The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by songprasertchadaporn, 2021-04-01 23:53:45

การทำงาน

การทำงาน



ตอนที่ 1 การประเมินประสิทธภิ าพและประสิทธิผลการปฏบิ ตั ิงาน (70 คะแนน)

ลำดบั ท่ี ผลงาน/รายงานการปฏิบตั ิงาน หลักฐานอ้างอิง

1. ด้านการจดั การเรียนการสอน

โดยพิจารณาจาการสร้างหรอื พฒั นาหลักสูตรการจัดการเรียนรู้

และคุณภาพผู้เรียน การสรา้ งและหรือพฒั นาสือ่ นวตั กรรม

เทคโนโลยีทางการศึกษาและแหลง่ เรยี นรู้ การวัดและ

ประเมนิ ผลการเรียนรแู้ ละการศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ และ

หรือวิจยั เพอื่ แก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนร้ทู ีส่ ่งผลต่อ

คณุ ภาพผู้เรยี น

(คะแนนเต็ม ๔๕ คะแนน)

- โครงการสอน เอกสารในการอา้ งอิง
- แผนการเรียนรู้ / แบบฝกึ หดั / ขอ้ สอบ
- บนั ทึกหลังสอน
- สอ่ื การสอน นวตั กรรม เทคโนโลยี
- สมดุ เชค็ คะแนน-เวลาเรยี น



หลักฐานประกอบการประเมินทีเ่ กิดจากการปฏบิ ตั ิหน้าท่ี
ตำแหนง่ ครูอัตราจ้าง

ด้านการจัดการเรียนการสอน
- โครงการสอน (Course Syllabus)



หลักฐานประกอบการประเมินท่ีเกดิ จากการปฏิบตั หิ น้าที่
ตำแหนง่ ครูอตั ราจ้าง

ด้านการจัดการเรยี นการสอน
- โครงการสอน (Course Syllabus) ภาษาไทยพืน้ ฐาน



โครงการสอน

แผนกวชิ า สามญั สัมพนั ธ์ ( ภาษาไทย )

ชอ่ื วิชา ภาษาไทยพนื้ ฐาน รหัสวิชา ๒๐๐๐๐-๑๑๐๑

จำนวน ๑ หนว่ ยกิต

ชื่อผูส้ อน นางสาวอมั กานต์กลุ สงค์ประเสริฐ

ภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

จดุ ประสงค์รายวชิ า เพ่ือให้
๑. รแู้ ละเข้าใจเกีย่ วกับหลักการใชภ้ าษาไทยในการสื่อสาร
๒. สามารถเลือกใชภ้ าษาไทยไดถ้ ูกต้องตามหลกั การใช้ภาษา เหมาะสมกับบคุ คล กาลเทศะ โอกาส

และสถานการณ์
๓. สามารถนำความร้แู ละทักษะการฟัง การดกู ารพดู การอ่านและการเขียนไปใช้ส่ือสารใน

ชวี ิตประจำวัน ไดถ้ กู ต้องตามหลกั การ
๔. เหน็ คณุ คา่ และความสำคัญของการใชภ้ าษาไทยในชวี ติ ประจำวนั

สมรรถนะรายวิชา
๑. แสดงความรเู้ ก่ียวกบั หลกั การใช้ภาษาไทยในการฟงั การดกู ารพดู การอ่านและการเขียน
๒. วเิ คราะห์ ประเมินคา่ สารจากการฟงั การดูและการอา่ นตามหลกั การ
๓. พดู ติดต่อกิจธรุ ะและในโอกาสต่าง ๆ ตามหลักการและมารยาทของสงั คม
๔. เขียนขอ้ ความเพื่อติดต่อกิจธรุ ะ สรปุ อธบิ าย บรรยายและกรอกข้อมูลตามหลกั การ
๕. เขยี นรายงานเชิงวชิ าการและโครงการตามหลักการ

คำอธิบายรายวิชา
ศกึ ษาเกยี่ วกับการรบั สารและสง่ สารดว้ ยภาษาไทย เขียนสะกดคำ การใชถ้ ้อยคำ สำนวน ระดับ

ภาษา การฟัง การดูและการอ่านข่าว บทความสารคดี โฆษณา บันเทิงคดี วรรณกรรมหรือภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น
ดา้ นภาษาจาก ส่ือสิ่งพิมพ์และสื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ การกล่าวทักทาย แนะนำตนเองและผู้อ่นื การพดู ในโอกาส
ตา่ ง ๆ ตามมารยาทของสังคม การตอบรบั และปฏิเสธ การแสดงความยนิ ดี แสดงความเสียใจ การพดู ติดต่อกิจ
ธรุ ะ พดู สรปุ ความพูดแสดงความคดิ เหน็ การเขียนข้อความติดต่อกิจธุระ สรปุ ความอธิบาย บรรยาย การกรอก
แบบฟอรม์ การเขียนประวตั ิย่อ การเขยี นรายงานเชงิ วิชาการและการเขยี นโครงการ



โครงการสอน/แผนการสอนรายสัปดาห์

สปั ดาห์ที่ หน่วยที่ รายการสอน จำนวนช่วั โมง
๑ ปฐมนเิ ทศ ๑
๒ หน่วยท่ี ๑ ความรู้ท่ัวไปเก่ยี วกับหลกั การใช้ภาษาไทยในการสอ่ื สาร ๓
๓ หน่วยที่ ๒ การรับสารจากสื่อส่งิ พิมพแ์ ละสือ่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ๒
๔ หนว่ ยท่ี ๒ การรบั สารจากส่อื ส่ิงพิมพแ์ ละสอื่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ๒
๕ หนว่ ยที่ ๓ การอ่านวรรณกรรมท้องถนิ่ ท่ีสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ๒
และค่านิยม
๖ หนว่ ยท่ี ๓ การอา่ นวรรณกรรมท้องถน่ิ ท่ีสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ๒
และค่านิยม
๗ หนว่ ยที่ ๔ การพดู ส่ือสารตามมรรยาทสังคม ๒
๘ หน่วยที่ ๕ การพูดส่ือสารในชีวติ ประจำวัน ๒
๙ หนว่ ยท่ี ๖ การพดู ในโอกาสตา่ งๆ ๒
๑๐ หนว่ ยท่ี การพดู ในโอกาสตา่ งๆ/การเขียนประเภทตา่ งๆ ๒

๑๑ ๖,๗ การเขียนประเภทต่างๆ ๒
๑๒ หน่วยที่ ๗ การกรอกแบบฟอรม์ และการเขียนข้อความ ๒
๑๓ หนว่ ยท่ี ๘ การกรอกแบบฟอรม์ และการเขยี นขอ้ ความ ๒
๑๔ หนว่ ยที่ ๘ การเขียนรายงานเชิงวิชาการ ๒
๑๕ หนว่ ยที่ ๙ การเขยี นรายงานเชงิ วชิ าการ ๒
๑๖ หน่วยท่ี ๙ การเขียนโครงการ ๒
๑๗ หน่วยที่ ๑๐ การเขยี นโครงการ ๒
๑๘ หน่วยท่ี ๑๐ สอบปลายภาค ๒
๓๖
รวม

วธิ ีจดั การเรยี นการสอน ฉ
๑. การสอนแบบการแกป้ ญั หา
๒. การสอนแบบแผนทค่ี วามคดิ ( Mind Mapping) ๒๐ คะแนน
๓. การสอนแบบรว่ มมือ ๒๐ คะแนน
๔. การสอนโดยใช้ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ๒๐ คะแนน
๖๐ คะแนน
สื่อการสอน ๒๐ คะแนน
๑. รปู ภาพ ๒๐ คะแนน
๓. สื่อสง่ิ พิมพ์ ๑๐๐ คะแนน
๔. หนังสอื รายวิชา ภาษาไทยเพื่ออาชพี

ขอ้ กำหนดของรายวชิ า
๑. การมสี ่วนรว่ มในช้นั เรยี น
- การทำแบบฝึกหัด/ใบงาน
- การทดสอบย่อย
- กิจกรรมในชนั้ เรยี น
รวม
๒. การสอบประมวลความรู้ด้านทฤษฎี
- สอบปลายภาค
๓. จิตพิสยั
- จิตพิสยั
รวมคะแนนทงั้ ส้ิน



หลกั ฐานประกอบการประเมินท่ีเกิดจากการปฏิบตั หิ น้าที่
ตำแหนง่ ครูอตั ราจ้าง

ด้านการจัดการเรยี นการสอน
- โครงการสอน (Course Syllabus) การเขียนและการพดู เชิงวิชาชพี



โครงการสอน

ชอ่ื วิชา การเขียนและการพดู เชิงวชิ าชพี
รหัสวชิ า ๓๐๐๐๐-๑๑๐๒ ทฤษฏี ๓ ชวั่ โมง จำนวน ๓ หนว่ ยกติ
หลักสตู ร ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ช้ันสูง (ปวส.) พุทธศกั ราช ๒๕๖๓

จุดประสงค์รายวชิ า
1. เขา้ ใจหลักการเขียนและการพูดภาษาไทยเชงิ วิชาชพี
2. สามารถเขียนและพูดภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี ในรปู แบบตา่ ง ๆ
3. มีจรรยาบรรณในการเขยี นและการพูดภาษาไทยในงานอาชพี

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกย่ี วกับการเขียนและการพดู ภาษาไทยเชงิ วิชาชีพตามหลกั การ
2. สบื ค้นข้อมลู จากแหล่งตา่ ง ๆ เพอื่ วางแผนการเขยี นและการพดู ภาษาไทยเชิงวิชาชีพ
3. วางแผนการเขยี นและการพูดภาษาไทยเชงิ วิชาชพี ตามหลักการ
4. เขยี นและพดู ภาษาไทยเชิงวอชิ าชีพในรปู แบบตา่ ง ๆ

คำอธิบายรายวชิ า
ศึกษา และปฏิบตั ิเก่ียวกับหลกั การพดู และการเขยี นภาไทยเชิงวชิ าชพี เทคนิคการเขียนและการพดู

เชงิ วชิ าชพี การสบื คน้ ขอ้ มูลจากแหลง่ ทีห่ ลากหลาย การวางแผนการเขยี นและการพดู ภาษาไทยเชงิ วิชาชพี
การเขียนและการพดู ภาษาไทยเชงิ วชิ าชีพในรปู แบบตา่ ง ๆ จรรยาบรรณในการพดู และการเขียนภาษาไทยใน
อาชีพ



โครงการสอน/แผนการสอนรายสปั ดาห์
หนว่ ยการเรียนรู้

หนว่ ยที่ ชือ่ หน่วย จำนวน สปั ดาห์
ช่ัวโมง ท่ี
๑ หลกั การพูดเชงิ วิชาชีพ
๒ หลกั การเขยี นเชิงวชิ าชพี ๖ ๑-๒
๓ เทคนิคการพดู เชิงวชิ าชีพ ๖ ๓-๔
๔ เทคนคิ การเขยี นเชิงวิชาชพี ๖ ๕-๖
๖ ๗-๘
สอบกลางภาค ๓๙
๕ การสบื คน้ ข้อมูล ๓ ๑๐
๖ การวางแผนการพดู เชิงวิชาชพี ๓ ๑๑
๗ การวางแผนการเขียนเชงิ วชิ าชพี ๓ ๑๒
๘ การพดู เชิงวชิ าชพี ในรูปแบบต่าง ๆ ๖ ๑๓-๑๔
๙ การเขียนเชิงวิชาชีพในรูปแบบตา่ ง ๆ ๖ ๑๕-๑๖
๑๐ จรรยาบรรณในการพดู และการเขยี นภาษาไทยในอาชพี ๓ ๑๗
๓ ๑๘
สอบปลายภาค รวม ๕๔

วธิ จี ัดการเรยี นการสอน ญ
๑. การสอนแบบการแกป้ ัญหา
๒. การสอนแบบแผนทีค่ วามคิด Mind Mapping ๒๐ คะแนน
๓. การสอนแบบรว่ มมือ ๒๐ คะแนน
๔. การสอนโดยใช้ทักษะกระบวนการกลุ่ม ๒๐ คะแนน
๖๐ คะแนน
สอ่ื การสอน ๒๐ คะแนน
๑. รปู ภาพ ๒๐ คะแนน
๓. ส่ือสง่ิ พมิ พ์ ๑๐๐ คะแนน
๔. หนังสอื รายวิชา ภาษาไทยเพือ่ อาชีพ

ขอ้ กำหนดของรายวชิ า
๑. การมีส่วนรว่ มในชัน้ เรยี น
- การทำแบบฝกึ หัดใบงาน/
- การทดสอบย่อย
- กจิ กรรมในชน้ั เรียน
รวม
๒. การสอบประมวลความรดู้ ้านทฤษฎี
- สอบปลายภาค
๓. จติ พสิ ยั
- จิตพสิ ัย
รวมคะแนนทงั้ สน้ิ



สมรรถนะประจำหนว่ ยการเรียนรู้

หนว่ ยท่ี 1 : หลกั การพดู เชงิ วชิ าชีพ

สมรรถนะ รายละเอยี ด

ความรู้ 1.ความหมายการพูดเชงิ วชิ าชีพ

2.ความสำคัญของการพูดเชิงวิชาชีพ

3.หลักการพูดเชงิ วชิ าชีพ

4.การพฒั นาบุคลิกภาพการพูดเชิงวิชาชีพ

5.จติ วทิ ยาการพูดเชงิ วิชาชีพ

ทกั ษะ 1. สามารถเขียนเพอื่ ออกแบบหลกั การพดู เชิงวิชาชพี ได้

2. สามารถเขียนเพ่ือออกแบบบคุ ลิกภาพการพูดเชงิ วิชาชพี ได้

คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ รับรู้ ตอบสนอง เห็นคุณคา่ จัดระบบคุณคา่ พัฒนาลักษณะนสิ ัย

หน่วยท่ี 2 : หลักการเขียนเชิงวชิ าชีพ

สมรรถนะ รายละเอียด

ความรู้ 1. ความหมายของการเขยี น

2. จดุ มงุ่ หมายของการเขยี น

3. ความสำคญั ของการเขียน

4. มารยาทในการเขียน

5. การสรา้ งนิสัยในการเขยี น

6. หลักการเขยี นเชิงวิชาชีพ

ทกั ษะ 1.สามารถเขียนหลักการเขียนเชิงวชิ าชพี ได้

คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค์ รับรู้ ตอบสนอง เหน็ คุณค่า จัดระบบคุณคา่ พัฒนาลักษณะนิสยั



หนว่ ยที่ 3 : เทคนคิ การพดู เชงิ วิชาชพี

สมรรถนะ รายละเอยี ด

ความรู้ 1.เทคนคิ การพดู ท่ีดี

2.เทคนคิ การใช้กริ ิยาท่าทาง

3.เทคนคิ การใช้ไมโครโฟน

4.จรรยามารยาทในการพดู

5.เทคนคิ การเตรียมเรื่องท่จี ะพดู

ทักษะ 1.สามารถพดู ดว้ ยเทคนคิ การพดู การใชกิรยิ าทา่ ทาง และใช้ไมโคโฟนได้

2.สามารถเตรียมเทคนิคสำหรับเร่อื งทจี่ ะพูดได้

คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ รับรู้ ตอบสนอง เหน็ คุณคา่ จัดระบบคุณคา่ พัฒนาลกั ษณะนิสัย

หน่วยท่ี 4 : เทคนิคการเขยี นเชงิ วิชาชีพ

สมรรถนะ รายละเอยี ด

ความรู้ 1.การใช้คำ

2.การใชค้ ำศัพท์ภาษาตา่ งประเทศ

3.การใชป้ ระโยค

4.การใช้อักษรย่อและเคร่อื งหมายในงานอาชีพ

ทักษะ 1.สามารถเขียนคำศัพท์ภาษาต่างประเทศได้

2.สามารพเขยี นตวั ย่อและเคร่ืองหมายในงานอาชพี ได้

คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ รับรู้ ตอบสนอง เหน็ คุณค่า จัดระบบคุณคา่ พฒั นาลกั ษณะนสิ ัย



หนว่ ยที่ 5 : การสืบคน้ ข้อมูล

สมรรถนะ รายละเอยี ด

ความรู้ 1.ความหมายการสืบคน้ ข้อมูล

2.วัตถปุ ระสงคใ์ นการสบื คน้ ข้อมูล

3.ขั้นตอนการสืบค้นข้อมลู จากอนิ เทอร์เนต็

4.บัตรบันทึกข้อมูลและวธิ ีการบนั ทึกข้อมลู

5.การเขียนอ้างอิงข้อมลู

6.รูปแบบและการเขยี นบรรณานุกรม

ทกั ษะ 1.สามารถสืบคน้ ข้อมลู ได้

2.สามารถเขยี นอา้ งองิ ข้อมลู ในการคน้ ข้อมูลได้

คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ รบั รู้ ตอบสนอง เห็นคุณคา่ จัดระบบคุณค่า พัฒนาลกั ษณะนิสัย

หนว่ ยท่ี 6 : การวางแผนการพดู เชิงวชิ าชพี

สมรรถนะ รายละเอียด

ความรู้ 1.การวางแผนก่อนการพูด

2.การวิเคราะหผ์ ู้ฟงั

3.การวางแผนบทพดู

4.การวางแผนวิธพี ูด

ทกั ษะ 1.สามารถเขยี นแผนบทพูดเชิงวิชาชพี ได้

คุณลักษณะที่พึงประสงค์ รับรู้ ตอบสนอง เห็นคุณคา่ จัดระบบคุณคา่ พัฒนาลกั ษณะนิสยั



หนว่ ยท่ี 7 : การวางแผนการเขยี นเชิงวิชาชพี

สมรรถนะ รายละเอียด

ความรู้ 1.การเลอื กเรื่องและรปู แบบการเรยี น

2.การกำหนดโครงเรื่อง

3.การใช้ภาษาในการเขียนเชงิ วิชาชพี

4.การเสนอเน้ือหาในการเขยี น

5.การปรบั ปรุงร่างการเขยี น

ทกั ษะ 1.สามารถเขยี นแผนสำหรับการเขียนเนื้อหาเชงิ วิชาชพี ได้

คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ รบั รู้ ตอบสนอง เห็นคุณคา่ จัดระบบคุณค่า พัฒนาลกั ษณะนสิ ัย

หน่วยที่ 8 : การพดู เชิงวชิ าชพี ในรูปแบบตา่ ง ๆ

สมรรถนะ รายละเอยี ด

ความรู้ 1.การสนทนา

2.การอภิปราย

3.การสัมภาษณ์

4.การบรรยายและปาฐกถา

ทกั ษะ 1.สามารถพูดเชิงสนทนาได้

2.สามารถพดู อภิปรายได้

3.สามารถพดู เชงิ สัมภาษณ์ได้

4.สามารถพูดบรรยาย และปาฐกถาได้

คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ รับรู้ ตอบสนอง เหน็ คุณค่า จัดระบบคุณคา่ พฒั นาลักษณะนิสยั

15

หน่วยท่ี 9 : การเขยี นเชิงวิชาชพี ในรูปแบบตา่ ง ๆ

สมรรถนะ รายละเอียด

ความรู้ 1.การเขยี นจดหมายสมคั รงาน

2.การเขยี นหนงั สอื ราชการ

-รูปแบบหนังสอื ราชการ

3.การเขียนบันทึก

- รปู แบบของบันทกึ

- ประเภทของบันทึกข้อความ

- การเขียนจุดประสงคใ์ นบนั ทึก

4.การเขียนแสดงไมตรจี ติ

- การเขียนแสดงความยินดี

- การเขียนอาวยพร

- การเขยี นแสดงความเสียใจ

- การเขยี นแสดงความขอบคุณ

ทกั ษะ 1.สามารถเขียนเชงิ วิชาชีพในรปู แบบตา่ ง ๆ ได้

คุณลกั ษณะท่พี ึง รบั รู้ ตอบสนอง เหน็ คุณค่า จัดระบบคุณค่า พัฒนาลกั ษณะนสิ ยั
ประสงค์

16

หน่วยท่ี 10 : จรรยาบรรณในการพดู และการเขียนภาษาไทยในอาชีพ

สมรรถนะ รายละเอียด

ความรู้ 1.จรรยาบรรณวิชาชีพ

2.จรรยาบรรณในการพดู ภาษาไทย

3.จรรยาบรรณในการเขียนภาษาไทย

ทักษะ 1.สามารถพูด และเขยี นภาษาไทยตามจรรยาบรรณวิชาชีพได้

คุณลกั ษณะทีพ่ ึง รบั รู้ ตอบสนอง เหน็ คุณค่า จัดระบบคุณคา่ พฒั นาลักษณะนิสัย
ประสงค์

17

หลกั ฐานประกอบการประเมินทีเ่ กิดจากการปฏบิ ตั หิ น้าที่
ตำแหนง่ ครูอตั ราจ้าง

ดา้ นการจัดการเรยี นการสอน
- โครงการสอน (Course Syllabus)
การฟังและการพดู เพ่อื พฒั นาบุคลกิ ภาพ

18

แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชา
ช่อื รายวิชา ....การฟังและการพูดเพื่อพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ...รหสั วชิ า...30000-1103...(ท-ป-น)...3-0-3...
ระดับชน้ั ....ปวส.1........สาขาวชิ า/กลุ่มวิชา/แผนกวิชา............................................................................
หน่วยกิต.............3...............................จำนวนคาบรวม.................................54...........................คาบ
ทฤษฏี..................3.............................คาบ / สัปดาห์ ปฏบิ ตั ิ...............0................คาบ/สปั ดาห์
ภาคเรยี นท.ี่ .........1................................................ปกี ารศึกษา...................2563....................................

จุดประสงคร์ ายวิชา เพื่อให้
1. เขา้ ใจหลักการฟงั เละการพดู ภาษาไทยเพอ่ื พฒั นาบคุ ลกิ ภาพ
2. สามารถฟงั อยา่ งลึกซึง้ และพูดภาษาไทยในโอกาสต่างๆ
3. เห็นคุณค่าและความสำคญั ของการใช้ภาษาไทยเพอื่ พัฒนาบคุ ลิกภาพ

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความร้เู กี่ยวกบั หลกั การฟังและการพูดภาษาไทยเพื่อพฒั นาบุคลิกภาพ
2. ฟงั อยา่ งลกึ ซ้ึงและสรปุ ใจความสำคญั จากการฟงั
3. พูดภาษาไทยในโอกาสตา่ ง ๆ ตามหลักการ
4. ใชภ้ าษาไทยเพื่อพัฒนาบคุ ลิกภาพของตนเอง

คำอธบิ ายรายวิชา
ศกึ ษาและปฏิบตั เิ กี่ยวกับหลักการฟังและการพดู ภาษาไทยเพ่ือพฒั นาบุคลกิ ภาพ การฟัง

อย่างลึกซึ้ง และสรุปใจความสำคัญจากการฟัง เทคนิคและศิลปะการพูดภาษาไทยในโอกาสต่าง ๆ
มารยาทในการฟงั และการพดู การพัฒนาบุคลกิ ภาพในการฟังและการพดู

19

การวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้และสมรรถนะรายวชิ า

วิชา การฟงั และการพูดเพือ่ พัฒนาบคุ ลิกภาพ รหัสวชิ า 30000-1103
จำนวน 3 หน่วยกิต 3 ช่วั โมง/สัปดาห์

หนว่ ยท่ี ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ สมรรถนะรายวิชา

1 หลกั การฟังและดู อธบิ ายหลักการฟัง และจบั ใจความสำคัญ
เร่ืองราวตา่ ง ๆ จากการฟงั ได้ถกู ต้องตาม
2 หลกั การพดู หลกั การ
อธิบายหลักการและมารยาทในการพดู ไดถ้ ูกต้อง
3 การพดู สรุปความ ตามหลักการ
4 การพดู ในโอกาสต่าง ๆ พูดสรปุ ความไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
5 การพดู ติดต่อกิจธรุ ะ พดู ในโอกาสต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง
6 การพดู แสดงความคดิ เห็น พูดติดต่อกิจธรุ ะได้อยา่ งถูกต้อง
7 การนำเสนอผลงาน พูดแสดงความคดิ เหน็ ได้อยา่ งถูกต้อง
8 การเสนอขายสนิ คา้ และบริการ พดู นำเสนองานได้อย่างถกู ต้อง
พูดเสนอขายสินคา้ และบรกิ ารได้ถกู ต้อง

๒๐

โครงการจัดการเรียนรู้
วชิ าการฟงั และการพดู เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ รหัส 30000-1103

จำนวน 3 หน่วยกิต 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์

หนว่ ยที่ ช่อื หน่วยการเรียนรู้ สัปดาหท์ ี่ จำนวนชว่ั โมง
1 หลักการฟังและดู 1-2 6
2 หลกั การพดู 3-4 6
3 การพูดสรุปความ 5-6 6
4 การพดู ในโอกาสต่าง ๆ 7-8 6
สอบกลางภาค 9 3
5 การพดู ติดตอ่ กิจธุระ 10-11 6
6 การพดู แสดงความคดิ เหน็ 12-13 6
7 การนำเสนอผลงาน 14-15 6
8 การเสนอขายสินคา้ และบรกิ าร 16-17 6
สอบปลายภาค 18 3
18 54
รวม

การวดั ผลและประเมนิ ผล

1. จิตพิสยั 20 %

1.1 ความมวี นิ ัย

1.2 ความรับผิดชอบ

1.3 ความซ่ือสตั ย์สุจรติ

1.4 ความสนใจใฝร่ ู้

1.5 การตรงต่อเวลา

2. งานทมี่ อบหมาย 40 %

3. การสอบกลางภาค (หน่วยที่ 1 - 4) 20 %

4. การสอบปลายภาค (หนว่ ยที่ 5 – 8) 20 %

เกณฑก์ ารตดั สนิ ผลการเรียน เกรด 4
80 – 100 คะแนน เกรด 3.5
75 – 79 คะแนน เกรด 3
70 – 74 คะแนน เกรด 2.5
65 – 69 คะแนน เกรด 2
60 – 64 คะแนน เกรด 1.5
55 – 59 คะแนน เกรด 1
50 – 54 คะแนน

๒๑

หลกั ฐานประกอบการประเมินท่ีเกดิ จากการปฏบิ ตั ิหน้าที่
ตำแหนง่ ครูอตั ราจ้าง

ดา้ นการจัดการเรยี นการสอน
- แผนการจัดการเรยี นรู้ ภาษาไทยพ้ืนฐาน

๒๒

แผนการจัดการเรยี นรมู้ งุ่ เนน้ สมรรถนะ หน่วยที่ 1

หน่วยท่ี 1 การส่อื สารดว้ ยภาษาไทย สอนครั้งที่ 1

ชว่ั โมงรวม 2

จำนวนชวั่ โมง 2

1. สาระสำคญั

การสื่อสารด้วยภาษาไทยมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อบุคคล สังคม และเป็นปัจจัยสำคัญในการ

ดำเนินงานทางธุรกิจ ดังนั้น ผู้สื่อสารต้องมีความรู้ความเข้าใจในความสำคัญของการสื่อสาร การใช้

ภาษาไทยในการสื่อสารตลอดจนคำนึงถึงประสิทธิภาพในการสื่อสาร เรียนรู้และเข้าใจในการใช้

ภาษาไทยอย่างมศี ลิ ปะ จงึ จะทำใหก้ ารส่อื สารประสบความสำเร็จตามวัตถปุ ระสงค์

2. สมรรถนะประจำหนว่ ย

ส่อื สารด้วยภาษาไทยอย่างถกู ต้อง เหมาะสม และมปี ระสิทธภิ าพ

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

3.1 ด้านความรู้
3.1.1 อธบิ ายความหมายของการสื่อสารได้
3.1.2 บอกองค์ประกอบของการสื่อสารได้
3.1.3 วเิ คราะห์ความสำคัญของการสือ่ สารได้
3.1.4 วเิ คราะห์ประสิทธาพในการส่ือสารได้

3.2 ดา้ นทักษะ
3.2.1 ใชภ้ าษาไทยในการสอ่ื สารได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม

3.3 คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์

๒๓

แผนการจัดการเรยี นรมู้ ุ่งเน้นสมรรถนะ หน่วยที่ 1

หน่วยที่ 1 การส่อื สารดว้ ยภาษาไทย สอนครง้ั ที่ 1
ชัว่ โมงรวม 2
4. เนอ้ื หาสาระการเรยี นรู้ จำนวนชั่วโมง 2

๒๔

แผนการจดั การเรียนรมู้ งุ่ เนน้ สมรรถนะ หน่วยที่ 1

หน่วยท่ี 1 การสอื่ สารด้วยภาษาไทย สอนคร้งั ท่ี 1
ชวั่ โมงรวม 2
จำนวนชว่ั โมง 2

๒๕

แผนการจดั การเรียนรมู้ งุ่ เนน้ สมรรถนะ หน่วยที่ 1

หน่วยท่ี 1 การสอื่ สารด้วยภาษาไทย สอนคร้งั ท่ี 1
ชวั่ โมงรวม 2
จำนวนชว่ั โมง 2

๒๖

แผนการจดั การเรียนรมู้ งุ่ เนน้ สมรรถนะ หน่วยที่ 1

หน่วยท่ี 1 การสอื่ สารด้วยภาษาไทย สอนคร้งั ท่ี 1
ชวั่ โมงรวม 2
จำนวนชว่ั โมง 2

๒๗

แผนการจดั การเรียนรมู้ งุ่ เนน้ สมรรถนะ หน่วยที่ 1

หน่วยท่ี 1 การสอื่ สารด้วยภาษาไทย สอนคร้งั ท่ี 1
ชวั่ โมงรวม 2
จำนวนชว่ั โมง 2

๒๘

แผนการจดั การเรียนรมู้ งุ่ เนน้ สมรรถนะ หน่วยที่ 1

หน่วยท่ี 1 การสอื่ สารด้วยภาษาไทย สอนคร้งั ท่ี 1
ชวั่ โมงรวม 2
จำนวนชว่ั โมง 2

๒๙

แผนการจดั การเรียนรมู้ งุ่ เนน้ สมรรถนะ หน่วยที่ 1

หน่วยท่ี 1 การสอื่ สารด้วยภาษาไทย สอนคร้งั ท่ี 1
ชวั่ โมงรวม 2
จำนวนชว่ั โมง 2

๓๐

แผนการจดั การเรียนรมู้ งุ่ เนน้ สมรรถนะ หน่วยที่ 1

หน่วยท่ี 1 การสอื่ สารด้วยภาษาไทย สอนคร้งั ท่ี 1
ชวั่ โมงรวม 2
จำนวนชว่ั โมง 2

๓๑

แผนการจดั การเรียนรมู้ งุ่ เนน้ สมรรถนะ หน่วยที่ 1

หน่วยท่ี 1 การสอื่ สารด้วยภาษาไทย สอนคร้งั ท่ี 1
ชวั่ โมงรวม 2
จำนวนชว่ั โมง 2

๓๒

แผนการจดั การเรียนรมู้ งุ่ เนน้ สมรรถนะ หน่วยที่ 1

หน่วยท่ี 1 การสอื่ สารด้วยภาษาไทย สอนคร้งั ท่ี 1
ชวั่ โมงรวม 2
จำนวนชว่ั โมง 2

๓๓

แผนการจดั การเรียนรมู้ งุ่ เนน้ สมรรถนะ หน่วยที่ 1

หน่วยท่ี 1 การสอื่ สารด้วยภาษาไทย สอนคร้งั ท่ี 1
ชวั่ โมงรวม 2
จำนวนชว่ั โมง 2

๓๔

แผนการจัดการเรียนรมู้ งุ่ เน้นสมรรถนะ หน่วยท่ี 1

หนว่ ยที่ 1 การส่อื สารด้วยภาษาไทย สอนคร้ังท่ี 1
ช่ัวโมงรวม 2

จำนวนชว่ั โมง 2

5. กิจกรรมการเรยี นการสอน

5.1 การนำเขา้ ส่บู ทเรยี น
5.1.1 แนะนำรายวชิ า วิธกี ารใหค้ ะแนน และการประเมินผลที่ใช้กับวชิ า ภาษาไทยพน้ื ฐาน
5.1.2 แจ้งสมรรถนะประจำหน่วยและจุดประสงค์การเรียนรู้ประจำหน่วยที่ 1 การส่อื สารดว้ ย
ภาษาไทย

5.2 การเรยี นรู้
5.2.1 เปิดหนังสอื เรียนวชิ า ภาษาไทยพื้นฐาน หนว่ ยท่ี 1 การส่อื สารด้วยภาษาไทย
5.2.2 เปดิ งานนำเสนอวชิ า ภาษาไทยพื้นฐาน หนว่ ยท่ี 1 การสื่อสารด้วยภาษาไทย
5.2.3 ตอบคำถาม ข้อสงสยั ของผเู้ รียนระหวา่ งเรยี น

5.3 การสรปุ
5.3.1 ทบทวนความเข้าใจและสรุปเนอ้ื หาร่วมกับผู้เรยี นในหนว่ ยที่ 1 การสอื่ สารด้วยภาษาไทย

5.4 การวดั และประเมินผล
5.4.1 ทำกิจกรรมทา้ ยหนว่ ยที่ 1
5.4.2 ทำแบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยท่ี 1

๓๕

แผนการจดั การเรียนรมู้ ุ่งเน้นสมรรถนะ หนว่ ยที่ 1

หน่วยท่ี 1 การสอ่ื สารด้วยภาษาไทย สอนครงั้ ท่ี 1
ชั่วโมงรวม 2

จำนวนช่วั โมง 2

6. ส่ือการเรยี นรู้/แหลง่ การเรยี นรู้

6.1 ส่ือส่ิงพิมพ์

6.1.1 หนังสอื เรยี นวชิ า ภาษาไทยพื้นฐาน หน่วยท่ี 1 การสอ่ื สารดว้ ยภาษาไทย

6.2 สอื่ โสตทศั น์ (ถ้ามี)

6.2.1 งานนำเสนอวชิ า ภาษาไทยพื้นฐาน หน่วยท่ี 1 การสอ่ื สารด้วยภาษาไทย

6.3 หนุ่ จำลองหรือของจริง (ถา้ มี)

-

6.4 อื่น ๆ (ถา้ ม)ี

-

7. เอกสารประกอบการจดั การเรยี นรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ)

7.1 กจิ กรรมท้ายหน่วยที่ 1

7.2 แบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยท่ี 1

8. การบรู ณาการ/ความสัมพันธ์กบั วิชาอน่ื

8.1 บูรณาการกบั วชิ าวิทยาศาสตร์ เรื่อง การวิเคราะห์ความสำคัญของการส่ือสาร และการวิเคราะห์

ประสิทธาพในการสื่อสาร

๓๖

แผนการจดั การเรยี นรมู้ ุ่งเน้นสมรรถนะ หนว่ ยที่ 1

หนว่ ยที่ 1 การส่อื สารดว้ ยภาษาไทย สอนคร้ังท่ี 1
ช่ัวโมงรวม 2
9. การวดั และประเมินผล จำนวนช่วั โมง 2

9.1 กอ่ นเรียน
9.1.1 เข้าเรยี นตรงต่อเวลา
9.1.2 เตรียมหนังสอื รายวิชา ภาษาไทยพน้ื ฐาน

9.2 ขณะเรยี น
9.2.1 ให้ความสนใจและต้งั ใจฟังผู้สอนอธิบาย
9.2.2 ให้ความรว่ มมือในการทำกจิ กรรมระหวา่ งการเรียนการสอน

9.3 หลงั เรยี น
9.3.1 กจิ กรรมท้ายหนว่ ยที่ 1
9.3.2 แบบทดสอบหลงั เรยี นหนว่ ยท่ี 1

๓๗

แผนการจดั การเรียนรมู้ งุ่ เน้นสมรรถนะ หนว่ ยท่ี 1

หน่วยที่ 1 การส่ือสารดว้ ยภาษาไทย สอนครัง้ ท่ี 1
ชวั่ โมงรวม 2

จำนวนช่วั โมง 2

10. บนั ทกึ หลงั การสอน

10.1 ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้

10.1.1 เน้ือหาสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

10.1.2 สามารถนำไปใชป้ ฏิบัติการสอนได้ครบตามกระบวนการเรยี นการสอน

10.1.3 สอ่ื การสอนสอดคล้องกับเน้ือหา

10.2 ผลการเรียนรขู้ องนักเรยี น นักศึกษา

10.2.1 ผเู้ รยี นสว่ นใหญ่มคี วามสนใจใฝ่รู้ เข้าใจในหนว่ ยเรียน ตอบคำถามและร่วมกนั

ปฏบิ ตั งิ านท่ีไดร้ บั มอบหมาย

10.2.2 ผู้เรยี นกระตือรอื ร้นและรับผดิ ชอบในการทำงานเพอ่ื ให้งานสำเรจ็ ทนั เวลาทกี่ ำหนด

10.2.3 ผเู้ รียนนำความรูเ้ รอ่ื งการส่ือสารด้วยภาษาไทยไปประยุกตใ์ ช้

10.3 แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการเรียนรู้

10.3.1 พฒั นาและจัดหาส่อื คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนในการจดั การเรียนรู้

10.3.2 พฒั นากจิ กรรมทห่ี ลากหลายใหผ้ เู้ รียนไดร้ บั องคค์ วามรแู้ ละสนนุ สนานกับการเรยี นรู้

10.3.3 เชอื่ มโยงห้องเรียนใหม้ อี งค์ความรู้ในห้องและนอกห้องสอู่ งคค์ วามรทู้ ี่เป็นสากล โดย

ใช้ส่อื ที่จดั ทำขน้ึ เองและสื่อออนไลน์

10.3.4 วัดและประเมินผลเพ่อื การพัฒนาผ้เู รียนไปสู่เป้าหมายท่ีต้ังไว้ สนบั สนนุ ผูท้ ี่เรียนดี ให้

ได้ศึกษา และซอ่ มเสรมิ นักเรียนทอี่ ่อนโดยใชบ้ ทเรียนออนไลน์และบทเรยี นสำเร็จรปู

ร่วมกบั ผ้ปู กครอง

10.3.5 ประเมินผลทุกระยะ เพ่ือใหท้ ราบสภาพจรงิ แก้ไขและวางแผนพฒั นาผู้เรยี นอย่าง

ตอ่ เน่ือง

๓๘

ตัวอย่าง แบบทดสอบ

๓๙

วิทยาลัยเทคนิคระยอง

ข้อสอบปลายภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ขอ้ สอบวชิ า ภาษาไทยพืน้ ฐาน (๒๐๐๐๐-๑๑๐๑)
ระดับชัน้ ปวช. ๑ เวลา ๑ ชว่ั โมง คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน

คำสงั่ จงทำเคร่ืองหมาย x ทับขอ้ ก. ข. ค. ง. ท่ีถูกตอ้ งที่สุดเพียงข้อเดยี ว

๑. ขอ้ ใดคือความหมายของการสื่อสาร

ก. คอื ผูส้ ง่ สาร ผ้รู ับสาร สอื่ และสภาพแวดลอ้ มท่ีสมบรู ณ์

ข. การใชส้ อ่ื ทถ่ี ูกต้องเหมาะสมกับกาลเทศะและสถานท่ี

ค. การสื่อสาร เนอ้ื หาสาระท่ีถกู ต้องแม่นยำนำไปใชไ้ ด้

ง. การตดิ ตอ่ ระหวา่ งมนุษย์ด้วยวิธใี ดวิธีหนง่ึ เพอื่ เกิดความเขา้ ใจซึ่งกันและกนั

๒. การกระทำในข้อใดที่ ไมไ่ ด้ มงุ่ สือ่ สารให้บุคคลอนื่ ทราบ

ก. การประดับโคมไฟในเทศกาลตา่ ง ๆ ข. การแต่งชุดดำไปงานศพ

ค. การรอ้ งเพลงในขณะอาบน้ำ ง. การเปิดสญั ญาณไฟจราจร

๓. “จากการศึกษาพบวา่ หญิงมีครรภ์ติดเช่อื เอดส์แต่ไมแ่ สดงอาการ จะทำใหท้ ารกมอี ันตราย เสย่ี งตอ่ การ

ตดิ เช้ือเอดสจ์ ากแม่ประมาณร้อยละ ๒๐-๓๐” ขอ้ ความนี้เป็นสารประเภทใด

ก. ขอ้ เสนอแนะ ข. ขอ้ คดิ เห็น

ค. แสดงความร้สู ึก ง. ข้อเทจ็ จรงิ

๔. ข้อใดมีความหมายใกลเ้ คยี งกับสำนวน “นกสองหัว” มากท่ีสดุ

ก. เหยียบเรอื สองแคม ข. จับปลาสองมือ

ค. สองฝักสองฝา่ ย ง. ตีสองหนา้

๕. คำในขอ้ ใดเขียนสะกดถูกต้องทส่ี ุด

ก. บนั ดล บันทุก บันทดั ข. หลงไหล ลำไย ห่างไกล

ค. ปรินายก ทักษนิ า นมสั การ ง. เกษยี ณ เกษยี ร กษัตรี

๖. ข้อใดใชเ้ ครื่องหมายไม้ยมกถกู ต้อง

ก. เขานุ่งกระโปรงสดี ำ ๆ แดง ๆ ข. เขามาจากวงั ปารุสกวนั ๆ น้ี

ค. เขาชอบท่ี ๆ บา้ น ง. น่ีของ ๆ ใคร ?

๗. ขอ้ ใดใชภ้ าษาระดับทางการ

ก. ประชมุ รฐั สภา ข. การบรรยายในห้องเรียน

ค. การรายงานขา่ วและเหตุการณ์ ง. หนงั สอื ทใี่ ช้ตดิ ต่อทางราชการ

๘. ภาษาระดบั พิธีการใช้สื่อสารตามข้อใด

ก. การกล่าวอวยพร ข. หนงั สอื ราชการ

ค. การรายงานข่าว ง. การบรรยายในหอ้ งเรยี น

๙. “เชญิ เสดจ็ ลงมาอาบนำ้ ได้แลว้ นะคุณลกู ” ข้อความนเี้ ป็นภาษาระดับใด

ก. ระดบั พิธกี าร ข. ระดบั ทางการ

ค. ระดบั ก่ึงทางการ ง. ระดับไมเ่ ป็นทางาการ

๔๐

๑๐. ดฉิ นั ..........................ใหท้ ำงานชิน้ สำคัญชน้ิ น้ีค่ะ

ก. รับเชญิ ข. รบั มอบ

ค. รบั มอบหมาย ง. ถูกสัง่

๑๑. ข้อใดเป็นการฟังเพื่อนำคตเิ ตือนใจไปประยุกตใ์ ชใ้ นการดำรงชีวติ ได้

ก. ฟังเพลง ฟงั ดนตรี ข. ฟังนิทาน บทกวี

ค. ฟังปาฐกถา พระธรรมเทศนา ง. ฟงั คำบรรยาย ฟังขา่ วสารบา้ นเมอื ง

๑๒. ข้อใดคือความหมายของข่าว

ก. การรายงานเหตกุ ารณท์ เ่ี กิดข้ึนจริง ซง่ึ มีความหมายสำคัญและน่าสนใจ

ข. เร่ืองราวท่มี ีผลกระทบต่อประชาชนอยา่ งรวบเรว็

ค. เหตุการณ์ทีเ่ กดิ ขึ้นในภูมิภาคตา่ งๆ มีคุณค่าอยา่ งยงิ่

ง. เรอ่ื งราวหรอื เหตกุ ารณท์ ่ีเกิดขึน้ ท่ัวสารทิศ

๑๓. ขอ้ ใดคือความหมายของสารคดี

ก.งานเขยี นที่เสนอสาระทีเ่ ป็นจริงตามเหตกุ ารณท์ ปี่ รากฏ

ข.งานเขยี นท่ีมีคุณประโยชน์ด้านใดดา้ นหนง่ึ แก่สังคม

ค. งานเขยี นท่ใี ชถ้ ้อยคำภาษาทสี่ ละสลวยเข้าใจง่าย

ง. งานเขยี นทีใ่ ห้คติชีวติ ทลี่ ึกซ้ึงกนิ ใจแก่ผู้อา่ น

๑๔. เจา้ หนา้ ท่ีกู้ภัยทางการจีน เร่งค้นหาผู้รอดชีวติ จากซากบา้ นเรอื นทเี่ ขตอี๋เหลยี ง ในมณฑลยนู นาน เม่ือ

วันที่ ๙ กนั ยายน ที่ผา่ นมา ซ่ึงเป็นผลงานจากแผน่ ดนิ ไหวรนุ แรง ๒ คร้ัง วดั ได้ ๕.๖ ริกเตอร์ ในบรเิ วณ

ตะวนั ตกเฉียงใตข้ องประเทศจีน สง่ ผลใหถ้ นนและระบบการสอื่ สารถกู ตัดขาด โดยมผี ู้เสียชวี ิต ๘๐ ราย

ขอ้ ความน้ีเปน็ สาระของข่าวในขอ้ ใด

ก. ข้อเทจ็ จรงิ ข. เหตุการณ์

ค. ขอ้ คิดเห็น ง. ความชัดเจน

๑๕. ขอ้ ใดคือความหมายของวรรณกรรมท้องถิน่

ก. งานเขยี นที่ได้รบั การยกยอ่ งจากบุคคลท่ัวไป

ข. วรรณกรรมที่ชาวบ้านสรา้ งสรรค์ขึน้ ใช้ในโอกาสตา่ งๆ

ค. การนำถอ้ ยคำท้องถน่ิ ผสมผสานกนั ไดอ้ ย่างประณตี

ง. ศิลปะการเรยี บเรยี งถอ้ ยคำ หรือกลวิธีในการแตง่

๑๖. วรรณกรรมท้องถิ่นมีประโยชนท์ างดา้ นการเมืองการปกครองอยา่ งไร

ก. สรา้ งความเข้าใจอันดีระหว่างชนในชาติ

ข.ทำให้ทราบปรัชญาชีวิตและสังคมท้องถ่ิน

ค. เป็นการศึกษาหาความเป็นอัจฉริยะของบรรพบุรุษของถิ่นตน

ง. เปน็ การจดั ระเบยี บสังคม หรือการควบคุมสังคม

๑๗. วรรณกรรมท้องถ่นิ ประเภทลายลกั ษณ์สว่ นใหญ่บนั ทึกอย่างไร

ก. จาลกึ ในแทง่ ศิลา เพื่อทนต่อสภาพดนิ ฟ้าอากาศ

ข. จาลึกไว้ในแทน่ หิน ในถ้ำตาหุบเขา

ค. บนั ทึกในกระดาษ เก็บไว้ในตพู้ ระไตรปิฎก

๔๑

ง. สมุดข่อย สมุดสา ใบลาน

๑๘. การกลา่ วทกั ทายสามารถสรา้ งศตั รูได้เพราะเหตุใด

ก. กลา่ วทกั ทายโดยขาดความระมัดระวงั

ข. กลา่ วทักทายดว้ ยความมีสัมมาคารวะ

ค. กล่าวทกั ทายเรื่องดนิ ฟา้ อากาศและสภาพแวดลอ้ ม

ง. กล่าวทักทายด้วยการถามถึงความทุกข์-ความสุข

๑๙. เรือ่ งราวในข้อใด ไมค่ วร กลา่ วทักทาย

ก. เรอื่ งศาสนาและการเมอื ง

ข. เรอื่ งเสอ้ื ผ้าและการแตง่ กาย

ค. เรื่องอาหารและการออกกำลงั กาย

ง. เร่อื งการเรียนและความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยี

๒๐. ขอ้ ใดเป็นการพดู แนะนำตวั เองดีท่สี ดุ

ก. ดิฉัน นางสาวกุหลาบ ไร้หนาม มคี วามม่นั ใจในตัวเองสูงมาก ชอบการท่องเทีย่ วค่ะ

ข. กระผม นายเกษม เลิศสกุณา มชี ีวติ เรียบง่าย อยู่อย่างพอเพยี ง และชอบชว่ ยเหลือคนอื่นผู้อืน่

ครับ

ค. ข้าพเจ้า นายสงกรานต์ ภาคภูมิ ขา้ พเจา้ มีครอบครัวท่สี มบูรณ์ มีบา้ นหลังใหญ่ มีรถใช้คนละคนั

ง. หนชู ่อื น้องเจนจิรา เมตตาจริง ชวี ิตของหนลู ำบากมาก มีพอ่ แมเ่ ปน็ ชาวบ้าน หนไุ ม่อยากเปน็

ชาวนาเหมือนพ่อแม่ของหนู

๒๑. การแนะนำผู้อ่นื ในขอ้ ใดดที สี่ ดุ

ก. คณุ สายใจคะ นีค่ ณุ สมพงษ์ คาสโนวาชอื่ ดงั ของเมอื งไทยคะ่

ข. คณุ ประกอบคะ นี่คุณบงั อร หวั หน้างานสวสั ดิการ วทิ ยาลยั เทคนิคระยองค่ะ

ค. คุณเดชาคะ น่ีคุณสงั วาล ผู้หญิงทีส่ วยทส่ี ดุ และเธอมคี วามมัน่ ใจในตวั เองสงู มากค่ะ

ง. คณุ ดาวประกายครับ นี่คุณสมบัติ ชายหนมุ่ รูปหลอ่ เจา้ ของธรุ กิจมือถือที่หนุม่ ทสี่ ุดครบั

๒๒. การแนะนำบคุ คลในที่ประชุม

ก. น่งั อยกู่ ับที่ เพื่อให้ผ้อู ื่นมองหา

ข. ปรบมอื พร้อมยืนข้ึนโคง้ คำนบั

ค. เดินไปท่ไี มโครโฟนแล้วแนะนำตนเอง

ง. ยนื ขึ้นคารวะต่อทีป่ ระชมุ โดยการไหว้

๒๓. การพูดในข้อใดถือว่าเป็นการใชศ้ ิลปะชัน้ สูง

ก. การกล่าวตอ้ นรบั ข. การแนะนำวทิ ยากร

ค. การกลา่ วขอบคณุ ง. การกล่าวอำลา

๒๔. เหตกุ ารณ์ในข้อใดควรกล่าวตอ้ นรับ

ก. ผู้ปกครองของนายตำรวจมาพบนายตำรวจที่งานประชาสมั พนั ธ์

ข. คณะครู-อาจารย์ กลับมาจาการประชมุ สัมมนาทีต่ ่างจังหวัด

ค. ผูอ้ ำนวยกลา่ วตอ้ นรับครู-อาจารยใ์ นวันประชุมประจำเดือน

ง. อาจารย์มะลยิ ้ายมารับราชการท่จี งั หวัดระยอง

๔๒

๒๕. เหตกุ ารณใ์ นข้อใดควรกล่าวคำอำลา

ก. แดงกล่าวอำลาไปทำธุรกิจทกี่ รงุ เทพฯ

ข. ดำกลา่ วอำลาไปทัศนศึกษาทีเ่ ชียงใหม่

ค. เขยี วกลา่ วอำลาไปรว่ มงานเยาวชนที่กรงุ เทพฯ

ง. ขาวกลา่ วอำลาไปเข้าค่ายเดนิ ทางไกลพักแรม

๒๖. การปฏิเสธขอ้ เสนอที่ไม่ทำใหเ้ ขาร้วู ่าแลง้ น้ำใจควรทำอย่างไร

ก. มอบของขวญั หรือสอนนำ้ ใจให้แก่เขา

ข. ไม่มคี วามจำเป็นทจ่ี ะต้องทำในตอนนี้

ค. ให้เหตผุ ลเรอื่ งเปน็ เรอ่ื งตายท่สี ำคัญอย่างยิ่ง

ง. ปฏิเสธที่เขาเสนอมา แต่ควรสนองอะไรกลับไปใหเ้ ขาบ้าง

๒๗. กจิ กรรมในขอ้ ใด ไม่ควร กล่าวตอ้ นรบั

ก. การกล่าวคำไวอ้ าลยั แก่ผวู้ ายชนม์ ข. การกลา่ วในงานเกษียณอ่ยุราชการ

ค. การกลา่ วสดุดีบคุ คลทไี่ ดร้ ับรางวลั ง. เจ้าสาวกล่าวขอบคุณในงานมงคลสมรส

๒๘. ถา้ ไม่สามารถไปแสดงความยนิ ดดี ว้ ยตนเองได้ควรปฏิบตั อิ ย่างไร

ก. ควรมจี ดหมายชี้แจงเหตผุ ล

ข. ควรให้ผู้แทนไปพบเพ่ืออธิบาย

ค. ควรมีนามบัตรพร้อมกบั ข้อความขอโทษ

ง. ควรเขียนบนั ทกึ แจ้งใหผ้ ู้เกี่ยวขอ้ งไดท้ ราบ

๒๙. การพดู แสดงความยินดคี วรพดู ในโอกาสใด

ก. มีความสมหวงั ในความรัก ข. ถกู ลอตเตอรร่ี างวลั ท่ีห้า

ค. มีความสุขในชีวิตครอบครัว ง. ไดร้ บั รางวัลผลการเรียนดีเยี่ยมของวิทยาลยั

๓๐. การพดู แสดงความเสยี ใจควรพูดในโอกาสใด

ก. การอกหักจากความรกั ข. ครอบครวั เพื่อนทะเลาะกนั

ค. สามภี รรยาหย่าร้างกนั ง. การเจ็บป่วย หรอื เสียชวี ิต

๓๐. ข้อใด ไมใ่ ช่ วธิ ีการพูดแสดงความเสยี ใจ

ก. พูดด้วยนำ้ เสยี งนมุ่ นวลชัดถ้อยชัดคำ

ข. พูดให้กำลงั ใจและยินดีทจ่ี ะชว่ ยเหลอื

ค. พูดด้วยนำ้ เสียงแสดงความเศร้าสลดใจ

ง. พดู ถึงเหตุการณ์ท่ีเกดิ ขนึ้ เป็นเรอ่ื งปกติ

๓๑. จุดมงุ่ หมายในการเขยี นอธิบายเพ่ืออะไรเป็นสำคัญ

ก. เพอื่ แสดงความร้แู ละความสามารถทางวิชาการของผ้อู ธิบาย

ข. เพือ่ ประชาสมั พนั ธ์ภมู ิรู้ ภูมิธรรมของตนใหผ้ ูอ้ ่นื ทราบ

ค. เพอ่ื เป็นตวั อย่างที่ดีในการนำเสนอเรอื่ งราวต่างๆ

ง. เพ่อื สรา้ งความเข้าใจแกผ่ ู้อ่านเป็นประการสำคัญ

๓๒. ขอ้ ใดเขยี นประโยคถูกต้องตามหลักภาษาในการเขียนบรรยาย

ก. หลอ่ นเดินเข้ามาคนเดียวไม่มใี ครติดตามมา

๔๓

ข. ทหารกลา่ วคำปฏญิ าณว่าเทิดทูนชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์

ค. สมพงษ์โกรธน้องชายมาก กระโดดถบี ด้วยเท้าอยา่ งแรง

ง. นงนชุ เขา้ มาพร้อมกบั กระเป๋าใบใหญ่

๓๓. ใครกรอกข้อความในแบบฟอร์มได้ถกู ต้องทสี ดุ

ก. แก้วเว้นช่องว่างบางช่องไว้เพราะไมเ่ ข้าใจ

ข. กวางเขยี นผดิ แลว้ ใช้ลิควิดลบออก

ค. เกง่ พมิ พข์ ้อมูลดว้ ยคอมพิวเตอร์

ง. แกะเขียนกรอกข้อมลู ด้วยลายมือ

๓๔. ในการกอรกสญั ญาการกู้ยืมควรใชค้ ุณสมบัติพ้ืนฐานในขอ้ ใด

ก. ความซ่อื สัตย์ ข. ความซอื่ ตรง

ค. ความรอบคอบ ง. ความรูค้ วามเข้าใจ

๓๕. สัญญาเชา้ บ้านประกอบดว้ ยบคุ คล ๒ ฝ่ายคอื ใคร

ก. ผ้เู ชา่ ผู้คำ้ ประกนั ข. ผู้เช่า ผใู้ ห้เช้า

ค. ผใู้ หเ้ ชา่ ผู้คำ้ ประกัน ง. ผใู้ หเ้ ชา่ พยาน

๓๖. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ จุดมุ่งหมายในการจัดทำแบบฟอร์ม

ก. เพื่อไม่ให้เกิดการบันทกึ ขอ้ ความซ้ำซาก ข. เพอื่ ใชร้ วบรวมข้อมูลที่ต้องการ

ค. เพ่ือประหยดั งบประมาณ ง. เพ่อื สะดวกในด้านต่างๆ

๓๗. ข้อใดคือความหมายของประวัติยอ่

ก. สรุปย่อประวัติหรือเร่ืองราวความเป็นไปของคน สถานท่ี หรือสง่ิ ใดสง่ิ หนง่ึ

ข. สรุปความเป็นมาของชวี ิตแต่ละบุคคลท่แี ตกต่างกนั

ค. สรปุ การศกึ ษาประสบการณ์ท่โี ดดเดน่ ของบุคคลทุกคน

ง. สรุปความแตกต่างระหว่างบคุ คลใหเ้ หน็ อย่างชัดเจน

๓๗. สิง่ ใดท่ี ไมค่ วร สง่ ไปพร้อมจดหมายสมัครงาน

ก. ประวตั ิยอ่ และรูปถา่ ย ข. งานอดเิ รกท่ปี ฏบิ ตั ิ

ค. ตำแหนง่ ทีต่ ้องการ ง. เงินเดือนทีต่ ้องการ

๓๘. ข้อใดคือความหมายของประวตั ิยอ่

ก. สรุปยอ่ ประวัติหรอื เรื่องราวความเปน็ ไปของคน สถานที่ หรอื ส่งิ ใดส่ิงหนึ่ง

ข. สรปุ ความเป็นมาของชีวติ แต่ละบุคคลทแ่ี ตกต่างกนั

ค. สรุปการศึกษาประสบการณ์ที่โดดเดน่ ของบุคคลทุกคน

ง. สรุปความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลให้เห็นอย่างชดั เจน

๓๙. ขอ้ ใดคือส่วนประกอบตอนต้นของรายงาน

ก. บทนำ- เนอื้ หา ข. ดชั นี- อภิธานศพั ท์

ค. คำนำ- สารบญั ตาราง ง. บรรณานกุ รม-ภาคผนวก

๔๐. การเขียนโครงงานทำให้มีการพฒั นางานต่าง ๆ และส่งผลต่องานใดในสถานศึกษา

ก. งานกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา ข. งานประชาสัมพันธ์

๔๔

ค. งานประกนั คณุ ภาพของสถานศกึ ษา ง. งานพัฒนาหลกั สตู รและ

หลกั ฐานประกอบการประเมินทเ่ี กิดจากการปฏบิ ัตหิ น้าที่
ตำแหน่งครูอัตราจ้าง

ด้านการจัดการเรยี นการสอน
- แผนการจดั การเรยี นรู้ การเขยี นและการพูดเชิงวชิ าชีพ

๔๕

1. สาระสำคัญ
การพดู เปน็ การสอื่ สารทส่ี ำคญั ในงานอาชีพ เพราะเป็นส่ือสรา้ งความเข้าใจระหว่างบุคคล โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งเป็น

การชแี้ จงและทำความเข้าใจได้สะดวกรวดเร็ว ถ้าผ้พู ดู มหี ลักในการพูดยอ่ มทำให้เจรญิ กา้ วหน้าในหนา้ ทีก่ ารงาน และประสบ
ความสำเรจ็ ในงานอาชีพ หลักการพดู เชงิ วิชาชีพ ประกอบดว้ ย ความหมายของการพดู เชงิ วิชาชพี ความสำคญั ของการพูด
เชงิ วิชาชพี หลกั การพูดเชงิ วชิ าชีพ การพฒั นาบุคลกิ ภาพของผู้พดู เชงิ วิชาชีพ และจติ วิทยาการพูดเชงิ วชิ าชีพ ทุกหัวข้อมี
ความจำเปน็ และมคี วามสำคญั อยา่ งยง่ิ ในการพูดเชิงวิชาชพี ใหเ้ ปน็ ไปตามต้องการของผูพ้ ดู และทำใหก้ ารพดู บรรลตุ าม
วตั ถุประสงคท์ ี่ตอ้ งการ
2. สมรรถนะประจำหน่วย

มีความร้คู วามเขา้ ใจและประยกุ ต์ใช้หลักการพูดเชงิ วชิ าชพี

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
3.1ด้านความรู้

3.1.1 ความหมายการพูดเชงิ วิชาชีพ
3.1.2 ความสำคัญของการพดู เชิงวิชาชีพ
3.1.3 หลกั การพูดเชงิ วิชาชพี
3.1.4 การพฒั นาบุคลกิ ภาพการพูดเชงิ วิชาชพี
3.1.5 จติ วทิ ยาการพดู เชิงวิชาชพี

3.2 ด้านทกั ษะ

3.2.1 สามารถเขียนเพ่ือออกแบบหลกั การพูดเชงิ วิชาชพี ได้
3.2.2 สามารถเขยี นเพอื่ ออกแบบบุคลิกภาพการพดู เชงิ วิชาชีพได้

3.3 คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์
3.3.1 รับรู้ ตอบสนอง เหน็ คุณคา่ จดั ระบบคณุ ค่า และพฒั นาลกั ษณะนสิ ัย ในเรอื่ ง หลกั การพดู เชงิ วิชาชีพ

4. เนือ้ หาสาระการเรียนรู้
หนว่ ยที่ 1 หลักการพดู เชงิ วิชาชีพ ประกอบไปดว้ ยหวั ข้อหรือเนอื้ หาสาระการเรียนรู้ในเรื่องตอ่ ไปน้ี

4.1 ความหมายการพูดเชิงวิชาชพี
4.2 ความสำคัญของการพูดเชงิ วชิ าชีพ
4.3 หลักการพดู เชงิ วชิ าชพี
4.4 การพัฒนาบุคลิกภาพการพูดเชิงวิชาชีพ
4.5 จติ วิทยาการพดู เชิงวิชาชีพ

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้
5.1 การนำเขา้ สู่บทเรียน
5.1.1 ครูนำเสนอขอ้ มูล โดยครอบคลมุ ถงึ เนือ้ หาของการเรียนรู้ แต่ละหัวขอ้ นน้ั จะมกี ารนำเสนอกอ่ นเขา้

ส่บู ทเรียนทีแ่ ตกตา่ งกนั ในแตล่ ะหวั ข้อ
5.1.2 ครูใช้คำถามนำในการระหวา่ งการแนะนำเขา้ สบู่ ทเรยี น เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นเกิดการมสี ่วนรว่ มในการ

นำเขา้ สบู่ ทเรยี น

๔๖

5.2 การเรียนรู้
5.2.1 ครใู ห้ผูเ้ รยี นได้ศึกษาและเรยี นรจู้ ากสอ่ื ใบงาน และการทำกจิ กรรมในชนั้ เรยี น โดยเน้นการทำ

กจิ กรรมการทำการเรียนรูแ้ บบกล่มุ
5.2.1 ครแู ละผเู้ รียนรว่ มกนั แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในหัวข้อการเรยี นรูใ้ นหน่วยการเรยี นรู้

5.3 การสรุป
5.3.1 ครูสรปุ สาระการเรยี นรู้ ในดา้ นของทฤษฎี และการปฏบิ ตั ิ พร้อมทงั้ องคค์ วามรูท้ ี่ไดจ้ ากการเรยี นรู้

ในหนว่ ยการเรยี น
5.3.2 ครสู งั เกตพฤติกรรม ในระหว่างการจดั การเรยี นรู้ในห้องเรียน และผลสมั ฤทธิ์จากการทำกจิ กรรม

กลุม่ ตลอดจนการมีสว่ นรว่ มในการแสดงความคิดเห็นระหว่างเรียน

6. ส่ือการเรียนร/ู้ แหลง่ การเรียนรู้
6.1 สือ่ ส่งิ พมิ พ์ : เอกสารประกอบการเรยี นรู้ จากหนังสอื เรยี นรายวิชา การเขยี นและการพดู เชงิ วิชาชพี

รหัสวิชา 300000-1102
6.2 ส่อื โสตทศั น์ : โปรแกรมนำเสนอขอ้ มูล (Power point) ประกอบเอกสารการเรยี นรู้
6.3 หนุ่ จำลอง หรอื ของจริง (ถา้ มี) : -
6.4 อ่ืนๆ (ถา้ มี) : -

7. เอกสารประกอบการจดั การเรียนรู้ ( ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ )
ใบความรู้ในเรอ่ื งดังตอ่ ไปนี้

4.1 ความหมายการพดู เชิงวชิ าชพี
4.2 ความสำคญั ของการพูดเชงิ วชิ าชพี
4.3 หลกั การพดู เชงิ วชิ าชีพ
4.4 การพฒั นาบุคลกิ ภาพการพูดเชงิ วิชาชพี
4.5 จิตวิทยาการพดู เชิงวิชาชพี

8. การบรู ณาการ/ความสัมพันธก์ ับวิชาอนื่
ไมม่ ี

9. การวดั ผลและประเมินผล
9.1 กอ่ นเรียน : แบบวดั ผลประเมนิ ผลความรูก้ อ่ นเรยี น
9.2 ขณะเรยี น : การสังเกต และพฤตกิ รรมระหว่างการเรยี น
9.3 หลงั เรยี น : ใบงาน แบบทดสอบเฉพาะหน่วย และแบบวัดผลประเมนิ ความรหู้ ลังเรียน

๔๗

10. บันทึกหลงั สอน
10.1 ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
10.2 ผลการเรยี นรูข้ องนกั เรียน นกั ศึกษา

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
10.3 แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการเรียนรู้

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

๔๘

วิทยาลัยเทคนคิ ระยอง

ขอ้ สอบปลายภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ข้อสอบวิชา การเขียนและพดู เชงิ วิชาชีพ (๓๐๐๐๐-๑๑๐๒)
ระดับช้นั ปวส. เวลา ๑ ชวั่ โมง คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน

คำสงั่ จงทำเคร่อื งหมาย x ทับขอ้ ก. ข. ค. ง. ท่ีถกู ต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว

๑. ขอ้ ใดคือความหมายของคำสัง่ หรอื คำแนะนำ

ก. การพดู ที่ทำให้ผู้อื่นปฏบิ ตั ิตาม ข. การพดู ทโ่ี น้มน้าวให้ทำหน้าที่

ค. การพูดชแี้ จงให้ทำหรอื ให้ปฏิบตั ิ ง. การพดู อย่างตรงไปตรงมาไม่อ้อมค้อม

๒. ขอ้ ใดคือคณุ ลักษณะท่แี ตกต่างจากข้ออนื่

ก. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ข. ความกระตือรือรน้

ค. ความรบั ผิดชอบ ง. การประเมินผลการทำงาน

๓. ข้อใดคือคุณสมบตั ดิ ้านความสามารถในการปฏบิ ัติ

ก. รกั การทำงานแสวงหาความรู้ ข. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

ค. ความริเริ่มสร้างสรรค์ ง. การวเิ คราะหว์ จิ ารณ์

๔. ขอ้ ใดคือวิธปี ฏิบัติในการรับคำส่งั โดยตรงจากผบู้ ังคบั บัญชา

ก. อ่านและทำความเขา้ ใจคำสง่ั ข. น่งั เกา้ อีเ้ ตรยี มจดบนั ทึกตามคำสัง่

ค. ยนื รอรบั คำส่งั ด้วยความสง่าผา่ เผย ง. บันทึกรายละเอียดของคำสง่ั ให้ครบถว้ ย

๕. ข้อใดคือความหมายของส่ือบคุ คล

ก. คนทมี่ ีวาทศลิ ป์ในการพดู สื่อสาร

ข. คนท่มี คี วามรู้ความสามารรถในการพดู

ค. คนท่มี ีความมนั่ ใจในตนเองนำเสนอต่อทีป่ ระชุม

ง. ตวั คนท่มี าส่อื สารกับผูร้ บั สารในลักษณะการเผชิญหนา้

๖. การพดู ของบคุ คลกลุม่ หนึง่ ทรี่ ่วมกันแสดงความคิดเห็นหรือแลกเปลย่ี นความรู้เปน็ การพูดในข้อใด

ก. การพดู บรรยาย ข. การโต้วาที

ค. การปาฐกถา ง. การอภปิ ราย

๗. ขอ้ ใดกล่าวถูกตอ้ งท่ีสุดในการสสนทนา

ก. หากคูส่ นทนาพดู ผดิ พลาด ควรช่วยกนั แกไ้ ขทันทว่ งที

ข. ควรเปดิ โอกาสให้คู่สนทนาได้พดู ตามความพอใจ

ค. เม่อื กรสนทนาส้ินสุดลง ควรกล่าวคำวา่ “ลาก่อน”

ง.ถ้าคู่สนทนาไมส่ นใจฟัง ควรเปล่ยี นเร่ืองสนทนาด้วยวธิ กี ารทน่ี ุ่มนวล

๘. ในการฟังและการดูสารจากส่ือ สง่ิ ทส่ี ำคัญท่ีสดุ ของผู้ฟังผู้ดูคอื ข้อใด

ก. มสี มาธิ ข. มอี คติ

ค. มีข้อมลู ง. มีความรู้

๙. ขอ้ ใดเปน็ การแสดงปฏกิ ิริยาตอบสนองตอ่ ผู้พดู อย่างเหมาะสม

ก. การมีสมาธิ ตัง้ ใจฟงั ดว้ ยความกระตือรือร้น

ข. การสบตา ยม้ิ รับ และการผงกศรี ษะ

๔๙

ค. การยกมือซักถามขอ้ สงสยั

ง. การปรบมือต้อนรับผอู้ ภิปราย

๑๐. การบรรยายเหตกุ ารณ์จะทำใหผ้ ู้ฟงั ผดู้ ูสนใจมากน้อยเพยี งใดขึ้นอยู่กบั อะไร

ก. การแสดงออกทางสีหน้า ข. ทา่ ทางและอากปั กิริยา

ค. กลวิธใี นการบรรยาย ง.นำ้ เสยี งประกอบการบรรยาย

๑๑. ผรู้ ับสารสว่ นใหญจ่ ะเชือ่ ถือสอื่ บุคคลในหวั ข้อใด

ก. บคุ คลที่มีความคิดดี มเี หตุผล แก้ปญั หาได้

ข. บุคคลทีมฐี านะร่ำรวย

ค. บคุ คลทีม่ เี กยี รตยิ ศชอื่ เสยี งทางสังคม ชอบปรากฏตวั ในที่ตา่ งๆเพื่อประชาสัมพนั ธ์

ง. ข้อตัดสินความคดิ เหน็ ของบุคคลทีร่ จู้ กั นบั ถือมากกวา่ บคุ คลที่ไม่รจู้ ักคนุ้ เคย

๑๒. ข้อใดคือประเภทของสื่อส่งิ พมิ พ์

ก. ใบเสรจ็ รบั เงนิ หนงั สือเดินทาง ตว๋ั แลกเงนิ

ข. ประเภทหนงั สือ เผยแพรข่ ่าวสาร

ค. โบรชัวร์ ใบปลวิ แผน่ พบั ใบปดิ แผ่นตดิ

ง. หนังสอื พิมพ์ วารสาร นิตยสาร จลุ สาร

๑๓. ท่านควรเลอื กฟังและดสู ่ือสงิ่ พิมพ์จากเรื่องใด เพื่อใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ ตนเอง

ก. ตว่ ยตนู ขายหวั เราะ ข. ชูรักชูรส สติ๊กเกอร์

ค. จดหมายข่าว ป้ายประเทศ ง. การพูดทางธรุ กิจ สู่ทางการกระจายสนิ ค้า

๑๔. บคุ คลในขอ้ ใดวิเคราะหส์ ่ือได้ถูกต้อง

ก. น้อยหนา่ ออกกำลังกายแบบโยคะจาการอา่ นหนงั สือการเล่นโยคะ

ข. ชมพสู่ มัครทำบัตรเครดติ เพ่อื ต้องการของแถมกระเปา๋ เดนิ ทาง

ค. แตงโมซือ้ รองเท้าคัตชสู องคู่แถมหนึ่งคูเ่ พื่อประหยดั

ง.กนั ยาดูข่าวลดราคาสนิ ค้าของโลตสั แลว้ รบี ไปซ้ือขงทนั ที

๑๕. ขอ้ ใดใชส้ ือ่ สงิ่ พมิ พ์เหมาะสมทีส่ ุด

ก. แตงกวานำแผน่ พับมาติดหนา้ ห้องเรียน

ข. ลูกชายเอาสตก๊ิ เกอร์รูปการ์ตูนมาตดิ กระจกหลงั รถ

ค. สม้ โอนำใบปลวิ ไปตดิ ที่ป้ายประกาศ

ง. ลกู สาวนำโบรชัวรม์ าตดิ หนา้ บ้าน

๑๖. เมื่อฟงั และดลู ะครเร่อื ง ปลาบู่ทอง แลว้ ได้ข้อคิดทดี่ ีอยา่ งไร

ก. ผนู้ ำครอบครัวต้องมีความยตุ ธิ รรม

ข. การทำความช่ัวจะทำใหช้ วี ิตไม่มีความสขุ

ค. ควรตั้งใจประพฤติดีและชว่ ยเหลือเอ้ือเฟ้ือต่อผอู้ ื่น

ง. การรจู้ ักให้อภัยและการมีความกตัญญตู ่อผูม้ ีพระคณุ g

๑๗. เมือ่ ได้ฟังเพลงจากข้อความทว่ี ่า “แม้เนื้อเยน็ เปน็ ห้วงมหรรณพ พ่ีขอพบศรีสวัสดเ์ิ ป็นมจั ฉา แม้เป็น

บวั ตวั พี่เปน็ ภุมรา เชยผกาโกสมุ ประทมุ ทอง” แสดงให้เห็นว่าเพลงนี้แสดงความรู้สกึ อย่างไร

ก. แสดงความรู้สกึ เกย่ี วกับความรัก ความพศิ วาสอันมัน่ คงของตน

๕๐

ข. แสดงคำสัญญาจะไมม่ ีวนั พรากจากนางทต่ี นรกั
ค. แสดงการเปรียบเทียบใหเ้ หน็ จริงเกยี่ วกับความรัก
ง.แสดงใหเ้ ห็นความรักอันสูงส่งยากทีจ่ ะพรากจากกัน

๑๘. การฟังการดเู ร่ือง วถิ ชี วี ติ สูเ่ ศรษฐกิจพอเพียง นกั เรยี นคดิ วา่ ดีหรอื ไม่อย่างไร

ก. ไม่ดี เพราะวา่ เปน็ การถอยหลังเขา้ คลอง ไม่มกี ารพฒั นา

ข. ไมด่ ี เพราะวา่ เปน็ การสอนให้คนข้เี กยี จ ไม่มีความกระตือรือรน้

ค. ดี เพราะทำใหเ้ กดิ ปญั ญา ความกลา้ หาญ เพ่อื เผชญิ กบั กระแสอนั รนุ่ แรงของบรโิ ภคนิยม

ง. ดี เพราะเปน็ แนวทางช่วยใหค้ นสามารถเดินไปในทศิ ทางท่ีพงึ ปรารถนาในระดับทุนนยิ ม

๑๙. ขอ้ ใดคอื ความหมายของแหล่งเรียนรู้ในชุมชน

ก.สถานท่ีสำคัญในชมุ ชนทเ่ี ป็นแบบอยา่ งท่ดี ี

ข. บุคคลท่ปี ระสบผลสำเรจ็ ในหนา้ ทีก่ ารงานของชุมชน

ค. ความรู้หรอื วิทยาการใหมท่ ี่มคี วามก้าวหน้าทนั สมัยในชุมชน

ง. สถานที่หรอื บุคคลผ้ใู ห้ขอ้ มูลขา่ วสารท่ีสง่ เสริมใหผ้ รู้ บั สารเกิดการเรยี นรู้

๒๐. แหล่งเรยี นรใู้ นขอ้ ใดที่ควรศกึ ษาและวเิ คราะหน์ ำมาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวัน

ก. แหล่งความเช่ือ ศาสนา วัฒนธรรมและค่านยิ ม

ข. แหล่งไรน่ าสาธติ และการทำเกษตรกรรม

ค. แหล่งโบราณสถานและโบราณวตั ถทุ คี่ วรหวงแหน

ง. แหล่งไรน่ าผสมผสานและเศรษฐกจิ พอเพียงของชุมชน

๒๑. ขอ้ ใดคือความหมายของคูม่ ือการปฏิบัตงิ าน

ก. เอกสารเกยี่ วกับการทำงานของบุคคล

ข. เอกสารทสี่ ่งเสริมสนบั สนุนการทำงาน

ค. เอกสารทีใ่ ชป้ ระเมนิ ผลการปฏิบตั งิ าน

ง. เอกสารท่จี ัดทำข้ึนเพอ่ื เปน็ แนวทางในการปฏบิ ัติงาน

๒๒. หมอ้ สกุ ้ีและถาดย่างบาร์บีควิ มีระบบสวติ ซ์ไฟฟา้ และปุ่มปรบั อุณหภูมิท่ีแยกกนั

ก. ลักษณะรูปทรงของสินค้า ข. ข้อมลู ทางเทคนิค

ค. ชนิ้ สว่ นอุปกรณ์ ง. ข้อควรระวัง

๒๓. ห้ามใช้แปรงลวดโลหะทำความสะอาดถาดย่างบาร์บีคิว

ก. วธิ ีการใช้งาน ข. ข้อมูลทางเทคนิค

ค. ช้นิ สว่ นอปุ กรณ์ ง. ข้อควรระวงั

๒๔. ข้อใดคือลักษณะของผู้พูดท่ีดี

ก. แต่งกายสภุ าพเรยี บร้อยเหมาะแก่กาลเทศะ

ข. ทักทายผู้ฟังและลงท้ายอย่างเหมาะสม

ค. มจี ดุ มงุ่ หมายการพูดทีช่ ดั เจน ใชข้ ้อมูลประกอบการพูด

ง. หลกี เล่ียงการพดู เสียดสี ประชดประชัน เหนบ็ แนม

๒๕. การประเมนิ ผลหลังการพดู มีประโยชน์อย่างไร


Click to View FlipBook Version