The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม ปีการศึกษา 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กฤติยา พลหาญ, 2021-12-22 00:24:19

SAR โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม ปีการศึกษา 2563

SAR โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม ปีการศึกษา 2563

โรงเรียนเสลภูมิพทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๑

โรงเรยี นเสลภมู ิพทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๒

คำนำ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ฉบบั น้ี เป็นการสรุปรายงานผล
การประเมินตนเองของสถานศึกษา ซึ่งจะช้ีให้เห็นถึงจุดแข็งจุดท่ีควรพัฒนาของโรงเรียนในการดาเนินการ
ประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งโรงเรียนได้ดาเนินการประเมินการปฏิบัติงานด้านต่างๆ ตามมาตรฐานของ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน จานวน ๓ มาตรฐาน เพือ่ รายงานผลการดาเนนิ กจิ กรรมตลอด
ปกี ารศกึ ษาต่อหน่วยงานต้นสงั กดั หน่วยงานที่เกย่ี วข้อง และเปิดเผยตอ่ สาธารณชน

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาจะเป็นประโยชนอ์ ยา่ งยิ่งตอ่ การดาเนนิ งานพัฒนาระบบ
การประกันคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรยี นใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานทกี่ าหนดท่จี ะสรา้ งความมั่นใจให้แกผ่ ู้ปกครอง
ชุมชนและสังคม ขอขอบคุณคณะครู คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ผู้ปกครอง และนักเรียน
ต ล อ ด จ น ผู้ มี ส่ ว น เก่ี ย ว ข้ อ ง ทุ ก ท่ า น ที่ ให้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ใ น ก า ร จั ด ท า ร า ย ง า น ป ร ะ จ า ปี ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า
จนสาเรจ็ ลลุ ว่ งไปด้วยดี

นายไพฑรู ย์ มนตรี
ผอู้ านวยการโรงเรยี นเสลภมู พิ ทิ ยาคม

โรงเรียนเสลภมู พิ ิทยาคม www.sapit.ac.th ๓

สำรบญั หน้ำ

เรอ่ื ง ๑
สว่ นที่ ๑ ขอ้ มูลพนื้ ฐำนของสถำนศึกษำ ๑

๑.๑ ขอ้ มลู ท่วั ไป ๕
๑.๒ ขอ้ มูลบุคลากรของสถานศึกษา ๑๒
๑.๓ ขอ้ มูลนักเรียน ๑๔
๑.๔ ขอ้ มูลผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรยี น
๑.๕ คุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องผู้เรยี น ๑๖
๑.๖ ข้อมูลการใชแ้ หลง่ เรยี นรภู้ ายในและภายนอกโรงเรียน ๑๗
ส่วนท่ี ๒ ผลกำรประเมินตนเองของสถำนศกึ ษำ ๑๘
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพผเู้ รียน ๒๐
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ๒๑
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ
สรปุ ผลการประเมินตนเองโดยภาพรวม ๒๓
ส่วนที่ ๓ สรปุ ผล แนวทำงกำรพัฒนำ และควำมตอ้ งกำรกำรช่วยเหลอื ๒๔
ภำคผนวก ๒๖
- คารับรองการประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษารว่ มกบั ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ๒๗
- บันทกึ การพจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ๒๙
- คาสง่ั แต่ต้ังคณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ๕๒
- ประกาศโรงเรยี น เร่อื งการใชม้ าตรฐานการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ระดับขัน้ พน้ื ฐาน ๕๓
- ประกาศโรงเรยี น เรอื่ งกาหนดคา่ เป้าหมายมาตรฐานการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
- มาตรฐานการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน เพ่อื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา
- เชิญเปน็ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิเป็นคณะกรรรมการประเมนิ มาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรยี น
สถานศกึ ษา

โรงเรียนเสลภูมพิ ิทยาคม www.sapit.ac.th ๔

บทสรปุ ของผู้บรหิ ำรสถำนศึกษำ

โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม ตาบลเสลภูมิ อาเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
มัธยมศึกษาร้อยเอ็ด ได้ดาเนนิ งานพฒั นาคุณภาพการศึกษาตามระบบประกนั คณุ ภาพภายในอย่างต่อเนอ่ื งจนถึง
ปจั จุบันโดยได้ดาเนินงานตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 256๓ และมผี ลการดาเนินงาน
ดังน้ี

1. กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐานชาติ และมาตรฐานการศึกษา
ของตน้ สงั กัด สภาพบริบท ปัญหา ความต้องการโดยเนน้ การมสี ่วนร่วม

2. การจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและแผนปฏิบัติการประจาปีให้
สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

3. ปฏบิ ตั ิงานโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี ปีการศกึ ษา 2563
4. จดั ใหม้ ีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา ติดตามผลการดาเนนิ การอย่างตอ่ เนือ่ ง
5. จัดทารายงานผลการประเมนิ ตนเอง นาเสนอต่อคณะกรรมการสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ และ
จดั สง่ หนว่ ยงานตน้ สังกดั
กำรดำเนนิ งำน

มำตรฐำนท่ี 1 คุณภำพของผ้เู รยี น

ในด้านผลการประเมินผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการ ผเู้ รียนสามารถอ่านออกและอา่ นคลอ่ งตาม
มาตรฐานการอา่ นในแตล่ ะระดับช้ัน สามารถเขียนสอื่ สารได้ดี รจู้ กั การวางแผนสามารถทางานรว่ มกับผอู้ น่ื ไดด้ ี
ตามหลักประชาธิปไตย กล้าแสดงออกและแสดงความคดิ เห็น รู้แนวทางการเขยี นรายงานการประเมนิ ตนเอง
และวพิ ากษไ์ ดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์ สบื ค้นขอ้ มูลหรอื แสวงหาความรจู้ ากสื่อ เทคโนโลยไี ด้ดว้ ยตนเอง รวมทง้ั สามารถ
วเิ คราะห์จาแนกแยกแยะได้ว่าสิง่ ไหนดี สาคัญ จาเปน็ รวมท้งั รเู้ ทา่ ทนั สือ่ และสังคมท่ีเปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเรว็
ผู้เรยี นรู้และตระหนักถงึ โทษ และพษิ ภัยของส่งิ เสพตดิ ตา่ งๆ เลือกรบั ประทานอาหารท่สี ะอาด และมปี ระโยชน์
รกั การออกกาลงั กาย นักเรียนทุกคนสามารถเลน่ กฬี าได้อยา่ งน้อยคนละประเภท ยอมรบั ในกฎกตกิ าของกลมุ่
ของสถานศกึ ษาของสังคม มีทัศนคติทีด่ ีตอ่ อาชพี สุจรติ รวมถึงมคี วามเขา้ ใจเร่ืองความแตกต่างระหวา่ งบุคคลและ
ระหว่างวัย ผู้เรยี นมีคุณธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นิยมท่พี งึ ประสงคต์ ามหลกั สูตร มีความภูมใิ จในท้องถ่ินและรักใน
ความเป็นไทย สามารถนาความรูท้ ่ีได้ไปเผยแพร่ใหก้ ับคนทีส่ นใจได้รบั ทราบได้

นอกจากนั้นยังทาใหผ้ ูเ้ รยี นยอมรับทจี่ ะอยรู่ ว่ มกนั กับคนอนื่ ในสังคม บนความแตกต่างท่หี ลากหลาย
อย่างมคี วามสุขและยงั ทาให้ผู้เรียนมสี ุขภาวะทางรา่ งกายและลักษณะจิตทางสงั คม รจู้ กั วางตนใหอ้ ยใู่ นสงั คมได้
ป้องกันตนเองจากปัญหาภัยต่างๆรอบตวั ได้เปน็ อยา่ งดี และมีจิตใจทอี่ อ่ นโยน มีความสุข และพร้อมที่จะให้
สิ่งท่ีดตี ่อสังคมได้ ท้ังนี้มผี ลการดาเนนิ งานเชงิ ประจกั ษจ์ ากการประเมินในด้านตา่ ง ๆ ดงั ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสาร
เชงิ ประจักษ์ ท่สี นับสนุนผลการประเมนิ ตนเอง ผลกำรประเมนิ คุณภำพภำยในของสถำนศึกษำ : ระดบั ดเี ลิศ

มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำร

โรงเรียนได้ดาเนินการวเิ คราะหส์ ภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาทีผ่ า่ นมา โดยการศึกษาข้อมลู
สารสนเทศจากผลการนเิ ทศ ติดตาม ประเมิน การจัดการศกึ ษาตามนโยบายการปฏิรปู การศกึ ษา และจัดประชุม
ระดมความคิดเห็น จากบุคลากรในสถานศกึ ษา เพ่ือวางแผนร่วมกัน ในการกาหนดเป้าหมายปรับวิสัยทัศน์
กาหนดพันธกจิ กลยทุ ธ์ ในการจัดการศึกษาของโรงเรียน เพอ่ื พัฒนาคุณภาพผ้เู รยี น มกี ารปรับแผน พฒั นา
คุณภาพจัดการศกึ ษา แผนปฏิบตั กิ ารประจาปที ่ีสอดคล้องกบั สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนาและนโยบายการ

โรงเรียนเสลภมู พิ ิทยาคม www.sapit.ac.th ๕

ปฏริ ปู การศกึ ษา พรอ้ มทงั้ จดั หาทรพั ยากร จัดสรรงบประมาณมอบหมายงานใหผ้ รู้ ับผดิ ชอบดาเนนิ การพัฒนา
ตามแผนงานเพอ่ื ให้บรรลเุ ป้าหมายทก่ี าหนดไว้มกี ารดาเนินการนเิ ทศ กากบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน
และจดั ทารายงานผลการจัดการศึกษา

โรงเรียนมีการกาหนดเปา้ หมาย วิสัยทัศน์ และพนั ธกิจไว้อยา่ งชดั เจน สอดคล้องกบั บริบทและความ
ต้องการของชมุ ชน ทอ้ งถิน่ วตั ถปุ ระสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรฐั บาลและสานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน รวมท้ังทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงของสงั คม มกี ารบรหิ ารจัดการคุณภาพของ
สถานศึกษาอย่างเปน็ ระบบ ทั้งในส่วนการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา การนาแผนไปปฏบิ ตั ิเพ่ือ
พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา มกี ารตดิ ตามตรวจสอบประเมนิ ผลและปรบั ปรงุ พัฒนางานอยา่ งต่อเนอ่ื ง
มกี ารบรหิ ารอตั รากาลงั ทรัพยากรทางการศกึ ษา และระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น มรี ะบบการนเิ ทศภายใน
และนาข้อมลู มาใชใ้ นการพัฒนาบุคลากรและผูท้ เ่ี กีย่ วขอ้ งทุกฝ่ายมีส่วนร่วมการวางแผน ปรบั ปรุง และพัฒนา
และรว่ มรบั ผิดชอบต่อผลการจัดการศกึ ษา นอกจากนย้ี ังดาเนนิ งานพัฒนาวชิ าการทเี่ นน้ คณุ ภาพผเู้ รยี นรอบด้าน
ตามหลกั สูตรสถานศึกษา

นอกจากนีย้ ังสง่ เสรมิ สนบั สนุน พฒั นาครู บคุ ลากร ให้มีความเช่ียวชาญทางวชิ าชพี และจัดให้มีชมุ ชน
การเรียนรทู้ างวิชาชพี มาใช้ในการพัฒนางานและการเรยี นรขู้ องผเู้ รียน ครสู ามารถจัดสภาพแวดลอ้ มทาง
กายภาพและสังคมทเ่ี อ้อื ตอ่ การจดั การเรยี นรู้ โรงเรียนมกี ารปรับภมู ทิ ัศน์ และจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ
ทง้ั ภายในและภายนอกหอ้ งเรียน และสภาพแวดล้อมทางสงั คมที่เอือ้ ตอ่ การจัดการเรียนรู้ และมคี วามปลอดภยั
โรงเรียนจดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการบรหิ ารจัดการและการจดั การเรยี นร้พู ฒั นาและให้
บริการเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพื่อใชใ้ นการบรหิ ารจดั การและการจัดการเรยี นรทู้ ี่เหมาะสมกับสภาพของ
สถานศึกษา ผลกำรประเมินคณุ ภำพภำยในของสถำนศกึ ษำ : ระดับ ดีเลิศ

มำตรฐำนที่ 3 กระบวนกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนทีเ่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั

โรงเรียนดาเนนิ การสง่ เสรมิ ใหค้ รูจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญโดยการดาเนินงาน/
กจิ กรรมอยา่ งหลากหลาย ไดแ้ ก่ งานหลักสตู รมกี ารประชุมปฏบิ ตั ิการปรบั ปรงุ หลักสูตรสถานศกึ ษา มกี ารบูรณา
การภาระงาน ชิ้นงาน กาหนดคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ท่ีสอดคลอ้ งกับหนว่ ยการเรยี นรู้ สนบั สนุนใหค้ รจู ดั การ
เรียนการสอนที่สรา้ งโอกาสใหน้ ักเรียนทกุ คนมีสว่ นร่วม ได้ลงมอื ปฏบิ ัติจริงจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง จดั การ
เรยี นการสอนทเ่ี น้นทักษะการคิด เช่น จดั การเรียนรดู้ ้วยโครงงาน เนน้ การมปี ฏสิ มั พันธเ์ ชิงบวก ให้นกั เรยี นมี
ความสขุ ในการเรียนรู้ ครูมีการมอบหมายหนา้ ท่ีใหน้ กั เรยี นจดั ป้ายนเิ ทศ และบรรยากาศตามสถานที่ตา่ ง ๆ ทง้ั
ภายในหอ้ งเรยี นและนอกห้องเรยี น ครูใช้สือ่ การเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่นมกี าร
ประเมนิ คุณภาพการจดั การเรียนรู้อยา่ งมรี ะบบ ใหข้ ้อมูลยอ้ นกลับนกั เรียน เพ่อื นาไปพฒั นาการเรียนรู้ และ
ประสิทธิภาพของสอื่ การสอนท่ีใช้ และโรงเรียนได้ดาเนนิ การนเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรยี นการสอนทุกภาคเรียน
และนาผลมาวิเคราะห์เพ่ือวางแผนในการพัฒนาอย่างตอ่ เนือ่ ง ผลกำรประเมนิ คุณภำพภำยในของสถำนศึกษำ :
ระดับ ดเี ลศิ

จากผลการดาเนินงาน โครงการ และกจิ กรรมตา่ งๆ ส่งผลให้โรงเรยี นจดั การพฒั นาคณุ ภาพ

การศึกษาประสบผลสาเร็จตามท่ตี ง้ั เป้าหมายไว้ในแตล่ ะมาตรฐาน จากผลการประเมินสรปุ วา่ ได้ระดับดเี ลศิ

ทงั้ น้ี เพราะมาตรฐานที่ ๑ ผลการจัดการศกึ ษา อยู่ในระดับดเี ลศิ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการ

จดั การ อยู่ในระดับดีเลิศ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ อย่ใู นระดับ

ดีเลิศ ทง้ั น้ี สถานศกึ ษามกี ารจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผ้เู รยี นอย่างหลากหลายท่ีเป็นไปตามปญั หาและความ

ต้องการพัฒนาตามสภาพของผเู้ รยี น สอดคล้องกับจุดเน้นของสถานศกึ ษาและสภาพของชมุ ชนท้องถนิ่ จนมีผล

โรงเรยี นเสลภูมิพทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๖

การพฒั นาคณุ ภาพของผเู้ รียนอยู่ในระดบั ดเี ลิศ ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการอา่ นและเขยี น การส่อื สารทง้ั
ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ ความสามารถในการคิดคานวณ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารไดด้ ี และ
มีความประพฤตดิ า้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะตามทสี่ ถานศึกษากาหนดปรากฏอย่างชดั เจน
ดงั ทป่ี รากฏผลการประเมนิ ในมาตรฐานท่ี ๑ ด้านคณุ ภาพผู้เรียนจงึ มผี ลประเมนิ ในรายมาตรฐานอยู่ในระดบั ดี
เลศิ นอกจากนสี้ ถานศึกษาได้มกี ารวางแผน ออกแบบกจิ กรรมและดาเนนิ งานตามแผนที่เกิดจากการ
มีส่วนร่วม ใชผ้ ลการประเมินและการดาเนินงานท่ีผ่านมาเปน็ ฐานในการพฒั นา และสอดคล้องกบั เป้าหมาย
การพัฒนา ตรวจสอบผลการดาเนินงาน และการปรบั ปรงุ แกไ้ ขงานใหด้ ีขึ้นอยา่ งต่อเนอ่ื ง และสถานศึกษาได้
ดาเนนิ งานตามระบบการประกนั คุณภาพภายในอย่างเป็นขน้ั ตอน โดยสถานศึกษาให้ความสาคัญกับผ้เู กีย่ วขอ้ ง
ทกุ ฝ่ายเพ่ือเกดิ ความรว่ มมอื ในการวางระบบและดาเนนิ งานประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาเปน็ อย่างดี
และผู้มีส่วนเกี่ยวขอ้ งมีความม่ันใจตอ่ ระบบการบริหารและการจดั การของสถานศกึ ษา จนเกิดคุณภาพ
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทางาน มาตรฐานที่ 2 ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ จึงมีผล
ประเมนิ อย่ใู นระดับดีเลศิ และครูมกี ารจัดกระบวนการเรียนการสอนท่เี นน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั โดยครูมกี าร
วเิ คราะห์ ออกแบบและจดั การเรียนรทู้ ี่เป็นไปตามความตอ้ งการของหลักสตู ร และบริบทสถานศกึ ษา พัฒนา
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ใชส้ อ่ื การเรียนรู้ ติดตามตรวจสอบและชว่ ยเหลือนักเรียนเพื่อพัฒนาและแก้ปญั หา
รายบคุ คล และการประเมินผลจากสภาพจรงิ ในทุกขน้ั ตอน มาตรฐานที่ 3 ดา้ นกระบวนการเรยี นการสอนท่เี น้น
ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ จงึ มีผลประเมนิ อยูใ่ นระดับดีเลิศ

โรงเรยี นเสลภมู พิ ิทยาคม www.sapit.ac.th ๗

สว่ นท่ี ๑ ข้อมลู พนื้ ฐำนของสถำนศึกษำ

๑.๑ ขอ้ มูลท่วั ไป

ชอ่ื โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม เลขท่ี ๙๙ หมู่ ๑ ต.ขวญั เมือง อ.เสลภมู ิ จ.รอ้ ยเอด็ ๔๕๑๒๐

สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษารอ้ ยเอ็ด โทรศัพท์ (๐๔๓)๕๕๑๓๙๕

โทรสาร (๐๔๓)๕๕๑๓๙๖

เปิดสอนระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ถึงระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๖

๑.๒ ข้อมูลบุคลำกรของสถำนศึกษำ

๑) จำนวนบุคลำกร

บคุ ลำกร ผอู้ ำนวยกำร รอง ครผู ้สู อน พนักงำน ครูอตั รำจ้ำง เจ้ำหนำ้ ที่
ผู้อำนวยกำร รำชกำร อ่ืนๆ

ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ๑ ๓ ๑๒๗ ๓ ๑๓ 2๑

ขอ้ มูล ณ วนั ที่ ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ.256๓

แผนภำพท่ี ๑ แสดงรอ้ ยละบคุ ลำกร

โรงเรียนเสลภมู ิพทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๘

๒) วฒุ กิ ำรศึกษำสงู สุดของบคุ ลำกร

วฒุ ิกำรศึกษำ ปวช. ปวส. ปริญญำตรี ประกำศนยี บตั ร ปรญิ ญำโท ปริญญำเอก
บณั ฑิต ๖๐ ๑
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ - - ๘๗


แผนภำพท่ี ๒ แสดงรอ้ ยละบุคลำกรจำแนกตำมวฒุ ิกำรศึกษำสูงสุดของบุคลำกร

3) วิทยฐำนะ ครู คศ ๑ ครู คศ. ๒ ครู คศ. ๓ ครู คศ. ๔ ครู คศ.๕
๒๓ -
วิทยฐำนะ ครูผู้ชว่ ย ๑๕ 8๐ -
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ๙

แผนภำพท่ี ๓ แสดงร้อยละบุคลำกรจำแนกตำมวิทยฐำนะ

โรงเรียนเสลภูมิพทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๙

๔) สำขำทจ่ี บกำรศกึ ษำและภำระงำนสอน

สำชำวิชำ ภำคเรียนท่ี ๑ ภำคเรียนท่ี 2
ภำระงำนสอนเฉลยี่ ภำระงำนสอนเฉลยี่
บริหำรกำรศกึ ษำ
ภำษำไทย จำนวน ของครู ๑ คน จำนวน ของครู ๑ คน
คณติ ศำสตร์ (ชม./สปั ดำห์) (ชม./สปั ดำห์)
วิทยำศำสตร์
สงั คมศกึ ษำ ๕- 4-
สขุ ศกึ ษำ ๑3 ๑8.00 ๑3 ๑7.23
ศิลปะ 2๒ ๑6.80 2๒ ๑6.80
กำรงำนอำชพี 3๓ ๑6.๑4 3๓ ๑5.76
ภำษำองั กฤษ ๑๕ ๑7.70 ๑๕ ๑8.05
แนะแนว 7 ๑7.85 7 ๑7.85
6 ๑8.00 ๖ ๑5.43
รวม ๙ ๑7.๑2 ๙ ๑7.87
๑๕ ๑7.๑6 ๑๕ ๑8.27
4 ๑7.00 4 ๑7.00
๑2๙ ๑8.74 ๑๒๘ ๑8.59

แผนภำพที่ ๔ แสดงร้อยละบคุ ลำกรจำแนกตำมสำขำทีจ่ บกำรศึกษำ

โรงเรยี นเสลภมู ิพิทยาคม www.sapit.ac.th ๑๐

๑.๓ ขอ้ มูลนักเรียน

จำนวนนักเรยี นปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๓ รวม ๒,5๖๓ คน

ระดบั ชน้ั จำนวนหอ้ ง เพศ หญงิ รวม เฉลี่ยตอ่ ห้อง
ม.๑ ๑3 ชำย 28๖
2๒5 5๑๑ 3๙.๓๑
28๒ 5๐๙
ม.๒ ๑๓ 2๒7 2๕๔ 4๙๕ 39.15
ม.๓ ๑๒ 24๑ 8๒๒ ๑,๕๑๕ 41.25
รวม ๓๘ 69๓ 2๐6 3๖๒ 39.87
ม.๔ ๑0 ๑๕๖ 2๑๓ 3๕๒ 36.20
ม.๕ ๑๐ ๑๓๙ 2๑๗ 33๔ 35.20
ม.๖ ๑๑ ๑๑๗ 6๓๖ ๑,0๔๘ 30.36
รวม ๓๑ ๔๑๒ ๑,4๕๘ 2,5๖๓ 33.81
รวมท้งั หมด ๖๙ ๑,๑05 37.14

แผนภำพท่ี ๕ แสดงเปรยี บเทยี บจำนวนนกั เรยี นระดับมธั ยมศกึ ษำปที ่ี ๑ - มัธยมศึกษำปที ี่ ๖
ปกี ำรศึกษำ ๒๕6๑ – ๒๕๖๓

ระดบั ชั้น

จำนวน(คน)

โรงเรยี นเสลภูมิพทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๑๑

๑.๔ ขอ้ มลู ผลสัมฤทธ์ิทำงวชิ ำกำรของผูเ้ รยี น
๑.4.๑ มคี วำมสำมำรถในกำรอำ่ น กำรเขยี น กำรสื่อสำร และกำรคิดคำนวณ
แผนภำพท่ี 6 ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มผี ลกำรประเมนิ ควำมสำมำรถ กำรสือ่ สำร
ชั้นมัธยมศึกษำปีท่ี ๑ และ ๔ จำแนกตำมระดบั คณุ ภำพ

รอ้ ยละ

๑.4.2 มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ วจิ ารณญาณ อภิปราย แลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ และ
แกป้ ญั หา

แผนภำพท่ี 7 ร้อยละของจำนวนนกั เรียนทมี่ ผี ลกำรประเมนิ ควำมสำมำรถ ในกำรคดิ วเิ ครำะห์
คดิ อยำ่ งมวี ิจำรณญำณ อภิปรำยแลกเปลี่ยนควำมคิดเห็น และแกป้ ัญหำ
ชัน้ มธั ยมศึกษำปที ี่ ๒ และ๕ จำแนกตำมระดบั คุณภำพ

โรงเรียนเสลภมู พิ ทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๑๒

๑.4.3 มคี วามสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม
แผนภำพที่ 8 ร้อยละของจำนวนนกั เรียนที่มีควำมสำมำรถในกำรสร้ำงนวัตกรรม
ช้ันมธั ยมศึกษำปีท่ี ๓ และมัธยมศึกษำปที ่ี ๖

๑.4.4 มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร
แผนภำพที่ 9 ร้อยละของจำนวนนกั เรียนที่มคี วำมสำมำรถในกำรใชเ้ ทคโนโลยสี ำรสนเทศ

และกำรสื่อสำร (ม.๑ – ม.๖)

โรงเรียนเสลภมู ิพทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๑๓

๑.4.5 มผี ลสัมฤทธิท์ ำงกำรเรยี นตำมหลกั สูตรสถำนศกึ ษำ

รอ้ ยละของนกั เรียนทมี่ ีเกรดเฉลย่ี ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรยี นแต่ละรำยวิชำในระดบั ๓ ข้ึนไป

ระดับมัธยมศกึ ษำปที ่ี ๑-๖ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๓

วชิ ำ จำนวนนักเรยี นที่ไดร้ ะดับ ๓ ขึ้นไป ม.๖ คดิ เปน็ จำนวนนักเรียนทีไ่ ดร้ ะดับ ๓ ข้ึนไป คิดเป็น
ภำคเรยี นที่ ๑ รอ้ ยละ ภำคเรยี นท่ี ๒ ร้อยละ
ภำษำไทย
ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖ 5๓.3๔

2๕2 2๔๘ 2๘๒ ๒๓๙ ๒๑5 212 ๕๖.๕๐ ๓2๙ ๒๒๕ ๒๙๒ 20๙ ๑๒๐ ๑๙๒

คณติ ศำสตร์ ๒๓๗ 2๒๐ ๑๙๘ ๑๒๑ ๘๕ 277 ๔๔.๔๐ ๒๗๐ ๑๙๕ 2๖๔ ๒๕๕ ๒๓๘ ๒๔๖ ๕๗.๒๘

วิทยำศำสตร์ ๔๐๐ ๓๑๐ ๒9๑ ๒๐๗ 5๘ 316 ๖๑.7๒ ๔๑๓ ๓๓๐ ๓๖๑ ๒๖๖ ๒๔๘ ๒๘๑ ๗๔.๐๙

สังคมศกึ ษำ 4๒0 2๙๑ ๓๓๑ ๒๘๙ ๑55 ๑77 6๔.88 3๔๕ 404 ๔๒๐ ๒๖๖ ๓๐๕ ๒๖๗ ๗๘.๓0

สขุ ศึกษำฯ 4๓6 ๕๐๑ ๔๗๔ 33๕ 293 3๑6 ๙๑.๘๘ 4๑๒ 35๖ 3๙๘ ๓๕๐ ๓๑๖ 3๒๘ 8๔.๒๗

ศลิ ปะ 3๘๓ 3๘๘ ๔๑๒ ๓๓๒ 253 3๐๐ ๘๐.๖8 4๓๓ 3๑2 ๔๒๔ ๓๐๘ 2๙๑ 322 8๑.5๔

กำรงำนฯ 4๖2 ๓๗๐ 4๗๓ ๒๗๔ 333 319 8๗.0๔ 4๔๙ ๔๔๖ 4๖๖ ๒๙๑ ๓๐๙ 2๙๕ 8๘.๐๒

ภำษำอังกฤษ ๒๔๕ ๒๖๘ 2๑๒ ๑๙๐ 278 3๐๔ 49.74 ๒๐๖ 2๙๔ 2๑๒ ๑๗๑ ๑๓๖ ๒๕๗ ๔๙.7๘

แผนภำพที่ ๑0 แสดงรอ้ ยละของนกั เรยี นที่มเี กรดเฉลยี่ ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนแต่ละรำยวิชำในระดับ ๓
ข้นึ ไป ระดับมธั ยมศึกษำปีท่ี ๑-๖ ภำคเรียนท่ี ๑ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๓

ร้อยละ

โรงเรยี นเสลภูมิพทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๑๔

แผนภำพท่ี ๑๑ แสดงร้อยละของนักเรียนที่มเี กรดเฉลยี่ ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนแต่ละรำยวิชำในระดับ ๓
ข้ึนไป ระดับมธั ยมศึกษำปีท่ี ๑-๖ ภำคเรยี นที่ ๒ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๓

ร้อยละ
ผลกำรทดสอบระดบั ชำติของผเู้ รยี น (O–NET) ช้ันมธั ยมศึกษำปีท่ี ๓ ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๓

ระดบั /รำยวิชำ ภำษำไทย คณติ ศำสตร์ วทิ ยำศำสตร์ ภำษำองั กฤษ
คะแนนเฉล่ียของโรงเรียน ๕๕.๓๓ ๒๖.๐๕ ๒๙.๗๘ ๓๓.๖๑
คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด ๕๓.๖๓ ๒๔.๘๑ ๒๙.๓๘ ๓๒.๕๒
คะแนนเฉลย่ี ระดบั ภาค ๕๓.๖๕ ๒๔.๘๑ ๒๙.๔๐ ๓๒.๘๒
คะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศ ๕๔.๒๙ ๒๕.๔๖ ๒๙.๘๙ ๓๔.๓๘

แผนภำพที่ ๑2 แสดงรอ้ ยละของคะแนนกำรทดสอบระดบั ชำติขัน้ พ้นื ฐำน ๒๕๖๓ ชัน้ มธั ยมศกึ ษำปที ี่ ๓

โรงเรยี นเสลภูมิพิทยาคม www.sapit.ac.th ๑๕

เปรียบเทียบผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดบั ชำติขน้ั พ้ืนฐำน ( O-NET )
ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒- ๒๕๖๓ ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษำปที ่ี ๓

รำยวชิ ำ ปี ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๓ ผลต่ำง
ภาษาไทย ๕๕.๖๔ ๕๕.๓๓ -๐.๓๑
คณิตศาสตร์ ๒๖.๕๕ ๒๖.๐๕ -๐.๕๐
วิทยาศาสตร์ ๓๐.๑๙ ๒๙.๗๘ -๐.๔๑
ภาษาองั กฤษ ๓๑.๐๐ ๓๓.๖๑ +๒.๖๑

แผนภำพท่ี ๑3 แสดงร้อยละของคะแนนกำรทดสอบระดบั ชำตขิ นั้ พน้ื ฐำน ช้ันมธั ยมศกึ ษำปที ี่ ๓ ปี ๒๕๖๒-๒๕๖๓

โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม www.sapit.ac.th ๑๖

ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดบั ขัน้ พน้ื ฐำน (O–NET) ชนั้ มัธยมศกึ ษำปที ี่ ๖ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๓

ระดบั /รำยวิชำ ภำษำไทย คณิตศำสตร์ วทิ ยำศำสตร์ ภำษำอังกฤษ สงั คมศึกษำ
คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน ๔๓.๐๕ ๒๒.๗๕ ๓๐.๖๐ ๒๔.๓๔ ๓๕.๔๗
คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด ๔๑.๐๗ ๒๓.๑๐ ๓๐.๓๙ ๒๕.๘๔ ๓๔.๘๐
คะแนนเฉล่ียระดับภาค ๔๑.๗๑ ๒๓.๕๖ ๓๐.๙๙ ๒๖.๘๔ ๓๕.๐๒
คะแนนเฉลีย่ ระดบั ประเทศ ๔๔.๓๖ ๒๖.๐๔ ๓๒.๖๘ ๒๙.๙๔ ๓๕.๙๓

แผนภำพท๑ี่ 4 รอ้ ยละคะแนนผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดับขัน้ พ้นื ฐำน (O–NET) ช้นั มัธยมศึกษำปีท่ี ๖
ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๓

เปรยี บเทียบผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขน้ั พ้นื ฐำน ( O-NET )
ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๒- ๒๕๖๓ ระดับชัน้ มัธยมศึกษำปีที่ 6

รำยวชิ ำ ปี ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๓ ผลต่ำง

ภาษาไทย ๔๐.๖๖ ๔๓.๐๕ +๒.๓๙

สงั คมศึกษาฯ ๓๔.๗๒ ๓๕.๔๗ +๐.๗๕

ภาษาอังกฤษ ๒๓.๗๔ ๒๔.๓๔ +๐.๖๐
คณติ ศาสตร์ ๒๒.๕๐ ๒๒.๗๕ +๐.๒๕
วิทยาศาสตร์ ๒๗.๒๙ ๓๐.๖๐ +๓.๓๑

โรงเรียนเสลภมู พิ ทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๑๗

แผนภำพที่ ๑5 กำรเปรียบเทยี บผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดบั ชำติขนั้ พนื้ ฐำน ( O-NET )
ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๒- ๒๕๖๓ ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษำปที ี่ ๖

๑.4.6 มีความรู้ ทักษะพน้ื ฐาน และเจตคติทดี่ ตี ่องานอาชีพ
แผนภำพที่ ๑6 ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มคี วำมรู้ ทกั ษะพื้นฐำน และเจตคตทิ ่ีดี
ต่องำนอำชีพ ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๓

โรงเรยี นเสลภูมพิ ิทยาคม www.sapit.ac.th ๑๘

๑.5 คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ของผเู้ รยี น
๑.5.๑ การมคี ณุ ลักษณะและค่านิยมท่ดี ีตามที่สถานศกึ ษากาหนด

แผนภำพที่ ๑7 ร้อยละของจำนวนนกั เรียนทีม่ คี ุณลักษณะและค่ำนิยมท่ดี ีตำมทีส่ ถำนศึกษำกำหนด
ช้ันมธั ยมศึกษำปที ่ี ๑ – ๖ จำแนกตำมระดับคณุ ภำพดเี ลิศ

๑.5.๒ ความภูมใิ จในทอ้ งถน่ิ และความเป็นไทย
แผนภำพที่ ๑8 ร้อยละของจำนวนนักเรียนท่ีมีควำมภมู ิใจในท้องถ่ินและควำมเป็นไทย
ชนั้ มธั ยมศกึ ษำปที ี่ ๑ – ๖ จำแนกตำมระดบั คุณภำพดีเลศิ

โรงเรียนเสลภูมิพทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๑๙

๑.5.3 การยอมรับทจ่ี ะอย่รู ่วมกันบนความแตกต่างและความหลากหลาย
แผนภำพที่ ๑9 รอ้ ยละของจำนวนนักเรยี นที่มีกำรยอมรบั ทจ่ี ะอย่รู ว่ มกนั บนควำมแตกตำ่ งทหี่ ลำกหลำย

ช้นั มัธยมศกึ ษำปที ี่ ๑ – ๖ จำแนกตำมระดับคุณภำพดีเลิศ

๑.5.4 สุขภาวะทางร่างกาย และลักษณะจติ สงั คม
แผนภำพที่ 20ร้อยละของจำนวนนักเรยี นทม่ี สี ขุ ภำวะทำงร่ำงกำยและจติ สังคม
ช้ันมัธยมศึกษำปที ี่ ๑ – ๖ จำแนกตำมระดับคุณภำพดีเลิศ

โรงเรยี นเสลภมู พิ ิทยาคม www.sapit.ac.th ๒๐

๑.๖ ขอ้ มูลกำรใชแ้ หล่งเรยี นร้ภู ำยในและภำยนอกโรงเรียน ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๓
จำนวนนกั เรียนใชแ้ หล่งเรียนรู้ภำยในโรงเรยี น ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๓

แหลง่ เรยี นรู้ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖
หอ้ งสมุด 5๑5 505 460 358 344 335
ห้องศนู ยส์ อ่ื 5๑5 505 460 358 344 335
ศูนย์คอมพิวเตอร์ 5๑5 505 460 358 344 335

แผนภำพท่ี 2๑ แสดงร้อยละจำนวนนักเรียนท่ีกำรใช้แหลง่ เรียนรู้ภำยในและภำยนอกโรงเรียน
ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๓

จำนวนนกั เรียนใชแ้ หลง่ เรยี นรูน้ อกโรงเรยี น ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๓

แหลง่ เรียนรู้ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖
จ.ยโสธร-จ.รอ้ ยเอด็ 5๑5 - - - - -
จ.นครพนม-จ.มุกดำหำร -
จ.ขอนแกน่ - 505 - - - -
จ.บรุ รี มั ย์ - - 460 - - -
จ.นครรำชสีมำ - - - 358 - -
จ.อุบลรำชธำนี - - - - 344 335
-----

โรงเรียนเสลภมู ิพทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๒๑

ส่วนท่ี ๒ ผลกำรประเมนิ ตนเองของสถำนศกึ ษำ
ระดบั กำรศกึ ษำขน้ั พน้ื ฐำน ๓ มำตรฐำน

มำตรฐำนที่ ๑ คุณภำพของผเู้ รียน ระดับคุณภำพ ดีเลศิ

๑. กระบวนกำรพัฒนำ

โรงเรียนมกี ระบวนการพัฒนาผูเ้ รียนด้วยวิธกี ารท่ีหลากหลาย ครจู ดั การเรียนร้ใู หเ้ ป็นไปตาม
ศกั ยภาพของผเู้ รียน และเป็นไปตามมาตรฐาน และตวั ชวี้ ดั ของหลักสูตรมีการออกแบบการจดั การเรยี นรู้

ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียน โดยมีการจัดการเรียนรู้ทั้งรูปแบบการระดมสมอง แบบลงมือปฏิบัติจริง แบบร่วมมือกัน
เรยี นรู้ แบบใช้กระบวนการคิดกระบวนการแก้ไขปญั หาเป็นหลัก และเน้นเร่ืองการอ่านออกของผู้เรียนเป็นเร่ือง
สาคัญที่สุดโดยมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนทุกคนอ่านคล่อง เขียนคล่องได้ทุกระดับช้ัน พัฒนาครูทุกคนให้มีความสามารถใน

การนาเทคนิควิธีสอนให้ตรงตามศักยภาพผู้เรียน ใช้สื่อเทคโนโลยีในการจัดการเรยี นการสอนมีแหล่งเรียนรู้และ
แหล่งสืบค้นข้อมูล ได้แก่ ห้องสมุด E – Library ครูเน้นการใช้คาถามเพื่อพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียน

นอกจากน้ี สถานศึกษาได้มีการดาเนินการเพือ่ พัฒนาทกั ษะชีวิตของผู้เรียน เพื่อให้อยู่ในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสุข
เนน้ การพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม ท่ีเหมาะสมกับวัยของผู้เรยี น ดาเนนิ การตามวิสยั ทศั นข์ องโรงเรียน และ
รู้เท่าทันสื่อและสิ่งไม่พงึ ประสงค์ โดยการจัดค่ายคณุ ธรรมกับนักเรียน จัดกจิ กรรมการพัฒนาให้เหมาะสมกบั วัย

พัฒนาคุณธรรมผู้เรียนตามหลักสูตรการศึกษาขนั้ พื้นฐานให้กบั นักเรียน เน้นให้ผูเ้ รียนมีวินัยซื่อสัตย์ รบั ผิดชอบ
และมีจิตสาธารณะ มีระบบการแนะแนวและการดูแลสุขภาวะจิต นาภูมิปัญญาท้องถ่ินมาร่วมกันวางแผนการ

จดั การเรียนการสอนและมีการเรียนรูใ้ นโลกกวา้ ง การเข้าไปศึกษากับภมู ิปัญญาในชุมชนรอบๆ สถานศกึ ษาจัด
กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้สอดคล้องกับนโยบาย ค่านิยมหลัก ๑๒ ประการคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สง่ เสรมิ การออกกาลงั กาย และเพม่ิ เวลารเู้ รื่องอาชพี เช่น การร้อยพวงมาลยั การผลิตของใช้ กระทงใบตอง

เป็นต้น สถานศึกษาได้สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ โดยจัดทา
โครงการ/กิจกรรม การประชุมผู้ปกครอง ค่ายส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ทักษะชีวิต และวิถีชีวิต ตามหลัก

เศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมครู กจิ กรรมปฐมนิเทศนักเรียนใหม่ กจิ กรรมวันไหว้ครู กิจกรรมร่วมประเพณที าง
ศาสนา กจิ กรรมวนั พ่อ–วันแม่แหง่ ชาติ กจิ กรรมทาบุญขึน้ ปีใหม่ กจิ กรรมระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน เชน่ การ
เยี่ยมบ้าน การคัดกรองนักเรียน ตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และกิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตยใน

โรงเรยี นโดยการจัดกิจกรรมการเลือกตั้งประธานสภานักเรียน ส่งเสริมภาวะผนู้ าและผู้ตาม สนับสนุนสง่ เสริมให้
ผูเ้ รยี นได้อนรุ กั ษ์ทรพั ยากรและส่ิงแวดล้อม โดยจัดทาโครงการ/กิจกรรมจิตอาสา เพอื่ ทาความดี โดยใช้กิจกรรม

พฒั นาผูเ้ รียน ให้นักเรยี นทกุ คนส่งขยะทกุ วัน กิจกรรม BIG Cleaning Day ในโรงเรียนภาคเรียนละ ๑ ครั้ง กอ่ น
ปดิ ภาคเรียน และยังมีกิจกรรมเศรษฐศาสตร์การเรียนรู้สู่รากฐานเศรษฐกิจพอเพียง สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เรียน
เรียนรู้ความเป็นไทยและภูมิใจในท้องถิ่น โดยจัดทาโครงการ/กิจกรรมแห่เทียนเข้าพรรษา กิจกรรมวันลอย

กระทง ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ เพอื่ การเรียนรู้การรักษาอารมณ์ สุขภาวะทางร่างกายและ
จิตสังคม โดยจัดโครงการค่ายพัฒนาวงดนตรีลูกทุ่ง วงโยธวาทิต วงดนตรีพื้นเมืองและวงดนตรีไทยจัดกจิ กรรม

ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างท่ีหลากหลายโดยจัดทาโครงการ/กิจกรรม แบ่งปันน้าใจแบ่งของใช้ให้
สังคม กิจกรรมวันคริสต์มาส วันตรุษจีน วันเข้าพรรษาอีกทั้งยังส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกาย และ
ลักษณะจิตสังคม โดยจัดทาโครงการ/กจิ กรรมกีฬาตา้ นยาเสพตดิ กิจกรรมอบรมนักเรยี นแกนนาต้านยาเสพติด

กิจกรรมการตรวจสุขภาพประจาปี กิจกรรมรณรงค์วันงดสูบบุหร่ีโลก กิจกรรมขับขี่ปลอดภัยในสถานศึกษา
กจิ กรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานศึกษา กิจกรรมการให้ความรู้ทักษะชีวิต อบรมการป้องกันยาเสพติดและ

โรงเรียนเสลภูมิพทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๒๒

โรคเอดส์ กิจกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยเรียน กิจกรรมวัยรุ่นวัยใส กิจกรรมให้ความรู้เก่ียวกับการจราจร
การจัดนทิ รรศการทางศิลปะ ดนตรี นาฏศลิ ป์ และนนั ทนาการ

๒. ผลกำรดำเนนิ งำน
ในด้านผลการประเมนิ ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการ ผเู้ รียนสามารถอ่านออกและอา่ นคล่องตามมาตรฐาน

การอ่านในแต่ละระดับช้นั สามารถเขยี นส่ือสารได้ดี รจู้ ักการวางแผนสามารถทางานรว่ มกับผูอ้ นื่ ไดด้ ีตามหลัก
ประชาธปิ ไตย กล้าแสดงออกและแสดงความคิดเห็น รู้แนวทางการเขยี นรายงานการประเมินตนเองและวพิ ากษ์
ได้อย่างสร้างสรรค์ สบื คน้ ข้อมูลหรือแสวงหาความรู้จากสือ่ เทคโนโลยไี ด้ดว้ ยตนเอง รวมทั้งสามารถวเิ คราะห์
จาแนกแยกแยะได้วา่ สิ่งไหนดี สาคญั จาเป็น รวมทั้งรู้เท่าทนั ส่ือและสังคมทเ่ี ปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้เรียนรู้
และตระหนักถึงโทษ และพิษภัยของส่ิงเสพติดต่างๆ เลือกรับประทานอาหารที่สะอาด และมีประโยชน์ รักการ
ออกกาลงั กาย นกั เรียนทุกคนสามารถเลน่ กีฬาไดอ้ ย่างน้อยคนละประเภท ยอมรับในกฎกติกาของกลุ่ม
ของสถานศกึ ษาของสังคม มีทัศนคตทิ ่ีดตี ่ออาชีพสุจรติ รวมถึงมีความเข้าใจเร่ืองความแตกต่างระหว่างบคุ คลและ
ระหวา่ งวัย ผ้เู รยี นมคี ุณธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นิยมทพี่ ึงประสงค์ตามหลกั สตู ร มีความภมู ิใจในทอ้ งถ่นิ
และรกั ในความเป็นไทย สามารถนาความรู้ท่ไี ด้ไปเผยแพร่ให้กบั คนท่ีสนใจได้รับทราบได้

นอกจากนั้นยงั ทาให้ผู้เรียนยอมรบั ทีจ่ ะอย่รู ว่ มกันกบั คนอนื่ ในสังคม บนความแตกต่างท่ีหลากหลาย
อยา่ งมคี วามสุขและยังทาให้ผู้เรียนมีสขุ ภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตทางสังคม รู้จกั วางตนใหอ้ ยใู่ นสังคมได้
ปอ้ งกันตนเองจากปัญหาภัยต่างๆรอบตวั ไดเ้ ป็นอย่างดี และมีจติ ใจท่ีออ่ นโยน มีความสุข และพรอ้ มทจ่ี ะให้
สิง่ ทด่ี ตี อ่ สังคมได้ ทง้ั นีม้ ผี ลการดาเนินงานเชิงประจักษ์จากการประเมินในด้านตา่ ง ๆ ดังขอ้ มูล หลักฐาน เอกสาร
เชงิ ประจักษ์ ทส่ี นับสนุนผลการประเมนิ ตนเอง

๑) นักเรียนทกุ คนมีความสามารถในการอ่าน เขียนภาษาไทย ในระดับดี ตามเกณฑ์ สถานศึกษา
2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-3 มากกว่าร้อยละ 95 มีความสามารถในการอ่านออกเสียง อ่านรู้
เรือ่ ง การเขียนคา และการเขยี นเร่ือง ตามแบบประเมินและเกณฑ์การประเมินของ สานักทดสอบทางการศึกษา
สพฐ.
3) นกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 มากกวา่ รอ้ ยละ 80 มคี วามสามารถดา้ นภาษา ในระดบั ดขี น้ึ ไป จาก
แบบทดสอบความสามารถด้านภาษา ในการทดสอบวัดความรู้ระดบั ชาติ O-NET ของ สพฐ
4) นกั เรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๖ มากกว่ารอ้ ยละ 80 มีความสามารถด้านภาษา ในระดบั ดีขน้ึ ไป จาก
แบบทดสอบความสามารถด้านภาษา ในการทดสอบวดั ความรรู้ ะดับชาติ O-NET ของ สพฐ
5) นักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 มากกวา่ ร้อยละ 70 มคี วามสามารถดา้ นคิดคานวณ ในระดับดีขึ้นไป
จากแบบทดสอบความสามารถด้านคิดคานวณ ในการทดสอบวัดความรรู้ ะดับชาติ O-NET ของ สพฐ
6) นักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 มากกวา่ รอ้ ยละ 70 มีความสามารถด้านคิดคานวณ ในระดับดีข้นึ ไป
จากแบบทดสอบความสามารถด้านคดิ คานวณ ในการทดสอบวดั ความรู้ระดบั ชาติ O-NET ของ สพฐ
8) นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 มากกว่าร้อยละ 70 มีความสามารถด้านเหตุผล ในระดับดีขึ้นไป
จากแบบทดสอบความสามารถด้านเหตุผล ในการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ (NT) ของ
สพฐ ตัวอย่าง การนาเสนอข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่
๑ คณุ ภาพผูเ้ รยี น ระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน
9) นกั เรยี นทุกคนมคี วามสามารถใชภ้ าษาองั กฤษแนะนาตนเอง สถานศกึ ษา และสนทนา อย่างง่าย
๑0) นักเรยี นรอ้ ยละ 80 ได้ระดบั ผลการเรยี นเฉล่ียในกลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ ระดับ 3 ข้นึ ไป
๑๑) นักเรยี นทกุ คนมผี ลงานจากการทาโครงงาน/ผลงานประดิษฐ์ใหม่ และสามารถอธบิ าย หลักการ
แนวคดิ ขน้ั ตอนการทางาน และปญั หาอปุ สรรคของการทางานได้

โรงเรียนเสลภมู พิ ิทยาคม www.sapit.ac.th ๒๓

๑2) นกั เรียนไดร้ ับรางวัลในระดบั จงั หวดั ในการประกวดโครงงานคณุ ธรรม
๑3) นกั เรียนได้เข้ารว่ มการแขง่ ขนั โครงงานวทิ ยาศาสตร์ กจิ กรรมแข่งขันทกั ษะทางวชิ าการระดับภาค
และระดบั ชาติ
๑4) นกั เรียนทุกคนสามารถสืบคน้ ขอ้ มูลจากอนิ เตอรเ์ นต็ และสรุปความรดู้ ว้ ยตนเอง
๑5) นกั เรียนร้อยละ 80 มีระดับผลการเรียนเฉลี่ยตามหลกั สตู ร ตงั้ แต่ระดบั 3 ขึ้นไปตามเกณฑ์ท่ี
สถานศึกษากาหนด
๑6) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) 3 ปยี ้อนหลงั เป็นไปตามเกณฑ์
สถานศกึ ษา และสูงกวา่ คา่ เฉล่ียระดับชาตทิ กุ วิชาและระดบั ช้นั ทสี่ อบ และสูงขึน้ ตอ่ เนอื่ ง
๑7) ผลการทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ (NT) 3 ปียอ้ นหลงั เป็นไปตามเกณฑ์
สถานศกึ ษา และ สงู กวา่ ค่าเฉลยี่ ระดบั ชาติทกุ วิชา และรวมทั้ง 3 วิชา และสงู ขนึ้ ตอ่ เนื่อง
๑8) มีนักเรียนสามารถสอบเข้าเรยี นในโรงเรยี นท่ีมกี ารแข่งขันสงู จานวนมาก
๑9) นักเรียนมีผลการประเมินมาตรฐานโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ด้านนักเรียน อยู่ในระดับ ดีเย่ียม 5
ประเด็น คือ มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับคุณธรรม สามารถจัดทาโครงงานคุณธรรม เป็นผู้นาด้านคุณธรรม
การปฏบิ ตั ติ นเป็นแบบอยา่ งท่ีดี มพี ฤตกิ รรมที่พงึ ประสงคใ์ นโรงเรียนเพม่ิ ข้ึน และมีคุณภาพในระดับดี ในประเด็น
การสรา้ งเครือข่ายและการมสี ่วนรว่ ม
20) นกั เรียนทุกคนจดั ทาโครงงานคณุ ธรรมและนาไปใชใ้ นชีวติ จรงิ และนกั เรยี นทุกคนร่วมกิจกรรมจิต
อาสา
2๑) นกั เรยี นทุกคนมีความรับผดิ ชอบ มีวินัย มภี าวะผู้นามจี ิตอาสา อยรู่ ว่ มกบั คนอื่นอยา่ งมีความสุข
เขา้ ใจผอู้ ืน่ ไม่มคี วามขัดแยง้ กับผู้อ่นื
22) นกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 ทุกคน มคี วามรแู้ ละทักษะพน้ื ฐานตอ่ งานอาชพี อยา่ งน้อย ๑ อย่าง
23) นกั เรยี นทุกคนเปน็ สมาชกิ และร่วมโครงการอนรุ ักษ์ส่งิ แวดลอ้ มของชุมชนอย่างต่อเนอื่ ง
24) นกั เรียนทกุ คนมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมประเพณขี องท้องถนิ่ และทกุ คนสามารถราพ้นื บ้าน
25) นกั เรยี นร้อยละ 95 มีนา้ หนกั ส่วนสูง ตามเกณฑก์ รมอนามยั และมีสุขภาพแขง็ แรง
26) มีโครงงาน/ผลงานประดษิ ฐใ์ หมๆ่ ของนักเรียน
27) มีการสอนงานอาชีพให้นกั เรียน ทาใหม้ ีโครงการหน่งึ ผลงานหนง่ึ ผลติ ภณั ฑข์ องนกั เรยี น
28) นกั เรยี นทุกคนไมเ่ กย่ี วข้องกบั สิ่งเสพตดิ โรงเรยี นมโี ครงการระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน
อย่างเขม้ แข็ง
29) ไมม่ กี ารทะเลาะวิวาทในโรงเรยี น
30) นักเรียนทุกคนได้รบั การเยี่ยมบ้าน และโรงเรยี นนาข้อมูลมาใช้ในการดูแลชว่ ยเหลอื ผ้เู รยี น
3๑) นักเรียนไดร้ ับรางวัล เกยี รตบิ ัตร ดงั นี้
3๑.๑ นกั เรียนได้รบั รางวัลชนะเลศิ ระดับเหรยี ญทองรายการแขง่ ขนั ดนตรีไทย
3๑.2 นกั เรยี นได้รบั รางวลั เหรียญทองกจิ กรรมโครงงานวิทยาศาสตร์
3๑.3 นักเรยี นไดร้ บั รางวัลเหรียญทองกจิ กรรมละครภาษาองั กฤษ

๓. จดุ เด่น
ผู้เรียนสามารถอ่านและเขียนได้เหมาะสมตามระดับชั้น ในระดับดีเลิศ มีความสามารถในด้านการ

สื่อสารท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษเหมาะสมตามความสามารถ มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
และการสื่อสารได้เป็นอย่างดี มีความก้าวหน้าจากพ้ืนฐานเดิมในแต่ละปีในด้านความรู้ความเข้าใจและทักษะ
ต่างๆ ตามหลักสตู ร

โรงเรียนเสลภมู ิพิทยาคม www.sapit.ac.th ๒๔

ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดี พร้อมท่ีจะศึกษาต่อในระดับช้ันที่สูงข้ึน หรือมีวุฒิภาวะทาง
อาชีพเหมาะสมกับช่วงวัย คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์มีความประพฤติด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสังคม

และจิตสานึกตามที่สถานศึกษากาหนดปรากฏชัดเจน โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสังคม
มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างเป็นรูปธรรมมีความภาคภูมิใจในท้องถิ่น

ในความเป็นไทย และเห็นคุณค่าเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทย แสดงออกได้อย่างเหมาะสมในชีวิตประจาวันยอมรับ
เหตุผล ความคิดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษยสัมพันธ์ดี มีวิธีการรักษาสุขภาพของตนเองให้แข็งแรง ผู้เรียนรักษา
อารมณ์และสขุ ภาพจติ ใหด้ ีอยเู่ สมอและมีวิธกี ารปอ้ งกันตนเองจากการลอ่ ลวง ขม่ เหง รงั แก ไม่เพิกเฉย

ต่อการกระทาในสิง่ ที่ไมถ่ กู ต้อง และอย่รู ว่ มกันด้วยดใี นครอบครัวชมุ ชนและสงั คม
๔. จดุ ควรพัฒนำ

๔.๑ ผูเ้ รียนในระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑-๓ ยังตอ้ งเร่งพฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น และคา่ เฉลยี่
ผลการทดสอบระดบั ชาติของผู้เรยี นมีพัฒนาการสงู ขึน้ หรือคณุ ภาพเปน็ ไปตามเป้าหมาย

๔.๒ ผู้เรียนในระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔-๖ ยังตอ้ งได้รับการส่งเสรมิ พัฒนา ผลสัมฤทธิท์ าง

การเรยี น ค่าเฉลี่ย ผลการทดสอบระดบั ชาติของผู้เรียนมพี ฒั นาการสูงขึ้นหรือคุณภาพเปน็ ไปตามเป้าหมาย

มำตรฐำนที่ ๒ กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร ระดับคุณภำพ : ดเี ลิศ

๑. กระบวนกำรพัฒนำ

โรงเรียนได้ดาเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาท่ีผ่านมา โดยการศึกษาข้อมูล
สารสนเทศจากผลการนิเทศ ตดิ ตาม ประเมิน การจดั การศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศกึ ษา และจดั ประชุม
ระดมความคิดเห็น จากบุคลากรในสถานศึกษา เพ่ือวางแผนร่วมกัน ในการกาหนดเป้าหมายปรับวิสัยทัศน์

กาหนดพันธกิจ กลยุทธ์ ในการจัดการศึกษาของโรงเรียน เพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีการปรับแผน พัฒนา
คุณภาพจดั การศกึ ษา แผนปฏบิ ตั ิการประจาปที ี่สอดคลอ้ งกบั สภาพปญั หา ความตอ้ งการพัฒนาและนโยบาย

การปฏิรูปการศึกษา พร้อมท้ังจัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณมอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบดาเนินการ
พัฒนาตามแผนงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายท่ีกาหนดไว้มีการดาเนินการนิเทศ กากับติดตาม ประเมินผลการ
ดาเนินงานและจัดทารายงานผลการจัดการศึกษา

โรงเรียนมีการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจไว้อย่างชัดเจน สอดคล้องกับบริบทและความ
ต้องการของชุมชน ทอ้ งถ่นิ วัตถปุ ระสงคข์ องแผนการศกึ ษาแห่งชาติ นโยบายของรฐั บาลและสานักงาน

คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน รวมท้ังทันต่อการเปล่ียนแปลงของสังคม มีการบริหารจัดการคุณภาพของ
สถานศึกษาอย่างเป็นระบบ ท้ังในส่วนการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา การนาแผนไปปฏิบัติเพื่อ
พัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการติดตามตรวจสอบประเมินผลและปรับปรุงพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง

มีการบริหารอัตรากาลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีระบบการนิเทศภายใน
และนาข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาบุคลากรและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมการวางแผน ปรับปรุง และพัฒนา

และร่วมรับผดิ ชอบต่อผลการจดั การศึกษา นอกจากน้ียงั ดาเนินงานพฒั นาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรยี นรอบด้าน
ตามหลกั สูตรสถานศึกษา

นอกจากน้ียังส่งเสรมิ สนับสนนุ พัฒนาครู บุคลากร ให้มคี วามเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ และจัดให้มีชุมชน

การเรียนรู้ทางวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียน ครูสามารถจัดสภาพแวดล้อมทาง
กายภาพและสังคมท่ีเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ โรงเรียนมีการปรับภูมิทัศน์ และจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ

ทัง้ ภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทางสงั คมท่ีเออ้ื ต่อการจดั การเรียนรู้ และมีความปลอดภัย
โรงเรียนจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ พัฒนาและให้

โรงเรียนเสลภมู พิ ิทยาคม www.sapit.ac.th ๒๕

บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของ
สถานศึกษา

๒. ผลกำรดำเนินงำน

จากการดาเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพื่อพัฒนาให้กระบวนการบริหารและการ
จัดการ ส่งผลใหผ้ ลการประเมนิ คณุ ภาพมาตรฐานท่ี 2 อยู่ในระดับดเี ลิศ โรงเรียนดาเนนิ การส่งเสริมกระบวนการ
บริหารและการจัดการ โดยการดาเนินงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ท่ี
สนับสนุนผลการประเมินตนเอง

๒.๑ โรงเรียนได้กาหนดเป้าหมาย วสิ ยั ทัศนแ์ ละพันธกิจสอดคลอ้ งกับสภาพปญั หาความต้องการพฒั นา
ตามนโยบายการปฏริ ปู การศึกษา ความต้องการของชมุ ชน ทอ้ งถ่ิน และสอดคล้องกบั แนวทางการปฏริ ปู ตาม
แผนการศกึ ษาชาติ

๒.๒ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี สอดคล้องกบั การพัฒนาผู้เรียนทุก
กลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเช่ียวชาญ ตามมาตรฐานตาแหน่ง
ข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นาไปประยุกต์ใช้ได้ ดาเนินการอย่างเป็นระบบ และมี
กิจกรรมจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีกระตุ้นผเู้ รียนให้ใฝ่เรียนรู้

๒.๓ โรงเรียนมกี ารปรบั แผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษา แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีให้สอดคลอ้ งกับ
สภาพปัญหา ความตอ้ งการพฒั นา และนโยบายการปฏริ ปู การศกึ ษาโดยผูม้ สี ว่ นไดเ้ สยี มสี ่วนรว่ มในการพฒั นา
และร่วมรับผิดชอบ

๒.๔ ผเู้ กี่ยวข้องทกุ ฝ่าย และเครือขา่ ยการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา มสี ่วนรว่ มในการร่วมวางแผน
พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา และรบั ทราบ รบั ผิดชอบต่อผลการจดั การศกึ ษา

๒.๕ สถานศึกษามีการนเิ ทศ กากับ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการบรหิ ารและการจดั การศึกษา
ท่ีเหมาะสม เป็นระบบและตอ่ เน่อื ง เปดิ โอกาสให้ผเู้ กีย่ วข้องมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษา

๒.๖ โรงเรียนมรี ูปแบบการบริหารและการจดั การเชิงระบบ โดยทกุ ฝา่ ยมีส่วนร่วม ยดึ หลัก
ธรรมาภิบาล และแนวคดิ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งพฒั นาผ้เู รยี นตามแนวทางปฏิรูปการศกึ ษา

๒.๗ โรงเรียนมกี ารระดมทรัพยากรเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากเครอื ข่ายอุปถัมภ์
ส่งผลใหโ้ รงเรียนมสี อ่ื และแหลง่ เรยี นรทู้ ีม่ ีคุณภาพ

ข้อมลู หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ที่สนบั สนุนผลการประเมินตนเอง

๑) มกี ารกาหนดเปา้ หมายวิสยั ทัศน์และพนั ธกจิ ทีช่ ัดเจน สอดคลอ้ งกับบริบทของ สถานศึกษา

ความตอ้ งการชุมชน นโยบายรฐั บาล แผนการศึกษาแหง่ ชาติ โดยผูเ้ กย่ี วขอ้ งทุกฝ่ายมี ส่วนร่วมในการดาเนินการ

และมีการทบทวน ปรบั ปรุงให้สามารถนาไปใช้จริง และทนั ตอ่ การ เปลย่ี นแปลง

2) มรี ูปแบบการบริหารงาน “SAPIT MODEL” ในการบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของ สถานศึกษา ทเ่ี ป็น

ระบบ และดาเนินการอยา่ งตอ่ เนื่อง มคี วามชดั เจนและเกิดประสทิ ธิภาพ สง่ ผล ต่อคุณภาพตามมาตรฐาน

การศึกษาของสถานศกึ ษา โดยความร่วมมือของผเู้ ก่ยี วข้องทุกฝา่ ย มีการนาข้อมลู ผลการประเมนิ และผลการจัด

การศึกษามาใช้ในการปรบั ปรุง พัฒนางานอยา่ งตอ่ เนือ่ งจนเป็นแบบอยา่ งได้

3) ผู้บรหิ ารโรงเรียนไดด้ าเนินการวจิ ัย เรอื่ ง การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม

โดยใช้รูปแบบ “SAPIT MODEL” การวจิ ัยดังกล่าวไดแ้ สดงให้เห็นถึง ความสาเร็จในการบริหารจัดการท่ีส่งผลต่อ

คณุ ภาพผู้เรยี น คุณภาพการจัดการเรยี นรู้ และความพงึ พอใจของผู้ปกครองนักเรยี นต่อคณุ ภาพของผเู้ รียน

โรงเรียนเสลภูมิพทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๒๖

4) นักเรยี นมีผลการทดสอบ O-NET ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 เป็นไปตามเกณฑ์สถานศึกษาและสูงกว่า
ค่าเฉล่ยี ระดับชาติวิชาภาษาไทย และวชิ าภาษาอังกฤษ

๕) ครูได้รบั การสง่ เสริม สนับสนนุ ให้ไดร้ บั การอบรม พัฒนาตามมาตรฐานวิชาชพี และนาความรู้
ทักษะ ประสบการณ์นามาใชใ้ นการพฒั นางานในหนา้ ท่แี ละพัฒนาผ้เู รยี น

6) ครทู ุกคนได้รบั การสง่ เสริมใหม้ คี วามรู้ ประสบการณ์ จากการจัดชมุ ชนการเรยี นรู้ ทางวชิ าชีพ
(PLC) เพอ่ื นาความรู้ แนวคดิ มาใช้ในการพัฒนาการจดั การเรียนรูใ้ ห้มีคณุ ภาพยิ่งขึ้น

๗) ผบู้ รหิ ารโรงเรยี นไดร้ ับรางวลั OBEC AWARDS ดา้ นการบริหารจดั การศกึ ษา
๘) บริหารโรงเรียนได้รับรางวลั ครสุ ดุดี จาก คุรุสภา ในปี 256๓
๙) ผบู้ ริหารโรงเรยี นเป็นวิทยากรพีเ่ ลี้ยงในการอบรมผบู้ รหิ ารโรงเรยี น
๑๐) ผูบ้ รหิ ารโรงเรยี นได้รว่ มนาเสนอ BEST PRACTICE ดา้ นการบรหิ ารการศกึ ษา ใน การประชุมทาง
วิชาการ
๑๑) ผู้บริหารโรงเรยี นมีผลการประเมินมาตรฐานโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ด้านผู้บริหาร โรงเรียน อย่ใู น
ระดับดีเย่ียม ทั้ง 4 ประเด็นพิจารณา คือ มีความรู้ ความเข้าใจในคุณธรรม มีกระบวนการบริหารงานที่เป็น
ระบบ บริหารงานด้วยความโปร่งใส เป็นธรรมตรวจสอบได้ โดยใช้ แบบประเมินของสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน
๑๒) โรงเรยี นมีผลการประเมินมาตรฐานโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. ด้านโรงเรียน อยใู่ นระดบั ดเี ยีย่ ม
6 ประเด็น คอื การจดั บรรยากาศ สภาพแวดล้อม แหล่งเรยี นรทู ่เี อือ้ ตอการปลกู ฝังคุณธรรม ของโรงเรียน
มแี ผนพฒั นาคุณธรรม คณุ ธรรม อตั ลกั ษณ์ของโรงเรียนหรือกรอบแนวคดิ โรงเรยี น คุณธรรม สพฐ. มกี ารเผยแพร่
ประชาสมั พันธ์ผ่านชองทางตาง ๆ อย่างตอเนือ่ ง การประเมนิ มีคณุ ธรรมและความโปรงใสของโรงเรียน ได้รบั การ
ยอมรับหรือยกยองเชิดชูเกียรติจากหน่วยงาน ภายในหรือภายนอกและผลประเมินระดับดี คือ สร้างเครอื ขาย
และการมีส่วนรวม โดยใชแ้ บบ ประเมินของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
๑๓) โรงเรียนมีผลการประเมินระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ตามกฏกระทรวง
การประกันคุณภาพ พ.ศ.256๑ โดยรวมในระดับยอดเย่ียม โดยใช้แบบประเมินของ สานักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษามธั ยมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 27
๑๔) สมาคมผู้ปกครอง ผู้ปกครองนักเรียน ศิษย์เก่า ชุมชน เอกชน ได้ร่วมกันระดมทรัพยากรเพ่ือการ
พัฒนาสถานศึกษา ในปี 2560-256๓ มกี ารจดั สร้างห้องสมุดโรงเรยี น หอ้ งคอมพิวเตอร์ ระบบ Internet เพ่ือ
นามาใชใ้ นการบริหารจัด การศึกษา และนามาใช้ในการจดั การเรียนรขู้ องครูผู้สอนเพื่อพัฒนาผเู้ รยี น และผู้เรยี น
ได้ใช้ใน การศึกษาค้นคว้าเพื่อพัฒนาการเรียนรขู้ องตนเอง และโรงเรียนยังเปิดบริการการใช้สัญญาณ Internet
ภายในโรงเรยี นตลอด 24 ช่ัวโมง ทุกวนั
๑๕) ได้จัดการบริหารข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียน เช่น ข้อมูลผลการจัดการศึกษา ข้อมูล ภาวะ
โภชนาการ โปรแกรม DMC (ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล) โปรแกรม B-OBEC (ข้อมูลที่ดิน ส่ิงก่อสร้าง) โปรแกรม
M-OBEC (ขอ้ มูลครุภัณฑ)์ โปรแกรม EMIS (ข้อมลู สารสนเทศของโรงเรียน) โปรแกรม School MISS (ข้อมูลผล
การเรียนตามหลักสูตร) ข้อมูลเด็กพิเศษ เพื่อนามาใช้ในการบริหารและการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนทุกกลุ่ม
อยา่ งเป็นระบบ ทันสมยั

โรงเรียนเสลภมู พิ ิทยาคม www.sapit.ac.th ๒๗

๑๖) ผู้ปกครองนกั เรยี นมคี วามพึงพอใจในการบรหิ ารจดั การศึกษาของโรงเรียนในระดับมาก
๑๗) เป็นสถานท่ีฝึกประสบการณ์ของผู้อานวยการโรงเรียนท่ีได้รับการแต่งตั้งใหม่ เป็นท่ีฝึก
ประสบการณ์ของศึกษานิเทศก์ท่ีมาฝึกประสบการณ์ และมีโรงเรียนอื่นมาศึกษาดูงาน ในความสาเร็จและเป็น
แบบอยา่ งในดา้ นการบริหารจดั การศึกษา ดา้ นการจัดการเรียนรู้ และการจัด กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน
๑๘) โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคมได้รับโล่รางวัล โครงกำรรำงวัลบัณณำสสมโภช โครงการเพื่อส่งเสริม
กิจกรรมวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ดีเด่นโดยโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพ -
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อนาร่องการปฎิรูปการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในระดับประถมศึกษาและ
มัธยมศกึ ษา
๑๙) นักเรยี นไดร้ บั รางวัล ชนะเลศิ การประกวดสื่อสร้างสรรค์ ภายใต้หวั ข้อ ทาดีไมต่ อ้ งเด๋ียว ส่งเสรมิ
คุณธรรมจรยิ ธรรม ของกระทรวงวฒั นธรรรม ชนะเลศิ ระดบั จังหวัด
๒๐) ครแู ละบคุ ลากรได้รบั รางวัล ครดู ีของแผ่นดิน จานวน 3 ท่าน
๒๑) นักเรียนได้รับรางวัลสยามนครสี โตย ประจาปี 2563 ตน้ แบบผนู้ าจิตอาสาเพือ่ การแบ่งปัน สาขา
ผ้นู าจิตอาสาเพื่อการแบง่ ปนั ระดับประเทศ
๒๒) โรงเรยี นได้รบั รางวลั โรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. ระดบั สด่ี าว ปีการศกึ ษา 256๓

๓. จุดเด่น
โรงเรียนมีการบรหิ ารและการจัดการอย่างเป็นระบบ โรงเรยี นไดใ้ ช้เทคนิคการประชุมที่หลากหลายวิธี

เช่น การประชุมแบบมีส่วนร่วม การประชุมระดมสมอง การประชมุ กลุ่ม เพือ่ ใหท้ ุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการกาหนด
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ท่ีชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี
ที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาที่
มงุ่ เน้นการพัฒนาใหผ้ ู้เรียนมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาครูผูส้ อนสามารถจัดการ
เรียนร้ไู ด้อย่างมีคณุ ภาพ มีการดาเนินการนิเทศ กากบั ตดิ ตามประเมินผล การดาเนินงาน และจัดทารายงานผล
การจัดการศึกษา และโรงเรียนได้ใช้กระบวนวิจัยในการรวบรวมข้อมูล เพื่อใช้เป็นฐานในการวางแผนพัฒนา
คณุ ภาพสถานศึกษา ซงึ่ เป็นไปตามกระบวนการการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา

๔. จดุ ควรพัฒนำ
๔.๑ เปดิ โอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนรว่ มในการเสนอความคดิ เห็นในการจัดการศึกษาเพอื่ พัฒนา

ผู้เรียน
๔.๒ สรา้ งเครอื ข่ายความรว่ มมือของผู้มีสว่ นเกีย่ วข้องในการจดั การศึกษาของโรงเรียนให้มคี วาม

เข้มแขง็ มีสว่ นร่วมรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลการจัดการศึกษา และการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา

มำตรฐำนท่ี ๓ กระบวนกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ระดบั คณุ ภำพ :...ดีเลศิ .....

๑. กระบวนกำรพฒั นำ
โรงเรียนดาเนินการส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญโดยการดาเนินงาน /

กจิ กรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลกั สูตรมกี ารประชุมปฏบิ ัตกิ ารปรับปรุงหลักสตู รสถานศึกษา มีการบูรณา
การภาระงาน ชิ้นงาน กาหนดคุณลกั ษณะอันพึงประสงคท์ ่ีสอดคลอ้ งกับหน่วยการเรยี นรู้ สนับสนุนให้ครูจัดการ
เรียนการสอนที่สรา้ งโอกาสให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม ได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง จดั การ

โรงเรียนเสลภูมพิ ทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๒๘

เรียนการสอนท่ีเน้นทักษะการคิด เช่น จัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน เน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ให้นักเรียนมี
ความสุขในการเรียนรู้ ครูมีการมอบหมายหน้าที่ให้นักเรียนจัดป้ายนิเทศ และบรรยากาศตามสถานท่ีต่าง ๆ
ทั้งภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ครูใช้ส่ือการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น
มีการประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างมีระบบ ให้ข้อมูลย้อนกลับนักเรียน เพ่ือนาไปพัฒนาการเรียนรู้
และประสิทธิภาพของสื่อการสอนที่ใช้ และโรงเรียนได้ดาเนินการนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอน
ทุกภาคเรียน และนาผลมาวิเคราะหเ์ พ่อื วางแผนในการพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่อื ง

๒. ผลกำรดำเนินงำน
จากการดาเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพ่ือพัฒนาให้ครูการจัดการเรียนการสอน

ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ส่งผลให้ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานท่ี ๓ อยู่ในระดับดีเลิศ โรงเรียนดาเนินการ
ส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยการดาเนินงาน /โครงการ/กิจกรรม อย่าง
หลากหลาย ดงั ขอ้ มูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง

๑) ครูผู้สอนทุกคนสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในการพัฒนากระบวนการคิด ใช้กระบวนการกลุ่ม
ให้นักเรียนปฏิบัติจริง และครูใช้คาถามระดับสูงในการจัดกิจกรรมเพื่อกระตุ้น ส่งเสริมกระบวนการคิดและ
กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรยี น ให้นักเรียนมีโอกาสแสดงความคิดเห็น สรุปการเรียนรู้ การนาเสนองาน และนา
ความรู้ ทักษะ ไปใช้ในชีวิตประจาวัน โดยใชก้ ารจัดการ เรียนรู้กระบวนการแก้ปัญหา การจัดการเรียนรู้โดยใช้
กระบวนการสืบเสาะ การจัดการเรียนรู้โดย ใช้ การใช้บทบาทสมมุติ การเล่นละคร การจัดการเรียนรู้โดยใช้
แหล่งเรยี นรู้

2) ครูผู้สอนทุกคนมีส่วนร่วมในการปรับปรุง พัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาทุกปี สอดคล้องกับ
นโยบาย และการเปล่ียนแปลงสาระการเรยี นรู้ และนาไปใช้ในการจดั การเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผเู้ รียนอยา่ งรอบดา้ น
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ สอดคล้องกับเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนให้มี
ทกั ษะ ความรู้ในศตวรรษที่ 2๑ และเตรียม ผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ ในการใช้ชวี ิตในโลกอนาคต
และพฒั นาตามความสามารถและศักยภาพ

3) ครผู ้สู อนชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๑-6 ไดจ้ ดั การเรียนรู้เพ่อื การพัฒนาผเู้ รยี นรายบุคคล
4) ครูมีการใช้ส่ือ เทคโนโลยี Computer แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในโรงเรียน ภายนอกโรงเรียน ในการ
จดั การเรียนรูเ้ พื่อพัฒนาผเู้ รียน และสง่ เสริมให้ผู้เรยี นไดแ้ สวงหาความรูด้ ้วยตนเอง ท้ังกิจกรรมในห้องสมุด ห้อง
คอมพิวเตอร์ การจดั กิจกรรมโครงการสารวจตามความตอ้ งการและปัญหาที่ตอ้ งการเรยี นรู้ แก้ไข
5) ครูผู้สอนทุกคน ได้จัดห้องเรียนที่สะอาด เรียบร้อย ปลอดภัย และพ้ืนที่ว่างในห้องเรียน สื่อการ
เรียนรู้ บรรยากาศทีเ่ ออ้ื ตอ่ การเรียนร้ขู องผูเ้ รยี นทกุ คน
6) ครูผู้สอนทุกคนได้ร่วมจัดหอ้ งสมุดให้เป็นแหล่งเรยี นรู้ของผู้เรียน จัดบรรยากาศใน ห้องสมุดให้จูงใจ
ในการใช้ จัดให้มีหนังสือ คอมพิวเตอร์ ให้ผูเ้ รียนได้เรียนรู้ ศึกษา ค้นคว้า ได้เข้าถึงในการใช้และการเรียนรู้เพื่อ
พฒั นาคณุ ภาพ
7) ครูผู้สอนมีผลการประเมินมาตรฐานโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ด้านครูผู้สอน อยู่ในระดับ ดีเย่ียม 5
ประเด็นพิจารณา คือ ความรู้ความเข้าใจด้านคุณธรรม การจัดการเรียนรู้ปลูกฝังและ ประเมินคุณธรรม
จริยธรรมนักเรียน การสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วม การแลกเปล่ียนเรียนรู้ ความประพฤติ ปฏิบัติตนเป็น
แบบอย่างที่ดีด้านคุณธรรม อยู่ในระดับดี 2 ประเด็นพิจารณา คือ ความสามารถในการเป็นวิทยากรคุณธรรม
การยอมรบั หรือยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรตจิ ากบคุ คล หนว่ ยงาน องค์กรภายในหรอื ภายนอก
8) ครูผู้สอนทุกคนจัดการเรยี นรู้โดยเน้นการปฏิสมั พันธ์เชิงบวก รักและเอาใจใส่นักเรยี น สร้างนักเรยี น
ให้เป็นคนดี ให้นักเรียนมคี วามม่ันใจ ปลอดภยั ทจี่ ะเรียนรู้กับครแู ละเพื่อน และเรียน เลน่ อยา่ งมีความสุข

โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม www.sapit.ac.th ๒๙

9) ครูผู้สอนทุกคนดาเนินการวัด ประเมินผลผู้เรียนโดยเก็บข้อมูลจากวิธีการที่หลากหลาย เช่น การ
สอบถาม สัมภาษณ์ ให้คะแนนจากผลงาน รายงาน ช้ินงาน การทางานกลุ่ม พฤติกรรมการเรียน การทางาน
ลกั ษณะนิสัย การสอบทั้งแบบอัตนัย และปรนัย การปฏิบัติจริง สอดคล้องกับ ธรรมชาตวิ ิชา และเป้าหมายของ
การพัฒนาผู้เรียน มีการให้ข้อมูลสะท้อนกลับแก่ผู้เรียน ผู้ปกครอง เพ่ือนาผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนา
คุณภาพผูเ้ รียน

๑0) ครูผู้สอนบางส่วนมีการนาผลการประเมินในการจัดการเรียนรู้มาใช้ในการพัฒนาผู้เรียน และใช้
กระบวนการวิจยั ในชนั้ เรียนในการพฒั นาการจัดการเรียนรเู้ พื่อพฒั นาผเู้ รยี น

๑๑) ครูผู้สอนได้เข้าร่วม ได้รับความรู้ ประสบการณ์ จากการจัดชุมชนการเรียนรู้ทาง วิชาชีพ (PLC)
เพื่อนาความรู้ แนวคิดมาใชใ้ นการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ มกี ารแลกเปลย่ี นเรียนรู้ ใหแ้ ละรับขอ้ มูลสะท้อนกลับ
และนามาใชใ้ นการจัดการเรียนรู้เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียนใหด้ ยี ิง่ ข้ึน

๑2) ครูผู้สอนทกุ คนมีส่วนรว่ มในการจัดการบริหารข้อมูลสารสนเทศของโรงเรยี น เชน่ ข้อมลู ผลการจัด
การศึกษา ข้อมูลภาวะโภชนาการ โปรแกรม DMC (ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล) โปรแกรม B-OBEC (ข้อมูลท่ีดิน
ส่ิงก่อสร้าง) โปรแกรม M-OBEC (ข้อมูลครุภัณฑ์) โปรแกรม EMIS (ข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียน) โปรแกรม
School MISS (ข้อมลู ผลการเรยี นตามหลักสตู ร) เพ่อื นามาใชใ้ นการบริหารและการจัดการเรียนรูข้ องนักเรียนทุก
กลมุ่

๓. จดุ เด่น
๓.๑ ครตู ง้ั ใจ มุง่ มัน่ ในการพฒั นาการสอน
๓.๒ ครจู ดั กิจกรรมให้นกั เรียนแสวงหาความร้จู ากส่อื เทคโนโลยดี ้วยตนเองอยา่ งต่อเนื่อง
๓.๓ ครูใหน้ ักเรียนมสี ว่ นรว่ มในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอือ้ ตอ่ การเรียนรู้
๓.๔ ครจู ัดกจิ กรรมให้นักเรยี นเรยี นรโู้ ดยการคดิ ไดป้ ฏิบัตจิ รงิ ดว้ ยวธิ ีการและแหล่งเรียนรทู้ ่ี

หลากหลาย

๔. จุดควรพฒั นำ
๔.๑ ควรนาภูมปิ ัญญาท้องถ่ินให้เข้ามามสี ่วนร่วมในการจดั กจิ กรรมใหน้ ักเรียนได้เรยี นรู้
๔.๒ ควรใหข้ ้อมูลย้อนกลับแก่นักเรยี นทันทีเพือ่ ใหน้ กั เรียนนาไปใชพ้ ฒั นาตนเอง
๔.๓ ครูควรจัดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนใหม้ ีพฤตกิ รรมทัศนคติทดี่ ีตอ่ ความเป็นไทยไมห่ ลงใหลกบั คา่ นิยม

ตา่ งชาติจนเกดิ การลอกเลียนแบบ ทาให้ลมื วัฒนธรรมอันดีงามของไทย
๔.๔ ครคู วรจดั การเรยี นการสอนดว้ ยวิธีการทหี่ ลากหลาย และฝกึ ใหน้ ักเรยี นไดค้ ิดวเิ คราะหห์ าความรู้

จากแหล่งเรียนรู้ ส่ือเทคโนโลยีใหม้ ากข้นึ และพฒั นาสอ่ื แหล่งเรียนรู้ จดั เตรยี มหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารให้อยใู่ นสภาพดี
และพร้อมใช้งานเสมอ

๔.๕ ครูควรวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ของผู้เรยี นด้วยวิธีที่หลากหลายตามสภาพจริง สอดคล้องกบั
มาตรฐานการเรยี นรู้ และธรรมชาตวิ ิชา

สรุปผลกำรประเมินตนเองโดยภำพรวม อยใู่ นระดับ.........ดีเลศิ .........

จากผลการดาเนินงาน โครงการ และกิจกรรมต่างๆ สง่ ผลให้โรงเรียนจัดการพัฒนาคณุ ภาพ
การศึกษาประสบผลสาเร็จตามที่ตั้งเป้าหมายไวใ้ นแตล่ ะมาตรฐาน จากผลการประเมนิ สรุปว่าได้ระดบั ดีเลศิ
ท้งั น้ี เพราะมาตรฐานที่ ๑ ผลการจัดการศกึ ษา อยู่ในระดบั ดีเลศิ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการ

โรงเรียนเสลภมู พิ ิทยาคม www.sapit.ac.th ๓๐

จัดการ อยูใ่ นระดับดีเลิศ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการเรียนการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ อยใู่ นระดบั ดเี ลิศ
ท้ังนี้ สถานศึกษามกี ารจัดกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนอยา่ งหลากหลายที่เป็นไปตามปัญหาและ

ความต้องการพฒั นาตามสภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับจุดเนน้ ของสถานศึกษาและสภาพของชมุ ชนทอ้ งถิน่
จนมีผลการพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รยี นอย่ใู นระดบั ดีเลศิ ผ้เู รยี นมคี วามสามารถในการอ่านและเขยี น การสือ่ สาร
ท้ังภาษาไทยและภาษาองั กฤษ ความสามารถในการคดิ คานวณ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารไดด้ ี
และมคี วามประพฤติดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะตามทสี่ ถานศกึ ษากาหนดปรากฏอย่าง
ชดั เจน ดงั ท่ีปรากฏผลการประเมนิ ในมาตรฐานที่ ๑ ดา้ นคุณภาพผูเ้ รียนจงึ มีผลประเมินในรายมาตรฐานอยใู่ น
ระดับดีเลิศ นอกจากน้ีสถานศกึ ษาได้มีการวางแผน ออกแบบกจิ กรรมและดาเนินงานตามแผนทเี่ กิดจากการ
มีส่วนรว่ ม ใช้ผลการประเมินและการดาเนินงานทผี่ า่ นมาเปน็ ฐานในการพฒั นา และสอดคล้องกับเปา้ หมาย
การพัฒนา ตรวจสอบผลการดาเนนิ งาน และการปรบั ปรงุ แกไ้ ขงานใหด้ ขี น้ึ อย่างตอ่ เนอ่ื ง และสถานศกึ ษาได้
ดาเนนิ งานตามระบบการประกนั คุณภาพภายในอย่างเปน็ ขัน้ ตอน โดยสถานศกึ ษาให้ความสาคัญกับผูเ้ ก่ียวขอ้ ง
ทกุ ฝ่ายเพ่อื เกิดความร่วมมอื ในการวางระบบและดาเนินงานประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษาเป็นอย่างดี
และผ้มู ีส่วนเก่ยี วขอ้ งมีความม่นั ใจต่อระบบการบริหารและการจดั การของสถานศกึ ษา จนเกดิ คุณภาพ
ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลในการทางาน มาตรฐานท่ี 2 ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ จงึ มีผล
ประเมินอย่ใู นระดบั ดเี ลิศ และครูมีการจดั กระบวนการเรยี นการสอนที่เน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคญั โดยครูมกี าร
วเิ คราะห์ ออกแบบและจดั การเรยี นรู้ท่ีเป็นไปตามความต้องการของหลกั สตู ร และบรบิ ทสถานศึกษา พัฒนา
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ใช้สือ่ การเรยี นรู้ ตดิ ตามตรวจสอบและชว่ ยเหลอื นักเรยี นเพ่อื พัฒนาและแก้ปัญหา
รายบุคคล และการประเมนิ ผลจากสภาพจริงในทุกขน้ั ตอน มาตรฐานที่ 3 ดา้ นกระบวนการเรียนการสอนทีเ่ นน้
ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ จงึ มีผลประเมินอยใู่ นระดับดเี ลิศ

โรงเรยี นเสลภมู ิพทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๓๑

สว่ นที่ ๓ สรุปผล แนวทำงกำรพฒั นำ และควำมต้องกำรกำรชว่ ยเหลือ

ผลกำรประเมินตนเองของสถำนศกึ ษำอยู่ในระดับ 4 ดีเลศิ

สรปุ ผล

จุดเด่น จุดควรพัฒนำ

๑.ดำ้ นคุณภำพผูเ้ รยี น ● ด้ำนคุณภำพผู้เรียน

๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทำงวชิ ำกำรของผู้เรยี น ๑) ผเู้ รียนในระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑-๓

๑) ผู้เรยี นมที กั ษะในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร ยังต้องเรง่ พฒั นาคา่ เฉลย่ี ผลการทดสอบ
ระดบั ชาตขิ องผูเ้ รยี นมพี ัฒนาการสงู ขนึ้ หรอื
และการคดิ คานวณตามเกณฑท์ ีส่ ถานศกึ ษากาหนดในแต่ คณุ ภาพเป็นไปตามเป้าหมาย
ละระดบั ชัน้
๒) ผู้เรยี นในระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔-๖
๒) ผูเ้ รยี นมคี วามสามารถในการคิดจาแนกแยกแยะ ยังต้องได้รับการส่งเสรมิ พัฒนา คา่ เฉล่ยี

ใครค่ รวญไตร่ตรอง พิจารณาอยา่ งรอบคอบ โดยใชเ้ หตุผล ผลการทดสอบระดบั ชาตขิ องผเู้ รียนมี
ประกอบการตัดสนิ ใจ มีการอภิปรายแลกเปลีย่ นความ พฒั นาการสงู ขน้ึ หรือคุณภาพเปน็ ไปตาม

คิดเห็น และแก้ปญั หาอย่างมเี หตุผล เปา้ หมาย

๓) ผู้เรยี นมีความสามารถในการรวบรวมความรูไ้ ด้

ทั้งดว้ ยตวั เองและการทางานเป็นทมี เชือ่ มโยงองคค์ วามรู้

และประสบการณ์มาใช้ในการสรา้ งสรรค์สิ่งใหม่ ๆ อาจ

เปน็ แนวความคดิ โครงการ โครงงาน ชน้ิ งาน ผลผลิต

๔) มีความสามารถในใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ

การสื่อสาร เพื่อการพัฒนาตนเองและสงั คมในดา้ นการ

เรียนรู้ การสือ่ สาร การทางานอยา่ งสรา้ งสรรค์ และมี

คณุ ธรรม

๕) ผูเ้ รยี นบรรลุและมีความก้าวหนา้ ในการเรียนรู้

ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาจากพน้ื ฐานเดมิ ในด้านความรู้

ความเข้าใจ ทกั ษะกระบวนการตา่ ง ๆ รวมทั้งมี

ความกา้ วหนา้ ในผลการทดสอบระดับชาติหรือผลการ

ทดสอบอ่นื ๆ

๖) ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพ้ืนฐานในการจัดการ มี
เจตคตทิ ด่ี ีพร้อมท่ีจะศึกษาตอ่ ในระดับชน้ั ที่สูงข้นึ การ
ทางานหรืองานอาชพี

โรงเรยี นเสลภมู พิ ิทยาคม www.sapit.ac.th ๓๒

จุดเด่น จุดควรพฒั นำ

๑.๒ คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคข์ องผูเ้ รยี น ด้ำนคุณภำพผ้เู รยี น

๑) ผู้เรียนมีคณุ ลักษณะและค่านยิ มท่ีดตี ามที่ ๑) ผู้เรยี นในระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑-๓
สถานศกึ ษากาหนดผ้เู รียนมพี ฤติกรรมเปน็ ผู้ทีม่ ีคุณธรรม ยงั ต้องเรง่ พฒั นาค่าเฉลยี่ ผลการทดสอบ
จริยธรรมเคารพในกฎกติกา มคี า่ นิยมและจิตสานึกตามที่
สถานศกึ ษากาหนดโดยไมข่ ดั กบั กฎหมายและวัฒนธรรม ระดับชาติของผู้เรยี นมีพัฒนาการสงู ขน้ึ หรอื
อนั ดีของสงั คม คณุ ภาพเป็นไปตามเป้าหมาย
๒) ผ้เู รยี นในระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๔-๖
๒) ผู้เรยี นมคี วามภมู ิใจในทอ้ งถนิ่ และความเป็นไทย
ผู้เรียนมีความภมู ิใจในทอ้ งถิน่ เห็นคณุ ค่าของความเป็น ยงั ตอ้ งไดร้ ับการสง่ เสรมิ พฒั นา คา่ เฉลยี่
ไทย มีสว่ นรว่ มในการอนุรกั ษว์ ฒั นธรรมและประเพณีไทย ผลการทดสอบระดับชาติของผเู้ รยี นมี

พฒั นาการสงู ขน้ึ หรอื คณุ ภาพเปน็ ไปตาม
เปา้ หมาย

รวมท้งั ภมู ปิ ัญญาไทย

๓) ผู้เรียนยอมรับที่จะอยูร่ ว่ มกันบนความแตกตา่ ง

และหลากหลายผู้เรยี นยอมรับและอยรู่ ่วมกนั บนความ

แตกต่างระหว่างบคุ คลในด้าน เพศ วัย เชอื้ ชาติ ศาสนา

ภาษาวฒั นธรรม ประเพณี

๔) ผู้เรยี นมสี ุขภาวะทางรา่ งกาย และจิตสงั คมผเู้ รยี น

มกี ารรกั ษาสขุ ภาพกาย สขุ ภาพจติ อารมณ์และสังคม

และแสดงออกอย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงวยั สามารถ

อยู่รว่ มกับคนอ่ืนอย่างมคี วามสุข เขา้ ใจผู้อื่น ไมม่ ีความ

ขัดแย้งกับผอู้ ื่น

โรงเรียนเสลภูมพิ ทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๓๓

จุดเด่น จดุ ควรพฒั นำ

๒.ดำ้ นกระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร ● ด้ำนกระบวนกำรบริหำรและกำร

๒.๑ โรงเรียนกาหนดเป้าหมาย วิสยั ทัศน์ และพนั ธกจิ ไว้อยา่ ง จดั กำร

ชัดเจน สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของสถานศกึ ษา ความตอ้ งการของ ๑) ควรเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองไดม้ ีสว่ น
ร่วมในการเสนอความคิดเหน็ ในการจดั
ชุมชน ท้องถิ่น วัตถุประสงค์ของแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ นโยบาย การศึกษาเพอื่ พัฒนาผู้เรียนมากข้นึ
ของรฐั บาลและของต้นสังกัด รวมทัง้ ทันต่อการเปล่ยี นแปลงของ ๒) ควรสร้างเครอื ขา่ ยความร่วมมือกับผู้มี
สงั คม
ส่วนเกี่ยวขอ้ งในการจดั การศึกษาของ

๒.๒ โรงเรยี นสามารถบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา โรงเรียนให้มคี วามเขม้ แข็งมสี ว่ นร่วม
อย่างเป็นระบบ ทงั้ ในส่วนการวางแผนพฒั นาคุณภาพการจดั
การศกึ ษา การนาแผนไปปฏบิ ัติเพ่อื พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา รบั ผดิ ชอบตอ่ ผลการจดั การศกึ ษา และ
การขบั เคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา

มีการตดิ ตามตรวจสอบประเมินผลและปรับปรุงพัฒนางานอยา่ ง

ตอ่ เนอ่ื งมีการบริหารอตั รากาลงั ทรพั ยากรทางการศึกษา และ

ระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน มีระบบการนเิ ทศภายใน การนา

ข้อมูลมาใชใ้ นการพัฒนา บคุ ลากรและผู้ทเี่ กย่ี วข้องทกุ ฝ่ายมสี ว่ น

ร่วมการวางแผน ปรบั ปรุง และพฒั นา และรว่ มรบั ผิดชอบต่อผล

การจดั การศกึ ษา

๒.๓ โรงเรยี นได้ดาเนนิ งานพฒั นาวชิ าการท่เี น้นคณุ ภาพผู้เรียน
รอบดา้ นตามหลกั สตู รสถานศึกษาและทุกกล่มุ เป้าหมาย บรหิ าร
จัดการเกย่ี วกบั งานวิชาการ ท้ังดา้ นการพฒั นาหลักสตู ร กจิ กรรม
เสรมิ หลักสูตรที่เน้นคุณภาพผ้เู รยี นรอบดา้ นเชื่อมโยงวิถีชีวิตจรงิ
และครอบคลุมทุกกลุม่ เป้าหมาย หมายรวมถึง การจดั การเรยี น
การสอนของกลุ่มที่เรยี นแบบควบรวมหรอื กล่มุ ที่เรยี นร่วมด้วย

๒.๔ พฒั นาครูและบคุ ลากรใหม้ ีความเชย่ี วชาญทางวชิ าชพี
สถานศึกษาส่งเสรมิ สนับสนุน พฒั นาครู บคุ ลากร ให้มคี วาม
เช่ยี วชาญทางวิชาชพี และจัดให้มีชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี มา
ใชใ้ นการพัฒนางานและการเรยี นรู้ของผู้เรียน

๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมที่เอื้อตอ่ การ
จัดการเรียนรสู้ ถานศกึ ษาจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพท้ัง
ภายในและภายนอกห้องเรยี น และสภาพแวดลอ้ มทางสงั คม
ท่ีเออื้ ตอ่ การจัดการเรยี นรู้ และมีความปลอดภยั

โรงเรียนเสลภูมพิ ทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๓๔

จดุ เดน่ จดุ ควรพัฒนำ
๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบริหาร

จัดการและการจดั การเรียนรูส้ ถานศึกษาจัดระบบการจดั หา การ

พฒั นาและการบรกิ ารเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื ใชใ้ นการบรหิ าร

จัดการและการจัดการเรียนรู้ทีเ่ หมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษา

๓. ด้ำนกระบวนกำรเรียนกำรสอนที่เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคญั ● ดำ้ นกระบวนกำรเรียนกำรสอนท่เี นน้

๑) โรงเรยี นมแี ผนการจัดการเรียนรู้ทส่ี ามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั

ในการดาเนินชีวิตและมกี ารเผยแพร่ ๑) ควรนาภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ให้เข้ามามี

ส่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรมให้นกั เรียนได้
2) ครูใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ รวมท้ัง เรียนรู้

ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ทเ่ี อ้ือต่อการเรยี นรู้ โดยสร้างโอกาสให้ผ้เู รียนได้ ๒) ควรใหข้ อ้ มูลย้อนกลบั แก่นักเรยี น

แสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง เชน่ การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานทุก ทันทเี พื่อใหน้ ักเรยี นนาไปใชพ้ ัฒนา
ตนเอง
ระดบั ช้ัน ๓) ครคู วรจดั กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียนให้มี

3) ครมู ีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบ พฤตกิ รรมทศั นคตทิ ่ีดีต่อความเปน็ ไทย

มขี ัน้ ตอนโดยใชเ้ ครอื่ งมือและวธิ ีการวดั และประเมนิ ผลท่เี หมาะสม ไม่หลงใหลกับค่านยิ มต่างชาติจนเกิดการ
ลอกเลียนแบบ ทาให้ลมื วฒั นธรรมอันดี
และหลากหลาย เหมาะสมกับเปา้ หมายในการจัดการเรียนรู้ ให้
ข้อมลู ย้อนกลบั แกผ่ ู้เรยี น และนาผลมาต่อยอดและพัฒนาผเู้ รยี น งามของไทย
๔) ครคู วรจดั การเรยี นการสอนด้วย

4) ครูมกี ารบริหารจดั การชนั้ เรียนเชิงบวก ผ้เู รียนเกิด วิธีการทหี่ ลากหลาย และฝกึ ใหน้ ักเรียน

ทัศนคติทีด่ ี รกั ท่ีจะเรียนรู้ และเรียนรู้ร่วมกนั อย่างมีความสุข ได้คดิ วเิ คราะหห์ าความรจู้ ากแหลง่
เรยี นรู้ สอื่ เทคโนโลยีให้มากขึน้ และ

4) มชี ุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี ระหวา่ งครแู ละ พัฒนาสอื่ แหลง่ เรียนรู้ จดั เตรียม

ผูเ้ กี่ยวขอ้ งเพ่อื พัฒนาและปรับปรงุ การจัดการเรียนรู้ ครูและ หอ้ งปฏิบตั กิ ารให้อย่ใู นสภาพดีและ

ผ้เู ก่ยี วขอ้ งมกี ารแลกเปลยี่ นเรียนรู้ และใหข้ ้อมูลสะท้อนกลบั พร้อมใช้งานเสมอ

เพ่ือพัฒนาและปรับปรงุ การจัดการเรียนรู้ ๕) ครคู วรวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้

ของผู้เรียนดว้ ยวิธที ่ีหลากหลายตาม

สภาพจริง สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการ

เรยี นรู้ และธรรมชาติวชิ า

แนวทำงกำรพัฒนำในอนำคต

๑. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ทเี่ นน้ การพฒั นาผูเ้ รียนเปน็ รายบุคคลใหช้ ัดเจนขนึ้
๒. การส่งเสริมให้ครเู หน็ ความสาคญั ของการจัดการเรยี นรูโ้ ดยเน้นผูเ้ รยี นเป็นสาคญั การจดั ทาการวิจยั
ในชั้นเรียนเพอื่ พัฒนาผูเ้ รยี นให้สามารถเรยี นรู้ได้เตม็ ศักยภาพ
๓. การพัฒนาบคุ ลากรโดยส่งเขา้ รับการอบรม แลกเปลีย่ นเรียนรู้ในงานทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย ติดตามผล
การนาไปใชแ้ ละผลท่ีเกิดกับผเู้ รียนอย่างตอ่ เนื่อง

โรงเรยี นเสลภูมพิ ทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๓๕

๔. การพัฒนาสถานศึกษาใหเ้ ปน็ สังคมแห่งการเรียนรขู้ องชมุ ชนความต้องการและความช่วยเหลอื
๔.๑ การพฒั นาครผู ู้สอนในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ท่ีสอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑

๔.๒ การสร้างข้อสอบที่สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรตู้ ามแนวทางของการประเมนิ O-NET
๔.๓ การจดั สรรครูผู้สอนใหต้ รงตามวชิ าเอกท่โี รงเรยี นมีความต้องการและจาเปน็

มำตรฐำน/ประเดน็ กำรพจิ ำรณำ ค่ำเปำ้ หมำยมำตรฐำน/
ประเด็นกำรพจิ ำรณำ
มำตรฐำนท่ี ๑ คุณภำพของผเู้ รียน
มำตรฐำนที่ ๒ กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร ระดับ
มำตรฐำนที่ ๓ กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ
ดีเลศิ

ดีเลิศ

ดเี ลิศ

โรงเรียนเสลภมู ิพิทยาคม www.sapit.ac.th ๓๖

ภำคผนวก

- คารับรองการประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศึกษารว่ มกับผูท้ รงคณุ วฒุ ภิ ายนอก
- คาสง่ั แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
- บันทึกการพจิ ารณาให้ความเห็นชอบรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
- ประกาศโรงเรียน เร่ืองการใชม้ าตรฐานการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ระดับขั้นพืน้ ฐาน
- ประกาศโรงเรยี น เรื่องกาหนดคา่ เปา้ หมายมาตรฐานการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

โรงเรยี นเสลภูมิพทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๓๗

คำรบั รอง

กำรประเมนิ คุณภำพภำยในของสถำนศกึ ษำรว่ มกับผ้ทู รงคุณวุฒภิ ำยนอก

ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๓ โรงเรียนเสลภูมิพทิ ยำคม

…………………………………………..

โดยทีม่ กี ารประกาศใชก้ ฎกระทรวงว่าดว้ ย ระบบ หลกั เกณฑแ์ ละวิธีการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ.๒๕๕๓ และ

ประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน เรื่อง กาหนดหลกั เกณฑ์และแนวปฏบิ ัติเกย่ี วกบั การ

ประกนั คุณภาพภายใน ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ.๒๕๕๔ ทกี่ าหนดให้สถานศึกษา ระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน จัดให้มกี าร

ติดตาม ตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา และประเมนิ คุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ที่ประกอบด้วย

ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิภายนอกท่หี น่วยงานต้นสังกัด ขึ้นทะเบยี นไว้อยา่ งน้อย ๑ ใน ๓ ของคณะกรรมการฯ โดยเปดิ โอกาสให้ผูม้ สี ว่ น

เกยี่ วข้องต่างๆ ได้เข้ามามีสว่ นร่วมในการเป็นคณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา

ดังนนั้ เพอ่ื ใหโ้ รงเรียนมรี ะบบการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษาท่เี ขม้ แข็ง และมีความพรอ้ มในการประเมนิ

คุณภาพภายนอกอย่างมีประสิทธิภาพ โรงเรียนเสลภูมพิ ทิ ยาคม จึงได้ดาเนินการประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศึกษาร่วมกับ

ผู้ทรงคณุ วุฒภิ ายนอก ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ประกอบด้วย

๑. นายไพฑูรย์ มนตรี ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ประธานกรรมการ

๒. นายอมั พร กลุ าเพ็ญ ผู้ทรงคุณวฒุ ิ กรรมการ

๓. นายพนู ศักด์ิ ปิยยะมาตย์ ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาฯ กรรมการ

๔. นายทรงพล สาระภกั ดี รองผู้อานวยการ กรรมการ

๕. นายเสนอ จันทรา รองผูอ้ านวยการ กรรมการ

๖. นางปณุ นิศา จุฬาคา รองผ้อู านวยการ กรรมการ

๗. นายอดลุ ย์ แสงคา รองผอู้ านวยการ กรรมการ

8. นางสมฤทัย กาหอม ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ

9. นางอนิ ทราภรณ์ สุนทรวัฒน์ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๑0. นางอุดมลกั ษณ์ ทองภู ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการและเลขานกุ าร

ลงชอ่ื
( นายไพฑรู ย์ มนตรี )

ผอู้ านวยการโรงเรยี นเสลภมู พิ ทิ ยาคม
ประธานกรรมการ

ลงชือ่ ลงช่อื
( นายอดลุ ย์ แสงคา ) ( นายเสนอ จันทรา )
รองผอู้ านวยการโรงเรียน รองผู้อานวยการโรงเรยี น
กรรมการ กรรมการ

ลงช่อื
( นางอุดมลกั ษณ์ ทองภู )

หัวหน้างานประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา

กรรมการและเลขานกุ าร

โรงเรียนเสลภมู พิ ทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๓๘

บันทึกกำรพจิ ำรณำให้ควำมเหน็ ชอบ
รำยงำนกำรประเมินตนเองของสถำนศกึ ษำ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๓

ของโรงเรียนเสลภูมพิ ทิ ยำคม
สำนกั งำนเขตพื้นทกี่ ำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๒๗

..........................................
มติทีป่ ระชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานโรงเรียนเสลภมู พิ ทิ ยาคม เม่ือวนั ท่ี 4 มถิ นุ ายน
พ.ศ. ๒๕๖๔ ได้พิจารณาให้ความเห็นชอบรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖3
ดว้ ยมติเป็นเอกฉันทใ์ ชร้ ายงานตอ่ หนว่ ยงานตน้ สงั กดั และสาธารณชนได้

ลงชอ่ื
( นายพูนศกั ด์ิ ปิยะมาตย์ )

ประธานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
โรงเรียนเสลภมู พิ ิทยาคม

ลงช่อื
( นายไพฑูรย์ มนตรี )

ผอู้ านวยการโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม

โรงเรียนเสลภมู ิพิทยาคม www.sapit.ac.th ๓๙

คำสั่งโรงเรียนเสลภมู ิพิทยำคม

ท่ี ๕๓ / ๒๕๖๔

เรอื่ ง แตง่ ตงั้ คณะกรรมกำรประกนั คุณภำพภำยในของสถำนศกึ ษำ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๓

……………………………………………………………………………………………………..

จากกฎกระทรวง การประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ ข้อ ๓ ได้ระบวุ า่ ใหส้ ถานศึกษาแต่ละแห่ง

จัดให้มีระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษาโดยการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของ

สถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแตล่ ะระดับและประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการ

กระทรวงศึกษาธกิ ารประกาศกาหนด พร้อมทง้ั จัดทาแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาที่มงุ่ คณุ ภาพ

ตามมาตรฐานการศกึ ษาและดาเนินการตามแผนที่กาหนดไวจ้ ัดใหม้ ีการประเมนิ ผลและตรวจสอบคุณภาพ

การศกึ ษาภายในสถานศึกษาติดตามผลการดาเนนิ การเพือ่ พฒั นาสถานศึกษาใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐาน

การศกึ ษาตามวงจรคุณภาพ PDCA โดยใช้ระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเป็นฐานในการ

ขับเคลอ่ื นให้เกิดความต่อเนื่องและยง่ั ยนื และเพ่อื การประกันคณุ ภาพการศึกษาที่มีคุณภาพ จงึ แตง่ ต้ัง

คณะกรรมการ ดังต่อไปนี้

๑. คณะกรรมกำรอำนวยกำร ประกอบดว้ ย

๑. นายไพฑรู ย์ มนตรี ผูอ้ านวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ

๒. นายทรงพล สาระภกั ดี รองผู้อานวยการโรงเรยี น รองประธานกรรมการ

๓ นายเสนอ จนั ทรา รองผอู้ านวยการโรงเรียน กรรมการ

๔. นายอดลุ ย์ แสงคา รองผู้อานวยการโรงเรียน กรรมการและเลขานกุ าร

หนา้ ที่

ใหค้ าปรกึ ษา แนะนา อานวยความสะดวก และแกไ้ ขปัญหาในการดาเนินการประกันคุณภาพภายใน

สถานศกึ ษา เพ่ือให้การดาเนินงานเป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อยและมปี ระสทิ ธภิ าพ

๒. คณะกรรมกำรดำเนินกำร ประกอบดว้ ย

๑. นายไพฑรู ย์ มนตรี ผู้อานวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ

๒. นายทรงพล สาระภักดี รองผอู้ านวยการโรงเรยี น รองประธานกรรมการ
รองประธานกรรมการ
๓. นายเสนอ จนั ทรา รองผ้อู านวยการโรงเรยี น กรรมการ

๔. นายอดิรุตน์ พลยทุ ธ์ ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ
กรรมการ
๕. นางวนั เพญ็ สทุ ธิจนั ทร์ ครูชานาญการพิเศษ
กรรมการ
๖. นางขาจติ ร มณนี ิล ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ
กรรมการ
๗. นางเขมิกา โคตรเพชร ครชู านาญการพเิ ศษ
กรรมการ
๘. นายประสทิ ธ์ิ แยม้ ศรี ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ

๙. นายธีรดนย์ โพธคิ า ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ
กรรมการ
๑๐. นางพริ าวรรณ นา่ บณั ฑิต ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ

๑๑. นางสาวกรัญยวนั ณ์ ใคน่ ุ่นสงิ ห์ ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ

๑๒. นายพีระศักด์ิ มณฉี าย ครชู านาญการพเิ ศษ

๑๓. นางจิราวลั ย์ เนื่องมัจฉา ครชู านาญการพิเศษ

๑๔. นายสรุ ชัย เงนิ มีศรี ครชู านาญการพิเศษ

๑๕. นายเสถียร สุกรรณ์ ครชู านาญการพิเศษ

โรงเรียนเสลภมู พิ ทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๔๐

๑๖. นายเกียรติศกั ด์ิ ศรีเรือง ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๑๗. นายภมู ิสวุ รรณ บริบรู ณ์ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๑๘. นางสิรกิ านต์ โฮมราช ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ

๑๙. นางสาววลิตา สิทธิศาสตร์ ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ

๒๐. นางกนกศร พลยุทธ์ ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ

๒๑. นายธรี ยุทธ์ ดวงมาลา ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๒๒. นางสาวกฤตยิ า พลหาญ ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ

๒๓. นางสาวจนั ทร์จริ า มีทรัพย์ ครู กรรมการ

๒๔. นายอดลุ ย์ แสงคา ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการและเลขานกุ าร

๒๕. นางสมฤทัย กาหอม ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร

๒๖. นางอดุ มลักษณ์ ทองภู ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

๒๗. นางอนิ ทราภรณ์ สนุ ทรวฒั น์ ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร

๒๘. นางสาววิลาวลั ย์ พลมงคล ครูชานาญการ กรรมการและผูช้ ่วยเลขานุการ

หนา้ ท่ี

๑. วางแผนกาหนดแนวทางและวิธกี ารดาเนนิ การประกนั คณุ ภาพภายในโรงเรียน

๒. กากับ ตดิ ตาม และใหข้ ้อเสนอแนะเกีย่ วกบั การดาเนนิ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน

สถานศกึ ษา

๓. เสนอแตง่ ตง้ั คณะกรรมการประเมินคณุ ภาพฯจากตัวแทนในคณะกรรมการประกนั คุณภาพการศกึ ษา

ภายในโรงเรยี น และทาหน้าทต่ี รวจสอบ ทบทวน รายงานคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา

๔. จดั ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาภายในโรงเรยี น ประกอบด้วย ๘ ประการ คอื

๑) การกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

๒) จัดทาแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาที่ม่งุ คณุ ภาพมาตรฐานการศึกษาของ

สถานศกึ ษา

๓) จดั ระบบบรหิ ารและสารสนเทศ

๔) การดาเนินงานตามแผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

๕) จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

๖) จดั ใหม้ ีการประเมนิ คุณภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

๗) จัดทารายงานประจาปีทเี่ ป็นรายงานการประเมนิ คณุ ภาพภายใน

๘) จัดให้มกี ารพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาอยา่ งตอ่ เน่ือง

๕. กากับ ตดิ ตาม ตรวจสอบและให้ขอ้ เสนอแนะเก่ียวกบั การดาเนินการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน

ของสถานศกึ ษา

๓. คณะกรรมกำรเตรยี มข้อมลู

๓.๑ มำตรฐำนท่ี ๑ คณุ ภำพของผู้เรียน ประกอบด้วย

๑. นายอดุลย์ แสงคา รองผู้อานวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ

๒. นายประสทิ ธิ์ แย้มศรี ครชู านาญการพิเศษ รองประธานกรรมการ

๓. นายธรี ดนย์ โพธิคา ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ

๔. นางพิราวรรณ นา่ บัณฑติ ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ

๕. นายอทุ ยั ไชยธงรัตน์ ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ

๖. นางอุรพงษ์ โงชาฤทธ์ิ ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ

โรงเรยี นเสลภูมพิ ทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๔๑

๗. นางสาวกรัญยวันณ์ ใคน่ นุ่ สงิ ห์ ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ

๘. นายพรี ะศกั ด์ิ มณฉี าย ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๙. นางจริ าวลั ย์ เน่ืองมจั ฉา ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ

๑๐. นางศรยั ฉตั ร โพธริ าช ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ

๑๑. นางสาวนรศิ รา พลนาคู ครู กรรมการ

๑๒. นางสาวสพุ ัตรา ฉลาดเอ้ือ ครู กรรมการ

๑๓. นางสาวกุนนดิ า ผดงุ สตั ย์ ครผู ชู้ ว่ ย กรรมการ

๑๔. นายธนวฒั น์ อาจคาพนั ธ์ ครผู ู้ช่วย กรรมการ

๑๕. นายสรุ ชยั เงนิ มศี รี ครูชานาญการพิเศษ กรรมการและเลขานุการ

๑๖. นางกนกศร พลยทุ ธ์ ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร

๑๗. นางสาวยุพเรศ นรโภค ครชู านาญการพิเศษ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร

หน้าท่ี

สรุปขอ้ มลู เป็นรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ และสรปุ ภาพรวมคุณภาพนักเรียนทง้ั หมดตามมาตรฐานที่ ๑

(๑.๑) และ (๑.๒ ) โดยจัดการความรู้ (Knowledge Management) และนาเสนอในรปู แบบวงจรคุณภาพ

PDCA เพ่ือทารปู เลม่ รายงานเสนอต่อผู้บังคับบญั ชา และจดั เตรยี มข้อมูล สารสนเทศพรอ้ มเตรยี มสไลด์นาเสนอ

ด้วยความเรียบรอ้ ย

๓.๒ มำตรฐำนท่ี ๒ กระบวนกำรบริหำรและกำรจดั กำรของผบู้ รหิ ำรสถำนศึกษำ

๓.๒.๑. กระบวนกำรบริหำรและกำรจดั กำรกลุ่มบรหิ ำรวชิ ำกำร ประกอบดว้ ย

๑. นายอดุลย์ แสงคา รองผอู้ านวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ

๒. นายสุรชัย เงนิ มีศรี ครชู านาญการพเิ ศษ รองประธานกรรมการ

๓. นางกนกศร พลยุทธ์ ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ

๔. นางสาวบุญทวิ า ศาลารตั น์ ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ

๕. นายธีรยทธ์ ดวงมาลา ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ

๖. นางอดุ มลักษณ์ ทองภู ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๗. นางจริ าวลั ย์ เน่อื งมัจฉา ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ

๘. นางชุติมา ศรีเรอื ง ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ

๙. นางสิรกิ านต์ โฮมราช ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ

๑๐. นายประสพ คาพิทูล ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๑๑. นางสาววลติ า สทิ ธิศาสตร์ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๑๒. นางศิริบูรณ์ วรรณสุทธิ์ ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ

๑๓. นางสาวยพุ เรศ นรโภค ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ

๑๔. นางศรยั ฉตั ร โพธริ าช ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ

๑๕. นางอินทราภรณ์ สนุ ทรวัฒน์ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๑๖. นางสาวศรัณยา วงศ์ชัย ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ

๑๗. นางเยาวพร ตรางา ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ

๑๘. นายทองคูณ จันทสิงห์ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๑๙. นางสาวกฤตยิ า พลหาญ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๒๐. นางสาวจันทร์จิรา มีทรพั ย์ ครู กรรมการ

๒๑. นางสาวนรศิ รา พลนาคู ครู กรรมการ

โรงเรียนเสลภมู ิพิทยาคม www.sapit.ac.th ๔๒

๒๒. นางสาวสพุ ตั รา ฉลาดเอ้ือ ครู กรรมการ

๒๓. นางสาวปยิ ะฉตั ร เพ็ชรรกั ษา ครู กรรมการ

๒๔. นางสาวฐิตาภรณ์ อนิ ทรง์ าม ครู กรรมการ

๒๕. นางสาวกุนนดิ า ผดุงสตั ย์ ครู กรรมการ

๒๖. นายธนวัฒน์ อาจคาพนั ธ์ ครู กรรมการ

๒๗. นางสาวศภุ ากร ชินภกั ดี ครูอตั ราจา้ ง กรรมการ

๒๘. นางสาวจริ าภรณ์ พอ้ งเสียง ครูอัตราจา้ ง กรรมการ

๒๙. นายวีระพงษ์ ดอกรักกลาง เจ้าหนา้ ที่ กรรมการ

๓๐. นางสมฤทัย กาหอม ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการและเลขานกุ าร

๓๑. นางสุดารตั น์ จันทะบาล ครูชานาญการ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ

๓๒. นางกิตตพิ งษ์ พวงศรี เจ้าหน้าที่ กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร

หนำ้ ที่

สรุปรายงานโครงการกจิ กรรมทร่ี บั ผดิ ชอบ สรปุ รายการผลการปฏบิ ัติงานตามภาระงานทไ่ี ดพ้ รรณา

ไวใ้ นคู่มอื การบรหิ ารงานกลุ่มบริหารวิชาการและสรุปภาพรวมคุณภาพการทางานทงั้ หมดตามมาตรฐานท่ี ๒

โดยจดั การความรู้ (Knowledge Management) และนาเสนอในรปู แบบวงจรคุณภาพ PDCA เพ่ือทารูปเลม่

รายงานเสนอตอ่ ผู้บงั คบั บญั ชา และจัดเตรียมข้อมูล สารสนเทศพร้อมเตรยี มสไลด์นาเสนอ ดว้ ยความเรียบรอ้ ย

/๓.๒.๒. กระบวนการบริหาร...

๓.๒.๒. กระบวนกำรบริหำรและกำรจดั กำรกลุ่มบริหำรงำนกจิ กำรนกั เรียนประกอบดว้ ย

๑. นายเสนอ จันทรา รองผอู้ านวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ

๒. นายปัญญา นา่ บญั ฑติ ครชู านาญการพเิ ศษ รองประธานกรรมการ

๓. นายประภาส โพธิสาขา ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ

๔. นายอโศก ภกั ดีวุฒิ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๕. นายเกรยี งไกร ขนั ธวชิ ัย ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๖. นายรักชาติ อาวรณ์ ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ

๗. นางอรทัย โนนแกว้ ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ

๘. นางทรงศรี ภักดวี ฒุ ิ ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ

๙. นางสาวธารินี อดุ มรัตน์ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๑๐. นายยทุ ธพล เพียสาร ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ

๑๑. นายเสถยี ร สุกรณ์ ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ

๑๒. นางสาวอมั รา พรรณนาสุระ ครูชานาญการ กรรมการ

๑๓. นายอิสระพงศ์ ไพรจันดา ครู กรรมการ

๑๔. นายพฤกษ์ สทิ ธถิ วัลย์ ครู กรรมการ

๑๕ .นางสาวนฐั ตยาพร นรชาญ ครผู ชู้ ่วย กรรมการ

๑๖. นายกติ ตกิ ลุ สตั ยร์ กั ษา เจ้าหนา้ ท่ี กรรมการ

๑๗. นางทฤฒมน บุญล้อม ครูชานาญการ กรรมการและเลขานุการ

๑๘. นางสาวพลูทรพั ย์ อาจศัตรู ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

หนา้ ที

สรปุ รายงานโครงการกจิ กรรมทีร่ บั ผดิ ชอบ สรปุ รายการผลการปฏบิ ัติงานตามภาระงานท่ไี ดพ้ รรณา

ไวใ้ นคมู่ อื การบริหารงานกลมุ่ บริการงานกจิ การนกั เรียน และสรปุ ภาพรวมคุณภาพการทางานท้งั หมดตาม

โรงเรยี นเสลภูมิพทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๔๓

มาตรฐานท่ี ๒ โดยจดั การความรู้ (Knowledge Management) และนาเสนอในรปู แบบวงจรคุณภาพ PDCA

เพื่อทารูปเลม่ รายงานเสนอต่อผู้บงั คบั บัญชา และจดั เตรียมขอ้ มูล สารสนเทศพร้อมเตรียมสไลดน์ าเสนอ

ด้วยความเรยี บร้อย

๓.๒.๓. กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำรกลุ่มบรหิ ำรงำนงบประมำณและสินทรัพย์ ประกอบด้วย

๑. นายทรงพล สารภกั ดี รองผู้อานวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ

๒. นางสาวจิราทพิ ย ประสาน ครชู านาญการพิเศษ รองประธานกรรมการ

๓. นางสาวสมุ ารี นนทน์ ภา ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ

๔. นางสงกรานต์ มูลศรแี กว้ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๕. นางสาวปุณยนุช ทลู ธรรม ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ

๖. นางสาวสกุ ญั ญา แก้วนอก ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๗. นางสกุ านดา ฤทธิทิพย์ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๘. นางณฐั ธริ า พรมวิจติ ร ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๙. นางเยาวภา ทวิ าพฒั น์ ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ

๑๐. นายสนุ ทร โวหารลกึ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๑๑. นางสพุ รรณี อาวรณ์ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๑๒. นางสาวณฐาภัค ทลู ธรรม ครูชานาญการ กรรมการ

๑๓. นางสาววริ ยิ ะ ลามคา ครู กรรมการ

๑๔. นายพทิ ยทุ ธ วงศ์คามา ครู กรรมการ

๑๕. นางสาวศนุ ิสา วาระสิทธ์ิ ครู กรรมการ

๑๖. นางสาวพรพมิ ล ชมภูมาศ ครู กรรมการ

๑๗. นางสาวพรรณกร ธรี สุจิ ครู กรรมการ

๑๘. นางสาวอมั รา ภูกาบ ครูผู้ชว่ ย กรรมการ

๑๙. นางสาวธัญวรัตม์ ศรีเล็ก ครผู ชู้ ว่ ย กรรมการ

๒๐. นางสาวปิน่ ชนก บุญทัน ครูอตั ราจ้าง กรรมการ

๒๑. นางสาวทดั ดาว ปฏพิ นั ธ์ ครูอัตราจา้ ง กรรมการ

๒๒. นางสาวศิรตกิ าน ส่มุ มาตร ครอู ัตราจ้าง กรรมการ

๒๓. นายสบุ นิ มนั ตาพนั ธ์ ครูอัตราจ้าง กรรมการ

๒๔. นางพิจติ ร สรุ วิ าล ลูกจา้ งประจา กรรมการ

๒๕. นางเจริญ พลนาคู ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการและเลขานกุ าร

๒๖. นางสาวสุจารี ศริ ิสาร ครธู รุ การ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ

หน้ำที

สรุปรายงานโครงการกจิ กรรมทร่ี บั ผิดชอบ สรปุ รายการผลการปฏิบัติงานตามภาระงานทีไ่ ดพ้ รรณนา

ไวใ้ นคู่มือการบริหารงานกลมุ่ บรกิ ารงานงบประมาณและสนิ ทรัพย์ และสรปุ ภาพรวมคณุ ภาพการทางานทง้ั หมด

ตามมาตรฐานท่ี ๒ โดยจัดการความรู้ (Knowledge Management) และนาเสนอในรปู แบบวงจรคุณภาพ

PDCA เพ่ือทารปู เล่มรายงานเสนอต่อผู้บงั คบั บัญชา และจดั เตรียมขอ้ มูล สารสนเทศพร้อมเตรยี มสไลด์นาเสนอ

ดว้ ยความเรียบรอ้ ย

๓.๒.๔. กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำรกลุ่มบริหำรงำนทว่ั ไป ประกอบดว้ ย

๑. นายทรงพล สาระภกั ดี รองผอู้ านวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ

๒. นายอดริ ตุ น์ พลยทุ ธ์ ครูชานาญการพเิ ศษ รองประธานกรรมการ

โรงเรยี นเสลภูมิพิทยาคม www.sapit.ac.th ๔๔

๓. นายเกยี รตศิ ักดิ์ ศรีเรอื ง ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ

๔. นางเทวัญ มณีฉาย ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ

๕. นางนภาพร จันทะปิดตา ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ

๖. นางประไพ โสมาบตุ ร ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ

๗. นางอดุ มทรพั ย์ ไชยขาว ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ

๘. นายถาวร คมพยคั ฆ์ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๙. นายเฉลมิ ศักด์ิ สนุ ทรารักษ์ ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ

๑๐. นายศิริชยั ชลาลัย ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๑๑. นายวัฒนา อายุพฒั น์ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๑๒. นางสิรภัทร ขจรสมบตั ิ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๑๓. นางสาวผกาวลั ย์ นามนยั ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๑๔. นางสาวเกฎสุดา ฤทธวิ ุฒิ ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ

๑๕. นางฉัตราภรณ์ ศรีไชยวาน ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ

๑๖. นางสุภาพ จติ ราช ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ

๑๗. นางกลั ยานี แกว้ พกิ ลุ ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ

๑๘. นายอภสิ ิทธ์ ฉัตรเฉลมิ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๑๙. นายธนพล นิลผาย ครชู านาญการ กรรมการ

๒๐. นายวชิ ชากร แสงเพชรออ่ น ครู กรรมการ

๒๑. นางสาวบญุ ถนิ สารรัตน์ ครูอัตราจ้าง กรรมการ

๒๒. นายภูมิสุวรรณ์ บรบิ รู ณ์ ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการและเลขานกุ าร

๒๓. นางพวงประภา เหมรา ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร

๒๔. นายเจตศรัญย์ พลหาญ เจ้าหนา้ ท่ี กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ

หน้ำที่

สรปุ รายงานโครงการกจิ กรรมทรี่ บั ผดิ ชอบ สรปุ รายการผลการปฏิบัตงิ านตามภาระงานทีไ่ ดพ้ รรณนา

ไว้ในค่มู อื การบรหิ ารงานกลุม่ บริการงานท่ัวไป และสรปุ ภาพรวมคุณภาพการทางานท้ังหมดตามมาตรฐานท่ี ๒

โดยจดั การความรู้ (Knowledge Management) และนาเสนอในรปู แบบวงจรคุณภาพ PDCA เพ่ือทารูปเลม่

รายงานเสนอตอ่ ผู้บังคับบญั ชา และจดั เตรียมข้อมูล สารสนเทศพร้อมเตรยี มสไลดน์ าเสนอ ดว้ ยความเรยี บร้อย

๓.๓ มำตรฐำนท่ี ๓ กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ ประกอบดว้ ย

๑. นายอดุลย์ แสงคา รองผอู้ านวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ

๒. นายประสทิ ธิ์ แยม้ ศรี ครูชานาญการพเิ ศษ รองประธานกรรมการ

๓. นายธีรดนย์ โพธคิ า ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ

๖. นางพริ าวรรณ น่าบณั ฑิต ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ

๘. นายอุทยั ไชยธงรัตน์ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๙. นางอรุ พงษ์ โงชาฤทธ์ิ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๑๐. นางสาวกรัญยวันณ์ ใคน่ นุ่ สิงห์ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๑๑. นางจริ าวัลย์ เนอื่ งมัจฉา ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๑๒. นางเทวญั มณีฉาย ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ

๑๓. นางอุดมทรัพย์ ไชยขาว ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ

๑๔. นางสาวบุญทวิ า ศาลารตั น์ ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ

โรงเรยี นเสลภูมิพทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๔๕

๑๖. นายพมิ พ์ชนก โคตรฉวะ ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ
๑๗. นายธรี ยุทธ์ ดวงมาลา ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ

๑๙. นางสริ ภัทร ขจรสมบัติ ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ
๒๐. นายเกรียงไกร ขันธวชิ ยั ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ

๒๑. นางวนั เพญ็ สุทธจิ ันทร์ ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ
๒๒. นางขาจติ ร มณีนิล ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ
๒๓. นางสิรกิ านต์ โฮมราช ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ

๒๔. นางอุดมลักษณ์ ทองภู ครูชานาญการพิเศษ กรรมการและเลขานกุ าร
๒๗. นางสาวพไิ ลวรรณ พรรณขาม ครู กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร

๒๘. นางสาวฐติ าภรณ์ อินทรง์ าม ครู กรรมการและผูช้ ่วยเลขานุการ

หน้าที่
สรุปรายงานโครงการกจิ กรรมที่กลมุ่ สาระการเรยี นรูไ้ ดร้ บั ผิดชอบ และสรุปภาพรวมคณุ ภาพการทางาน

ทงั้ หมดตามมาตรฐานที่ ๓ โดยจัดการความรู้ (Knowledge Management) และนาเสนอในรปู แบบวงจร
คณุ ภาพ PDCA เพอ่ื ทารปู เลม่ รายงานเสนอต่อผู้บังคับบญั ชา และจดั เตรียมข้อมูล สารสนเทศพร้อมเตรียมสไลด์
นาเสนอ ด้วยความเรียบรอ้ ย

ใหค้ ณะกรรมการท่ไี ด้รบั แต่งตงั้ ปฏิบตั ิหนา้ ที่ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อย เพ่อื ให้
เกิดผลดแี ก่โรงเรียนและราชการสืบไป

ท้งั นี้ ตั้งแต่วันท่ี ๒๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๔ เปน็ ต้นไป

สั่ง ณ วนั ท่ี ๒๐ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๔

( นายไพฑูรย์ มนตรี )
ผูอ้ านวยการโรงเรยี นเสลภมู พิ ทิ ยาคม

โรงเรยี นเสลภมู ิพิทยาคม www.sapit.ac.th ๔๖

ประกำศโรงเรยี นเสลภูมพิ ทิ ยำคม
เรอื่ ง ใหใ้ ช้มำตรฐำนกำรศกึ ษำข้นั พ้นื ฐำน เพอื่ กำรประกันคุณภำพภำยในของสถำนศกึ ษำ

ฉบบั ลงวันท่ี ๖ สิงหำคม พ.ศ.๒๕๖๑
***************************************************************
ตามท่กี ระทรวงศึกษาธกิ ารมนี โยบายใหป้ ฏิรูประบบการประเมนิ และประกันคุณภาพการศกึ ษา
ท้ังภายในและภายนอกของทกุ ระดบั ก่อนจะมกี ารประเมินคุณภาพในรอบตอ่ ไป และสภาขับเคลื่อนการปฏิรปู
ประเทศไดเ้ สนอให้ชะลอการประเมินทั้งภายในและภายนอก เพื่อให้ผู้ทีม่ ีส่วนเก่ยี วข้องมีความเข้าใจ และทราบ
แนวทางการปฏิบตั ิไปในทศิ ทางเดียวกนั น้นั สพฐ. ไดด้ าเนินการปรับและพัฒนามาตรฐานดังกล่าวโดยสอดคลอ้ ง
ตามนโยบายของรัฐ จุดเน้นของการปฏริ ูปการศกึ ษา และสภาวการณท์ เี่ ปล่ยี นแปลงไป โดยมแี นวคิดว่ามาตรฐาน
ท่กี าหนดต้องสามารถพฒั นาผู้เรียนให้บรรลุได้ ประเมนิ ได้อยา่ งเป็นรูปธรรม กระชับ สามารถสะทอ้ นคุณภาพ
การศึกษาไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง เนน้ การประเมินสภาพจรงิ ไมย่ ุ่งยาก สรา้ งมาตรฐานระบบการประเมินเพอ่ื ลดภาระ
การจัดเกบ็ ขอ้ มูล และลดการจดั ทาเอกสารทีใ่ ช้ในการประเมนิ
มาตรฐานการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน เพ่ือการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา ฉบับลงวนั ที่ ๖
สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยท่านรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร (นายธรี ะเกยี รติ เจริญเศรษฐศิลป์) ไดม้ กี าร
ลงนามในประกาศกระทรวงศึกษาธิการไปแลว้ นน้ั มจี านวน ๓ มาตรฐาน คือ มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผเู้ รยี น
(๑. ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผเู้ รียน และ ๒. คุณลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องผ้เู รยี น) มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการ
บริหารและการจดั การ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ นน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคัญ
ให้ใชม้ าตรฐานการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานฉบับนี้ เพ่อื เป็นหลกั ในการเทยี บเคียงสาหรบั สถานศกึ ษา
หนว่ ยงานต้นสังกัด และสานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาทงั้ ระดบั ปฐมวยั ระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน และระดบั
การศึกษาพนื้ ฐานศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ในการพฒั นา สง่ เสริม สนับสนนุ กากบั ดแู ล และติดตามตรวจสอบ
คณุ ภาพการศึกษา ทง้ั นี้ ใหใ้ ช้กบั สถานศึกษาท่เี ปิดสอนระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานทกุ สังกดั
สถานศึกษาระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐานสามารถใช้มาตรฐานการศึกษาขัน้ พื้นฐานฯ ฉบับลงวันท่ี ๖
สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๑ เปน็ กรอบในการวางแผนและพฒั นาระบบการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา
ตง้ั แตก่ ารกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา การจัดทาแผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาของ
สถานศกึ ษาและแผนปฏบิ ตั ิการประจาปที มี่ ุ่งสมู่ าตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา รวมถึงการจัดทารายงานการ
ประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา โดยดาเนนิ การวเิ คราะหค์ วามเช่อื มโยงของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมทีไ่ ด้
ดาเนนิ การตามกรอบมาตรฐานการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานฯ ฉบับใหม่ และปรับแผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา
ของสถานศกึ ษาและแผนปฏบิ ัติการประจาปเี พ่อื มุ่งมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาภายใตก้ รอบ ๓
มาตรฐานท่ีกระทรวงฯ ได้ประกาศใช้

มาตรฐานการศกึ ษาขั้นพื้นฐานฯ ฉบับน้ี มคี วามสอดคล้องกับมาตรฐานเพ่ือการประเมินคุณภาพ
ภายนอกรอบสท่ี ่ี สมศ.จะนาไปใช้เป็นกรอบมาตรฐานในการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบส่ี ที่จะเกดิ ขึ้นตอ่ ไป

(นายไพฑูรย์ มนตร)ี
ผู้อานวยการโรงเรยี นเสลภูมิพิทยาคม

โรงเรียนเสลภมู ิพิทยาคม www.sapit.ac.th ๔๗

ประกำศโรงเรียนเสลภมู พิ ทิ ยำคม

เร่อื ง กาหนดคา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
เพือ่ การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา

โดยท่ีมีประกาศใช้กฎกระทรวงวา่ ด้วยระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา
พ.ศ. ๒๕๖๑ นโยบายการปฏริ ปู การศึกษาในทศวรรษที่สองท่กี าหนดเปา้ หมายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนา
คุณภาพการศกึ ษาไทยในอนาคต นโยบายปฏิรูประบบการประเมนิ และการประกนั คณุ ภาพการศึกษา ประกาศ
คณะกรรมการการประกันคณุ ภาพภายใน ระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน เรอื่ ง กาหนดหลกั เกณฑ์และแนวปฏิบัติ
เก่ียวกบั การประกนั คณุ ภาพภายในระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน ประกอบกบั ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรื่อง
ให้ใชม้ าตรฐานการศึกษาขั้นพนื้ ฐานเพอื่ การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ฉบับลงวันที่ ๖ สงิ หาคม
๒๕๖๑ โรงเรียนเสลภมู พิ ิทยาคม จงึ ปรบั มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน
โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐานและการมสี ว่ นร่วมของผเู้ ก่ยี วข้อง ทัง้ บคุ ลากรทุกคน
ในโรงเรยี น ผปู้ กครองและประชาชนในชมุ ชน ใหเ้ หมาะสมและสอดคลอ้ งกนั เพอื่ นาไปสูก่ ารพัฒนาคณุ ภาพ
การศกึ ษาตามมาตรฐานการศกึ ษาการประเมนิ คุณภาพภายในและรองรบั การประเมินคุณภาพภายนอกเพอื่ ให้
การพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรียนเสลภูมพิ ิทยาคม มคี ณุ ภาพและมาตรฐานโรงเรยี น
เสลภูมพิ ิทยาคม .จงึ ได้กาหนดคา่ เป้าหมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษา
ขน้ั พืน้ ฐาน ตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ เพอ่ื เปน็ เป้าหมายในการพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา
ระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน และการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา

ประกาศ ณ วันท่ี ๑๔ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖3

(นายไพฑูรย์ มนตร)ี
ผอู้ านวยการโรงเรียนเสลภูมพิ ทิ ยาคม

โรงเรยี นเสลภมู ิพิทยาคม www.sapit.ac.th ๔๘

กำรกำหนดคำ่ เปำ้ หมำยตำมมำตรฐำนกำรศกึ ษำของสถำนศกึ ษำ ระดบั กำรศึกษำข้ันพน้ื ฐำน

เพอ่ื กำรประกนั คุณภำพภำยในของสถำนศึกษำ

ปกี ำรศกึ ษำ 256๓

เรื่อง กำหนดเป้ำหมำยตำมมำตรฐำนกำรศกึ ษำของสถำนศกึ ษำ ระดบั กำรศึกษำขนั้ พืน้ ฐำน

เพื่อกำรประกนั คุณภำพภำยในของสถำนศกึ ษำ

ค่ำเป้ำหมำยมำตรฐำน/ประเด็น

มำตรฐำน/ประเด็นกำรพิจำรณำ กำรพจิ ำรณำ

ระดับ

มำตรฐำนที่ ๑ คุณภำพของผู้เรียน ดีเลิศ

๑.๑ ผลสัมฤทธ์ทิ ำงวชิ ำกำรของผูเ้ รยี น ดี

๑) มีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสือ่ สาร และ 70

การคดิ คานวณ

๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ 70

อภิปราย แลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ และแกป้ ัญหา

๓) มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม 80

๔) มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา 60

๕) ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนและพัฒนาการจากผลการ 60

สอบวัดระดับชาติ

๖) มคี วามรู้ ทกั ษะพ้นื ฐาน และเจตคติที่ดีตอ่ งานอาชพี 80

๑.๒ คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ของผู้เรียน ดเี ลิศ

๑) การมคี ณุ ลกั ษณะและค่านยิ มทีด่ ีตามท่ีสถานศึกษา 80

กาหนด

๒) ความภมู ิใจในท้องถน่ิ และความเปน็ ไทย 80

๓) การยอมรบั ท่จี ะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและ 80

ความหลากหลาย

๔) สุขภาวะทางร่างกาย และลกั ษณะจติ สังคม 80

มำตรฐำนท่ี ๒ กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำรของผู้บรหิ ำร ดเี ลศิ

สถำนศกึ ษำ

๑. มเี ปา้ หมาย วิสยั ทัศน์ และพนั ธกจิ ท่ีสถานศึกษากาหนดชัดเจน 80

โรงเรียนเสลภูมพิ ทิ ยาคม www.sapit.ac.th ๔๙

มำตรฐำน/ประเด็นกำรพิจำรณำ คำ่ เปำ้ หมำยมำตรฐำน/ประเด็น
กำรพิจำรณำ
๒. มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา ระดับ
๓. ดาเนินงานพฒั นาวิชาการท่ีเนน้ คุณภาพผู้เรียนรอบดา้ นตาม 80
หลกั สตู รสถานศกึ ษาและทกุ กล่มุ เปา้ หมาย 80
๔. พฒั นาครูและบคุ ลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ
๕. จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่เออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้อย่างมี 80
คุณภาพ 80
๖. จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบริหารจัดการและ
การจัดการเรยี นรู้ 80
มำตรฐำนที่ ๓ กระบวนกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็
สำคญั ดีเลศิ
๑. จัดการเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ รงิ และสามารถนาไป
ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตได้ 80
๒. ใช้สอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรทู้ ่ีเอื้อต่อการเรยี นรู้
๓. มีการบรหิ ารจัดการชั้นเรียนเชงิ บวก 80
๔. ตรวจสอบและประเมนิ ผ้เู รยี นอยา่ งเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนา 80
ผ้เู รยี น 80
๕. มีการแลกเปลย่ี นเรียนรู้และให้ขอ้ มลู สะท้อนกลบั เพื่อพัฒนาและ
ปรบั ปรุงการจัดการเรียนรู้ 80

โรงเรยี นเสลภูมิพิทยาคม www.sapit.ac.th ๕๐

มำตรฐำนกำรศึกษำข้นั พ้นื ฐำน เพอ่ื กำรประกันคุณภำพภำยในของสถำนศกึ ษำ
ฉบบั ลงวันท่ี ๖ สิงหำคม พ.ศ. ๒๕๖๑

มาตรฐานการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน เพือ่ การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
มจี านวน ๓ มาตรฐาน คือ

มำตรฐำนท่ี ๑ คณุ ภำพของผู้เรียน
๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ทิ ำงวิชำกำรของผูเ้ รยี น
๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การส่ือสาร และการคิดคานวณ
๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวจิ ารณญาณ อภปิ ราย แลกเปล่ียนความคิดเหน็ และ

แก้ปัญหา
๓) มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม
4) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสอ่ื สาร
5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษา
๖) มคี วามรู้ ทักษะพ้นื ฐาน และเจตคตทิ ดี่ ีต่องานอาชพี

๑.๒ คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ของผู้เรียน
๑) การมคี ุณลกั ษณะและค่านิยมทดี่ ีตามที่สถานศึกษากาหนด
๒) ความภมู ิใจในท้องถน่ิ และความเป็นไทย
๓) การยอมรบั ทจี่ ะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกต่างและความหลากหลาย
๔) สุขภาวะทางรา่ งกาย และลักษณะจิตสงั คม

มำตรฐำนที่ ๒ กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำรของผบู้ ริหำรสถำนศกึ ษำ
๑. มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกจิ ทีส่ ถานศึกษากาหนดชดั เจน
๒. มีระบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา
๓. ดาเนนิ งานพัฒนาวชิ าการที่เน้นคณุ ภาพผู้เรียนรอบดา้ นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาและทุก

กลุ่มเปา้ หมาย
๔. พฒั นาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญทางวิชาชพี
๕. จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมท่ีเออ้ื ต่อการเรียนรู้อยา่ งมคี ณุ ภาพ
๖. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ สนบั สนุนการบริหารจดั การและการจดั การเรยี นรู้

มำตรฐำนที่ ๓ กระบวนกำรจดั กำรเรียนกำรสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ
๑. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคดิ และปฏิบัตจิ รงิ และสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตได้
๒. ใชส้ ่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรทู้ เ่ี อ้อื ตอ่ การเรยี นรู้
๓. มกี ารบรหิ ารจัดการชนั้ เรียนเชงิ บวก
๔. ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอยา่ งเป็นระบบ และนาผลมาพฒั นาผเู้ รยี น
๕. มีการแลกเปล่ยี นเรยี นร้แู ละใหข้ อ้ มูลสะทอ้ นกลับเพือ่ พัฒนาและปรับปรงุ การจดั การเรยี นรู้


Click to View FlipBook Version