2. หนงั สือแบบเรียน

สื่อโสตทัศน์

1. คอมพวิ เตอร์

2. อินเทอร์เน็ต

๗๙

การประเมินผล
ก่อนเรียน
ทาแบบทดสอบก่อนเรียน

ขณะเรียน

1. สงั เกตการทากิจกรรมกล่มุ
2. ตรวจผลงาน

หลงั เรียน

1. ประเมินผลงาน
2. กิจกรรมท่ี 1 และ2

๘๐

แผนการสอน หน่วยท่ี 3
ช่ือวิชา 3000-1101
ช่ือหน่วย การใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร สอนคร้ังที่ 4
ช่ือเรื่องหรือชื่องาน การใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร ชั่วโมงรวม 3
จานวนชั่วโมง 3
หัวข้อเร่ืองและงาน
1. ประเภทภาษาที่ใชใ้ นการส่ือสาร

2. ระดบั ภาษาที่ใชใ้ นการส่ือสาร

3. การใชค้ า

4. การใชป้ ระโยค

สาระสาคัญ

ภาษาไทยเป็นสมบตั ิอนั ล้าคา่ ที่แสดงความเป็นชาติไทย เพราะเราใชภ้ าษาไทยเป็นส่ือในการแสดง
ความรู้ ความคิด และประสบการณ์ในการส่ือสาร ใหผ้ รู้ ับสารไดม้ ีความรู้ความเขา้ ใจ ดงั น้นั การที่จะใช้
ภาษาไทยในการส่ือสารไดด้ ี ตอ้ งมีความรู้เกี่ยวกบั ประเภทของภาษาท่ีใชใ้ นการส่ือสาร ระดบั ของภาษา
การใชค้ าและการใชป้ ระโยค เพ่ือจะช่วยใหก้ ารส่ือสารประสบความสาเร็จตามวตั ถปุ ระสงค์

สมรรถนะประจาหน่วย
ใชภ้ าษาไทยในการสื่อสารดว้ ยความมีเหตุผล รอบรู้ รอบคอบและมีสติปัญญา

จดุ ประสงค์การเรียนการสอน
จดุ ประสงค์ทั่วไป
1. อธิบายประเภทของภาษาที่ใชใ้ นการสื่อสารได้

2. แยกระดบั ภาษาที่ใชใ้ นการส่ือสารได้

3. อธิบายการใชค้ าได้

๘๑

4. อธิบายการใชป้ ระโยคได้
5. ใชภ้ าษาไทยในการสื่อสาร ดว้ ยความมีเหตุผล รอบรู้ รอบคอบ และมีสติปัญญา
2. จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม

1. มีการพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคท์ ่ีผสู้ อนสามารถ
สงั เกตเห็นไดใ้ นดา้ นความมีมนุษยสมั พนั ธ์ ความมีวินยั ความรับผดิ ชอบ ความเช่ือมน่ั ในตนเอง ความ
สนใจใฝ่รู้ ความรู้รักสามคั คี ความกตญั ญกู ตเวที
วเิ คราะห์ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
หลกั ความพอประมาณ

- พอประมาณกบั วสั ดุอุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการเรียน
- พอประมาณกบั เวลาท่ีใชใ้ นการเรียน
หลกั ความมีเหตผุ ล
- เพื่อใหม้ ีทกั ษะในการใชภ้ าษาไทย
- เพ่ือเป็นการสร้างนิสัยในการใชภ้ าษาไทยในชีวิตประจาวนั
หลกั ภูมคิ ้มุ กนั
- เพ่ือป้ องกนั อนั ตรายในการปฏิบตั ิงาน
- เพื่อมีจิตใจที่เขม้ แขง็ ไม่มวั เมาในอบายมุข
เงือ่ นไขความรู้
- ความสาคญั ในการใชภ้ าษาไทยในการติดต่อส่ือสาร
- จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ มาตรฐานรายวิชา คาอธิบายรายวิชา
- การวดั และการประเมินผล
- ลกั ษณะเฉพาะของภาษาไทยและความรู้เรื่องคา

๘๒

เง่ือนไขคุณธรรม
- ผเู้ รียนมีความรอบรู้ ระมดั ระวงั และมีความซื่อสัตยส์ ุจริต
- ความประมาณกบั วสั ดุอปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการเรียน
การเชื่อมโยง 4 มติ ิ
สังคม
1. ผเู้ รียนสามารถทางานเป็นกลุ่ม มีการแลกเปล่ียนความคิดเห็น และยอมรับความคิดเห็น ของ

ผอู้ ื่น
2. การใชท้ รัพยากรร่วมกนั ใหเ้ กิดประโยชน์อยา่ งคุม้ คา่
เศรษฐกจิ
1. สามารถใชภ้ าษาไทยในการติดตอ่ ส่ือสารใชใ้ นการประกอบอาชีพ
วฒั นธรรม
1. ผเู้ รียนมีจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ
2. มีการแลกเปลี่ยนความคดิ เห็น ความรู้ดา้ นภาษา เพื่อการดารงชีพตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
สิ่งแวดล้อม
1. เกิดภูมิปัญญาท่ีเอ้ืออาทรตอ่ ธรรมชาติ การดารงชีวิตการประกอบอาชีพอยา่ งเหมาะสม

๘๓

เนอื้ หา (หัวข้อเรื่องท่สี อนพร้อมคาอธบิ าย)
ประเภทภาษาทใ่ี ช้ในการส่ือสาร

ภาษาท่ีใชใ้ นการติดต่อสื่อสารในชีวิตประจาวนั มี 2 ประเภทคือ วจั นภาษา เป็นภาษาที่อาศยั การพูด การ
เขียนในการสื่อสาร และอวจั นภาษา คอื ภาษาที่ไมใ่ ชก้ ารพดู ในการสื่อสาร

1. วจั นภาษา คอื ภาษาถอ้ ยคา ไดแ้ ก่คาพดู หรือตวั อกั ษร ท่ีกาหนดตกลงใชร้ ่วมกนั ในสังคม ซ่ึงความท้งั เสียง
และลายลักษณ์อักษร ภาษาถ้อยคาเป็ นภาท่ีมนุษย์สร้างข้ึน อย่างมีระบบ มีหลักเกณฑ์ทางภาษาหรือ
ไวยากรณ์ ซ่ึงคนในสงั คมตอ้ งเรียนรู้ การใชอ้ วจั นะภาษาในการส่ือสาร

2. อวจั นภาษาหรือภาษาที่ไม่ใชถ้ อ้ ยคา หมายถึง กิริยาท่าทางท่ีปรากฏทางร่างกายของมนุษยแ์ ละสามารถ
ส่ือความหมายกนั ไดน้ อกจากน้ี ยงั หมายถึง สญั ญาณ หรือสญั ลกั ษณ์ตา่ ง ๆ ที่กาหนดข้นึ แทนความหมายท่ี
เขา้ ใจกนั ได้

ประเภทของอวจั นภาษา แบง่ ไดเ้ ป็น 7 ประเภท

ระดบั ภาษาทีใ่ ช้ในการส่ือสาร

1. ความหมายของระดบั ภาษา

สมพร แพง่ พพิ ฒั น์ (2547:27) กล่าววา่ ระดบั ภาษา หมายถึงการใชภ้ าษาใหเ้ หมาะสมกบั โอกาส
สถานการณ์ และสัมพนั ธภาพระหวา่ งบุคคล โดยระดบั ภาษาเป็นตวั กาหนดความเหมาะสม

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลยั หอการคา้ ไทย (2541:5) กล่าววา่ ระดบั ภาษา หมายถึง ความลดหลนั่ ของ
ถอ้ ยคา และการเรียบเรียงถอ้ ยคาท่ีใชต้ ามโอกาส กาลเทศะและความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลท่ีเป็นผสู้ ่งสาร
และผรู้ ับสาร

สรุปไดว้ า่ ระดบั ภาษา หมายถึง การใชภ้ าษาใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์โอกาส กาลเทศะ และบคุ คล

2. ประเภทระดบั ของภาษา ภาษาแบ่งออกเป็น 3 ระดบั ดงั น้ี

2.1 ภาษาระดบั ทางการ หมายถึง ภาษาท่ีเรียบเรียงถอ้ ยคาดว้ ยความประณีต ท้งั ในการพดู และการเขียน
เป็นหลกั ฐานทางวชิ าการ หรือทางราชการ เพอ่ื ความถกู ตอ้ งตามหลกั ภาษา หรือยกยอ่ งบุคคล ไดแ้ ก่
บทความทางวชิ าการ หนงั สือราชการ ตารา แบบเรียน

2.2 ภาษาระดบั ก่ึงทางการ หมายถึง ภาษาที่ใชพ้ ดู หรือเขียนในโอกาสทวั่ ๆ ไป มีความพิถีพถิ นั ในการใช้ มี
ความสุภาพและมีมารยาทในการใช้ เช่น

๘๔

“...ขา้ พเจา้ สามารถกล่าวไดว้ า่ ทา่ นเจา้ คุณอนุมานฯ เป็นนกั ปราชญร์ าชบณั ฑิตท่ีแทจ้ ริง เป็นตวั อยา่ งอนั
งดงาม ในการบาเพญ็ ชีวติ ดว้ ยความซื่อสัตยส์ ุจริต...ไม่มีความทะเยอทะยานลืมตวั ในยามที่ไดล้ าภ ไดย้ ศ
ไดร้ ับสรรเสริญ ทา่ นเป็นบุคคลตวั อยา่ งที่ทกุ คนควรเคารพและเอาเยยี่ ง”

(พ่อของลูก : สมจยั อนุมานราชธน)

2.3 ภาษาระดบั ปาก หมายถึง ภาษาที่ใชพ้ ดู เพอื่ ความเขา้ ใจในกลุ่มคนที่ใกลช้ ิดสนิทสนมและมีความเป็น
กนั เอง ไมพ่ ิถีพถิ นั ในการใชม้ ากนกั แตบ่ างคร้ังภาษาระดบั ปาก อาจปรากฏกบั ภาษาระดบั อื่น เพ่อื ตอ้ งการ
ความสมจริง และเหมาะสมกบั เน้ือเร่ือง เช่น บทสนทนาในนวนิยาย หรือ เร่ืองส้นั นอกจากน้นั ภาษาระดบั
ปากยงั รวมไปถึงคาคะนอง คาด่า หรือคาหยาบ

การใช้ประโยค

ประโยคมีความสาคญั ท่ีจะทาใหผ้ อู้ า่ น ผฟู้ ัง เขา้ ใจเร่ืองราว ดงั น้นั ในการใชป้ ระโยคในภาษาไทยเพื่อการ
สื่อสาร ประโยคควรมีลกั ษณะถูกตอ้ งตามหลกั ภาษา มีความกะทดั รัด ชดั เจนสละสลวย และคาในประโยค
ตอ้ งมีความสัมพนั ธ์กนั

สรุป

การใชภ้ าษาไทยในการสื่อสาร ไดค้ านึงถึงประเภทของภาษาที่ใชใ้ นการสื่อสาร ซ่ึงประกอบดว้ ย วจั
นภาษา คือภาษาท่ีใชถ้ อ้ ยคา กบั อวจั นภาษา คือภาษาที่ไม่ใชถ้ อ้ ยคา แต่เป็นสัญลกั ษณ์หรือกริยาทา่ ทาง
นอกจากรู้จกั ใชว้ จั นภาษาและอวจั นภาษาใหถ้ กู ตอ้ ง เหมาะสมแลว้ ยงั ตอ้ งเลือกใชภ้ าษา โดยคานึงถึง
โอกาส สถานการณ์ สัมพนั ธภาพ กาลเทศะ ดงั น้นั จึงมีการแบง่ ระดบั ภาษาท่ีใชใ้ นการส่ือสาร ซ่ึง
ประกอบดว้ ย ภาษาทางการ ภาษาระดบั ก่ึงทางการ และภาษาระดบั ปาก

การใชค้ าภาษาไทย ในการสื่อสาร ตอ้ งคานึงถึงลกั ษณะทางภาษาไทย มีความรู้ในการเรียงคา การใช้
วรรณยกุ ต์ การใชส้ ระ การใชพ้ ยญั ชนะ และการใชค้ าใหถ้ ูกตอ้ งตามชนิดของคา ท้งั น้ีเพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกบั
การใชป้ ระโยคในการสื่อสาร ซ่ึงประโยคน้นั ตอ้ งถกู ตอ้ งตามหลกั ภาษา ประโยคตอ้ งมีความกะทดั รัด และ
ประโยคน้นั ตอ้ งมีความชดั เจน

๘๕

กจิ กรรมการเรียนการสอน

ข้นั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั ตอนการเรียนการสอนหรือกจิ กรรมของนักเรียน

ข้นั นา ข้นั นา

1. ครูแจง้ สาระการเรียนรู้ 1. นกั ศึกษาทาแบบทดสอบก่อนเรียน (pre-test)

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การวดั ผลและ เพ่อื ทดสอบความรู้พ้นื ฐานเก่ียวกบั เร่ืองการใชภ้ าษา
ประเมินผล ใหน้ กั ศึกษาทราบ แลว้ ให้ ในการสื่อสาร โดยใชแ้ บบทดสอบแบบปรนยั ชนิด
นกั ศึกษาทาแบบทดสอบก่อนเรียน (pre- 4 ตวั เลือก จานวน 10 ขอ้
test) เพ่อื ทดสอบความรู้พ้นื ฐานเก่ียวกบั

เรื่องการใชภ้ าษาในการส่ือสาร โดยใช้

แบบทดสอบแบบปรนยั ชนิด 4 ตวั เลือก

จานวน 10 ขอ้

ข้นั สอน ข้นั สอน

1. ครูใหน้ กั ศึกษาแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 1. นกั ศึกษาแบ่งกลมุ่ กลุม่ ละประมาณ 4-5

ประมาณ 4-5 คน คน

2. ครูใหน้ กั ศึกษาแต่ละกลุ่มศึกษา 2. นกั ศึกษาแตล่ ะกลมุ่ ศึกษาการใชภ้ าษาใน

การใชภ้ าษาในการส่ือสารโดยแต่งประโยค การส่ือสารโดยแตง่ ประโยคเก่ียวขอ้ งกบั การสื่อสาร

เกี่ยวขอ้ งกบั การส่ือสารในชีวิตประจาวนั ให้ ในชีวติ ประจาวนั ใหถ้ ูกตอ้ งตามหลกั ภาษากลมุ่ ละ

ถกู ตอ้ งตามหลกั ภาษากลุม่ ละอยา่ งนอ้ ย 10 อยา่ งนอ้ ย 10 ประโยค

ประโยค

3. ครูใหต้ วั แทนกล่มุ แตล่ ะกลุม่ 3. ตวั แทนกลุ่มแตล่ ะกลุ่ม นาเสนอผลงาน

นาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน หนา้ ช้นั เรียน

4. ครูอธิบายเร่ืองหลกั เกณฑก์ ารใช้ 4. นกั ศึกษาฟังครูอธิบายเร่ืองหลกั เกณฑก์ าร

ภาษาในการส่ือสาร เพ่ือใชใ้ นการสื่อสาร ใชภ้ าษาในการส่ือสาร เพื่อใชใ้ นการส่ือสารอยา่ งมี

อยา่ งมีประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพ

5. ครูใหน้ กั ศึกษาทากิจกรรมที่ 1 – 3 5. ครูใหน้ กั ศึกษาทากิจกรรมที่ 1 - 3

ข้นั สรุป ข้นั สรุป

1. ครูและนกั ศึกษาร่วมกนั แสดง 1. นกั ศึกษาร่วมกนั แสดงความคิดเห็น

ความคิดเห็น เสนอแนะ ซกั ถาม เพื่อสรุป เสนอแนะ ซกั ถาม เพ่อื สรุปหน่วยการเรียนและทา

แบบทดสอบหลงั เรียน

๘๖

หน่วยการเรียนและทาแบบทดสอบหลงั
เรียน

งานที่มอบหมายหรือกจิ กรรม

ก่อนเรียน

1. ทดสอบก่อนเรียน

ขณะเรียน

1. แบง่ กลุ่ม
2. ศึกษาและลกั ษณะของคาและชนิดของคาจากหนงั สือพมิ พ์ วารสาร
3. นาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน
4. แตง่ ประโยค
5. แลกเปล่ียนเรียนรู้กบั กลมุ่ อ่ืน

หลงั เรียน

1. ทากิจกรรมท่ี 1 และ 3

2. ทดสอบหลงั เรียน

ส่ือการเรียนการสอน

ส่ือส่ิงพมิ พ์

1. ใบมอบหมายงาน
2. หนงั สือแบบเรียน

ส่ือโสตทศั น์

1. คอมพิวเตอร์

2. อินเทอร์เน็ต

๘๗

การประเมินผล

ก่อนเรียน
ทาแบบทดสอบก่อนเรียน

ขณะเรียน

1. สงั เกตการทากิจกรรมกล่มุ
2. ตรวจผลงาน

หลงั เรียน

1. ประเมินผลงาน
2. กิจกรรมที่ 1 และ 3

๘๘

แผนการสอน หน่วยท่ี 4
ชื่อวิชา 3000-1101
ชื่อหน่วย การวเิ คราะห์ สอนคร้ังที่ 5
ชื่อเร่ืองหรือช่ืองาน การวิเคราะห์ ชั่วโมงรวม 3
จานวนชั่วโมง 3
หวั ข้อเรื่องและงาน
1.ความหมายการวิเคราะห์
2.คุณสมบตั ิผวู้ เิ คราะห์
3.กระบวนการวิเคราะห์
4.ลกั ษณะการวิเคราะห์
5.ตวั อยา่ งการวิเคราะห์
6.ประโยชน์การวเิ คราะห์

สาระสาคญั

การวิเคราะหเ์ ป็นความสามารถจาแนกแยกแยะขอ้ มูลวตั ถุส่ิงของหรือเรื่องราว และเหตุการณ์ตา่ ง
ๆ ออกเป็นส่วนยอ่ ยตามหลกั เกณฑห์ รือเกณฑท์ ี่กาหนด เพือ่ คน้ หาความจริง หรือความสาคญั ที่ปรากฏ
นาไปสู่ขอ้ สรุป และไปประยกุ ตใ์ ช้

สมรรถนะประจาหน่วย

แยกแยะขอ้ มลู วตั ถสุ ิ่งของ เร่ืองราวหรือสถานการณ์ตา่ ง ๆ ไดด้ ว้ ยความมีเหตผุ ล และละเอียด
รอบคอบ

จดุ ประสงค์การเรียนการสอน

จดุ ประสงค์ทัว่ ไป

1.อธิบายความหมายการวเิ คราะห์ได้
2.บอกคุณสมบตั ิผวู้ ิเคราะห์ได้
3.อธิบายกระบวนการวิเคราะหว์ ิเคราะห์ได้

๘๙

4.แยกลกั ษณะการวเิ คราะหไ์ ด้
5.อธิบายตวั อยา่ งการวิเคราะหไ์ ด้
6.บอกประโยชนก์ รวิเคราะห์ได้
7.แยกแยะขอ้ มูล วตั ถุสิ่งของ เร่ืองราวและสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ดว้ ยความมีเหตุผลและละเอียดรอบคอบ
2. จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม

1. มีการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคท์ ่ีผสู้ อนสามารถ
สงั เกตเห็นไดใ้ นดา้ นความมีมนุษยสมั พนั ธ์ ความมีวนิ ยั ความรับผิดชอบ ความเช่ือมนั่ ในตนเอง ความ
สนใจใฝ่รู้ ความรู้รักสามคั คี ความกตญั ญูกตเวที

วเิ คราะห์ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
หลกั ความพอประมาณ

- พอประมาณกบั วสั ดุอุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการเรียน
- พอประมาณกบั เวลาที่ใชใ้ นการเรียน
หลกั ความมเี หตุผล
- เพื่อใหม้ ีทกั ษะในการใชภ้ าษาไทย
- เพอ่ื เป็นการสร้างนิสัยในการใชภ้ าษาไทยในชีวิตประจาวนั
หลกั ภูมิคุ้มกนั
- เพือ่ ป้ องกนั อนั ตรายในการปฏิบตั ิงาน
- เพื่อมีจิตใจท่ีเขม้ แขง็ ไมม่ วั เมาในอบายมขุ
เง่อื นไขความรู้
- ความสาคญั ในการใชภ้ าษาไทยในการติดต่อส่ือสาร
- จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ มาตรฐานรายวิชา คาอธิบายรายวิชา
- การวดั และการประเมินผล

๙๐

- ลกั ษณะเฉพาะของภาษาไทยและความรู้เรื่องคา

เงอื่ นไขคุณธรรม
- ผเู้ รียนมีความรอบรู้ ระมดั ระวงั และมีความซื่อสัตยส์ ุจริต
- ความประมาณกบั วสั ดุอปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการเรียน
การเช่ือมโยง 4 มติ ิ
สังคม
1. ผเู้ รียนสามารถทางานเป็นกลุ่ม มีการแลกเปล่ียนความคดิ เห็น และยอมรับความคิดเห็น ของ

ผอู้ ่ืน
2. การใชท้ รัพยากรร่วมกนั ใหเ้ กิดประโยชน์อยา่ งคุม้ ค่า
เศรษฐกจิ
1. สามารถใชภ้ าษาไทยในการติดต่อสื่อสารใชใ้ นการประกอบอาชีพ
วัฒนธรรม
1. ผเู้ รียนมีจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ
2. มีการแลกเปล่ียนความคิดเห็น ความรู้ดา้ นภาษา เพอ่ื การดารงชีพตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
สิ่งแวดล้อม
1. เกิดภูมิปัญญาที่เอ้ืออาทรต่อธรรมชาติ การดารงชีวิตการประกอบอาชีพอยา่ งเหมาะสม

๙๑

เนอื้ หา (หัวข้อเร่ืองท่ีสอนพร้อมคาอธบิ าย)
ความหมายการวิเคราะห์
ราชบณั ฑิตยสถาน (2556:1115) ใหค้ วามหมายคาวา่ วิเคราะห์ หมายถึง ใคร่ครวญ เช่น วเิ คราะห์
เหตุการณ์ , แยกออกเป็นส่วน ๆ เพื่อศึกษาใหถ้ อ่ งแท้ เช่น วิเคราะหป์ ัญหาตา่ ง ๆ วเิ คราะห์ข่าว
ทศั นา แขมมณีและคณุ (2549:13) ไดอ้ ธิบายการวิเคราะหว์ า่ หมายถึง การจาแนกแยกแยะส่ิงใดสิ่งหน่ึง
เรื่องใดเรื่องหน่ึง เพ่ือคน้ หาองคป์ ระกอบและความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งองคป์ ระกอบเล่าน้นั เพื่อใหเ้ กิดความ
เขา้ ใจในเร่ืองน้นั
สรุปไดว้ า่ การวิเคราะห์ หมายถึง การใคร่ครวญพิจารณาเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงโดยการแยะแยะออกเป็นส่วน
ๆ วา่ สิ่งน้นั หรือเร่ืองน้นั มีองคป์ ระกอบอะไรบา้ ง และมีความสัมพนั ธก์ นั อยา่ งไร แลว้ หาขอ้ สรุป เพอื่
นาไปประยกุ ตใ์ ชต้ ่อไป
คณุ สมบตั ิผ้วู ิเคราะห์
1.มีความรู้ความเขา้ ใจในเรื่องท่ีจะวเิ คราะห์
ผวู้ เิ คราะห์ที่ดีจะตอ้ งมีความรู้ความเขา้ ใจพ้ืนฐานในเรื่องน้นั ๆ เพราะจะช่วยกาหนดขอบเขตการวิเคราะห์
จาแนกแจกแจงองคป์ ระองคป์ ระกอบจดั หมวดหมู่ลาดบั ความสาคญั หรือหสาเหตขุ องเร่ืองราว เหตุการณ์
ไดช้ ดั เจน
2.เป็นคนช่างสงั เกต ช่างสงสยั ช่างไตถ่ าม
ช่างสงั เกต สามารถเห็นหรือคน้ หาความผดิ ปกติของสิ่งของหรือเหตกุ ารณ์ ที่ดูอยา่ ง ผิงเผินแลว้ เหมือน
ไม่มีอะไรเกิดข้ึน
ช่างสงสัย เมื่อเห็นความผิดปกติแลว้ ไม่ละเลย ตอ้ งหยดุ คิดพจิ ารณา
ช่างไตถ่ าม ชอบต้งั คาถามเก่ียวกบั สิ่งที่เกิดข้นึ อยเู่ สมอเพ่อื นาไปสู่การขบคิด คน้ หาความจริงในเร่ืองน้นั
ๆ คาถามที่มกั ใชใ้ นการวเิ คราะห์ คอื 5W 1H ประกอบดว้ ย What(อะไร) Where(ท่ีไหน) When(เม่ือใด)
Why(ทาไม) Who(ใคร) และ How(อยา่ งไร)
3.มีความสามารถในการตีความ
การตีความ เกิดจากการรับรู้ขอ้ มูล เขา้ มาทางประสาทสมั ผสั สมองจะทาการตีความขอ้ มลู โดยวิเคราะห์
เทียบเคียงกบั ความทรงจา หรือความรู้เดิม ท่ีเกี่ยวกบั เร่ืองน้นั
เกณฑท์ ี่ใชใ้ นการตดั สิน จะแตกต่างกนั ไปตามความรู้ประสบการณ์ และค่านิยมของแตล่ ะบุคคล เช่น
เราเห็นคนร้องไหอ้ าจตีความวา่ เขากาลงั เสียใจ เห็นคนแต่งตวั ซ่อมซ่อ อาจตีความวา่ เขาเป็นคนจน
4.มีความสามารถในการหาความสมั พนั ธ์เชิงเหตุผล

๙๒

การวเิ คราะหจ์ ะเกิดข้ึนเมื่อพบส่ิงที่มีความคลมุ เครือ เกิดความสงสัย ตามมาดว้ ยคาถาม ตอ้ งคน้ หาคาตอบ
หรือความน่าจะเป็น วา่ มีความเป็นมาอยา่ งไร เหตใุ ดจึงเป็นเช่นน้นั จะส่งผลกระทบอยา่ งไร จึงวิเคราะห์
หาขอ้ มลู สรุปอยา่ งสมเหตุสมผล
ประโยชน์การวเิ คราะห์
1.ช่วยใหร้ ู้ขอ้ เทจ็ จริง รู้เหตผุ ลเมืองหลงั ของสิ่งที่เกิดข้ึนเขา้ ใจความเป็นมาของเหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ เป็น
ฐานความรู้ในการนาไปใชใ้ นการตดั สินใจ หรือแกป้ ัญหา
2.ช่วยใหร้ ู้ขอ้ มูลท่ีปรากฏอยา่ งสมเหตุสมผล ไมด่ ่วนสรุปตามอารมณ์ ความรู้สึกหรืออคติ แต่สืบคน้ ตาม
หลกั เหตุผล และขอ้ มูลท่ีเป็นจริง
3.ช่วยใหไ้ ม่ด่วนสรุปส่ิงใดง่าย ๆ ไม่หลงเชื่อขอ้ อา้ งที่เกิดจากตวั อยา่ งเพยี งอยา่ งเดียว แตพ่ ิจารณาเหตผุ ล
และปัจจยั เฉพาะในแตล่ ะกรณี
4.ช่วยในการพจิ ารณาสาระสาคญั อื่น ๆ ที่ถกู บิดเบือน ไปจากความประทบั ใจในคร้ังแรก ทาใหม้ องอยา่ ง
ครบถว้ นในทกุ แง่มมุ
5.ช่วยพฒั นาใหเ้ ป็นคนช่างสังเกต หาความเหมือนและความแตกตา่ ง ของเรื่องราวที่ปรากฏ อยา่ ง
สมเหตุสมผล ก่อนการสรุปหรือตดั สินใจ
6.ทาใหส้ ามารถประเมินสิ่งต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งสมจริง โดยไม่พ่งึ ฟังอคติ ท่ีก่อตวั อยใู่ นความทรงจา แตห่ า
เหตผุ ลจากส่ิงท่ีเกิดข้ึน ณ เวลาน้นั
7.ทาใหค้ าดการณ์ความน่าจะเป็น ไดอ้ ยา่ งสมเหตุสมผล โดยใช้ขอ้ มูลพ้ืนฐานท่ีมี วิเคราะหร์ ่วมกบั ปัจจยั
อ่ืน ๆ ของสถานการณ์
8.ทาใหส้ ามารถแยกแยะสิ่งที่เรียนรู้ และประเภทส่ิงต่าง ๆ อยา่ งมีกฎเกณฑ์
9.ทาใหส้ ามารถแกป้ ัญหาต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งมีเหตุผล ตามข้นั ตอนท่ีถกู ตอ้ ง และเป็นที่น่าเชื่อถือ ไดร้ ับการ
ยอมรับจากผอู้ ่ืน
สรุป
การวเิ คราะห์เป็นความสามารถในการจาแนกแยกแยะองคป์ ระกอบต่าง ๆ ของส่ิงใดส่ิงหน่ึง ซ่ึงอาจเป็น
วตั ถุ ส่ิงของ เรื่องราว หรือเหตกุ ารณ์ และหาความสมั พนั ธเ์ ชิงเหตุผล ระหวา่ งองคป์ ระกอบเหลา่ น้นั
เพื่อคน้ หาสภาพความเป็นจริงของสิ่งท่ีวิเคราะห์
คณุ สมบตั ิของผวู้ ิเคราะห์ ตอ้ งเป็นผมู้ ีความรู้ความเขา้ ใจในเรื่องน้นั ๆ เป็นคนช่างสงั เกต ช่างสงสัย ช่างไต่
ถาม มีความสามารถในการตีความ และสามารถในการหาความสมั พนั ธ์เชิงเหตผุ ล
กระบวนการวิเคราะห์ มี 5 ข้นั ตอน ประกอบดว้ ย การกาหนดสิ่งท่ีตอ้ งการวิเคราะห์ กาหนดปัญหา
หรือวตั ถุประสงค์ พิจารณาแยกแยะและสรุปคาตอบ

๙๓

ลกั ษณะการวิเคราะห์ ประกอบดว้ ย 3 ลกั ษณะคอื การวิเคราะหส์ ่วนประกอบ การวิเคราะห์
ความสัมพนั ธ์ และกาวเิ คราะหห์ ลกั การ
ประโยชน์ของการวิเคราะห์ ช่วยใหผ้ วู้ เิ คราะห์เป็นผทู้ ี่มีเหตผุ ลไม่มีอคติ เป็นคนช่างสังเกต และพจิ ารณา
เรื่องราวต่าง ๆ ดว้ ยความละเอียดรอบคอบ สามารถประมาณการความน่าจะเป็นไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม

๙๔

กจิ กรรมการเรียนการสอน

ข้ันตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั ตอนการเรียนการสอนหรือกจิ กรรมของนักเรียน

ข้นั นา ข้นั นา

1. ครูแจง้ สาระการเรียนรู้ 1. นกั ศึกษาทาแบบทดสอบก่อนเรียน (pre-test)

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การวดั ผลและ เพ่ือทดสอบความรู้พ้นื ฐานเกี่ยวกบั เร่ืองการวิเคราะห์
ประเมินผล ใหน้ กั ศึกษาทราบ แลว้ ให้ โดยใชแ้ บบทดสอบแบบปรนยั ชนิด 4 ตวั เลือก
นกั ศึกษาทาแบบทดสอบก่อนเรียน (pre- จานวน 10 ขอ้
test) เพือ่ ทดสอบความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกบั

เร่ืองการวิเคราะห์ โดยใชแ้ บบทดสอบแบบ

ปรนยั ชนิด 4 ตวั เลือก จานวน 10 ขอ้

ข้นั สอน

1. ครูใหน้ กั ศึกษาแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ข้นั สอน

ประมาณ 4-5 คน 1. นกั ศึกษาแบง่ กลุ่ม กลมุ่ ละประมาณ 4-5

2. ครูใหน้ กั ศึกษาแต่ละกลุม่ ศึกษา คน

การวิเคราะห์จากหนงั สือเรียนและคน้ หา 2. นกั ศึกษาแต่ละกลมุ่ ศึกษาการวิเคราะห์จาก

ข่าวจากหนงั สือพิมพแ์ ลว้ นามาวเิ คราะห์ หนงั สือเรียนและคน้ หาข่าวจากหนงั สือพิมพแ์ ลว้

กลุม่ ละ 2 ข่าว นามาวเิ คราะหก์ ลมุ่ ละ 2 ขา่ ว

3. ครูใหต้ วั แทนกลมุ่ แตล่ ะกลมุ่

นาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน 3. ตวั แทนกลุ่มแตล่ ะกลุม่ นาเสนอผลงาน

4. ครูอธิบายเรื่องหลกั เกณฑก์ าร หนา้ ช้นั เรียน
วเิ คราะห์ เพื่อใชใ้ นการสื่อสารอยา่ งมี 4. นกั ศึกษาฟังครูอธิบายเรื่องหลกั เกณฑก์ าร

ประสิทธิภาพ วเิ คราะห์ เพื่อใชใ้ นการส่ือสารอยา่ งมีประสิทธิภาพ

5. ครูใหน้ กั ศึกษาทากิจกรรมที่ 1 – 3 5. ครูใหน้ กั ศึกษาทากิจกรรมที่ 1 - 3

ข้ันสรุป ข้นั สรุป

1. ครูและนกั ศึกษาร่วมกนั แสดง 1. นกั ศึกษาร่วมกนั แสดงความคิดเห็น

ความคิดเห็น เสนอแนะ ซกั ถาม เพ่ือสรุป เสนอแนะ ซกั ถาม เพอ่ื สรุปหน่วยการเรียนและทา

หน่วยการเรียนและทาแบบทดสอบหลงั แบบทดสอบหลงั เรียน

เรียน

๙๕

งานท่ีมอบหมายหรือกจิ กรรม

ก่อนเรียน

1. ทดสอบก่อนเรียน

ขณะเรียน

1. แบ่งกลุ่ม
2. ศึกษาและวเิ คราะห์ขา่ วจากหนงั สือพมิ พ์
3. นาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน
4. แลกเปล่ียนเรียนรู้กบั กลมุ่ อื่น

หลงั เรียน

1. ทากิจกรรมท่ี 1 และ 3

2. ทดสอบหลงั เรียน

ส่ือการเรียนการสอน

สื่อสิ่งพมิ พ์

1. ใบมอบหมายงาน
2. หนงั สือแบบเรียน

สื่อโสตทัศน์

1. คอมพิวเตอร์

2. อินเทอร์เน็ต

๙๖

การประเมินผล

ก่อนเรียน
1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน

ขณะเรียน

1. สังเกตการทากิจกรรมกลุ่ม
2. ตรวจผลงาน

หลงั เรียน

1. ประเมินผลงาน
2. กิจกรรมที่ 1 และ 3
3. ทดสอบหลงั เรียน

๙๗

แผนการสอน หน่วยที่ 5
ชื่อวิชา 3000-1101
ช่ือหน่วย การสังเคราะห์ สอนคร้ังที่ 6
ช่ือเร่ืองหรือชื่องาน การสังเคราะห์ ชั่วโมงรวม 6
จานวนช่ัวโมง 3
หวั ข้อเรื่องและงาน
1.ความหมายการสังเคราะห์
2.คณุ สมบตั ิผสู้ งั เคราะห์
3.วตั ถุประสงคก์ ารสงั เคราะห์

สาระสาคญั

การสงั เคราะห์เป็นการจดั ระเบียบขอ้ มลู ท่ีกระจดั กระจายมารวมกนั ใหไ้ ดส้ ิ่งใหม่ มีความชดั เจน
มากยง่ิ ข้ึน การสงั เคราะห์จึงมีความสาคญั ต่อการสร้างและพฒั นาความรู้ใหม่ ใหม้ ีความสมบูรณ์
ครบถว้ นในเน้ือหา สามารถนาความรู้ที่ไดจ้ ากการสังเคราะหไ์ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ ตาม
วตั ถปุ ระสงคต์ ่อไป

สมรรถนะประจาหน่วย

รวบรวมขอ้ มลู วตั ถุส่ิงของ เร่ืองราว หรือ สถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ดว้ ยความมีเหตผุ ล และ
ละเอียดรอบคอบ

จดุ ประสงค์การเรียนการสอน

จดุ ประสงค์ทัว่ ไป

1.อธิบายความหมายการสงั เคราะห์ได้
2.บอกคุณสมบตั ิผสู้ งั เคราะห์ได้
3.บอกวตั ถปุ ระสงคก์ ารสังเคราะห์ได้

2. จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม

๙๘

1. มีการพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคท์ ี่ผสู้ อนสามารถ
สังเกตเห็นไดใ้ นดา้ นความมีมนุษยสัมพนั ธ์ ความมีวนิ ยั ความรับผิดชอบ ความเช่ือมน่ั ในตนเอง ความ
สนใจใฝ่รู้ ความรู้รักสามคั คี ความกตญั ญูกตเวที
วเิ คราะห์ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
หลกั ความพอประมาณ

- พอประมาณกบั วสั ดุอปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการเรียน
- พอประมาณกบั เวลาที่ใชใ้ นการเรียน
หลกั ความมเี หตผุ ล
- เพอ่ื ใหม้ ีทกั ษะในการใชภ้ าษาไทย
- เพ่ือเป็นการสร้างนิสัยในการใชภ้ าษาไทยในชีวติ ประจาวนั
หลกั ภูมิคุ้มกนั
- เพื่อป้ องกนั อนั ตรายในการปฏิบตั ิงาน
- เพ่อื มีจิตใจท่ีเขม้ แขง็ ไม่มวั เมาในอบายมุข
เงือ่ นไขความรู้
- ความสาคญั ในการใชภ้ าษาไทยในการติดต่อส่ือสาร
- จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ มาตรฐานรายวชิ า คาอธิบายรายวิชา
- การวดั และการประเมินผล
- ลกั ษณะเฉพาะของภาษาไทยและความรู้เรื่องคา

เงือ่ นไขคุณธรรม
- ผเู้ รียนมีความรอบรู้ ระมดั ระวงั และมีความซ่ือสัตยส์ ุจริต

๙๙

- ความประมาณกบั วสั ดุอปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการเรียน
การเช่ือมโยง 4 มติ ิ
สังคม

1. ผเู้ รียนสามารถทางานเป็นกลุ่ม มีการแลกเปล่ียนความคดิ เห็น และยอมรับความคิดเห็น ของ
ผอู้ ื่น

2. การใชท้ รัพยากรร่วมกนั ใหเ้ กิดประโยชน์อยา่ งคุม้ ค่า
เศรษฐกจิ

1. สามารถใชภ้ าษาไทยในการติดตอ่ สื่อสารใชใ้ นการประกอบอาชีพ
วฒั นธรรม

1. ผเู้ รียนมีจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ
2. มีการแลกเปล่ียนความคิดเห็น ความรู้ดา้ นภาษา เพ่อื การดารงชีพตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
ส่ิงแวดล้อม
1. เกิดภมู ิปัญญาท่ีเอ้ืออาทรต่อธรรมชาติ การดารงชีวิตการประกอบอาชีพอยา่ งเหมาะสม

๑๐๐

เนอื้ หา (หัวข้อเรื่องทส่ี อนพร้อมคาอธิบาย)
ความหมายการสังเคราะห์

ทศั นา แขมมณีและคณะ (2549:62) กลา่ วถึงความหมายของการสังเคราะหว์ า่ หมายถึง การนา
ความรู้ท่ีผา่ นการวิเคราะห์ มาผสมผสาน สร้างสิ่งใหม่ ท่ีมีลกั ษณะแตกต่างจากเดิม

ลว้ น สายยศและองั คณา สายยศ (2543:155) ใหค้ วามหมายของการสงั เคราะหไ์ วว้ า่ หมายถึง
ความสามารถในการรวมส่ิงต่าง ๆ ต้งั แต่สองส่ิงข้นึ ไปเขา้ ดว้ ยกนั เพอ่ื ใหเ้ ป็นส่ิงใหม่ อีกรูปแบบหน่ึง มี
คุณลกั ษณะโครงสร้างหรือหนา้ ที่ใหม่ แปลกแตกตา่ งไปจากเดิม

สุคนธ์ สินธพานนท์ (2555:49) กลา่ ววา่ การังเคราะหเ์ ป็นความสามารถที่หลอมรวมสิ่งตา่ ง ๆ
ต้งั แตส่ องชนิดข้ึนไปเขา้ ดว้ ยกนั อยา่ งกลมกลืนเพ่อื ใหไ้ ดส้ ิ่งใหม่ ที่มีคุณลกั ษณะ แตกต่างไปจาก
ส่วนประกอบยอ่ ย ๆ ของเดิม

ฟองจนั ทร์ สุขยงิ่ (2550:89) กล่าววา่ การสังเคราะห์ หมายถึงการรวมส่วนตา่ ง ๆ โดยความรู้
ยอ่ ย ๆ มาสร้างสรรคค์ วามรู้ใหม่ ๆ สร้างส่ิงใหม่ การสังเคราะหจ์ ะเกิดข้ึนได้ ตอ้ งอาศยั ความรู้จากการ
วิเคราะห์ เช่น การวเิ คราะห์คุณสมบตั ิของตะไคร้ จากน้นั น้าตะไคร้ มาผลิตเป็นชาตะไคร้ มีคณุ สมบตั ิ
ดื่มแลว้ ช่วยละลายไขมนั ในเสน้ เลือด

สรุปไดว้ า่ การสังเคราะห์ หมายถึง การรวมส่วนประกอบยอ่ ยของวตั ถุส่ิงของเรื่องราว หรือ
สถานการณ์ตา่ ง ๆ มาผสมกมลกลืนเขา้ ดว้ ยกนั ก่อใหเ้ กิดสิ่งใหม่ มีรูปลกั ษณะใหม่ คุณสมบตั ิใหม่
แตกตา่ งไปจากเดิมท่ีมีอยู่

คุณสมบตั ิผ้สู ังเคราะห์
1.มีจินตนาการสูง มีลกั ษณะเป็นผนู้ า และกลา้ เผชิญความจริง
2.มีความคดิ อิสระ ยดื หยนุ่ ไมเ่ คร่งครัดต่อระเบียบแบบแผน
3.มีความสามารถในการแกป้ ัญหา สนใจและยอมรับสิ่งแปลกใหม่
4.มีอารมณ์ขนั ร่างเริง มีใจเป็นกลาง ไมอ่ คติต่อขอ้ มลู ท่ีไดร้ ับ
5.มีความรับผิดชอบสูง สุขมุ เยอื กเยน็ ขยนั อดทน มานะพากเพยี ร
6.มีความพยายามสูง รักการอา่ น สนใจใฝ่ รู้ ไม่ยดื มนั่ ต่อสิ่งใดสิ่งหน่ึง
7.เป็นผฟู้ ังที่ดี ยอมรับความคดิ เห็นของผอู้ ่ืนและสามารถทางานกลมุ่ ไดด้ ี
8.มีความในการคดิ วิเคราะห์ และคิดเข่งวิพากษว์ จิ ารณ์สูง
9.มีความสามารถในการจบั ประเดน็ สาคญั ที่เก่ียวขอ้ ง มาใชไ้ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งแมน่ ยา


Click to View FlipBook Version