กิจกรรมส่งเสริมการอา่ นออนไลน์
เนือ่ งในวันเขา้ พรรษา
ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวัดยโสธร
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองยโสธร
สำนกั งำน กศน.จงั หวดั ยโสธร
ประวัติวนั เข้าพรรษา
"เข้าพรรษา" แปลว่า "พกั ฝน" หมายถึง พระภิกษสุ งฆ์ตอ้ งอยู่ประจา ณ วดั ใด
วัดหนง่ึ ระหวา่ งฤดูฝน โดยเหตุที่พระภกิ ษุในสมัยพทุ ธกาล มหี นา้ ทจ่ี ะตอ้ งจาริกโปรดสัตว์
และเผยแผพ่ ระธรรมคาสง่ั สอนแกป่ ระชาชนไปในทีต่ า่ ง ๆ ไมจ่ าเป็นตอ้ งมที อี่ ยู่ประจา แม้
ในฤดฝู น ชาวบา้ นจึงตาหนวิ ่าไปเหยียบข้าวกล้าและพชื อืน่ ๆ จนเสียหาย พระพุทธเจ้าจึง
ทรงวางระเบยี บการจาพรรษาใหพ้ ระภิกษอุ ยปู่ ระจาทตี่ ลอด 3 เดอื น ในฤดฝู น โดย
แบง่ เปน็
- ปุรมิ พรรษา หรอื วันเข้าพรรษาแรก เรมิ่ ต้งั แต่วนั แรม 1 ค่า เดอื น 8 ของทกุ ปี
หรือถ้าปีใดมเี ดือน 8 สองคร้งั ก็เล่อื นมาเปน็ วันแรม 1 คา่ เดือน 8 หลงั และออกพรรษา
ในวันข้นึ 15 คา่ เดือน 11
- ปจั ฉมิ พรรษา หรอื วนั เข้าพรรษาหลงั เรมิ่ ต้งั แตว่ นั แรม 1 คา่ เดือน 9 จนถงึ
วนั ข้ึน 15 คา่ เดือน 12
อยา่ งไรก็ตาม หากมกี ิจธรุ ะ คอื เมือ่ เดินทางไปแล้วไมส่ ามารถจะกลบั ไดใ้ นวนั
เดยี วนัน้ ก็ทรงอนุญาตใหไ้ ปแรมคนื ได้ คราวหนง่ึ ไม่เกิน 7 คนื เรยี กวา่ "สตั ตาหะ" หาก
เกนิ กาหนดนถ้ี อื ว่าไม่ได้รับประโยชนแ์ ห่งการจาพรรษา จัดวา่ พรรษาขาด
สาหรับขอ้ ยกเว้นให้ภกิ ษจุ าพรรษาทีอ่ ืน่ ได้ โดยไม่ถือเป็นการขาดพรรษา เวน้ แต่
เกนิ 7 วัน ได้แก่
1. การไปรักษาพยาบาลภิกษุ หรือบดิ ามารดาท่ีเจ็บป่วย
2. การไประงบั ภิกษสุ ามเณรท่ีอยากจะสึกมิให้สกึ ได้
3. การไปเพื่อกจิ ธุระของคณะสงฆ์ เชน่ การไปหาอุปกรณ์มาซ่อมกฏุ ทิ ่ชี ารดุ
4. หากทายกนิมนตไ์ ปทาบุญ กไ็ ปฉลองศรัทธาในการบาเพญ็ กุศลของเขาได้
นอกจากนี้หากระหวา่ งเดินทางตรงกบั วนั หยุดเขา้ พรรษาพอดี พระภกิ ษุสงฆ์เข้ามา
ทนั ในหม่บู ้านหรือในเมืองกพ็ อจะหาที่พักพงิ ได้ตามสมควร แตถ่ า้ มาไม่ทนั กต็ ้องพึ่งโคนไม้
ใหญ่เป็นทีพ่ กั แรม ชาวบา้ นเหน็ พระได้รบั ความลาบากเช่นนี้ จงึ ชว่ ยกันปลูกเพงิ เพ่ือให้
ทา่ นได้อาศยั พักฝน รวมกนั หลาย ๆ องค์ ทพ่ี ักดังกลา่ วนี้เรียกว่า "วหิ าร" แปลวา่ ที่อยู่
สงฆ์ เมอื่ หมดแล้ว พระสงฆ์ท่านออกจารกิ ตามกิจของท่าน ครัง้ ถึงหนา้ ฝนใหมท่ า่ นก็
กลับมาพกั อีก เพราะสะดวกดี แต่บางทา่ นอยู่ประจาเลย บางทีเศรษฐมี จี ิตศรัทธาเล่ือมใส
ในพระพทุ ธศาสนา ก็เลือกหาสถานท่ีสงบเงียบไม่หา่ งไกลจากชมุ ชนนัก สร้างทพ่ี กั
เรียกวา่ "อาราม" ใหเ้ ป็นท่อี ยู่ของสงฆ์ดงั เช่นปจั จุบันน้ี
ท้งั นี้ โดยปกตเิ ครอื่ งใชส้ อยของพระตามพุทธานุญาตให้มีประจาตวั น้ัน มเี พยี ง
อฐั บรขิ าร อนั ได้แก่ สบง จีวร สังฆาฏิ เขม็ บาตร รดั ประคด หม้อกรองนา้ และมีดโกน
และกวา่ พระทา่ นจะหาทพ่ี ักแรมได้ บางทกี ็ถูกฝนต้นฤดูเปยี กปอนมา ชาวบา้ นทใี่ จบุญจงึ
ถวายผ้าอาบนา้ ฝนสาหรบั ใหท้ า่ นไดผ้ ลดั เปลยี่ น และถวายของจาเปน็ แกก่ ิจประจาวัน
ของท่านเปน็ พิเศษในวนั เขา้ พรรษา นบั เป็นเหตใุ หม้ ีประเพณีทาบุญเน่อื งในวันน้ีสบื มา...
อยา่ งไรกต็ าม แมก้ ารเข้าพรรษาจะเปน็ เรื่องของพระภกิ ษุ แตพ่ ทุ ธศาสนิกชนก็
ถอื เปน็ โอกาสดีทจี่ ะได้ทาบุญรกั ษาศลี และชาระจติ ใจใหผ้ อ่ งใส กอ่ นวันเข้าพรรษา
ชาวบ้านก็จะไปชว่ ยพระทาความสะอาดเสนาสนะ ซอ่ มแซมกุฏวิ หิ ารและอืน่ ๆ พอถงึ วัน
เขา้ พรรษาก็จะไปร่วมทาบญุ ตักบาตร ถวายเครอ่ื งสกั การบูชา ดอกไม้ ธูปเทียน และ
เครื่องใช้ เชน่ สบู่ ยาสีฟนั เป็นต้น พร้อมฟังเทศน์ ฟังธรรม และรกั ษาอุโบสถศลี กันท่วี ดั
บางคนอาจตง้ั ใจงดเว้นอบายมุขตา่ ง ๆ เปน็ กรณีพิเศษ เช่น งดเสพสุรา งดฆ่าสตั ว์ เปน็
ตน้ อนง่ึ บิดามารดามักจะจดั พิธีอุปสมบทให้บตุ รหลานของตน โดยถือกันวา่ การเข้าบวช
เรียนและอยู่จาพรรษาในระหว่างนีจ้ ะได้รบั อานสิ งส์อย่างสงู
ประเพณีที่ทาสืบเนือ่ งกันมา เมอ่ื ใกลถ้ ึงฤดูเขา้ พรรษา ซงึ่ มมี าตง้ั แต่โบราณกาล
คือ การหล่อเทียนเขา้ พรรษา เพราะในระยะเข้าพรรษา พระภกิ ษุจะตอ้ งมีการสวดมนต์
ทาวัตรทกุ เชา้ -เย็น และในการนีจ้ ะตอ้ งมธี ูป-เทยี นจดุ บชู าดว้ ย พุทธศาสนิกชนท้ังหลาย
จึงพร้อมใจกนั หลอ่ เทียนเข้าพรรษาสาหรับให้พระภกิ ษจุ ดุ เปน็ การกุศลทานอยา่ งหนง่ึ
เพราะเชือ่ กนั ว่าในการใหท้ านดว้ ยแสงสว่าง จะมีอานิสงสเ์ พม่ิ พนู ปญั ญาหูตาสว่างไสว
ตามชนบทนั้น การหลอ่ เทยี นเข้าพรรษาทากันอยา่ งเอิกเกรกิ สนุกสนานมาก เม่ือ
หลอ่ เสรจ็ แลว้ ก็จะมีการแหแ่ หนรอบพระอโุ บสถ 3 รอบ แลว้ นาไปบูชาพระตลอด
ระยะเวลา 3 เดือน บางแห่งกม็ กี ารประกวดการตกแตง่ มีการแห่แหนรอบเมอื งดว้ ยรวิ้
ขบวนทสี่ วยงาม โดยถอื วา่ เปน็ งานประจาปีเลยทีเดยี ว
กจิ กรรมต่าง ๆ ทีค่ วรปฏิบตั ิในวนั เขา้ พรรษา
- ร่วมกจิ กรรมทาเทยี นจานาพรรษา
- ร่วมกจิ กรรมถวายผ้าอาบน้าฝน และจตุปจั จยั แกพ่ ระภิกษสุ ามเณร
- รว่ มทาบุญ ตกั บาตร ฟังธรรมเทศนา รักษาอโุ บสถศลี
- อธษิ ฐานงดเวน้ อบายมขุ ตา่ ง ๆ
คณะผจู้ ดั ทา
ที่ปรกึ ษา ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองยโสธร
นายเจียม ขนั เงิน ครู
นายบรรลุ ทองเข็ม
บรรณารักษ์ชานาญการ
คณะทางาน พนกั งานพมิ พ์ ส.4
นางอรวรรณ ยลพนั ธ์
นายสพุ ล เจริญศรี บรรณารกั ษ์ชานาญการ
รวบรวม/จดั เรยี งรูปเลม่
นางอรวรรณ ยลพนั ธ์
ห้องสมุดประชาชนจงั หวัดยโสธร
ศนู ยก์ ำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศยั
อำเภอเมอื งยโสธร
สำนกั งำน กศน.จงั หวดั ยโสธร