The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กฤติยา พลหาญ, 2022-05-15 11:50:54

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม

๔๘

คาอธบิ ายรายวชิ า

รหสั วิชา ว ๓๑๑๐๑ (แผนเนน๎ วิทย์) วิชาฟิสิกส์ ๑ กลมํุ สาระการเรียนร๎วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๔ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง จานวน ๒.๐ หนํวยกติ

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

การคน๎ หาความรู๎ทางฟสิ ิกส์ พัฒนาการของหลกั การและแนวคดิ ทางฟิสิกส์ท่ีมีผลตํอการแสวงหา

ความรูใ๎ หมแํ ละการพัฒนาเทคโนโลยี การวดั ความสัมพันธ์ระหวาํ งตาแหนงํ การกระจัด ความเร็ว ความเรงํ

ของการเคล่อื นท่ีของวตั ถใุ นแนว ความเรํงโน๎มถวํ งของโลก การหาแรงลพั ธข์ องแรงสองแรงทที่ ามมุ ตอํ กนั

กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโน๎มถวํ งสากล แรงเสียดทาน สัมประสิทธ์คิ วามเสยี ดทาน การเคลอื่ นท่ี

แบบโพรเจกไทล์

โดยใช๎การเรียนร๎ดู ๎วยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความร๎ู การสารวจตรวจสอบ

สามารถนาความรแู๎ ละหลกั การไปใช๎ประโยชน์ เชื่อมโยง อธบิ ายปรากฎการณ์ หรือแก๎ปัญหาใน

ชีวิตประจาวัน สามารถจดั กระทาและวิเคราะห์ข๎อมูล ส่ือสารสง่ิ ท่ีเรยี นรู๎ มคี วามสามารในการตัดสินใจ

แก๎ปัญหา มีจติ วิทยาศาสตร์ เห็นคุณคาํ ของวทิ ยาศาสตร์ มจี ริยธรรม คณุ ธรรมและคํานิยมทเี่ หมาะสม

ผลการเรียนรู้
๑. สบื ค๎น และอธิบายการคน๎ หาความร๎ูทางฟสิ ิกส์ ประวัตคิ วามเป็นมา รวมทั้งพัฒนาการของหลกั การและ

แนวคดิ ทางฟสิ ิกส์ทมี่ ีผลตอํ การแสวงหาความรูใ๎ หมํและการพฒั นาเทคโนโลยี
๒. วัด และรายงานผลการวดั ปริมาณทางฟิสกิ ส์ไดถ๎ ูกต๎องเหมาะสม โดยนาความคลาดเคลื่อนในการวดั
มาพจิ ารณาในการนาเสนอผล รวมทง้ั แสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ วเิ คราะห์และแปลความหมาย
จากกราฟเสน๎ ตรง
๓. ทดลอง และอธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหวาํ งตาแหนํง การกระจัด ความเรว็ และความเรงํ ของการ
เคลื่อนทขี่ องวตั ถุในแนวตรงทีม่ คี วามเรงํ คงตวั จากกราฟและสมการ รวมทง้ั ทดลองหาคําความเรงํ โนม๎
ถํวงของโลก และคานวณปรมิ าณตําง ๆ ท่ีเก่ยี วข๎อง
๔. ทดลอง และอธิบายการหาแรงลัพธข์ องแรงสองแรงทีท่ ามุมตอํ กัน
๕. เขยี นแผนภาพของแรงที่กระทาตํอวตั ถุอสิ ระ ทดลอง และอธบิ ายกฎการเคลอื่ นท่ีของนวิ ตันและการ
ใช๎กฎการเคลือ่ นทีข่ องนวิ ตันกบั สภาพการเคล่อื นที่ของวัตถุ รวมทงั้ คานวณปริมาณตําง ๆ ที่เก่ียวข๎อง
๖. อธิบายกฎความโนม๎ ถวํ งสากลและผลของสนามโน๎มถํวงทีท่ าใหว๎ ตั ถุมีนา้ หนกั รวมทั้งคานวณปริมาณ
ตําง ๆ ทเี่ กีย่ วขอ๎ ง
๗. วเิ คราะห์ อธิบาย และคานวณแรงเสยี ดทานระหวาํ งผิวสมั ผสั ของวตั ถุคหูํ นึ่ง ๆ ในกรณที ว่ี ตั ถุหยุดนิ่ง
และวัตถเุ คล่ือนท่ี รวมท้ังทดลองหาสัมประสิทธ์ิความเสยี ดทานระหวํางผิวสมั ผสั ของวัตถุคํหู นง่ึ ๆ และนา
ความร๎ูเรือ่ งแรงเสียดทานไปใช๎ในชีวิตประจาวัน
๘. อธบิ าย วเิ คราะห์ และคานวณปรมิ าณตําง ๆ ท่ีเก่ียวขอ๎ งกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ และทดลอง

การเคลอื่ นท่แี บบโพรเจกไทล์

รวมท้ังหมด ๘ ผลการเรียนรู้

๔๙

คาอธิบายรายวชิ า

รหัสวิชา ว ๓๑๒๒๑(แผนเนน๎ วิทย)์ วิชา เคมี ๑ กลมํุ สาระการเรียนร๎ูวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๔ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จานวน ๑.๕ หนวํ ยกติ

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาความหมายและคานวณมวลอะตอม มวลอะตอมสมั พัทธ์ มวลอะตอมเฉล่ยี ของธาตุ โมล มวล
ตอํ โมล มวลโมเลกุล และมวลสตู ร ศึกษาความสมั พนั ธร์ ะหวาํ งจานวนโมล อนุภาค มวลและปริมาตรของแก๏สท่ี

STP ศกึ ษากฎสัดสวํ นคงท่ี คานวณอัตราสํวนโดยมวล ร๎อยละโดยมวล
สูตรโมเลกุลและสูตรเอมพริ ิคลั

ศึกษาหนํวยความเข๎มข๎นและการคานวณความเข๎มข๎นของสารละลายในหนํวยร๎อยละ
สวํ นในลา๎ นสํวน สวํ นในพนั ลา๎ นสํวน โมลาริตี โมแลลิตี และเศษสํวนโมล ศกึ ษาการเตรียมสารละลายจากสาร
บริสุทธแิ์ ละจากการเจอื จางสารละลายเข๎มขน๎ เปรยี บเทยี บจุดเดอื ดและจดุ หลอมเหลวของสารบรสิ ุทธิ์และ

สารละลาย
ศกึ ษาการเขียนและดุลสมการเคมี อัตราสวํ นโดยโมลของสารในปฎิกิริยาเคมี แปลความหมาย

สญั ลักษณ์ในสมการเคมี คานวณปริมาณของสารในปฎกิ ริ ยิ าเคมีตามกฎทรงมวล ศกึ ษาการรวมปรมิ าตรแก๏ส
ของเกย์-ลสู แซกและสมมตฐิ านของอาโวกาโดร คานวณปริมาตรของสารในปฎิกริ ิยาเคมโี ดยใช๎ความสมั พันธ์
ระหวํางโมล มวล ความเขม๎ ขน๎ และปรมิ าตรแกส๏ คานวณปรมิ าณสารในปฎกิ ริ ยิ าเคมใี นหลายขั้นตอน ปรมิ าณ

สารเมอ่ื มสี ารกาหนดปรมิ าณและผลไดร๎ อ๎ ยละ
โดยใชก๎ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู๎ การสืบค๎นขอ๎ มลู การสงั เกต วิเคราะห์

เปรยี บเทยี บ อธบิ าย อภปิ ราย เพอื่ ใหเ๎ กิดความรู๎ ความเข๎าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ
มที ักษะปฎิบัติการทางวทิ ยาศาสตรร์ วมทงั้ ทกั ษะแหํงทศวรรษท่ี ๒๑ ในด๎านการใช๎เทคโนโลยีสารสนเทศด๎าน
การคดิ และการแกป๎ ัญหา ดา๎ นการสือ่ สาร สามารถสือ่ สารสิง่ ท่เี รยี นรูไ๎ ปใช๎ในชวี ิตของตนเอง มจี ติ วิทยาศาสตร์

จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคํานยิ มท่ีเหมาะสม

ผลการเรยี นรู้

๑. บอกและอธิบายขอ๎ ปฏิบัตเิ บอ้ื งตน๎ และปฎบิ ัติตนทแี่ สดงถึงความตระหนกั ในการทาปฏบิ ตั ิการเคมี
เพื่อให๎มคี วามปลอดภยั ท้งั ตํอตนเอง ผูอ๎ ่ืนและสิง่ แวดลอ๎ มและเสนอแนวทางแกไ๎ ขเม่อื เกิดอบุ ัติเหตุ
๒. เลือกและใชอ๎ ปุ กรณห์ รอื เครื่องมอื ในการทาปฎบิ ัตกิ ารและวดั ปรมิ าณตํางๆไดอ๎ ยาํ งเหมาะสม

๓. นาเสนอแผนการทดลอง ทดลอง และเขยี นรายงานการทดลอง
๔. ระบหุ นํวยวัดปรมิ าณตาํ งๆของศาลและเปลยี่ นหนวํ ยวดั ใหเ๎ ปน็ หนวํ ยในระบบเอสไอดว๎ ยการใช๎

แฟคเตอร์เปลีย่ นหนํวย
๕. สืบคน๎ ขอ๎ มูลสมมตุ ิฐานการทดลองหรือผลการทดลองทเ่ี ป็นประจกั ษพ์ ยานในการเสนอแบบจาลอง
อะตอมของนกั วิทยาศาสตรแ์ ละอธิบายวิวัฒนาการของแบบจาลองอะตอม

๖. เขียนสญั ลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ และระบุจานวนโปรตรอน นวิ ตรอน และอิเล็กตอนของอะตอม
จากสัญลักษณ์นิวเคลียรร์ วมทั้งบอกความหมายของไอโซโทป

๗. อธิบายและเขยี นการจดั เรยี งอิเลก็ ตอนในระดับพลังงานหลัก และระดบั พลังงานยอํ ยเมอ่ื ทราบเลข
อะตอมของธาตุ

๕๐

๘. ระบุหมูํ คาบ ความเปน็ โลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ของธาตุเรพรเี ซนเททีฟ และธาตุแทรนซซิ นั ใน
ตารางธาตุ
๙. วเิ คราะหแ์ ละบอกแนวโน๎มสมบัตขิ องธาตเุ รพีเซนต์เททีฟตามหมแํู ละตามคาบ
๑๐. บอกสมบัตขิ องธาตุโลหะแทรนซิซนั และเปรยี บเทียบสมบัติของธาตโุ ลหะในกลุํม
ธาตุเรพรีเซนเททฟี
๑๑. อธิบายสมบตั ิและคานวณคร่งึ ชีวติ ของไอโซโทปกมั มนั ตรงั สี
๑๒. สืบคน๎ ข๎อมูลและยกตัวอยํางการนาธาตมุ าใช๎ประโยชนร์ วมทั้งผลกระทบตํอสิ่งมีชวี ิตและ
ส่ิงแวดลอ๎ ม
๑๓. อธบิ ายการเกิดไอออนและการเกิดพนั ธะไอออนกิ โดยใช๎แผนภาพ หรือสญั ลกั ษณ์แบบจุดของ
ลวิ อิส
๑๔. เขียนสตู รและเรียกชอื่ สารประกอบไอออนกิ
๑๕. คานวณพลังงานทเี่ ก่ียวข๎องกับปฏกิ ริ ิยาการเกดิ สารประกอบไอออนกิ จากวัฎจักรบอร์น-ฮาเบอร์
๑๖. อธิบายสมบตั ิของสารประกอบไอออนกิ
๑๗. เขียนสมการไอออนิกและสมการไอออนกิ สทุ ธิของปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนกิ
๑๘. อธบิ ายการเกดิ พันธะโคเวเลนซแ์ บบพนั ธะเดย่ี ว พันธะคูํ และพันธะสามด๎วยโครงสร๎างลวิ อิส
๑๙. เขียนสูตรและเรยี กชอ่ื สารโคเวเลนซ์
๒๐. วเิ คราะหแ์ ละเปรยี บเทยี บความยาวพันธะ และพลงั งานพันธะในสารโคเวเลนซ์ รวมท้ังคานวณ
พลงั งานทีเ่ กย่ี วขอ๎ งกับปฏิกริ ิยาของสารโคเวเลนซจ์ ากพลังงานพนั ธะ
๒๑. คาดคะเนรปู ราํ งโมเลกุลโคเวเลนซโ์ ดยใชท๎ ฤษฎีการผลกั ระหวํางคอํู ิเล็กตรอนในวงเลนซ์ และระบุ
สภาพขว้ั ของโมเลกุลโคเวเลนซ์
๒๒. ระบุชนดิ ของแรงยดึ เหนี่ยวระหวํางโมเลกุลโคเวเลนซ์ และเปรียบเทยี บจุดหลอมเหลว จุดเดือด
และการละลายนา้ ของสารโคเวเลนซ์
๒๓. สบื คน๎ ข๎อมูลและอธบิ ายสมบตั ขิ องสารโคเวเลนซโ์ ครงราํ งตาขาํ ยชนดิ ตาํ งๆ
๒๔. อธิบายการเกิดพันธะโลหะและสมบตั ขิ องโลหะ
๒๕. เปรียบเทียบสมบตั ิบางประการของสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนซ์ และโลหะ สบื ค๎นข๎อมลู
และนาเสนอตวั อยํางการใช๎ประโยชนข์ องสารประกอบไอออนกิ สารโคเวเลนซ์ และโลหะได๎อยําง
เหมาะสม

รวมทงั้ หมด ๒๕ ผลการเรยี นรู้

๕๑

คาอธบิ ายรายวิชา

รหัสวชิ า ว ๓๑๒๔๑(แผนเน๎นวิทย์) วิชา ชีววิทยา ๑ กลํุมสาระการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔ เวลา ๖๐ ช่วั โมง จานวน ๑.๕ หนํวยกิต

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาเกย่ี วกบั การถาํ ยทอดทางพันธุกรรม การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล กฎการแยกและกฎการ
รวมกลํุมอยํางอิสระ ลักษณะทางพันธุกรรมท่ีเป็นสํวนขยายของพันธุศาสตร์เมนเดล ศึกษาเก่ียวกับยีนและ
โครโมโซม การคน๎ พบสารพนั ธุกรรม โครโมโซม องค์ประกอบทางเคมีของของดีเอ็นเอ โครงสร๎างของดีเอ็นเอ
สมบตั ขิ องสารพนั ธุกรรม การกลาย ศึกษาเกย่ี วกับพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอพันธุวิศวกรรม การ
ประยุกต์ใช๎เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอความปลอดภัยของเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอและมุมมองทางสังคมและ
จริยธรรม ศกึ ษาเก่ยี วกับวิวฒั นาการ หลกั ฐานท่ีบงํ บอกถงึ ววิ ัฒนาการของสง่ิ มีชีวิต แนวคิดเกย่ี วกบั วิวัฒนาการ
ของสิง่ มชี วี ติ พันธศุ าสตรป์ ระชากร และกาเนดิ ของสปีชีส์

โดยใชก๎ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสบื เสาะหาความร๎ู การสบื คน๎ ข๎อมูล การสังเกต การ
วเิ คราะห์ การทดลอง อภิปราย การอธบิ าย และสรปุ เพ่ือให๎เกิดความรู๎ ความคิด ความเข๎าใจ มีความสามารถ
ในการตดั สินใจ สื่อสารสงิ่ ท่ีเรยี นรู๎และนาความร๎ูไปใช๎ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรมคุณธรรม
และคาํ นยิ ม

ผลการเรียนรู้
๑. อธิบาย และสรปุ สมบตั ิที่สาคัญของสิง่ มชี วี ิต และความสมั พนั ธข์ องการจัดระบบในสิ่งมีชีวติ ที่ทาให๎
สิง่ มชี วี ิตดารงชวี ิตอยํูได๎
๒. อภิปรายและบอกความสาคญั ของการระบปุ ญั หา ความสมั พันธร์ ะหวาํ งปญั หา สมมติฐาน และ
วธิ ีการตรวจสอบสมมติฐาน รวมท้งั ออกแบบการทดลองเพือ่ ตรวจสอบสมมติฐาน
๓. สบื คน๎ ขอ๎ มูล อธิบายเกยี่ วกบั สมบัติของนา้ และบอกความสาคัญของนา้ ที่มีตอํ สง่ิ มีชีวติ และ
ยกตวั อยาํ งธาตุชนดิ ตาํ ง ๆ ท่ีมีความสาคัญตํอราํ งกายส่ิงมชี ีวติ
๔. สบื ค๎นข๎อมูล อธบิ ายโครงสร๎างของคารโ์ บไฮเดรต ระบุกลมํุ ของคาร์โบไฮเดรต รวมท้ังความสาคัญ
ของคารโ์ บไฮเดรตที่มตี ํอสง่ิ มชี ีวิต
๕. สืบค๎นข๎อมูล อธบิ ายโครงสร๎างของโปรตนี และความสาคญั ของโปรตีนท่ีมตี อํ สง่ิ มชี วี ิต
๖. สืบค๎นขอ๎ มูล อธิบายโครงสรา๎ งของลิพิดและความสาคัญของลิพิดที่มีตอํ ส่งิ มชี ีวิต
๗. อธิบายโครงสร๎างของกรดนิวคลอิ ิก และระบุชนดิ ของกรดนิวคลิอกิ และความสาคัญของ
กรดนวิ คลิอิกทมี่ ีตอํ ส่ิงมีชีวติ
๘. สบื ค๎นขอ๎ มูลและอธบิ ายปฏกิ ิรยิ าเคมีที่เกิดข้นึ ในส่ิงมชี ีวิต
๙. อธบิ ายการทางานของเอนไซมใ์ นการเรงํ ปฏิกริ ยิ าเคมใี นสงิ่ มชี วี ิต และระบปุ จั จยั ที่มีผลตอํ การ
ทางานของเอนไซม์
๑๐. บอกวธิ กี ารและเตรยี มตัวอยาํ งสิ่งมชี ีวิตเพือ่ ศึกษาภายใตก๎ ลอ๎ งจุลทรรศน์ใชแ๎ สง วัดขนาด
โดยประมาณ และวาดภาพที่ปรากฏภายใต๎กล๎อง บอกวิธีการใช๎ และการดแู ลรักษากลอ๎ งจุลทรรศน์
ใชแ๎ สงที่ถูกต๎อง
๑๑. อธิบายโครงสรา๎ งและหนา๎ ท่ขี องสํวนทห่ี ํอห๎ุมเซลล์ของเซลลพ์ ชื และเซลล์สัตว์
๑๒. สบื คน๎ ขอ๎ มูล อธิบายและระบุชนิดและหน๎าที่ของออร์แกเนลล์

๕๒

๑๓. อธิบายโครงสร๎างและหนา๎ ท่ขี องนิวเคลียส
๑๔. อธิบายและเปรียบเทยี บการแพรํ ออสโมซสิ การแพรแํ บบฟาซิลเิ ทต และแอกทีฟทรานสปอรต์
๑๕. สบื คน๎ ขอ๎ มูล อธิบาย และเขยี นแผนภาพการลาเลียงสารโมเลกุลใหญอํ อกจากเซลล์ดว๎ ย
กระบวนการเอกโซไซโทซสิ และการลาเลยี งสารโมเลกุลใหญเํ ข๎าสูํเซลล์ดว๎ ยกระบวนการเอนโดไซโทซสิ
๑๖. สังเกตการแบงํ นวิ เคลียสแบบไมโทซสิ และแบบไมโอซิสจากตัวอยํางภายใตก๎ ลอ๎ งจุลทรรศน์
พรอ๎ มทั้งอธบิ ายและเปรยี บเทยี บการแบํงนวิ เคลยี สแบบไมโทซสิ และแบบไมโอซิส
๑๗. อธบิ าย เปรยี บเทียบ และสรุปข้ันตอนการหายใจระดบั เซลล์ในภาวะที่มีออกซเิ จนเพียงพอและ
ภาวะทีม่ ีออกซเิ จนไมํเพียงพอ

รวมท้ังหมด ๑๗ ผลการเรยี นรู้

๕๓

คาอธบิ ายรายวิชา

รหสั วิชา ว ๓๑๒๐๑ วชิ าฟิสกิ ส์ ๒ กลมํุ สาระการเรียนร๎วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง จานวน ๒.๐ หนวํ ยกิต

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ความสมั พันธร์ ะหวาํ งแรงสศํู ูนยก์ ลาง รศั มีของการเคล่อื นที่ อัตราเร็วเชิงเสน๎ อตั ราเรว็ เชงิ มุม และ

มวลของวตั ถุ ในการเคล่ือนที่แบบวงกลมในระนาบระดับ การเคล่ือนที่แบบวงกลม ในการอธิบายการโคจรของ

ดาวเทยี ม สมดุลกลของวัตถุ โมเมนต์ แรงคงตัว พลงั งานจลน์ หลงั งานศักย์ และพลังงานกล กฎการอนรุ กั ษ์

พลังงานกล การทางาน ประสิทธิภาพและการไดเ๎ ปรยี บเชิงกลของเคร่ืองกลอยํางงําย โมเมนตมั ของวัตถุ การ

คานวณปริมาณตาํ ง ๆ ทีเ่ กย่ี วกับการชนของวัตถใุ นหนง่ึ มติ ิ ทง้ั แบบยืดหยํุน ไมยํ ืดหยนํุ และการดีดตวั แยกจาก

กนั ในหนึง่ มิติซงึ่ เปน็ ไปตามกฎการอนุรกั ษโ์ มเมนตัม โดยใช๎การเรยี นรดู๎ ว๎ ยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การ

สืบเสาะหาความรู๎ การสารวจตรวจสอบ สามารถนาความรูแ๎ ละหลักการไปใชป๎ ระโยชน์ เชื่อมโยง อธิบาย

ปรากฎการณ์ หรอื แก๎ปญั หาในชีวิตปราจาวนั สามารถจัดกระทาและวิเคราะห์ข๎อมลู สอ่ื สารสิง่ ท่ีเรยี นร๎ู มี

ความสามารในการตัดสินใจแก๎ปัญหา

มีจิตวทิ ยาศาสตร์ เห็นคุณคําของวิทยาศาสตร์ มีจริยธรรม คุณธรรมและคาํ นิยมทเี่ หมาะสม

ผลการเรยี นรู้
๑. อธิบายสมดุลกลของวัตถุ โมเมนต์ และผลรวมของโมเมนตท์ ีม่ ตี ํอการหมุน แรงคํูควบและผลของ

แรงคํูควบที่มตี อํ สมดุลของวตั ถุ เขยี นแผนภาพของแรงทกี่ ระทาตํอวัตถอุ สิ ระเมอื่ วตั ถอุ ยํูในสมดุลกล
และคานวณปริมาณตําง ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ๎ ง รวมทงั้ ทดลองและอธบิ ายสมดุลของแรงสามแรง

๒. สงั เกต และอธิบายสภาพการเคลื่อนท่ขี องวตั ถุเมื่อแรงทก่ี ระทาตอํ วตั ถผุ าํ นศูนยก์ ลางมวลของวตั ถุ
และผลของศนู ยถ์ ํวงท่มี ีตอํ เสถยี รภาพของวตั ถุ
๓. วเิ คราะหแ์ ละคานวณงานของแรงคงตัว จากสมการและพน้ื ทใี่ ต๎กราฟ ความสัมพนั ธร์ ะหวํางแรงกบั

ตาแหนํง รวมทัง้ อธิบายและคานวณกาลังเฉลีย่
๔. อธิบายและคานวณพลังงานจลน์ หลงั งานศกั ย์ และพลงั งานกล ทดลองหาความสัมพันธ์ระหวาํ ง

งานกบั พลังงานจลน์ ความสมั พันธ์ระหวํางงานกับพลังงานศักย์โนม๎ ถวํ ง ความสัมพนั ธร์ ะหวํางขนาด
ของแรงทใ่ี ชด๎ งึ สปริงกบั ระยะที่สปริงยืดออกและความสัมพนั ธร์ ะหวํางงานกบั พลงั งานศักยย์ ดื หยนํุ
รวมทั้งอธิบายความสมั พันธ์ ระหวาํ งงานของแรงลพั ธแ์ ละพลังงานจลน์ และคานวณงานที่เกิดข้ึนจาก

แรงลพั ธ์
๕. อธบิ ายกฎการอนุรกั ษ์พลังงานกล รวมทงั้ วเิ คราะห์ และคานวณปริมาณตําง ๆ ท่เี ก่ียวขอ๎ งกบั การ

เคลื่อนทขี่ องวตั ถุในสถานการณต์ ําง ๆ โดยใชก๎ ฎการอนุรกั ษ์พลังงานกล
๖. อธิบายการทางาน ประสทิ ธิภาพและการได๎เปรียบเชงิ กลของเครอื่ งกลอยาํ งงาํ ยบางชนดิ โดยใช๎
ความรูเ๎ รอ่ื งงานและสมดลุ กล รวมท้งั คานวณประสิทธิภาพและการได๎เปรยี บเชงิ กล

๗. อธบิ าย และคานวณโมเมนตมั ของวตั ถุ และการดลจากสมการและพน้ื ท่ใี ตก๎ ราฟ ความสัมพนั ธ์
ระหวาํ งแรงลพั ธก์ บั เวลา รวมท้งั อธบิ ายความสมั พันธ์ระหวาํ งแรงดลกับโมเมนตมั

๘. ทดลอง อธบิ าย และคานวณปรมิ าณตําง ๆ ทเี่ ก่ยี วกบั การชนของวัตถุในหนึ่งมิติ ทั้งแบบยืดหยนํุ
ไมํยืดหยํุน และการดดี ตัวแยกจากกันในหนง่ึ มติ ซิ ึ่งเป็นไปตามกฎการอนรุ กั ษโ์ มเมนตัม

๕๔

๙. ทดลอง และอธิบายความสมั พันธร์ ะหวาํ งแรงสํศู นู ยก์ ลาง รศั มีของการเคล่ือนท่ี อตั ราเรว็ เชงิ เส๎น
อัตราเร็วเชิงมุม และมวลของวัตถุ ในการเคลอื่ นที่แบบวงกลมในระนาบระดบั รวมทั้งคานวณปรมิ าณ
ตาํ งๆ ทเ่ี กี่ยวขอ๎ ง และประยุกต์ใช๎ความร๎ูการเคลอื่ นทีแ่ บบวงกลม ในการอธบิ ายการโคจรของ
ดาวเทียม

รวมทั้งหมด ๙ ผลการเรยี นรู้

๕๕

คาอธบิ ายรายวิชา

รหสั วชิ า ว ๓๑๒๒๑ วชิ าเคมี ๒ กลํมุ สาระการเรียนรูว๎ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๘๐ ชวั่ โมง จานวน ๒.๐ หนํวยกิต

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศกึ ษาเกี่ยวกบั มวลอะตอมของธาตุ มวลของธาตุ ๑ อะตอม มวลอะตอมเฉล่ยี ของธาตุ มวลโมเลกุล

ของสาร ความสมั พนั ธ์ระหวํางจานวนโมล อนภุ าค มวลและปริมาตรของแกส๏ ที่ STP ศกึ ษาหนํวยและการ

คานวนความเข๎มข๎นของสารละลาย การทดลองเตรียมสารละลายการเปรียบเทียบจดุ เดือดและจุดหลอมเหลว

ของสารบริสุทธแ์ิ ละสารละลาย ศึกษาความหมายและเขียนสตู รโมเลกุล สตู รเอมพิริคลั หรือสตู รอยํางงําย

และสตู รโครงสร๎าง การคานวณหามวลเป็นร๎อยละจากสตู รการคานวณหาสูตรเอมพริ คิ ัลและสตู รโมเลกุลของ

สาร ศกึ ษาการเขยี นและดลุ สมการเคมี ทดลองและคานวณหาอตั ราสํวนจานวนโมลของสารตั้งตน๎ ที่ทา

ปฏิกิรยิ าพอดกี ัน ศกึ ษาสมบัติของระบบปดิ และระบบเปิด ศึกษาและฝึกคานวณปรมิ าณสารในปฏิกริ ยิ าเคมีที่

เป็นไปตามกฎทรงมวล กฎสัดสํวนคงท่ี ศึกษาทดลองและคานวณปรมิ าตรของแก๏สในปฏกิ ิริยาเคมีตามกฎของ

เกย-์ ลสู แซก และกฎอาโวกาโดร ศึกษาและฝกึ คานวณหาความสัมพันธ์ระหวํางปริมาณของสารในสมการเคมี

น้ันๆ และสมการเคมที ีเ่ ก่ียวขอ๎ งมากกวําหน่งึ สมการ สารกาหนดปริมาณ ผลได๎รอ๎ ยละ

โดยใชก๎ ารเรยี นรด๎ู ว๎ ยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความร๎ู การสารวจตรวจสอบ

สามารถนาความรแู๎ ละหลกั การไปใช๎ประโยชน์ เช่ือมโยง อธิบายปรากฏการณ์ หรอื แก๎ปัญหาในชีวิตประจาวนั

สามารถจัดกระทาและวิเคราะหข์ อ๎ มูลสือ่ สารสงิ่ ท่ีเรียนร๎ู มคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจแกป๎ ญั หา

มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ เห็นคุณคําของวิทยาศาสตร์ มีจรยิ ธรรม คณุ ธรรมและคาํ นยิ มทีเ่ หมาะสม

ผลการเรียนร๎ู
๑. บอกความหมายของมวลอะตอมของธาตุ และคานวณมวลอะตอมเฉลีย่ ของธาตุ มวลโมเลกุลและ
มวลสตู ร

๒. อธบิ ายและคานวณปรมิ าณใดปรมิ าณหน่ึงจากความสัมพนั ธ์ของโมล จานวนอนภุ าค มวล และ
ปรมิ าตรของแกส๏ ที่ STP

๓. คานวณอตั ราสวํ นโดยมวลของธาตุองค์ประกอบของสารประกอบตามกฎสัดสํวนคงท่ี
๔. คานวณสตู รอยาํ งงํายและสูตรโมเลกุลของสาร
๕. คานวณความเข๎มข๎นของสารละลายในหนํวยตํางๆ

๖. อธิบายวธิ กี ารและเตรยี มสารละลายให๎มีความเข๎มขน๎ ในหนํวยโมลาริติ และปริมาตรสารละลาย
ตามทกี่ าหนด

๗. เปรียบเทียบจุดเดอื ดและจดุ เยือกแขง็ ของสารละลายกับสารบริสุทธ์ิ รวมทั้งคานวณจดุ เดอื ดและ
จดุ เยือกแขง็ ของสารละลาย
๘. แปลความหมายสญั ลกั ษณใ์ นสมการเคมี เขยี นและดุลสมการเคมีของปฏิกิริยาเคมบี างชนิด

๙. คานวณปรมิ าณของสารในปฏิกริ ิยาเคมีท่ีเกีย่ วข๎องกับมวลสาร
๑๐. คานวณปรมิ าณของสารในปฏกิ ริ ิยาเคมีทเี่ กีย่ วข๎องกบั ความเข๎มขน๎ ของสารละลาย

๑๑. คานวณปรมิ าณของสารในปฏกิ ริ ยิ าเคมีที่เก่ียวข๎องกบั ปรมิ าตรแกส๏
๑๒. คานวณปรมิ าณของสารในปฏกิ ริ ิยาเคมีหลายขั้นตอนได๎
๑๓. ระบสุ ารกาหนดปริมาณและคานวณปรมิ าณสารตํางๆในปฏิกิรยิ าเคมี

๑๔. คานวณผลไดร๎ ๎อยละของผลิตภัณฑ์ในปฏิกริ ิยาเคมี
รวมทง้ั หมด ๑๔ ผลการเรยี นรู๎

๕๖

คาอธบิ ายรายวิชา

รหัสวชิ า ว ๓๑๒๔๑ วชิ า ชีววิทยา ๒ กลมํุ สาระการเรยี นรูว๎ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔ เวลา ๖๐ ชว่ั โมง จานวน ๑.๕ หนวํ ยกติ

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศกึ ษาเก่ยี วกับการถาํ ยทอดทางพันธกุ รรม การศกึ ษาพนั ธุศาสตร์ของเมนเดล กฎการแยกและกฎการ

รวมกลํุมอยํางอิสระ ลักษณะทางพันธุกรรมท่ีเป็นสํวนขยายของพันธุศาสตร์เมนเดล ศึกษาเกี่ยวกับยีนและ

โครโมโซม การคน๎ พบสารพนั ธุกรรม โครโมโซม องค์ประกอบทางเคมีของของดีเอ็นเอ โครงสร๎างของดีเอ็นเอ

สมบัติของสารพันธกุ รรม การกลาย ศึกษาเก่ียวกบั พนั ธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอพันธุวิศวกรรม การ

ประยุกต์ใช๎เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอความปลอดภัยของเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอและมุมมองทางสังคมและ

จริยธรรม ศึกษาเกยี่ วกับวิวฒั นาการ หลกั ฐานทีบ่ งํ บอกถึงวิวฒั นาการของส่ิงมชี ีวิต แนวคิดเกย่ี วกับววิ ัฒนาการ

ของสงิ่ มีชีวติ พนั ธศุ าสตร์ประชากร และกาเนิดของสปีชสี ์

โดยใช๎กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการสบื เสาะหาความร๎ู การสบื คน๎ ข๎อมูล การสงั เกต การวิเคราะห์

การทดลอง อภิปราย การอธบิ าย และสรุป เพอื่ ใหเ๎ กิดความรู๎ ความคดิ ความเข๎าใจ มคี วามสามารถในการ

ตัดสนิ ใจ ส่ือสารส่งิ ท่ีเรียนรูแ๎ ละนาความรู๎ไปใช๎ในชีวติ ของตนเอง มจี ิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรมคุณธรรม และ

คํานิยม

ผลการเรียนรู้
๑. สบื ค๎นข๎อมูล อธิบาย และสรุปผลการทดลอง ของเมนเดล
๒. อธิบาย และสรุปกฎแหงํ การแยก และกฎแหงํ การรวมกลมํุ อยาํ งอสิ ระ และนากฎของเมนเดลไป

อธิบายการถํายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและใช๎ในการคานวณโอกาสในการเกดิ ฟีโนไทปแ์ ละจีโน
ไทป์แบบตําง ๆ ของรุํน F๑ และ F๒
๓. สบื คน๎ ขอ๎ มูล วเิ คราะห์ อธิบาย และสรุปเก่ยี วกบั การถํายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม ทเ่ี ป็นสวํ น
ขยายของพันธศุ าสตรเ์ มนเดล
๔. สบื ค๎นข๎อมูล วิเคราะห์ และเปรียบเทยี บลักษณะทางพนั ธกุ รรมท่ีมกี ารแปรผันไมํตอํ เน่อื งและ

ลักษณะทางพันธุกรรมทมี่ กี ารแปรผันตอํ เนือ่ ง
๕. อธบิ ายการถาํ ยทอดยีนบนโครโมโซม และยกตัวอยํางลกั ษณะทางพันธุกรรมท่ีถกู ควบคมุ ดว๎ ยยีน

บนออโตโซมและยีนบนโครโมโซมเพศ
๖. สืบค๎นข๎อมูล อธบิ ายสมบัติและหน๎าทขี่ องสารพันธกุ รรม โครงสรา๎ งและองค์ประกอบทางเคมขี อง
DNA และสรุปการจาลอง DNA

๗. อธิบาย และระบขุ น้ั ตอนในกระบวนการสังเคราะห์โปรตนี และหนา๎ ทีข่ อง DNA และ RNA แตลํ ะ
ชนดิ ในกระบวนการสงั เคราะห์ โปรตีน

๘. สรปุ ความสมั พันธร์ ะหวํางสารพนั ธกุ รรม แอลลีล โปรตีน ลักษณะทางพนั ธุกรรม และเช่ือมโยงกับ
ความรเู๎ รือ่ งพนั ธุศาสตร์เมนเดล
๙. สืบค๎นขอ๎ มูล และอธบิ ายการเกิดมวิ เทชันระดบั ยีนและระดบั โครโมโซม สาเหตุการเกิดมิวเทชัน

รวมทง้ั ยกตวั อยํางโรคและกลุํมอาการท่ีเปน็ ผลของการเกดิ มิวเทชัน
๑๐. อธิบายหลกั การสรา๎ งสง่ิ มชี วี ติ ดดั แปรพนั ธุกรรมโดยใชด๎ เี อน็ เอรคี อมบิแนนท์

๑๑. สบื ค๎นข๎อมูล ยกตัวอยาํ ง และอภปิ รายการนาเทคโนโลยีทางดเี อ็นเอไปประยกุ ตใ์ ช๎ท้ังในด๎าน
สิ่งแวดลอ๎ ม นติ ิวทิ ยาศาสตร์ การแพทย์ การเกษตรและอตุ สาหกรรม และข๎อควรคานงึ ถงึ ด๎าน
ชวี จริยธรรม

๕๗

๑๒. สืบค๎นขอ๎ มูล และอธบิ ายเก่ยี วกับหลักฐานท่ีสนบั สนุนและขอ๎ มลู ท่ีใช๎อธบิ ายการเกิดวิวฒั นาการ
ของส่งิ มชี วี ติ
๑๓. อธิบาย และเปรียบเทียบแนวคดิ เกี่ยวกับวิวัฒนาการของส่งิ มชี ีวติ ของฌอง ลามารก์ และทฤษฎี
เกี่ยวกบั ววิ ฒั นาการของสิ่งมีชวี ิตของชาลส์ ดาร์วิน
๑๔. ระบุสาระสาคญั และอธิบายเงือ่ นไขของภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวนเ์ บิรก์ ปจั จยั ทท่ี าให๎เกดิ การ
เปล่ียนแปลงความถข่ี องแอลลีลในประชากร พร๎อมทง้ั คานวณหาความถ่ีของแอลลีลและจีโนไทปข์ อง
ประชากรโดยใชห๎ ลักของฮารด์ ี-ไวนเ์ บริ ก์
๑๕. สบื ค๎นข๎อมูล อภปิ ราย และอธิบายกระบวนการเกิดสปีชสี ์ใหมขํ องสงิ่ มชี ีวิต

รวมท้ังหมด ๑๕ ผลการเรยี นรู้

๕๘

คาอธบิ ายรายวิชา

รหัสวิชา ว๓๑๒๖๑ วิชา ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ ๑ กลุมํ สาระการเรียนรว๎ู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หนวํ ยกติ

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เขา๎ ใจสมดุลพลงั งานของโลก การหมุนเวียนของอากาศบนโลก การหมุนเวียนของนา้ ในมหาสมุทร
การเกดิ เมฆ การเปล่ยี นแปลงภมู อิ ากาศโลก และผลตอํ สิ่งมชี วี ติ และสงิ่ แวดลอ๎ ม รวมทั้งการพยากรณอ์ ากาศ
เขา๎ ใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแลก็ ซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ

ความสัมพนั ธข์ องดาราศาสตรก์ บั มนุษย์จากการศึกษาตาแหนํงดาวบนทรงกลมฟ้า และปฏิสัมพนั ธ์ภายใน
ระบบสุรยิ ะ รวมทัง้ การประยุกต์ใช๎เทคโนโลยอี วกาศในการดารงชวี ติ โดยใชก๎ ารเรยี นรู๎ดว๎ ยกระบวนการทาง

วทิ ยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความร๎ู การสารวจตรวจสอบ สามารถนาความรูแ๎ ละหลกั การไปใชป๎ ระโยชน์
เช่ือมโยง อธบิ ายปรากฎการณ์ หรือแก๎ปญั หาในชวี ิตปราจาวนั สามารถจดั กระทาและวเิ คราะห์ข๎อมลู
สอ่ื สารส่งิ ท่ีเรยี นร๎ู มคี วามสามารในการตัดสนิ ใจแก๎ปัญหา มีจติ วิทยาศาสตร์ เห็นคุณคําของวทิ ยาศาสตร์

มีจรยิ ธรรม คุณธรรมและคํานิยมทีเ่ หมาะสม

ผลการเรียนรู้
๑. อธบิ ายปจั จัยสาคัญท่มี ผี ลตํอการรับและคายพลังงานจากดวงอาทิตย์แตกตํางกนั
และผลที่มีตํออณุ หภมู ิอากาศในแตํละบรเิ วณของโลก

๒. อธบิ ายกระบวนการที่ทาใหเ๎ กิดสมดุลพลงั งานของโลก
๓. อธิบายผลของแรงเน่ืองจากความแตกตาํ งของความกดอากาศ แรงคอริออลสิ แรงสํูศนู ยก์ ลาง และ

แรงเสียดทานทม่ี ีตอํ การหมุนเวียนของอากาศ
๔. อธิบายการหมนุ เวยี นของอากาศตามเขตละตจิ ูด และผลทม่ี ีตํอภมู อิ ากาศ
๕. อธบิ ายปจั จยั ทท่ี าใหเ๎ กดิ การแบํงชน้ั น้าในมหาสมุทร

๖. อธบิ ายปัจจัยท่ที าใหเ๎ กิดการหมุนเวยี นของนา้ ในมหาสมทุ รและรปู แบบการหมนุ เวยี นของนา้ ใน
มหาสมุทร

๗. อธบิ ายผลของการหมนุ เวียนของน้าในมหาสมทุ รทม่ี ตี อํ ลักษณะลมฟ้าอากาศ ส่ิงมชี วี ิต และ
สิง่ แวดลอ๎ ม
๘. อธิบายความสมั พันธ์ระหวาํ งเสถยี รภาพอากาศและการเกิดเมฆ

๙. อธบิ ายการเกดิ แนวปะทะอากาศแบบตาํ ง ๆ และลักษณะลมฟ้าอากาศทเี่ กีย่ วขอ๎ ง
๑๐. อธิบายปัจจยั ตําง ๆ ท่ีมีผลตอํ การเปล่ียนแปลงภูมอิ ากาศของโลก พร๎อมยกตวั อยํางขอ๎ มลู

สนบั สนุน
๑๑. วเิ คราะห์ และอภิปรายเหตุการณท์ ่ีเป็นผลจากการเปลยี่ นแปลงภูมิอากาศโลก และนาเสนอ
แนวปฏบิ ตั ขิ องมนุษยท์ ีม่ ีสวํ นชวํ ยในการชะลอการเปลี่ยนแปลงภมู อิ ากาศโลก

๑๒. แปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟา้ อากาศบนแผนทอี่ ากาศ
๑๓. วเิ คราะห์ และคาดการณ์ลักษณะลมฟา้ อากาศ เบือ้ งตน๎ จากแผนที่อากาศและข๎อมลู สารสนเทศ

อ่ืน ๆ เพ่ือวางแผนในการประกอบอาชพี และการดาเนนิ ชีวติ ให๎สอดคลอ๎ งกบั สภาพลมฟา้ อากาศ
๑๔. อธบิ ายการกาเนดิ และการเปล่ียนแปลงพลงั งาน สสาร ขนาดอุณหภมู ิของเอกภพหลังเกิดบกิ แบง
ในชวํ งเวลาตาํ ง ๆ ตามวิวฒั นาการของเอกภพ

๕๙

๑๕. อธบิ ายหลกั ฐานท่ีสนบั สนนุ ทฤษฎีบกิ แบงจากความสมั พันธ์ระหวาํ งความเร็วกับระยะทางของ
กาแล็กซี รวมทัง้ ข๎อมลู การค๎นพบไมโครเวฟพ้นื หลงั จากอวกาศ
๑๖. อธิบายโครงสรา๎ งและองค์ประกอบของกาแลก็ ซีทางช๎างเผือก และระบุตาแหนงํ ของระบบสรุ ยิ ะ
พร๎อมอธบิ ายเช่ือมโยงกบั การสังเกตเห็นทางชา๎ งเผือกของคนบนโลก
๑๗. อธบิ ายกระบวนการเกิดดาวฤกษ์ โดยแสดงการเปล่ียนแปลงความดัน อณุ หภูมิ ขนาด
จากดาวฤกษ์กอํ นเกิดจนเปน็ ดาวฤกษ์
๑๘. อธบิ ายกระบวนการสร๎างพลังงานของดาวฤกษ์และผลทเ่ี กิดขึ้น โดยวิเคราะหป์ ฏกิ ริ ยิ าลูกโซํ
โปรตอน-โปรตอน และวัฏจกั รคาร์บอนไนโตรเจน ออกซิเจน
๑๙. ระบุปจั จยั ทีส่ งํ ผลตํอความสํองสวาํ งของดาวฤกษ์ และอธิบายความสมั พันธร์ ะหวํางความสอํ ง
สวํางกับโชติมาตรของดาวฤกษ์
๒๐. อธิบายความสมั พันธ์ระหวาํ งสี อุณหภูมิผิวและสเปกตรมั ของดาวฤกษ์
๘. อธิบายวธิ กี ารหาระยะทางของดาวฤกษ์ดว๎ ยหลกั การแพรัลแลกซ์ พรอ๎ มคานวณหาระยะทางของ
ดาวฤกษ์
๒๑. อธิบายลาดับววิ ฒั นาการท่ีสัมพันธ์กบั มวลต้ังต๎น และวิเคราะห์การเปลย่ี นแปลงสมบตั ิบาง
ประการของดาวฤกษใ์ นลาดับววิ ฒั นาการ จากแผนภาพเฮริ ซ์ ปรงุ -รสั เซลล์
๒๒. อธบิ ายกระบวนการเกดิ ระบบสุรยิ ะ การแบํงเขตบริวารของดวงอาทิตย์และลกั ษณะของ
ดาวเคราะหท์ ี่เอือ้ ตํอการดารงชวี ิต
๒๓. อธิบายการโคจรของดาวเคราะหร์ อบดวงอาทติ ยด์ ว๎ ยกฎเคพเลอร์ และกฎความโนม๎ ถวํ งของ
นิวตนั พร๎อมคานวณคาบการโคจรของดาวเคราะห์
๒๔. อธิบายโครงสร๎างของดวงอาทติ ย์ การเกดิ ลมสุริยะ พายสุ รุ ิยะ และวิเคราะห์ นาเสนอ
ปรากฏการณห์ รอื เหตกุ ารณ์ท่ีเก่ียวข๎องกับผลของลมสุริยะ และพายสุ รุ ยิ ะท่ีมีตอํ โลก รวมทั้งประเทศ
ไทย
๒๕. สร๎างแบบจาลองทรงกลมฟ้า สังเกต และเชอื่ มโยงจดุ และเส๎นสาคัญของแบบจาลองทรงกลมฟา้
กบั ท๎องฟา้ จรงิ และอธิบายการระบุพกิ ัดของดาวในระบบขอบฟ้า และระบบศูนย์สูตร
๒๖. สงั เกตทอ๎ งฟ้า และอธบิ ายเสน๎ ทางการขนึ้ การตกของดวงอาทติ ย์และดาวฤกษ์
๒๗. อธิบายเวลาสรุ ยิ คตปิ รากฏ โดยรวบรวมข๎อมูล และเปรยี บเทยี บเวลาขณะทดี่ วงอาทิตย์ผํานเม
ริเดียนของผส๎ู งั เกตในแตลํ ะวัน
๒๘. อธิบายเวลาสรุ ยิ คตปิ านกลาง และการเปรียบเทียบเวลาของแตํละเขตเวลาบนโลก
๒๙. อธิบายมุมหํางท่ีสัมพนั ธ์กบั ตาแหนงํ ในวงโคจร และอธบิ ายเชอ่ื มโยงกับตาแหนงํ ปรากฏของดาว
เคราะหท์ สี่ ังเกตไดจ๎ ากโลก
๓๐. สบื ค๎นขอ๎ มูล อธบิ ายการสารวจอวกาศ โดยใชก๎ ลอ๎ งโทรทรรศนใ์ นชวํ งความยาวคลืน่ ตาํ ง ๆ
ดาวเทียม ยานอวกาศ สถานีอวกาศ และนาเสนอแนวคิดการนาความร๎ทู างด๎านเทคโนโลยีอวกาศ มา
ประยกุ ตใ์ ชใ๎ นชวี ติ ประจาวนั หรือในอนาคต
๓๑. สบื คน๎ ขอ๎ มูล ออกแบบ และนาเสนอกจิ กรรมการสังเกตดาวบนทอ๎ งฟา้ ดว๎ ยตาเปลําและ/หรือ
กล๎องโทรทรรศน์

รวมทั้งหมด ๓๑ ผลการเรยี นรู้

๖๐

คาอธิบายรายวิชา

รหสั วชิ า ว๓๑๒๘๑ วชิ า การเขียนโปรแกรมด๎วยภาษา PHP กลํมุ สาระการเรยี นร๎ูวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หนวํ ยกติ

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาความร๎ูเบอื้ งต๎นเกี่ยวกบั หลักการเขียนโปรแกรมและภาษา PHP การ กาหนดตวั แปร การใช๎คาสงั่
ของโปรแกรม ฟงั ก์ชัน การติดตอํ ฐานขอ๎ มลู การใชฐ๎ านขอ๎ มูล MySQL การนาโปรแกรมไปประยุกตใ์ ช๎งานดา๎ น
ตําง ๆ รวมถึงการนาไปใชอ๎ ยํางมีคณุ คํา และสร๎างสรรค์ ปฏิบัติเกย่ี วกบั การเขียนโปรแกรมแกป๎ ญั หาตําง ๆ
ดว๎ ยความร๎ูท่ไี ดเ๎ รียนมา เพอื่ ให๎ผ๎ูเรยี นมีทกั ษะเกี่ยวกับหลกั การเขยี นโปรแกรมและภาษา PHP ซึง่ เป็น
โปรแกรมการสร๎างงานด๎านฐานข๎อมลู ผาํ นระบบเครือขํายตลอดจนสามารถสรา๎ งงานตาม ท่ีได๎รับมอบหมายได๎
อยาํ งมีคณุ ภาพ เพ่อื ให๎ผ๎ูเรียนมเี จตคติทีด่ ใี นการใช๎คอมพวิ เตอร์สามารถเลือกใชเ๎ ทคโนโลยที ี่ เหมาะสมในการ
ทางานและการประกอบอาชพี อยาํ งถูกตอ๎ งตามกระบวนการอยาํ งมีคุณธรรม และจริยธรรม

ผลการเรียนรู้
๑. สามารถอธบิ ายความหมายระบบทางเทคโนโลยี (Technology System)
๒. ความรเ๎ู บ้อื งต๎นเกยี่ วกบั การเขียนโปรแกรมภาษา php
๓. การเขยี น Web Application ภาษา php ดว๎ ยโปรแกรม Dreamweaver CS๖+Appserv
๒.๕.๑๐.exe
๔. เขียนโปรแกรมภาษา php ด๎วยการสรา๎ งหนา๎ Login ใน Dreamweaver CS๖ โดยใช๎
Appserv เชือ่ มตํอฐานข๎อมลู ได๎
๕. เขียนโปรแกรมภาษา php ดว๎ ยการสรา๎ งหน๎า รบั สมัครสมาชกิ ใน Dreamweaver CS๖ โดยใช๎
Appserv เชอื่ มตอํ ฐานขอ๎ มูลได๎
๖. สามารถสร๎าง from และออกแบบระบบตาํ ง ๆ และสามารถเช่ือมตํอฐานขอ๎ มูล My SQL ได๎
๗. สามารถออกแบบชนิ้ งานระบบงาน ๑ ช้นิ งานดว๎ ยการเชอื่ มตํอกับฐานข๎อมลู My SQL และโชว์
ข๎อมลู บนฟอรม์ ได๎
๘. สามารถอธิบายและทาความเขา๎ ใจในหลักการทางานและโครงสร๎างของฐานขอ๎ มลู การเขยี น
โปรแกรมและเพือ่ ตดิ ตํอกบั ฐานข๎อมูลได๎
๙. สามารถสร๎างและออกแบบชิน้ งาน ๑ ระบบชิ้นงานโดยเขยี นโปรแกรม Web Application โดย
ใช๎โปรแกรม Dreamweaver CS๖เช่ือมตอํ ฐานข๎อมลู My SQL ได๎

รวมทงั้ หมด ๘ ผลการเรยี นรู้

๖๑

คาอธบิ ายรายวิชา

รหสั วิชา ว ๓๒๒๐๒ วิชาฟสิ กิ ส์ ๓ กลุํมสาระการเรียนร๎ูวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๕ เวลา ๘๐ ชว่ั โมง จานวน ๒.๐ หนํวยกิต

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษา วิเคราะห์ และอธบิ ายการเคล่ือนทแ่ี บบฮารม์ อนิกอยาํ งงํายของระบบมวล-สปรงิ เบา เงาของ

วตั ถทุ ีเ่ คล่ือนทเ่ี ปน็ วงกลมสม่าเสมอ การแกวํงของลูกตุม๎ นาฬิกาอยํางงาํ ย การสน่ั พ๎อง การถํายโอนพลังงาน

ของคลื่นกล ชนดิ ของคลื่น รปู รํางและสํวนประกอบของคลื่น คลืน่ ผิวนา้ คลืน่ ในเสน๎ เชือกการซ๎อนทบั ของ

คล่ืน หลกั การของฮอยเกนส์ การสะท๎อนของคล่ืน การหกั เหของคล่นื การเลยี้ วเบนของคลื่น การแทรก

สอดของคล่ืน การเคลอ่ื นทข่ี องเสยี งผํานอากาศ อตั ราเรว็ ของคล่นื เสียง การสะทอ๎ นของคล่ืนเสียง การหกั

เหของคลื่นเสยี ง การเลยี้ วเบนของคล่ืนเสยี ง การแทรกสอดของคลื่นเสยี ง ความเขม๎ เสยี ง ระดับเสยี ง หู

กบั การได๎ยิน มลภาวะทางเสียง เสยี งดนตรี ระดับสูงตา่ ของเสียง คุณภาพเสยี ง การสน่ั พอ๎ งของเสียง บตี

คลืน่ นิง่ ของเสียงในทอํ ปรากฏการณด์ อปเพลอร์ คลนื่ กระแทกของเสียง การนาความรเู๎ รอ่ื งเสยี งไปใช๎

ประโยชน์ การเคลื่อนทแี่ ละอัตราเรว็ ของแสง การสะท๎อนของแสงทีผ่ ิววัตถุตาม

กฎการสะทอ๎ น เขยี นรังสขี องแสง การคานวณตาแหนํงและขนาดภาพของวัตถุเมื่อแสงตกกระทบกระจกเงา

ราบและกระจกเงาทรงกลม การสะทอ๎ นของแสงจากกระจกเงาราบ และกระจกเงาทรงกลม การหกั เหของ

แสง กฎการหกั เหของแสง ภาพทเ่ี กิดจากการหักเหท่ีผวิ เรยี บ ความลกึ จริง ความลกึ ปรากฏ มุมวิกฤตและ

การสะทอ๎ นกลบั หมด การเขียนรงั สขี องแสงเพอื่ แสดงภาพทีเ่ กิดจากเลนส์บาง การหาตาแหนงํ ขนาด ชนดิ

ของภาพ ความสัมพนั ธ์ระหวํางระยะวตั ถุ ระยะภาพ และความยาวโฟกัส ปรากฏการณ์ท่เี กย่ี วกับแสงเชํน

การกระจายของแสง รุง๎ การทรงกลด มริ าจ เป็นต๎น ทศั นอปุ กรณ์ เชนํ เคร่ืองฉายภาพ กลอ๎ งถํายรูป

กลอ๎ งจุลทรรศน์ กลอ๎ งโทรทรรศน์ เป็นต๎น ความสวําง ตาและการมองเหน็ สี การผสมสารสี การผสมแสง

สี สาเหตุของการบอดสี

โดยใช๎กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบค๎นข๎อมลู การอภิปราย การวเิ คราะห์

การเปรียบเทยี บ การสารวจตรวจสอบ และการทดลอง เพอ่ื ให๎เกิด ความร๎ู ความคิด ความเข๎าใจ

สามารถสือ่ สารสิง่ ท่ีเรียนรู๎ มคี วามสามารถในการตดั สินใจ นาความรไู๎ ปใชใ๎ นชวี ติ ประจาวนั

มจี ติ วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคํานยิ มทเ่ี หมาะสม

ผลการเรียนรู้

๑. ทดลอง และอธิบายการเคลื่อนท่ีแบบฮาร์มอนิกอยํางงาํ ยของวัตถตุ ิดปลายสปรงิ และลูกตม๎ุ อยํางงาํ ย
รวมทัง้ คานวณปรมิ าณตาํ ง ๆ ทเี่ กีย่ วข๎อง
๒. อธิบายความถธ่ี รรมชาติของวตั ถแุ ละการเกดิ การส่ันพ๎อง
๓. อธบิ ายปรากฏการณ์คลน่ื ชนดิ ของคลน่ื สํวนประกอบของคล่ืน การแผํของหนา๎ คลน่ื ด๎วยหลักการ ของฮอย
เกนส์ และการรวมกันของคล่นื ตามหลกั การซอ๎ นทบั พรอ๎ มทง้ั คานวณอัตราเร็ว ความถี่ และความยาวคล่นื
๔. สงั เกต และอธบิ ายการสะท๎อน การหกั เห การแทรกสอด และการเล้ยี วเบนของคล่นื ผิวนา้ รวมท้งั คานวณ
ปริมาณตาํ ง ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ๎ ง

๖๒

๕. อธบิ ายการเกดิ เสยี ง การเคล่ือนท่ีของเสยี ง ความสมั พันธร์ ะหวาํ งคลื่น การกระจดั ของอนุภาคกบั คล่ืน
ความดัน ความสัมพันธร์ ะหวํางอัตราเร็วของเสียงในอากาศทขี่ ้ึนกบั อุณหภมู ิในหนวํ ยองศาเซลเซียส สมบตั ขิ อง
คลน่ื เสียง ไดแ๎ กํ การสะทอ๎ น การหกั เห การแทรกสอด การเลี้ยวเบน รวมทัง้ คานวณปรมิ าณตําง ๆ ทเี่ กี่ยวข๎อง
๖. อธิบายความเขม๎ เสยี ง ระดับเสยี ง องคป์ ระกอบของการไดย๎ ิน คุณภาพเสยี ง และมลพษิ ทางเสยี ง รวมทงั้
คานวณปริมาณตําง ๆ ที่เก่ียวข๎อง
๗. ทดลอง และอธบิ ายการเกดิ การส่ันพอ๎ งของอากาศในทํอปลายเปิดหนึ่งด๎าน รวมทัง้ สังเกต และ อธบิ ายการ
เกิดบตี คลืน่ น่งิ ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ คลื่นกระแทกของเสยี ง คานวณปรมิ าณตําง ๆ ที่เกี่ยวขอ๎ ง และนา
ความรูเ๎ รอ่ื งเสยี งไปใช๎ในชีวิตประจาวัน
๘. ทดลอง และอธบิ ายการแทรกสอดของแสงผาํ นสลิตคแํู ละเกรตติง การเล้ยี วเบนและการแทรกสอด ของแสง
ผาํ นสลิตเดย่ี ว รวมทัง้ คานวณปรมิ าณตําง ๆ ท่เี ก่ียวข๎อง
๙. ทดลอง และอธบิ ายการสะท๎อนของแสงที่ผิววัตถุตามกฎการสะท๎อน เขียนรังสีของแสงและ คานวณ
ตาแหนํงและขนาดภาพของวัตถุ เมือ่ แสงตกกระทบกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลม รวมทงั้ อธิบายการ
นาความรเู๎ ร่อื งการสะท๎อนของแสงจากกระจกเงาราบ และกระจกเงาทรงกลมไปใช๎ประโยชน์ในชวี ติ ประจาวัน
๑๐. ทดลอง และอธิบายความสมั พันธ์ระหวํางดรรชนีหกั เห มุมตกกระทบ และมุมหักเห รวมท้งั อธบิ าย
ความสมั พันธ์ระหวาํ งความลกึ จรงิ และความลกึ ปรากฏ มมุ วกิ ฤตและการสะทอ๎ นกลบั หมดของแสง และ
คานวณปรมิ าณตาํ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วข๎อง
๑๑. ทดลอง และเขียนรงั สขี องแสงเพ่อื แสดงภาพที่เกดิ จากเลนส์บาง หาตาแหนํง ขนาด ชนดิ ของ ภาพ และ
ความสัมพันธร์ ะหวํางระยะวัตถุระยะภาพและความยาวโฟกสั รวมทั้งคานวณปริมาณตําง ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ๎ ง และ
อธบิ ายการนาความร๎เู รื่องการหักเหของแสงผาํ นเลนสบ์ างไปใชป๎ ระโยชน์ในชวี ิตประจาวนั
๑๒. อธบิ ายปรากฏการณธ์ รรมชาติท่เี กยี่ วกบั แสง เชนํ ร๎งุ การทรงกลด มริ าจ และการเห็นท๎องฟา้ เป็นสตี ําง
ๆ ในชํวงเวลาตาํ งกัน
๑๓. สังเกต และอธิบายการมองเหน็ แสงสี สขี องวัตถุ การผสมสารสี และการผสมแสงสรี วมทงั้ อธิบาย สาเหตุ
ของการบอดสี

รวมท้ังหมด ๑๓ ผลการเรยี นรู้

๖๓

คาอธิบายรายวิชา

รหสั วชิ า ว ๓๒๒๒๒ วิชา เคมี ๓ กลํุมสาระการเรยี นรู๎วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๕ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หนํวยกิต

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศกึ ษาและอธิบายความสัมพนั ธข์ องปรมิ าตร ความดัน และอณุ หภมู ิ คานวณหาปริมาตร

ความดนั หรืออณุ หภมู ิของแกส๏ ตามกฎของบอยล์ กฎของชารล์ กฎของเกย์-ลูสแซก และกฎรวมแก๏ส
คานวณหาปรมิ าตร ความดัน อุณหภมู ิ จานวนโมล หรือมวลของแก๏ส ตามกฎของอาโวกาโดร และกฎแกส๏ อุดม

คติ คานวณความดนั ยอํ ย หรือจานวนโมลของแกส๏ ในแกส๏ ผสมโดยใช๎กฎความดนั ยอํ ยของ ดอลตนั ศึกษาและ
ทดลองการแพรแํ ละอัตราการแพรํของแกส๏ คานวณเกีย่ วกับกฎการแพรํผาํ นของ
เกรแฮม ศกึ ษาเทคโนโลยีที่ เกยี่ วขอ๎ งกับสมบตั ิของแก๏ส ศึกษาและทดลองเกย่ี วกับอตั ราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี

คานวณหาอตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีของสารจากกราฟ ศกึ ษาและวิเคราะห์แนวคดิ เกี่ยวกบั การเกดิ ปฏิกิริยา
เคมี โดยใช๎ทฤษฎจี ลน์และการชนกันของอนภุ าค ศกึ ษา ทดลอง และอธิบาย ผลของความเข๎มข๎น พ้ืนที่ผวิ ของ

สารตงั้ ต๎น อุณหภมู ิ และตัวเรงํ ปฏิกริ ยิ าที่มตี อํ อตั ราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี ยกตวั อยํางและอธบิ ายปจั จัยท่ีมีผล
ตํออตั ราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมีในชวี ิตประจาวันและอุตสาหกรรม ศกึ ษาการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าไปข๎างหน๎า ปฏิกริ ยิ า
ย๎อนกลบั และ ปฏิกิรยิ าท่ีผันกลบั ได๎ ทดลองเก่ียวกับปฏกิ ิริยาท่ีผันกลับได๎ ศกึ ษาและทดลองสมดลุ เคมใี น

ปฏิกริ ยิ า วิเคราะห์ความสัมพนั ธร์ ะหวาํ งความเข๎มข๎นของสารตําง ๆ ณ ภาวะสมดุล คําคงที่สมดุลกับสมการ
เคมี คานวณหาคําคงท่ีสมดุล และหาความเขม๎ ข๎นของสารในปฏกิ ิริยา ณ ภาวะสมดลุ ทดลองเพือ่ ศึกษาผลของ

ความเขม๎ ขน๎ ความดัน และอุณหภูมิตํอภาวะสมดุลและคําคงที่สมดลุ ศึกษาหลักของเลอชาเตอลิเอ และการนา
หลกั
เลอชาเตอลิเอไปใชอ๎ ธิบายสมดุลเคมีของกระบวนการทเ่ี กิดขนึ้ ในส่ิงมชี ีวติ ปรากฏการณใ์ นธรรมชาติ

และกระบวนการในอตุ สาหกรรม
โดยใชก๎ ารเรยี นรู๎ดว๎ ยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู๎ การสารวจตรวจสอบ

สามารถนาความรู๎และ หลักการไปใช๎ประโยชน์ เช่ือมโยง อธิบายปรากฏการณ์ หรอื แกป๎ ญั หาในชวี ิตประจาวนั
สามารถจัดกระทาและวเิ คราะหข์ ๎อมูล สอ่ื สาร สงิ่ ทเ่ี รยี นรู๎ มคี วามสามารถในการตดั สินใจแกป๎ ญั หา มจี ติ
วทิ ยาศาสตร์ เห็นคุณคําของวทิ ยาศาสตร์ มีจริยธรรม คุณธรรมและคํานิยมทีเ่ หมาะสม

ผลการเรยี นรู้

๑. อธิบายความสัมพันธ์และคานวณปริมาตร ความดนั หรอื อุณหภูมขิ องแก๏สท่ภี าวะตําง ๆ
ตามกฎของบอยล์ กฎของชาร์ล กฎของเกย์-ลสู แซก
๒. คานวณปรมิ าตร ความดนั หรอื อุณหภูมิของแกส๏ ท่ีภาวะตําง ๆ ตามกฎรวมแกส๏
๓. คานวณปริมาตร ความดนั อณุ หภมู ิจานวนโมลหรอื มวลของแกส๏ จากความสัมพันธต์ ามกฎของ
อาโวกาโดร และกฎแกส๏ อุดมคติ
๔. คานวณความดนั ยํอยหรอื จานวนโมลของแกส๏ ในแกส๏ ผสม โดยใชก๎ ฎความดันยํอยของดอลตนั

๖๔

๕. อธิบายการแพรํของแก๏สโดยใช๎ทฤษฎีจลนข์ องแกส๏ คานวณและเปรียบเทียบอตั ราการแพรขํ องแกส๏ โดยใช๎
กฎการแพรํผาํ นของเกรแฮม
๖. สืบค๎นข๎อมูล นาเสนอตัวอยาํ ง และอธบิ ายการประยุกต์ใชค๎ วามร๎ูเกี่ยวกับสมบตั แิ ละกฎตาํ ง ๆ ของแก๏ส
ในการอธิบายปรากฏการณ์ หรือแกป๎ ัญหาในชวี ติ ประจาวันและในอตุ สาหกรรม
๗. ทดลอง และเขยี นกราฟการเพิ่มขึ้นหรอื ลดลงของสารทีท่ าการวัดในปฏิกริ ยิ า
๘. คานวณอตั ราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมีและเขยี นกราฟการลดลงหรอื เพ่มิ ขึน้ ของสารทไ่ี มไํ ด๎วดั ในปฏิกิริยา
๙. เขยี นแผนภาพ และอธบิ ายทศิ ทางการชนกนั ของอนภุ าคและพลงั งานทีส่ ํงผลตอํ อตั ราการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี
๑๐. ทดลอง และอธบิ ายผลของความเขม๎ ข๎น พืน้ ที่ผิวของสารตัง้ ตน๎ อณุ หภมู ิและตวั เรํงปฏกิ ิรยิ าท่ีมตี ํออัตรา
การเกิดปฏิกิริยาเคมี
๑๑. เปรียบเทียบอัตราการเกิดปฏิกิริยาเมอื่ มกี ารเปลีย่ นแปลงความเข๎มข๎น พืน้ ที่ผิวของสารต้งั ตน๎ อุณหภมู ิ
และตวั เรงํ ปฏกิ ิริยา
๑๒. ยกตวั อยาํ งและอธิบายปัจจัยท่ีมผี ลตํออตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีในชวี ิตประจาวนั หรืออุตสาหกรรม
๑๓. ทดสอบและอธบิ ายความหมายของปฏิกริ ิยาผนั กลับไดแ๎ ละภาวะสมดุล
๑๔. อธิบายการเปลี่ยนแปลงความเขม๎ ข๎นของสาร อตั ราการเกิดปฏกิ ิรยิ าไปข๎างหนา๎ และอตั ราการ
เกิดปฏกิ ิริยาย๎อนกลบั เม่อื เรมิ่ ปฏกิ ิริยาจนกระทัง่ ระบบอยใูํ นภาวะสมดุล
๑๕. คานวณคาํ คงท่สี มดุลของปฏกิ ริ ยิ า
๑๖. คานวณความเขม๎ ขน๎ ของสารท่ีภาวะสมดลุ
๑๗. คานวณคําคงทส่ี มดุลหรอื ความเขม๎ ขน๎ ของปฏิกิริยาหลายขัน้ ตอน
๑๘. ระบปุ จั จัยท่มี ผี ลตอํ ภาวะสมดลุ และคาํ คงท่ีสมดลุ ของระบบ รวมท้ังคาดคะเนการเปลี่ยนแปลงที่เกดิ ขึ้น
เม่ือภาวะสมดลุ ของระบบถกู รบกวน โดยใชห๎ ลกั ของเลอชาเตอลเิ อ
๑๙. ยกตวั อยํางและอธิบายสมดุลเคมขี องกระบวนการทเ่ี กิดขน้ึ ในสิง่ มชี วี ิต ปรากฏการณ์ในธรรมชาติและ
กระบวนการในอตุ สาหกรรม

รวมท้ังหมด ๑๙ ผลการเรียนร๎ู

๖๕

คาอธิบายรายวชิ า

รหสั วิชา ว ๓๒๒๔๒ วิชา ชวี วิทยา ๓ กลํุมสาระการเรียนรู๎วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๕ เวลา ๖๐ ชว่ั โมง จานวน ๑.๕ หนวํ ยกิต

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศกึ ษาเก่ียวกับการดารงชีวิตของพืชโครงสร๎างและหน๎าที่ของอวัยวะของพืชดอกเนื้อเย่ือพืช
อวยั วะและหนา๎ ทีข่ องอวยั วะของพืชการแลกเปลยี่ นแก๏สและการคายน้าของพืชการลาเลียงน้าและธาตุอาหาร

และการลาเลียงอาหารของพืชศึกษาการสังเคราะห์ด๎วยแสงการค๎นคว๎าที่เก่ียวข๎องกับการสังเคราะห์ด๎วยแสง
กระบวนการสังเคราะห์ด๎วยแสงกลไกการเพ่ิมความเข๎มข๎นของคาร์บอนไดออกไซด์ในพืช C๔ และพืช CAM

ปจั จยั บางประการทม่ี ผี ลตํออัตราการสังเคราะห์ดว๎ ยแสงศึกษาการสบื พันธ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโตวัฏ
จักรชีวิตของพืชดอกการสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศของพืชดอกการสร๎างสปอร์และเซลล์สืบพันธ์การปฏิสนธิ
โครงสร๎างของผลและเมลด็ การงอกของเมล็ดศกึ ษาการตอบสนองของพชื ตอํ สารเคมีและการตอบสนองของพืช

ตอํ ส่ิงแวดลอ๎ ม
โดยใช๎กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการสืบเสาะหาความร๎ูการสืบค๎นข๎อมูลการสังเกตการ

วิเคราะห์การทดลองการอภิปรายการอธิบายและการสรุปเพื่อให๎เกิดความร๎ูความคิดความเข๎าใจมี
ความสามารถในการตัดสินใจส่ือสารส่ิงที่เรียนรู๎และนาความร๎ูไปใช๎ในชีวิตข องตนเองมีจิตวิทยาศาสตร์
จริยธรรมคุณธรรมและคาํ นิยม

ผลการเรียนรู้

๑. อธบิ ายเกย่ี วกบั ชนดิ และลกั ษณะของเนื้อเย่อื พืช และเขียนแผนผงั เพื่อสรุปชนิดของเนอ้ื เย่ือพชื
๒. สังเกต อธบิ ายและเปรียบเทียบโครงสร๎างภายในของรากพืชใบเล้ียงเดี่ยวและรากพืชใบเล้ียงคูํจากการ
ตัดตามขวาง

๓. สังเกต อธิบาย เปรยี บเทยี บโครงสร๎างภายในของลาต๎นพืชใบเล้ียงเด่ียวและลาต๎นพืชใบเล้ียงคูํจากการ
ตัดตามขวาง

๔. สงั เกตและอธิบายโครงสรา๎ งภายในของใบพืชจากการตัดตามขวาง
๕. สบื คน๎ ข๎อมูล สังเกตและอธิบายการแลกเปลยี่ นแก๏สและการคายน้าของพืช
๖. สบื ค๎นขอ๎ มลู และอธิบายกลไกการลาเลียงน้าและธาตุอาหารของพืช

๗. สืบค๎นข๎อมูล อธิบายความสาคัญของธาตุอาหาร และยกตัวอยํางธาตุอาหารที่สาคัญที่มีผลตํอการ
เจรญิ เติบโตของพืช

๘. อธิบายกลไกการลาเลยี งอาหารในพืช
๙. สืบค๎นข๎อมูลและสรุปการศึกษาที่ได๎จากการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ในอดีตเก่ียวกับกระบวนการ
สังเคราะหด์ ว๎ ยแสง

๑๐. อธบิ ายข้นั ตอนทีเ่ กิดขน้ึ ในกระบวนการสงั เคราะหด์ ๎วยแสงของพืช C๓
๑๑. เปรยี บเทียบกลไกการตรึงคารบ์ อนไดออกไซดใ์ นพืช C๓ พชื C๔ และพืช CAM

๑๒. สืบค๎นข๎อมูล อภิปราย และสรุปปัจจัยความเข๎มของแสง ความเข๎มข๎นของคาร์บอนไดออกไซด์ และ
อณุ หภมู ิ ทม่ี ผี ลตํอการสงั เคราะห์ดว๎ ยแสงของพืช

๑๓. อธิบายวฏั จักรชวี ติ แบบสลบั ของพชื ดอก

๖๖

๑๔. อธิบายและเปรยี บเทยี บกระบวนการสร๎างเซลล์สบื พนั ธเุ์ พศผแ๎ู ละเพศเมียของพชื ดอก และอธิบายการ
ปฏิสนธขิ องพชื ดอก

๑๕. อธิบายการเกิดเมล็ดและการเกิดผลของพืชดอก โครงสร๎างของเมล็ดและผลและยกตัวอยํางการใช๎
ประโยชนจ์ ากโครงสรา๎ งตําง ๆ ของเมลด็ และผล

๑๖. ทดลองและอธิบายเก่ียวกับปัจจัยตําง ๆ ท่ีผลตํอการงอกของเมล็ด สภาพพักตัวของเมล็ด และบอก
แนวทางในการแกส๎ ภาพพกั ตวั ของเมล็ด

๑๗. สืบค๎นขอ๎ มูล อธิบายบทบาทและหน๎าทข่ี องออกซิน ไซโทไคนนิ จบิ เบอเรลลิน เอทิลนี และกรดแอบไซ
ซกิ และอภิปรายเก่ียวกบั การนาไปใช๎ประโยชนท์ างการเกษตร

๑๘. สบื คน๎ ข๎อมูล ทดลอง และอภิปรายเกย่ี วกับส่ิงเรา๎ ภายนอกท่มี ผี ลตํอการเจริญเตบิ โตของพชื

รวม ๑๘ ผลการเรยี นรู้

๖๗

คาอธบิ ายรายวิชา

รหสั วชิ า ว๓๒๒๖๒ วชิ า ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ ๒ กลํุมสาระการเรียนรวู๎ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๕ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.o หนวํ ยกติ

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เขา๎ ใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก ธรณพี ิบตั ภิ ยั และผลตอํ สงิ่ มีชีวิตและส่งิ แวดลอ๎ ม รวมทงั้

การศึกษาลาดับชั้นหิน ทรัพยากรธรณี แผนท่ี การนาไปใชป๎ ระโยชน์ โดยใชก๎ ารเรยี นรดู๎ ๎วยกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความร๎ู การสารวจตรวจสอบ สามารถนาความรู๎และหลักการไปใช๎ประโยชน์
เชอ่ื มโยง อธิบายปรากฎการณ์ หรือแกป๎ ญั หาในชวี ิตปราจาวนั สามารถจัดกระทาและวิเคราะห์ข๎อมลู

ส่อื สารสงิ่ ท่ีเรียนร๎ู มคี วามสามารในการตัดสินใจแกป๎ ญั หา มีจติ วิทยาศาสตร์ เหน็ คุณคาํ ของวทิ ยาศาสตร์
มจี รยิ ธรรม คณุ ธรรมและคํานยิ มท่เี หมาะสม

ผลการเรียนรู้
๑. อธบิ ายการแบงํ ชน้ั และสมบตั ิของโครงสรา๎ งโลก พรอ๎ มยกตัวอยาํ งขอ๎ มลู ที่สนับสนุน
๒. อธบิ ายหลักฐานทางธรณวี ิทยาท่ีสนับสนุนการเคลอื่ นทข่ี องแผนํ ธรณี
๓. ระบุสาเหตุและอธบิ ายแนวรอยตอํ ของแผนํ ธรณีท่ีสมั พันธ์กบั การเคลอ่ื นทข่ี องแผนํ ธรณพี ร๎อม
ยกตัวอยํางหลกั ฐานทางธรณวี ทิ ยาทพ่ี บ
๔. วเิ คราะห์หลักฐานทางธรณวี ิทยาที่พบในปัจจบุ ันและอธิบายลาดับเหตกุ ารณ์ ทางธรณวี ิทยาในอดตี
๕. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกดิ ภูเขาไฟระเบดิ และปัจจัยท่ที าใหค๎ วามรุนแรงของการปะทุ
และรูปราํ งของภเู ขาไฟแตกตํางกนั รวมทัง้ สืบคน๎ ข๎อมูลพนื้ ที่เสีย่ งภัย ออกแบบและนาเสนอแนว
ทางการเฝา้ ระวังและการปฏิบัติตนให๎ปลอดภยั
๖. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกดิ ขนาดและความรนุ แรง และผลจากแผนํ ดนิ ไหว รวมทั้งสืบคน๎
ขอ๎ มูลพนื้ ที่เส่ียงภยั ออกแบบและนาเสนอแนวทางการเฝ้าระวังและการปฏบิ ัตติ นใหป๎ ลอดภยั
๗. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิด และผลจากสึนามิรวมท้ังสบื ค๎นขอ๎ มลู พ้ืนท่ีเสีย่ งภยั ออกแบบและ
นาเสนอแนวทางการเฝา้ ระวงั และการปฏบิ ัตติ นให๎ปลอดภัย
๘. ตรวจสอบ และระบชุ นิดแรํ รวมทงั้ วิเคราะหส์ มบตั แิ ละนาเสนอการใช๎ประโยชนจ์ ากทรัพยากรแรทํ ่ี
เหมาะสม
๙. ตรวจสอบ จาแนกประเภท และระบชุ อ่ื หนิ รวมท้ังวเิ คราะห์สมบตั ิและนาเสนอการใช๎ประโยชน์ของ
ทรพั ยากรหนิ ท่ีเหมาะสม
๑๐. อธิบายกระบวนการเกดิ และการสารวจแหลํงปิโตรเลียมและถาํ นหิน โดยใชข๎ อ๎ มูล ทาง
ธรณีวทิ ยา
๑๑. อธบิ ายสมบตั ิของผลิตภัณฑ์ท่ไี ด๎จากปิโตรเลียมและถํานหนิ พรอ๎ มนาเสนอการใชป๎ ระโยชน์อยําง
เหมาะสม
๑๒. อํานและแปลความหมายจากแผนที่ ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวทิ ยาของพน้ื ที่ ทก่ี าหนดพร๎อม
ท้ังอธิบายและยกตวั อยาํ ง การนาไปใชป๎ ระโยชน์

รวมทั้งหมด ๑๒ ผลการเรยี นรู้

๖๘

คาอธิบายรายวชิ า

รหสั วิชา ว ๓๒๒๘๒ วิชาการสรา๎ งAnimationดว๎ ยโปรแกรม Flash กลมํุ สาระการเรยี นร๎ูวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๕ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง จานวน ๑.๐ หนวํ ยกติ

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศกึ ษาความสามารถและประโยชน์ของโปรแกรม Flash CS๓ การเรียกใชแ๎ ละสวํ นประกอบของ
โปรแกรม หลักการสรา๎ งงาน การสร๎างรปู ภาพกราฟิกและตวั หนังสอื ในโปรแกรม Flash CS๓ การใช๎ Symbol

และ Instance และหลกั การเคลอ่ื นไหวของแอนเิ มชัน ปฏิบตั ิการใช๎โปรแกรม Flash CS๓ สรา๎ งงาน การ
สร๎างรูปภาพกราฟิกและตัวหนังสอื ในโปรแกรม Flash CS๓ การใช๎ Symbol และ Instance และหลกั การ

เคลอ่ื นไหวของแอนิเมชนั เพอ่ื ให๎มีความร๎ู ความเข๎าใจ เกี่ยวกบั การใช๎สร๎างงาน การสรา๎ งรูปภาพกราฟิกและ
ตัวหนงั สือในโปรแกรม Flash CS๓ การใช๎ Symbol และ Instance และหลักการเคล่อื นไหวของแอนิเมชนั
สามารถประยกุ ต์การสรา๎ งงานในรปู แบบตําง ๆ ได๎

ผลการเรยี นรู้

๑. อธบิ ายประโยชน์และความหมายของโปรแกรม Flash ได๎
๒. อธบิ ายสํวนประกอบของโปรแกรม Flash ได๎
๓. สามารถใชก๎ ลุมํ เครอ่ื งมือตํางๆไดอ๎ ยาํ งเหมาะสม

๔. สามารถวาดและปรับแตํงรปู ภาพได๎
๕. สามารถใช๎งาน Layer ได๎

๖. สามารถสร๎างภาพเคลอ่ื นไหว ได๎
๗. สามารถสร๎าง Symbol และ Instance แบบตาํ งๆได๎
๘. สามารถใช๎งาน Action Script พน้ื ฐานได๎

๙. สามารถนารปู ภาพ เสียงและไฟลภ์ าพยนตร์เข๎ามาใช๎งานได๎
๑๐.สามารถสรา๎ งแอนเิ มชั่นและเผยแพรชํ ิ้นงานไดอ๎ ยํางสร๎างสรรค์

รวมท้ังหมด ๑๐ ผลการเรียนรู้

๖๙

คาอธิบายรายวิชา

รหสั วชิ า ว ๓๒๒๐๓ วชิ าฟสิ กิ ส์ ๔ กลมุํ สาระการเรียนรวู๎ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๕ เวลา ๘๐ ช่วั โมง จานวน ๒.๐ หนวํ ยกติ

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศกึ ษาวเิ คราะห์ประจไุ ฟฟา้ และกฎการอนรุ กั ษ์ประจุไฟฟา้ ตัวนาและฉนวน การเหนยี่ วนาทางไฟฟ้า

แรงระหวํางประจุและกฎของคลู อมบ์ สนามไฟฟา้ ศกั ย์ไฟฟา้ และความตํางศักย์ไฟฟา้ ตัวนาทรงกลม

ความสัมพนั ธ์ระหวํางความตาํ งศักย์กบั สนามไฟฟ้าสม่าเสมอ พลังงานจลน์จากการเรํงประจุผํานความตาํ งศกั ย์

ตวั เกบ็ ประจุและความจุไฟฟ้า ตลอดจนการนาความรเู๎ กย่ี วกบั ไฟฟา้ สถติ ไปใช๎ประโยชน์ แหลงํ กาเนดิ ไฟฟ้า

และการนาไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าในเสน๎ ลวดตัวนา สภาพต๎านทานและสภาพนาไฟฟา้ กฎของโอหม์ ตัว

ตา๎ นทาน และการตํอตัวตา๎ นทาน แรงเคลื่อนไฟฟา้ และการตอํ เซลลไ์ ฟฟา้ การวิเคราะห์วงจรไฟฟา้

กระแสตรงเบ้อื งต๎น พลงั งานไฟฟา้ และกาลังไฟฟา้ และเคร่อื งวดั ปรมิ าณทางไฟฟา้

โดยใชก๎ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบค๎นข๎อมูล การอภปิ ราย การวิเคราะห์

การเปรียบเทียบ การสารวจตรวจสอบ และการทดลอง เพอ่ื ใหเ๎ กดิ ความร๎ู ความคิด ความเข๎าใจ

สามารถสื่อสารสง่ิ ท่ีเรียนรู๎ มีความสามารถในการตัดสนิ ใจ นาความรูไ๎ ปใชใ๎ นชวี ติ ประจาวัน

มจี ติ วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคํานิยมท่เี หมาะสม

ผลการเรยี นรู๎

๑. ทดลอง และอธบิ ายการทาวัตถุทเ่ี ป็นกลางทางไฟฟา้ ใหม๎ ปี ระจุไฟฟา้ โดยการขัดสกี ันและการ เหนี่ยวนา
ไฟฟ้าสถติ

๒. อธบิ าย และคานวณแรงไฟฟ้าตามกฎของคลู อมบ์
๓. อธิบาย และคานวณสนามไฟฟา้ และแรงไฟฟา้ ท่ีกระทากับอนุภาคท่มี ีประจุไฟฟา้ ทอ่ี ยํูใน สนามไฟฟา้
รวมท้ังหาสนามไฟฟา้ ลพั ธ์เน่ืองจากระบบจุดประจโุ ดยรวมกันแบบเวกเตอร์

๔. อธบิ าย และคานวณพลงั งานศักย์ไฟฟา้ ศกั ยไ์ ฟฟ้าและความตํางศกั ย์ระหวาํ งสองตาแหนํงใด ๆ
๕. อธิบายสํวนประกอบของตัวเก็บประจคุ วามสัมพันธร์ ะหวาํ งประจไุ ฟฟา้ ความตํางศักย์และความจุ ของตวั

เกบ็ ประจุ และอธบิ ายพลังงานสะสมในตัวเกบ็ ประจุ และความจุสมมลู รวมทัง้ คานวณปรมิ าณตํางๆ ทีเ่ กยี่ วขอ๎ ง
๖. นาความร๎ูเร่ืองไฟฟ้าสถิตไปอธิบายหลักการทางานของเครอื่ งใช๎ไฟฟา้ บางชนดิ และปรากฏการณใ์ น
ชีวติ ประจาวัน

๗. อธบิ ายการเคล่ือนท่ีของอิเลก็ ตรอนอิสระและกระแสไฟฟา้ ในลวดตวั นา ความสัมพันธ์ระหวําง กระแสไฟฟา้
ในลวดตวั นากับความเร็วลอยเลื่อนของอเิ ลก็ ตรอนอสิ ระ ความหนาแนํนของอิเลก็ ตรอนในลวดตวั นาและ

พ้ืนทหี่ นา๎ ตดั ของลวดตวั นา และคานวณปริมาณตําง ๆ ทเ่ี ก่ียวข๎อง
๘. ทดลอง และอธิบายกฎของโอห์ม อธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหวํางความตา๎ นทานกับความยาว พ้นื ท่ีหนา๎ ตดั
และสภาพตา๎ นทานของตัวนาโลหะที่อุณหภูมคิ งตัว และคานวณปรมิ าณตาํ ง ๆ ท่เี กย่ี วข๎อง รวมท้งั อธบิ ายและ

คานวณความต๎านทานสมมูล เมอ่ื นาตวั ตา๎ นทานมาตอํ กนั แบบอนุกรมและแบบขนาน
๙. ทดลอง อธิบาย และคานวณอเี อม็ เอฟของแหลํงกาเนดิ ไฟฟ้ากระแสตรง รวมทงั้ อธบิ ายและ คานวณ

พลังงานไฟฟา้ และกาลงั ไฟฟา้
๑๐. ทดลอง และคานวณอีเอ็มเอฟสมมูลจากการตํอแบตเตอรแ่ี บบอนกุ รมและแบบขนาน รวมท้ังคานวณ
ปรมิ าณตําง ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ๎ งในวงจรไฟฟ้ากระแสตรงซ่ึงประกอบดว๎ ยแบตเตอรแี่ ละตัวตา๎ นทาน

๗๐

๑๑. อธบิ ายการเปล่ียนพลงั งานทดแทนเปน็ พลังงานไฟฟ้า รวมทัง้ สบื ค๎นและอภิปรายเก่ยี วกบั เทคโนโลยี ที่
นามาแก๎ปัญหาหรือตอบสนองความตอ๎ งการทางด๎านพลังงานไฟฟ้า โดยเนน๎ ดา๎ นประสทิ ธิภาพและความคมุ๎ คํา
ดา๎ นคาํ ใชจ๎ ําย

รวมทั้งหมด ๑๑ ผลการเรยี นรู้

๗๑

คาอธิบายรายวิชา

รหสั วิชา ว ๓๒๒๒๓ วิชาเคมี ๔ กลํุมสาระการเรียนร๎วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๕ เวลา ๖๐ ช่วั โมง จานวน ๑.๕ หนํวยกิต

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาไอออนในสารละลายกรดและเบส ทฤษฎีกรด-เบสของอาร์เรเนยี ส เบรินสเตด-ลาวรี

และลวิ อิส ศึกษาและทดลองเก่ยี วกบั การถาํ ยโอนโปรตอนของสารละลายกรด-เบส ศกึ ษาคูํกรด-เบส คานวณ

และเขยี นสมการการแตกตัวของกรด-เบส การคานวณคาํ คงทกี่ ารแตกตัวเปน็ ไอออนของกรดอํอนและเบสอํอน

ศกึ ษาและทดลองการแตกตัวเปน็ ไอออนของน้า การคานวณคําคงทีข่ องการแตกตวั ของนา้ pH ของสารละลาย

กรด-เบส ศกึ ษาและทดลองเร่อื งปฏกิ ริ ยิ าสะเทิน และปฏิกิริยาการเกิดเกลอื จากปฏกิ ริ ยิ าระหวํางสารละลาย

กรดกับสารละลายเบส ปฏิกริ ยิ าไฮโดรลซิ ิสของเกลอื ศกึ ษาเกย่ี วกบั การไทเทรตสารละลายกรด-เบส การเขยี น

กราฟและการหาจุดสมมูลจากกราฟของการไทเทรต และคานวณหาความเขม๎ ขน๎ ของสารละลายกรด-เบส

ศกึ ษาหลักการเลือกใช๎อนิ ดิเคเตอร์สาหรบั ไทเทรตกรด-เบส ศกึ ษาและทดลองสมบตั ิความเปน็ บฟั เฟอร์ของ

สารละลาย

โดยใชก๎ ารเรยี นร๎ดู ๎วยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู๎ การสารวจตรวจสอบ

สามารถนาความร๎แู ละหลักการไปใช๎ประโยชน์ เชื่อมโยง อธบิ ายปรากฏการณ์ หรอื แกป๎ ญั หาในชีวติ ประจาวัน

สามารถจัดกระทาและวเิ คราะห์ข๎อมูล สื่อสารสง่ิ ท่เี รยี นร๎ู มคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจแก๎ปัญหา มจี ิต

วิทยาศาสตร์ เหน็ คุณคําของวทิ ยาศาสตร์ มีจริยธรรม คุณธรรมและคาํ นยิ มท่เี หมาะสม

ผลการเรียนรู้

๑. ระบแุ ละอธบิ ายวาํ สารเป็นกรดหรอื เบส โดยใช๎ทฤษฎกี รด-เบสของอาร์เรเนยี ส เบรนิ สเตด-ลาวรี และลิวอสิ
๒. ระบุคูกํ รด-เบสของสารตามทฤษฎกี รด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี
๓. คานวณและเปรยี บเทยี บความสามารถในการแตกตวั หรอื ความแรงของกรดและเบส
๔. คานวณคาํ pH ความเขม๎ ขน๎ ของไฮโดรเนยี มไอออนหรือไฮดรอกไซด์ไอออนของสารละลายกรดและเบส
๕. เขยี นสมการเคมีแสดงปฏิกริ ิยาสะเทนิ และระบุความเป็นกรด-เบสของสารละลายหลงั การสะเทิน
๖. เขยี นปฏกิ ริ ิยาไฮโดรลิซสิ ของเกลอื และระบคุ วามเปน็ กรด-เบสของสารละลายเกลอื
๗. ทดลอง และอธิบายหลกั การการไทเทรตและเลอื กใชอ๎ นิ ดิเคเตอรท์ ี่เหมาะสมสาหรับการไทเทรตกรด-เบส
๘. คานวณปรมิ าณสารหรือความเข๎มขน๎ ของสารละลายกรดหรือเบสจากการไทเทรต
๙. อธิบายสมบัติองค์ประกอบและประโยชนข์ องสารละลายบฟั เฟอร์
๑๐. สืบค๎นข๎อมูลและนาเสนอตัวอยํางการใช๎ประโยชนแ์ ละการแกป๎ ญั หาโดยใช๎ความรเู๎ กย่ี วกบั
กรด-เบส

รวมท้ังหมด ๑๐ ผลการเรียนรู้

๗๒

คาอธบิ ายรายวิชา

รหสั วิชา ว ๓๒๒๔๓ วิชา ชวี วิทยา ๔ กลํุมสาระการเรยี นร๎ูวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จานวน ๑.๕ หนํวยกติ

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาเกย่ี วกบั ระบบยํอยอาหารการยํอยอาหารของส่ิงมีชีวิตทังจุลินทรีย์ส่ิงมีชีวิตเซลล์เดียว
และสัตวก์ ารยํอยอาหารของมนุษย์อวัยวะที่เก่ียวข๎องกับการยํอยอาหารของมนุษย์ความผิดปกติของทางเดิน

อาหารในมนุษย์ศึกษาเกี่ยวกับระบบหายใจการแลกเปลี่ยนแก๏สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์การ
แลกเปล่ียนแก๏สของมนุษย์โครงสร๎างท่ีใช๎ในการแลกเปลี่ยนแก๏สการแลกเปลี่ยนแก๏สกลไกการหายใจการ

ควบคุมการหายใจการวดั อัตราการหายใจความผิดปกติท่ีเก่ียวข๎องกับปอดและโรคระบบทางเดินหายใจศึกษา
เกย่ี วกับระบบหมนุ เวียนเลอื ดการลาเลยี งสารในราํ งกายของสตั ว์และของมนุษยร์ ะบบน้าเหลอื งระบบภูมิค๎ุมกัน
กลไกการทางานของระบบภมู คิ ๎ุมกนั กลไกการสร๎างภูมิคุ๎มกันความผิดปกติของระบบภูมิคุ๎มกัน ศึกษาเก่ียวกับ

ระบบขับถํายการขับถํายของส่ิงชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์การขับถํายของมนุษย์ไตและอวัยวะในระบบ
ขับถํายปสั สาวะไตกับการรกั ษาดุลยภาพของรํางกายโรคทีเ่ กีย่ วขอ๎ งกบั ไต

โดยใช๎กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการสืบเสาะหาความร๎ูการสืบค๎นข๎อมูลการสังเกตการ
วิเคราะห์การทดลองการอภิปรายการอธิบายและการสรุปเพ่ือให๎เกิดความรู๎ความคิดความเข๎าใจมี
ความสามารถในการตัดสินใจสื่อสารส่ิงท่ีเรียนร๎ูและนาความรู๎ไปใช๎ในชีวิตของตนเองมีจิตวิ ทยาศาสตร์

จริยธรรมคณุ ธรรมและคาํ นิยม

ผลการเรยี นรู้

๑. สืบค๎นข๎อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร๎างและกระบวนการยํอยอาหารของสัตว์ที่ไมํมีทางเดิน
อาหาร สตั วท์ ีม่ ีทางเดนิ อาหารไมํสมบูรณ์ และสตั ว์ที่มที างเดนิ อาหารสมบรู ณ์ได๎

๒. สังเกต อธิบาย การกนิ อาหารของไฮดราและพลานาเรียได๎
๓. อธบิ ายเก่ยี วกบั โครงสรา๎ ง หน๎าที่ และกระบวนการยํอยอาหาร และการดูดซึมสารอาหารภายในระบบ
ยอํ ยอาหารของมนษุ ย์ได๎
๔. สืบค๎นข๎อมูล อธบิ าย และเปรียบเทียบโครงสร๎างที่ทาหน๎าท่ีแลกเปล่ียนแก๏สของฟองน้า ไฮดรา พลานา
เรีย ไสเ๎ ดือนดนิ แมลง ปลา กบ และนกได๎
๕. สังเกตและอธิบายโครงสรา๎ งของปอดในสตั วเ์ ลย้ี งลกู ดว๎ ยนา้ นมได๎
๖. สืบค๎นขอ๎ มลู อธิบายโครงสร๎างท่ีใช๎ในการแลกเปล่ียนแก๏ส และกระบวนการแลกเปล่ียนแก๏สของมนุษย์
ได๎
๗. อธิบายการทางานของปอด และทดลองวัดปรมิ าตรของอากาศในการหายใจออกของมนษุ ยไ์ ด๎
๘. สืบคน๎ ข๎อมูล อธิบาย และเปรียบเทยี บระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดและระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด
ได๎
๙. สังเกตและอธิบายทิศทางการไหลของเลือด และการเคลื่อนที่ของเซลล์เม็ดเลือดในหางปลา และสรุป
ความสัมพันธ์ระหวาํ งขนาดของหลอดเลือดกับความเร็วในการไหลของเลอื ดได๎
๑๐. อธบิ ายโครงสรา๎ งและการทางานของหัวใจและหลอดเลอื ดในมนุษย์ได๎

๗๓

๑๑. สงั เกต และอธบิ ายโครงสร๎างหัวใจของสตั วเ์ ล้ียงลกู ดว๎ ยนา้ นม ทศิ ทางการไหลของเลือด ผํานหัวใจของ
มนุษย์ และเขยี นแผนผงั สรุปการหมนุ เวียนเลือดของมนุษย์ได๎

๑๒. สบื ค๎นข๎อมลู ระบุความแตกตํางของเซลล์เม็ดเลอื ดแดง เซลล์เมด็ เลือดขาว เพลตเลต และพลาสมาได๎
๑๓. อธบิ ายหมูํเลือดและหลกั การให๎และรบั เลอื ดในระบบ ABO ระบบ Rh ได๎
๑๔. อธิบาย และสรุปเก่ยี วกบั สํวนประกอบและหน๎าทข่ี องน้าเหลือง รวมทัง้ โครงสรา๎ งและหนา๎ ท่ีของหลอด
นา้ เหลืองและตํอมน้าเหลืองได๎
๑๕. สืบค๎นขอ๎ มูล อธบิ าย และเปรยี บเทยี บกลไกการตอํ ตา๎ นหรือทาลายสิง่ แปลกปลอมแบบไมํจาเพาะและ
แบบจาเพาะได๎
๑๖. สืบคน๎ ข๎อมูล อธิบายและเปรยี บเทยี บการสรา๎ งภูมคิ ม๎ุ กนั กอํ เองและภูมคิ มุ๎ กนั รบั มาได๎
๑๗. สบื ค๎นขอ๎ มลู และอธบิ ายเก่ียวกบั ความผดิ ปกตขิ องระบบภมู ิคมุ๎ กันที่ทาให๎เกิดโรคเอดส์ ภูมแิ พ๎ และการ
สร๎างภูมิต๎านทานตํอเนอ้ื เย่ือตนเองได๎
๑๘. สบื คน๎ ขอ๎ มลู อธบิ าย และเปรยี บเทียบโครงสร๎างและหน๎าที่ในการกาจัดของเสียออกจากรํางกายของ
ฟองน้าไฮดรา พลานาเรีย ไสเ๎ ดือนดนิ แมลง และสัตวม์ กี ระดูกสนั หลังได๎
๑๙. อธบิ ายโครงสรา๎ งและหนา๎ ที่ของไต และโครงสรา๎ งทใ่ี ช๎ลาเลียงปสั สาวะออกจากรํางกายได๎
๒๐. อธิบายกลไกการท๎างานของหนํวยไต ในการกาจัดของเสียออกจากรํางกาย และเขียนแผนผังสรุป
ขน้ั ตอนการกาจัดของเสียออกจากรํางกายโดยหนํวยไตได๎
๒๑. สบื คน๎ ข๎อมลู อธบิ าย และยกตัวอยํางเก่ยี วกบั ความผิดปกติของไตอนั เนอื่ งมาจากโรคตาํ ง ๆ ได๎

รวม ๒๑ ผลการเรยี นรู้

๗๔

คาอธิบายรายวิชา

รหัสวิชา ว ๓๒๒๖๓ วิชาโลกและดาราศาสตร์ ๓ กลุํมสาระการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๕ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หนวํ ยกติ

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศกึ ษาการแบงํ ชั้นและสมบัตขิ องโครงสร๎างโลก รอยตอํ ระหวาํ งช้นั โครงสรา๎ งพรอ๎ มหลักฐานสนบั สนุน
ศกึ ษาการเคลอ่ื นท่ขี องแผํนธรณีตามทฤษฎธี รณแี ปรสณั ฐานพรอ๎ มหลกั ฐานสนบั สนนุ ศึกษาสาเหตุและรปู แบบ

แนวรอยตอํ ของแผํนธรณที ่ีสมั พนั ธก์ ารเคลอื่ นที่ของแผํนธรณี และหลกั ฐานที่เป็นผลจากการเคลอ่ื นทีข่ องแผนํ
ธรณี ศกึ ษาสาเหตุ กระบวนการเกดิ และผลจากการเกิดภเู ขาไฟระเบิด แผนํ ดินไหว และสึนามิ พร๎อมแนวทาง

การเฝา้ ระวังและปฏิบตั ิตนให๎ปลอดภยั รวมท้ังอธบิ ายลาดบั เหตุการณท์ างธรณวี ทิ ยาในอดตี จากการใช๎
หลกั ฐานทพ่ี บในปจั จุบัน โดยใชก๎ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู๎ การสืบคน๎ ขอ๎ มูล การ
สงั เกต วเิ คราะห์ เปรียบเทียบ อธิบาย อภปิ ราย และสรปุ เพ่ือให๎เกิดความรู๎ ความเข๎าใจ มีความสามารถใน

การตดั สินใจ มีทกั ษะปฏบิ ตั ิการทางวิทยาศาสตร์ รวมทง้ั ทกั ษะการเรียนรูใ๎ นศตวรรษท่ี ๒๑ ในด๎านการใช๎
เทคโนโลยีสารสนเทศ ดา๎ นการคดิ และการแกป๎ ญั หา ดา๎ นการส่ือสาร สามารถสอ่ื สารสิง่ ท่ีเรยี นร๎ูและนาความร๎ู

ไปใช๎ในชวี ติ ของตนเอง มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคํานิยมทีเ่ หมาะสม

ผลการเรยี นรู้

๑. อธิบายการกาเนดิ และการเปล่ยี นแปลงพลังงาน สสาร ขนาดอุณหภมู ิของเอกภพหลังเกดิ บกิ แบงใน
ชวํ งเวลาตาํ ง ๆ ตามวิวฒั นาการของเอกภพ

๒. อธบิ ายหลักฐานท่สี นับสนุนทฤษฎีบิกแบงจากความสัมพันธ์ระหวาํ งความเรว็ กบั ระยะทางของ
กาแลก็ ซี รวมทง้ั ข๎อมูลการค๎นพบไมโครเวฟพนื้ หลงั จากอวกาศ

๓. อธบิ ายโครงสร๎างและองค์ประกอบของกาแลก็ ซีทางชา๎ งเผอื ก และระบตุ าแหนํงของระบบสุรยิ ะพรอ๎ ม

อธิบายเช่ือมโยงกบั การสงั เกตเหน็ ทางช๎างเผือกของคนบนโลก
๔. อธบิ ายกระบวนการเกดิ ดาวฤกษ์ โดยแสดงการเปล่ยี นแปลงความดัน อุณหภมู ิ ขนาดจากดาวฤกษ์

กอํ นเกิดจนเป็นดาวฤกษ์
๕. อธิบายกระบวนการสร๎างพลังงานของดาวฤกษแ์ ละผลที่เกดิ ข้ึน โดยวิเคราะหป์ ฏิกิรยิ าลกู โซโํ ปรตอน-

โปรตอน และวัฏจักรคาร์บอนไนโตรเจน ออกซเิ จน

๖. ระบุปัจจยั ที่สงํ ผลตํอความสอํ งสวํางของดาวฤกษ์และอธิบายความสัมพนั ธ์ระหวํางความสํองสวาํ งกบั
โชติมาตรของดาวฤกษ์

๗. อธิบายความสัมพันธร์ ะหวาํ งสี อุณหภมู ผิ ิวและสเปกตรัมของดาวฤกษ์
๘. อธบิ ายวิธีการหาระยะทางของดาวฤกษ์ด๎วยหลกั การแพรลั แลกซ์ พรอ๎ มคานวณหาระยะทางของดาว

ฤกษ์

๙. อธิบายลาดับวิวัฒนาการทส่ี มั พันธก์ บั มวลตงั้ ตน๎ และวเิ คราะหก์ ารเปลย่ี นแปลงสมบตั บิ างประการ
ของดาวฤกษ์ในลาดับววิ ัฒนาการ จากแผนภาพเฮิร์ซปรุง-รัสเซลล์

๑๐.อธิบายกระบวนการเกิดระบบสุรยิ ะ การแบงํ เขตบริวารของดวงอาทิตย์และลักษณะของดาวเคราะห์ท่ี
เอ้อื ตํอการดารงชีวิต

๗๕

๑๑.อธิบายการโคจรของดาวเคราะหร์ อบดวงอาทติ ยด์ ๎วยกฎเคพเลอร์ และกฎความโนม๎ ถํวงของนวิ ตัน
พร๎อมคานวณคาบการโคจรของดาวเคราะห์

๑๒.อธบิ ายโครงสร๎างของดวงอาทิตย์ การเกิดลมสรุ ิยะ พายุสรุ ิยะ และวิเคราะห์ นาเสนอปรากฏการณ์
หรือเหตุการณ์ท่ีเก่ยี วข๎องกับผลของลมสรุ ิยะ และพายุสรุ ยิ ะที่มีตํอโลกรวมทั้งประเทศไทย

๑๓.สร๎างแบบจาลองทรงกลมฟา้ สงั เกต และเช่ือมโยงจุดและเส๎นสาคญั ของแบบจาลองทรงกลมฟ้ากบั
ทอ๎ งฟ้าจริง และอธบิ ายการระบุพกิ ัดของดาวในระบบขอบฟ้า และระบบศูนย์สูตร

๑๔.สังเกตทอ๎ งฟ้า และอธิบายเสน๎ ทางการขึน้ การตกของดวงอาทติ ยแ์ ละดาวฤกษ์
๑๕.อธบิ ายเวลาสรุ ยิ คตปิ รากฏ โดยรวบรวมขอ๎ มูล และเปรียบเทยี บเวลาขณะที่ดวงอาทติ ย์ผํานเมรเิ ดยี น

ของผ๎ูสงั เกตในแตํละวัน
๑๖.อธบิ ายเวลาสรุ ิยคตปิ านกลาง และการเปรียบเทยี บเวลาของแตํละเขตเวลาบนโลก
๑๗.อธิบายมมุ หาํ งทส่ี ัมพนั ธก์ บั ตาแหนํงในวงโคจร และอธบิ ายเช่ือมโยงกบั ตาแหนงํ ปรากฏของดาว

เคราะห์ที่สังเกตไดจ๎ ากโลก
๑๘.สบื คน๎ ขอ๎ มลู อธบิ ายการสารวจอวกาศ โดยใช๎กล๎องโทรทรรศนใ์ นชํวงความยาวคล่นื ตาํ ง ๆ ดาวเทียม

ยานอวกาศ สถานีอวกาศ และนาเสนอแนวคิดการนาความรู๎ทางด๎านเทคโนโลยอี วกาศมาประยุกต์ใช๎
ในชวี ิตประจาวนั หรอื ในอนาคต
๑๙.สืบคน๎ ขอ๎ มลู ออกแบบ และนาเสนอกิจกรรมการสังเกตดาวบนท๎องฟา้ ด๎วยตาเปลําและ/หรอื กล๎อง
โทรทรรศน์
รวมทัง้ หมด ๑๙ ผลการเรยี นรู๎

๗๖

คาอธบิ ายรายวชิ า

รหัสวชิ า ว ๓๒๒๘๓ วิชาการเขยี นโปรแกรมเบ้อื งตน๎ กลมํุ สาระการเรยี นรู๎วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๕ เวลา ๔๐ ช่วั โมง จานวน ๑.๐ หนํวยกิต

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาความร๎ูความเขา๎ ใจกระบวนการแกป๎ ญั หา การจาลองความคิด โครงสรา๎ งแบบตํางๆ สาหรับการ
เขยี นโปรแกรม โครงสร๎างของโปรแกรมภาษาซี คาสงั่ รับคาํ และแสดงผล โครงสร๎างแบบมีทางเลือก โครงสรา๎ ง

แบบทาซา้ และการเขยี นโปรแกรมโดยใชต๎ ัวแปรชุด
ใช๎กระบวนการฝกึ ทกั ษะการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์ทมี่ หี ลกั การและกระบวนการคิดอยาํ ง

เปน็ ระบบ และร๎ูจกั โครงสรา๎ งของข๎อมลู ในรปู แบบตาํ งๆ ทใี่ ชท๎ างานในระบบคอมพิวเตอร์
พฒั นาสมรรถนะความสามารถในการคดิ นาเอาความรด๎ู ๎านการเขียนโปรแกรมมาแกป๎ ัญหาไดอ๎ ยาํ ง

เหมาะสมและมีคุณธรรม

ผลการเรียนรู้

๑. ภาษาคอมพวิ เตอรแ์ ละการโปรแกรม
๒. สามารถวาดและตกแตงํ รปู ภาพได๎

๓. ประเภทของขอ๎ มูลและตวั ดาเนินการ
๔. เขยี นโปรแกรมที่มีโครงสรา๎ งการทางานแบบวนซ้าและเลือกใช๎คาสั่งได๎อยํางเหมาะสม

๕. การสร๎างฟังก์ชน่ั ในภาษาซี
๖. ตัวแปรชนิดอาร์เรย์ และสตริง
๗. อธบิ ายตวั ดาเนนิ การท่ใี ช๎ในการเขียนโปรแกรมและสามารถใช๎ตัวดาเนนิ การตํางๆ ไดต๎ ามความ

เหมาะสม
๘. เขยี นโปรแกรมโดยใชค๎ าส่ังรบั และแสดงผลบนหน๎าจอได๎

๙. พอยน์เตอร์ ในภาษาซี
๑๐.การจัดการไฟล์ ในภาษาซี

รวมท้ังหมด ๑๐ ผลการเรียนรู้

๗๗

คาอธบิ ายรายวิชา

รหสั วชิ า ว ๓๓๒๐๔ วิชาฟสิ กิ ส์ ๕ กลมุํ สาระการเรยี นรว๎ู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๖ เวลา ๘๐ ช่วั โมง จานวน ๒.๐ หนํวยกติ

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษา วเิ คราะห์ อธบิ าย และอภิปรายคานวณเก่ยี วกับ แมเํ หลก็ และสนามแมํเหลก็ กระแสไฟฟา้ ทา

ให๎เกดิ ดสนามแมํเหล็ก แรงกระทาตอํ ลวดตัวนาที่มกี ระแสไฟฟา้ ผํานและอยูํในสนามแมํเหล็ก แรงระหวํางลวด

ตวั นาท้งั สองเสน๎ ทขี่ นานกันและมีกระแสไฟฟา้ ผําน แรงกระทาตอํ ลวดตัวนาที่มกี ระแสไฟฟ้าผํานและอยูใํ น

สนามแมเํ หลก็ การประยกุ ตผ์ ลของสนามแมํเหล็กตํอลวดตวั นาท่ีมกี ระแสไฟฟ้าผําน กระแสไฟฟา้ เหนย่ี วนา

และแรงเคล่อื นไฟฟา้ เหน่ียวนา แรงเคลอ่ื นไฟฟ้าเหนย่ี วนาในมอเตอรแ์ ละเครอ่ื งกาเนดิ ไฟฟา้ หมอ๎ แปลง คํา

ของปริมาณทเี่ กี่ยวขอ๎ งกบั ไฟฟ้ากระแสสลับ การนาความรทู๎ างแมเํ หล็กไฟฟ้าไปใช๎ประโยชน์ ทฤษฎคี ล่นื

แมเํ หลก็ ไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการทดลองของเฮิรตซ์ การแผํคล่นื แมเํ หล็กไฟฟา้ จากสายอากาศ สเปกตรัม

คลน่ื แมํเหล็กไฟฟ้า โพลาไรเซชันของคล่ืนแมํเหล็กไฟฟา้ สภาพยดื หยํนุ ความหนาแนํน ความดนั ในของเหลว

กฎของพาสคาล แรงพยงุ และหลกั ของอารค์ มิ ีดิส ความตึงผวิ ความหนืด พลศาสตรข์ องของไหล

โดยใช๎กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบค๎นข๎อมูล การอภปิ ราย การวิเคราะห์ การเปรียบเทยี บ

การสารวจตรวจสอบ และการทดลอง เพ่อื ให๎เกิด ความร๎ู ความคิด ความเข๎าใจ สามารถส่อื สารสงิ่ ท่ีเรยี นรู๎ มี

ความสามารถในการตัดสินใจ นาความรไ๎ู ปใช๎ในชีวิตประจาวนั มจี ติ วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และ

คํานิยมที่เหมาะสม

ผลการเรียนรู้

๑. สงั เกต และอธบิ ายเสน๎ สนามแมเํ หลก็ อธบิ ายและคานวณฟลกั ซแ์ มํเหล็กในบริเวณที่กาหนดรวมทง้ั
สังเกต และอธิบายสนามแมํเหลก็ ทเี่ กดิ จากกระแสไฟฟา้ ในลวดตัวนาเส๎นตรงและโซเลนอยด์

๒. อธิบาย และคานวณแรงแมํเหล็กที่กระทาตอํ อนุภาคทมี่ ปี ระจไุ ฟฟ้าเคล่ือนท่ีในสนามแมเํ หล็กแรง

แมเํ หลก็ ทก่ี ระทาตํอเสน๎ ลวดทม่ี กี ระแสไฟฟ้าผาํ นและวางในสนามแมํเหล็ก รัศมคี วามโคง๎ ของการเคลือ่ นที่เมอ่ื
ประจุเคล่ือนทีต่ ง้ั ฉากกบั สนามแมํเหล็ก รวมทง้ั อธบิ ายแรงระหวํางเส๎นลวดตัวนาคขํู นานทีม่ กี ระแสไฟฟา้ ผําน

๓. อธิบายหลักการทางานของแกลแวนอมิเตอร์และมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรง รวมทั้งคานวณปริมาณ
ตํางๆ ทเ่ี กยี่ วข๎อง

๔. สังเกต และอธบิ ายการเกิดอีเอ็มเอฟเหน่ยี วนากฎการเหน่ยี วนาของฟาราเดย์ และคานวณปริมาณตาํ ง

ๆ ท่ีเกี่ยวข๎อง รวมท้งั นาความร๎เู รือ่ งอีเอ็มเอฟเหน่ียวนาไปอธิบายการทางานของเคร่ืองใช๎ไฟฟ้า
๕. อธิบาย และคานวณความตํางศักย์อารเ์ อ็มเอสและกระแสไฟฟ้าอารเ์ อม็ เอส

๖. อธบิ ายหลักการทางานและประโยชน์ของเครอ่ื งกาเนิดไฟฟา้ กระแสสลบั ๓ เฟส การแปลงอีเอ็มเอฟ
ของหมอ๎ แปลง และคานวณปรมิ าณตําง ๆ ทีเ่ ก่ียวขอ๎ ง

๗. อธิบายการเกดิ และลักษณะเฉพาะของ คลืน่ แมํเหลก็ ไฟฟา้ แสงไมํโพลาไรสแ์ สงโพลาไรสเ์ ชิงเส๎น และ

แผนํ โพลารอยดร์ วมท้ังอธบิ ายการนาคล่ืนแมเํ หล็กไฟฟ้าในชํวงความถตี่ าํ ง ๆ ไปประยุกตใ์ ชแ๎ ละหลักการ
ทางานของอปุ กรณท์ ี่เก่ยี วขอ๎ ง

๘. สืบคน๎ และอธบิ ายการสือ่ สารโดยอาศยั คล่นื แมเํ หลก็ ไฟฟ้าในการสงํ ผาํ นสารสนเทศ และเปรยี บเทยี บ
การสื่อสารด๎วยสัญญาณแอนะลอ็ กกับสัญญาณดิจิทัล

๗๘

๙. อธิบายสภาพยืดหยํุนและลักษณะการยดื และหดตวั ของวสั ดทุ ่เี ปน็ แทํงเมื่อถกู กระทาด๎วยแรงคําตําง ๆ
รวมทั้ง ทดลอง อธิบายและคานวณความเค๎นตามยาว ความเครียดตามยาว และมอดลุ ัสของยงั และนาความร๎ู
เร่อื งสภาพยืดหยุํนไปใช๎ในชวี ติ ประจาวนั

๑๐. อธบิ ายและคานวณความดนั เกจ ความดนั สัมบูรณ์ และความดนั บรรยากาศ รวมทง้ั อธิบายหลักการ
ทางานของแมนอมเิ ตอร์ บารอมิเตอร์ และเคร่อื งอดั ไฮดรอลกิ

๑๑. ทดลอง อธบิ ายและคานวณขนาดแรงพยุงจากของไหล
๑๒. ทดลอง อธบิ ายและคานวณความตงึ ผิวของของเหลว รวมทัง้ สงั เกตและอธบิ ายแรงหนืดของ
ของเหลว
๑๓. อธิบายสมบตั ิของของไหลอดุ มคติ สมการความตอํ เนอื่ ง และสมการแบร์นลู ลี รวมทัง้ คานวณปรมิ าณ
ตาํ ง ๆ ทเี่ ก่ยี วขอ๎ ง และนาความรเ๎ู กี่ยวกับสมการความตํอเน่ืองและสมการแบร์นูลลีไปอธบิ ายหลกั การทางาน
ของอปุ กรณต์ ําง ๆ

รวมทง้ั หมด ๑๓ ผลการเรยี นรู้

๗๙

คาอธบิ ายรายวชิ า

รหัสวชิ า ว ๓๓๒๒๔ วิชา เคมี ๕ กลมํุ สาระการเรียนรวู๎ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง จานวน ๒.๐ หนํวยกติ

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษา วิเคราะห์ คานวณเลขออกซิเดชนั และระบุปฏิกริ ิยารดี อกซ์ วเิ คราะห์การเปล่ียนแปลงเลข

ออกซเิ ดชันและระบุตัวรีดิวซ์และตัวออกซไิ ดส์ วมทัง้ เขยี นคร่งึ ปฏิกิริยาออกซิเดชันและคร่ึงปฏิกิรยิ ารีดักชนั

ของปฏิกิรยิ ารีดกั ชันของปฏกิ ริ ิยารีดอกซ์ ทดลองความสามารถในการเปน็ ตวั รีดวิ ซ์และออกซิไดส์ และแสดง

ปฏิกริ ยิ ารดี อกซ์ ดลุ สมการรดี อกซ์ด๎วยการใชเ๎ ลขออกซิเดชนั และวธิ คี รง่ึ ปฏิกริ ิยา เซลล์เคมไี ฟฟ้า และเขียน

สมการเคมขี องปฏกิ ริ ยิ าท่ีแอโนดและแคโทด ปฏกิ ิริยารวมและแผนภาพเซลลค์ านวณคําศกั ย์ไฟฟ้ามาตรฐาน

ของเซลล์และระบุประเภทของเซลล์ไฟฟา้ เคมี ข้วั ไฟฟ้าและปฏกิ ริ ิยาเคมที ี่เกดิ ขน้ึ เขียนสมการแสดงปฏกิ ิริยา

ของเซลล์ปฐมภูมิและเซลล์ทตุ ยิ ภูมิ ทาการทดลองทดลองชบุ โลหะและแยกสารเคมีด๎วยกระแสไฟฟา้ การทา

โลหะให๎บรสิ ุทธ์ิและการปอ้ งกนั การกัดกรอํ นของโลหะ ความกา๎ วหนา๎ ทางเทคโนโลยีทีเ่ กย่ี วขอ๎ งกบั เซลล์

เคมไี ฟฟา้ สารประกอบอนิ ทรีย์ทีม่ พี นั ธะเดยี่ ว พนั ธะคํู หรือพนั ธะสามที่พบในชวี ิตประจาวัน สตู รโครงสร๎าง

แบบยํอและสูตรโครงสร๎างแบบเสน๎ ของสารประกอบอนิ ทรีย์ ระบปุ ระเภทของสารประกอบอนิ ทรยี ์จากหมูํ

ฟังกช์ นั เขยี นสูตรโครงสร๎างและเรยี กชื่อสารประกอบอินทรียป์ ระเภทตํางๆ ตามระบบ IUPAC ศกึ ษาการเขยี น

ไอโซเมอร์โครงสร๎างของสารประกอบอินทรียเ์ ปรยี บเทียบจุดเดือดและการละลายในนา้ ของสารประกอบ

อนิ ทรียท์ ี่มหี มูฟํ งั กช์ นั ขนาดโมเลกลุ หรอื โครงสร๎างตาํ งกนั ระบปุ ระเภทของสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนและ

เขยี นผลติ ภัณฑ์จากปฏกิ ิรยิ าการเผาไหม๎ ศึกษาสมการเคมีและอธิบายการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเอสเทอริฟิเคชนั

ปฏกิ ิรยิ าสังเคราะห์เอไมด์ ปฏกิ ิรยิ าสะปอนนิฟิเคชัน

โดยใชก๎ ารเรยี นร๎ูดว๎ ยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู๎ การสารวจตรวจสอบ

สามารถนาความร๎แู ละหลกั การไปใช๎ประโยชน์ เชื่อมโยง อธิบายปรากฏการณ์ หรือแกป๎ ญั หาในชวี ติ ประจาวนั

สามารถจัดกระทาและวิเคราะหข์ อ๎ มูล ส่อื สารส่งิ ท่ีเรยี นร๎ู มคี วามสามารถในการตดั สินใจแกป๎ ัญหา มีจติ

วทิ ยาศาสตร์ เหน็ คุณคําของวิทยาศาสตร์ มีจริยธรรม คุณธรรม และคํานิยมท่ีเหมาะสม

ผลการเรยี นร๎ู

๑. สืบคน๎ ขอ๎ มูลและนาเสนอตัวอยาํ งสารประกอบอินทรยี ์ท่ีมีพนั ธะเด่ียว พนั ธะคูํ หรือพันธะสามทพ่ี บ

ในชีวติ ประจาวนั

๒. เขยี นสูตรโครงสรา๎ งลวิ อิส สูตรโครงสร๎างแบบยอํ และสูตรโครงสรา๎ งแบบเส๎นของสารประกอบ

อนิ ทรีย์

๓. วิเคราะหโ์ ครงสร๎าง และระบุประเภทของสารประกอบอินทรียจ์ ากหมฟูํ ังกช์ นั

๔. เขียนสูตรโครงสร๎างและเรยี กช่อื สารประกอบอนิ ทรียป์ ระเภทตาํ งๆ ท่มี หี มํฟู งั กช์ ันไมํเกิน ๑ หมํู

ตามระบบ IUPAC

๕. เขยี นไอโซเมอรโ์ ครงสรา๎ งของสารประกอบอนิ ทรยี ์ประเภทตํางๆ

๖. วเิ คราะห์ และเปรยี บเทยี บจดุ เดือดและการละลายในนา้ ของสารประกอบอนิ ทรยี ์ทมี่ ีหมํูฟังก์ชนั

ขนาดโมเลกุล หรือโครงสร๎างตํางกัน

๗. ระบปุ ระเภทของสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนและเขียนผลิตภัณฑจ์ ากปฏกิ ิริยาการเผาไหม๎

ปฏกิ ริ ยิ ากบั โบรมีน หรอื ปฏิกริ ยิ ากับโพแทสเซียมเปอรแ์ มงกาเนต

๘๐

๘. เขยี นสมการเคมแี ละอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเอสเทอรฟิ ิเคชัน ปฏกิ ิริยาการสงั เคราะห์เอไมด์
ปฏิกริ ยิ าไฮโดรลิซิส และปฏกิ ิริยาสปอนนิฟเิ คชนั
๙. ทดสอบปฏกิ ิรยิ าเอสเทอริฟเิ คชนั ปฎกิ ิริยาไฮโดรลิซสิ และปฏกิ ริ ยิ าสปอนนิฟเิ คชัน
๑๐. สบื ค๎นขอ๎ มูล และนาเสนอตัวอยํางการนาสารประกอบอินทรยี ์ไปใช๎ประโยชน์ในชีวติ ประจาวัน
และอุตสาหกรรม
๑๑. ระบปุ ระเภทของปฏิกริ ิยาการเกิดพอลเิ มอรจ์ ากโครงสร๎างของมอนอเมอร์หรือโพลเิ มอร์
๑๒. วเิ คราะห์ และอธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหวาํ งโครงสรา๎ งและสมบัติของพอลเิ มอร์ รวมทงั้ การ
นาไปใชป๎ ระโยชน์
๑๓. ทดสอบ และระบุประเภทของพลาสตกิ และผลติ ภณั ฑ์ยาง รวมทง้ั การนาไปใชป๎ ระโยชน์
๑๔. อธบิ ายผลของการปรบั เปลีย่ นโครงสรา๎ งและการสังเคราะห์พอลเิ มอรท์ ม่ี ีตอํ สมบตั ิของพอลิเมอร์
๑๕. สบื ค๎นขอ๎ มูล และนาเสนอตวั อยาํ งผลกระทบจากการใชแ๎ ละการกาจัดผลิตภัณฑพ์ อลิเมอรแ์ ละ
แนวทางแกไ๎ ข
รวมทง้ั หมด ๑๕ ผลการเรียนรู๎

๘๑

คาอธิบายรายวิชา

รหสั วชิ า ว ๓๓๒๔๔ วิชา ชวี วิทยา ๕ กลํุมสาระการเรยี นรู๎วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หนวํ ยกิต

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาเก่ียวกับความหลากหลายทางชีวภาพและความย่ังยืนของสิ่งแวดล๎อม ความหลากหลายของ

สิ่งมีชีวิต การศกึ ษาความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ิต กาเนิดของสิง่ มชี วี ิต กาเนิดของส่ิงมีชีวิต อาณาจักรส่ิงมีชีวิต

ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย การสญู เสียความหลากหลายทางชีวภาพ ศึกษาเก่ียวกับประชากร

ความหนาแนนํ และการแพรํกระจายของประชากร ขนาดของประชากร ขนาดของประชากร รูปแบบการเพิ่ม

ของประชากร การรอดชีวิตของประชากร ประชากรมนุษย์ ศกึ ษาเก่ียวกับมนษุ ยก์ บั ความย่ังยนื ของส่ิงแวดล๎อม

ทรัพยากรธรรมชาติ การใช๎ประโยชน์ ปัญหาและการจัดการ หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และชนิด

พันธ์ุตํางถิ่นท่ีสํงผลกระทบตํอสภาพแวดล๎อม โดยใช๎กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหา

ความร๎ู การสืบค๎นข๎อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย และสรุป เพ่ือให๎เกิดความร๎ู

ความคิด ความเข๎าใจ มคี วามสมารถในการตัดสินใจ สอ่ื สารสงิ่ ท่ีเรยี นรู๎และนาความรู๎ไปใช๎ในชีวิตของตนเอง มี

จติ วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคาํ นิยม

ผลการเรยี นรู้

๑. สืบค๎นข๎อมูล อภิปราย และอธิบายเก่ียวกับความหมายและองค์ประกอบของความหลากหลายทาง
ชวี ภาพ

๒. สบื คน๎ ขอ๎ มูล อภปิ ราย และอธบิ ายการศกึ ษาความหลากหลายของส่งิ มีชวี ติ การจดั หมวดหมูํ
ของส่ิงมชี วี ติ ชือ่ ของส่ิงมีชวี ิต และการระบุชนิด

๓. สืบค๎นข๎อมูล อภิปราย อธิบายและสรุปเกี่ยวกับกาเนิดของชีวิต กาเนิดของเซลล์โพรคาริโอตและ
เซลล์ยคู าริโอต

๔. สืบคน๎ ข๎อมลู ทดลอง อภปิ ราย อธบิ าย และสรปุ เกณฑ์ที่ใช๎ในการจัดจาแนกส่ิงมีชีวิตออกเป็นโดเมน
และอาณาจักร ลักษณะที่เหมือนและแตกตํางกันของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรมอเนอราอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจกั รพืช อาณาจักรฟงั ไจ และอาณาจักรสตั ว์

๕. สืบค๎นข๎อมูล อภิปราย อธิบาย และนาเสนอคุณคําของความหลากหลายทางชีวภาพกับการใช๎
ประโยชน์ของมนุษยท์ ี่มีผลตอํ สงั คมและส่งิ แวดล๎อม

๖. สบื ค๎นขอ๎ มลู อภิปราย และนาเสนอสถานการณค์ วามหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย
และผลกระทบจากการสญู เสียความหลากหลายทางชีวภาพ

๗. ออกแบบสถานการณจ์ าลองท่ีแสดงถึงการเปลยี่ นแปลงปัจจยั ตํางๆ ของส่ิงแวดล๎อมที่มีผลตํอการอยํู
รอดของสิ่งมชี วี ติ

๘. วเิ คราะห์ อภปิ ราย และสรุปไดว๎ ําการอยรํู อดของสิง่ มชี ีวิตสมั พนั ธ์กับความหลากหลายของ
ส่งิ มีชวี ิต

๙. สืบคน๎ ข๎อมลู อภปิ ราย และอธบิ ายเกี่ยวกับความหมายของประชากร ความหนาแนํนของ
ประชากร อัตราการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร และปัจจัยสาคัญที่มีผลตํอการเปลี่ยนแปลงขนาดของ
ประชากร

๘๒

๑๐. สืบค๎นขอ๎ มลู อภปิ ราย และวเิ คราะหข์ อ๎ มลู เกี่ยวกบั เร่อื งประชากรมนุษย์ การเตบิ โต และ
โครงสรา๎ งอายุของประชากรมนษุ ย์

๑๑. สบื ค๎นขอ๎ มูล อภปิ ราย และอธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหวํางมนุษย์กับการใชท๎ รัพยากรธรรมชาติ
๑๒. อภปิ ราย อธิบาย และสรปุ แนวทางการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล๎อม รวมทั้ง
การอนรุ กั ษ์และพัฒนาท่ียัง่ ยนื พร๎อมทั้งเสนอแนวทางในการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติ
๑๓. สืบคน๎ ข๎อมูล อภิปราย และอธิบายเกี่ยวกับชนิดพนั ธ์ุตาํ งถิน่ ทส่ี งํ ผลกระทบตอํ สภาพแวดล๎อม

รวมทัง้ หมด ๑๓ ผลการเรียนรู้

๘๓

คาอธบิ ายรายวชิ า

รหัสวิชา ว ๓๓๒๖๔ วิชาวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ กลมํุ สาระการเรยี นรวู๎ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ เวลา ๖๐ ช่วั โมง จานวน ๑.๐ หนวํ ยกติ

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศกึ ษาวเิ คราะห์ชนิดของธาตุ แนวโนม๎ ความเปน็ โลหะและอโลหะของธาตุในตารางธาตุ

ประโยชนข์ องธาตุ อะตอมและโครงสรา๎ งอะตอม พนั ธะเคมี การเกิดปฏิกริ ิยาเคมี ปฏกิ ิรยิ าเคมีและสารเคมีใน

ชีวิตประจาวนั อัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี องคป์ ระกอบ สมบตั ิบางประการและประโยชนข์ องไขมนั และน้ามัน

โปรตนี คารโ์ บไฮเดรต กรดนวิ คลีอกิ การเกิดและแหลํงปโิ ตรเลียม กระบวนการแยกผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียมและ

การใชป๎ ระโยชน์ สมบัติบางประการของพอลเิ มอรแ์ ละพอลเิ มอรใ์ นชีวติ ประจาวัน

โดยใชก๎ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบค๎นข๎อมลู การอภิปราย การวิเคราะห์ การเปรยี บเทยี บ

การสารวจตรวจสอบ การทานาย และการทดลอง เพอ่ื ใหเ๎ กดิ ความร๎ู ความคิด ความเขา๎ ใจ สื่อสารส่ิงท่เี รียนร๎ู

มีความสามารถในการตดั สินใจ นาความรไู๎ ปใชใ๎ นชวี ิตประจาวัน มีจติ วทิ ยาศาสตร์ คุณธรรม จริยธรรมและ

คํานิยมทเี่ หมาะสม

ผลการเรยี นรู้

๑. สบื ค๎นขอ๎ มูลและอธิบายโครงสรา๎ ง อะตอม และสญั ลกั ษณ์นวิ เคลยี รข์ องธาตุ
๒. วิเคราะหแ์ ละอธบิ ายการจัดเรยี งอเิ ลก็ ตรอนในอะตอมความสัมพนั ธร์ ะหวาํ งอิเลก็ ตรอนในระดบั พลงั งาน
นอกสุดกบั สมบตั ิของธาตุและการเกิดปฏิกิรยิ า
๓. อธบิ ายการจัดเรียงธาตแุ ละทานายแนวโน๎มสมบตั ขิ องธาตใุ นตารางธาตุ
๔. วเิ คราะหแ์ ละอธิบายการเกดิ พันธะเคมีในโครงผลึกและในโมเลกลุ ของสาร
๕. สบื คน๎ ข๎อมูลและอธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหวาํ งจุดเดือด จุดหลอมเหลวและสถานะของสารกับแรงยึดเหน่ียว
ระหวํางอนภุ าคของสาร
๖. ทดลอง อธบิ ายและเขยี นสมการของปฏิกิรยิ าเคมีทั่วไปท่พี บในชีวิตประจาวัน รวมทงั้ อธิบายผลของสารเคมี
ท่ีมีตอํ สิง่ มชี วี ติ และส่งิ แวดล๎อม
๗. ทดลองและอธิบายอัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี ปัจจัยที่มีผลตอํ อัตราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี และนาความรู๎ไป
ใชป๎ ระโยชน์
๘. สืบคน๎ ขอ๎ มูลและอธบิ ายการเกิดปโิ ตรเลยี ม กระบวนการแยกแกส๏ ธรรมชาติ และการกลนั่ ลาดับสํวน
นา้ มันดิบ
๙. สบื คน๎ ข๎อมูลและอภิปรายการนาผลติ ภัณฑท์ ีไ่ ด๎จากการแยกแก๏สธรรมชาตแิ ละการกลน่ั ลาดับสวํ นนา้ มนั ดิบ
ไปใช๎ประโยชน์รวมทงั้ ผลของผลิตภณั ฑต์ อํ ส่ิง มชี ีวติ และส่ิงแวดลอ๎ ม
๑๐.ทดลองและอธบิ ายการเกิดพอลิเมอร์ สมบัตขิ องพอลิเมอร์
๑๑.อภปิ รายการนาพอลิเมอรไ์ ปใชป๎ ระโยชน์ รวมทงั้ ผลที่เกดิ จากการผลิตและใชพ๎ อลิเมอรต์ อํ สิ่งมีชีวิตและ
สิง่ แวดลอ๎ ม
๑๒.ทดลองและอธิบายองค์ประกอบประโยชน์ และปฏิกิริยาบางชนิดของคารโ์ บไฮเดรต
๑๓.ทดลองและอธบิ ายองคป์ ระกอบประโยชน์ และ ปฏิกิรยิ าบางชนิดของไขมันและนา้ มนั
๑๔.ทดลองและอธบิ ายองคป์ ระกอบประโยชน์ และปฏกิ ริ ยิ าบางชนิดของโปรตีน และกรดนวิ คลอี กิ
รวมท้ังหมด ๑๔ ผลการเรยี นรู้

๘๔

คาอธบิ ายรายวชิ า

รหสั วิชา ว๓๓๒๘๔ วิชาการสร๎างและตัดตํอภาพยนตร์ กลํมุ สาระการเรียนรวู๎ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๖ เวลาเรยี น ๔๐ ชัว่ โมง จานวน ๑.๐ หนวํ ยกติ

---------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------

ความหมาย และความสาคญั ของภาพยนตร์ ความเป็นมาของภาพยนตร์ หลักการเกดิ ภาพเคล่อื นไหว

รปู แบบไฟล์ภาพยนตร์ หลกั การสร๎างภาพยนตร์ เทคนิควธิ ีการสรา๎ งภาพยนตร์ เทคนคิ การถาํ ยภาพ การใช๎

มุมกล๎องเพื่อสื่อ การทาสตอรบี่ อร์ด การใชโ๎ ปรแกรมตัดตอํ ภาพยนตร์ เขา๎ ใจหลัก วิธกี ารใชง๎ านโปรแกรม

การตดั ตอํ ภาพ การตัดตํอเสยี ง การสงํ ออกและนาเสนอแฟม้ ภาพยนตร์

ปฏิบตั ิการสร๎างภาพยนตร์โดยการถาํ ยภาพ บนั ทึกเสยี ง ตัดตํอภาพและเสียงตามสคลปิ ที่วางแผนไว๎

โดยประมวลความรใ๎ู นการถาํ ยภาพ การใช๎แสง มุมกล๎อง และเทคนิคการตดั ตํอในรูปแบบตาํ งๆ สามารถ

สํงออกแฟม้ ในรูปแบบภาพยนตร์ เผยแพรภํ าพยนตรผ์ ํานเครือขาํ ยอนิ เตอรเ์ น็ต

ปฏิบตั ิการใช๎คอมพวิ เตอรช์ วํ ยสร๎างช้ินงานหรอื โครงงานจากจนิ ตนาการ เพอ่ื ให๎มีความรู๎ความเข๎าใจใน

บทบาทของคอมพวิ เตอร์ทใ่ี ชใ๎ นชวี ิตประจาวัน มีคุณธรรมจริยธรรม นาเสนอภาพยนตรอ์ ยาํ งมจี ติ สานึกและมี

ความรบั ผิดชอบ

ผลการเรยี น
1. อธบิ ายความหมายและความสาคญั ของภาพยนตรไ์ ด๎

2. อธิบายหลักการเกิดภาพเคล่ือนไหว และรูปแบบไฟลภ์ าพยนตร์ได๎
3. สามารถวางแผนและเขยี นสคลปิ ภาพยนตร์ได๎

4. อธิบายการสวํ นประกอบของโปรแกรม Adobe Premiere Pro ได๎
5. มคี วามรคู๎ วามเขา๎ ใจในการใชเ๎ คร่อื งมอื ตํางๆในโปรแกรม Adobe Premiere Pro ได๎
6. สามารถตัดตอํ ภาพและเสยี งจากโปรแกรมตัดตอํ ภาพยนตร์ได๎

7. สามารถสงํ ออกแฟ้มภาพยนตร์ และเผยแพรใํ นเครอื ขํายอนิ เตอรเ์ น็ตได๎
8. ความรคู๎ วามเขา๎ ใจในเทคนิคการถํายภาพและมมุ กล๎องในรปู แบบตําง ๆ ได๎

9. ปฎบิ ตั ิงานสรา๎ งภาพยนตรไ์ ด๎
10. สามารถนาความร๎ูที่ได๎รบั มาประยุกตใ์ ชใ๎ นงานด๎านตํางๆได๎

รวม ๑๐ ผลการเรยี น

๘๕

คาอธบิ ายรายวิชา

รหัสวชิ า ว ๓๓๒๐๕ วชิ าฟิสกิ ส์ ๖ กลุํมสาระการเรยี นรู๎วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ เวลา ๘๐ ชั่วโมง จานวน ๒.๐ หนวํ ยกิต

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศกึ ษา วิเคราะห์ อธิบาย และอภิปรายคานวณเกี่ยวกับ ความร๎อน แก๏สอุดมคติ ทฤษฎีจลน์

ของแก๏ส พลังงานภายในระบบ การประยุกต์ อะตอมและการคน๎ พบอเิ ล็กตรอน แบบจาลองอะตอม สเปกตรัม

ของอะตอม ทฤษีอะตอมของโบร์ ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค กลศาสตร์ควอนตัม การค๎นพบ

กัมมันตภาพรังสี การเปล่ียนสภาพนิวเคลียส การสลายของนิวเคลียสกันมันสรังสี ไอโซโทป เสถียรภาพของ

นวิ เคลียส ปฏกิ ริ ิยานิวเคลียร์ ประโยชน์ของกมั มันตภาพรงั สีและพลังงานนิวเคลียร์ รังสีในธรรมชาติ อันตราย

จากรงั สีและการป้องกัน

โดยใชก๎ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบคน๎ ข๎อมูล การอภิปราย การวเิ คราะห์ การ

เปรียบเทียบ การสารวจตรวจสอบ และการทดลอง เพ่ือให๎เกดิ ความร๎ู ความคิด ความเข๎าใจ สามารถสื่อสาร

สิ่งท่เี รยี นรู๎ มีความสามารถในการตดั สนิ ใจ นาความรไู๎ ปใช๎ในชวี ติ ประจาวัน มจี ติ วิทยาศาสตร์ จริยธรรม

คณุ ธรรม และคํานยิ มท่ีเหมาะสม

ผลการเรยี นรู
๑. อธิบายและคานวณความร๎อนท่ีทาให๎สสารเปลี่ยนอุณหภูมิ ความร๎อนท่ีทาให๎สสารเปลี่ยนสถานะ

และความร๎อนที่เกิดจากการถํายโอนตามกฎการอนุรักษ์พลังงาน
๒. อธิบายกฎของแก๏สอดุ มคติและคานวณปรมิ าณตาํ ง ๆ ท่ีเกี่ยวข๎อง

๓. อธิบายแบบจาลองของแก๏สอุดมคติ ทฤษฎีจลน์ของแก๏ส และอัตราเร็วอาร์เอ็มเอสของโมเลกุลของแก๏ส
รวมทัง้ คานวณปรมิ าณตาํ ง ๆ ท่ี เกย่ี วข๎อง

๔. อธิบายและคานวณงานที่ทาโดยแก๏สในภาชนะปิดโดยความดันคงตัว และอธิบายความสัมพันธ์ระหวําง

ความรอ๎ น พลงั งานภายในระบบ และงาน รวมทั้งคานวณปริมาณตําง ๆ ท่ีเก่ียวข๎อง และนาความรู๎เร่ือง
พลังงานภายในระบบไปอธิบายหลกั การทางานของเครื่องใชใ๎ นชวี ติ ประจาวนั

๕. อธิบายสมมติฐานของพลังค์ ทฤษฎีอะตอมของโบร์ และการเกิดเส๎นสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน
รวมทั้งคานวณปรมิ าณตาํ ง ๆ ทเี่ กยี่ วขอ๎ ง

๖. อธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกและคานวณพลังงานโฟตอน พลังงานจลน์ของโฟโตอิเล็กตรอนและ

ฟังกช์ นั งานของโลหะ
๗. อธิบายทวิภาวะของคลน่ื และอนุภาค รวมทั้ง อธบิ ายและคานวณความยาวคล่นื เดอบรอยล์

๘. อธบิ ายกัมมนั ตภาพรงั สีและความแตกตํางของรงั สแี อลฟา บตี าและแกมมา
๙. อธิบายและคานวณ กมั มันตภาพของนิวเคลยี ส กัมมันตรังสี รวมท้ัง ทดลอง อธิบาย และคานวณจานวน

นิวเคลียสกมั มนั ตภาพรงั สีทเี่ หลอื จากการสลาย และครึง่ ชีวิต

๑๐. อธิบายแรงนิวเคลียร์ เสถียรภาพของนิวเคลียส และพลังงานยึดเหน่ียว รวมทั้งคานวณปริมาณตําง ๆ
ทีเ่ ก่ียวข๎อง

๑๑. อธบิ ายปฏกิ ริ ยิ านวิ เคลียร์ ฟชิ ชนั และฟิวชนั รวมทั้งคานวณพลงั งานนิวเคลยี ร์
๑๒. อธิบายประโยชน์ของพลังงานนวิ เคลียร์ และรังสี รวมทงั้ อนั ตรายและการป้องกันรังสใี นดา๎ นตาํ ง ๆ
๑๓. อธิบายการค๎นคว๎าวจิ ยั ดา๎ นฟิสกิ สอ์ นุภาคแบบจาลองมาตรฐาน และการใช๎ประโยชน์จากการค๎นคว๎าวิจัย

ดา๎ นฟสิ กิ สอ์ นุภาคในดา๎ นตําง ๆ
รวมทง้ั หมด ๑๓ ผลการเรยี นรู้

๘๖

คาอธบิ ายรายวชิ า

รหัสวิชา ว ๓๓๒๒๕ วิชาเคมี ๖ ลมุํ สาระการเรียนรว๎ู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ เวลา ๘๐ ชั่วโมง จานวน ๒.๐ หนํวยกิต

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศกึ ษา วิเคราะห์ การเกิดพอลิเมอร์ โครงสร๎างสมบัติของพอลิเมอร์ ประเภทของพลาสติกและ

ผลิตภัณฑย์ าง ศกึ ษาการสังเคราะห์พอลิเมอร์ การเรียนวิทยาศาสตร์ การใช๎ความรท๎ู างเคมีจากสถานการณท์ ่ี

เกดิ ข้นึ ในชวี ิตประจาวนั การประกอบอาชพี หรืออุตสาหกรรม การบูรณการความรว๎ู ชิ าเคมีรํวมกบั สาขาวชิ า

อ่ืนๆ รวมทั้งทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์หรกื ระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม จัดทาผลงานหรือจดั

แสดงช้ินงานทไี่ ด๎จากการแกป๎ ญั หาในสถานการณ์หรือประเดน็ ท่สี นใจโดยใชเ๎ ทคโนโลยสี ารสนเทศ มกี ารเขา๎

รํวมสมั มนา การเข๎ารวํ มประชมุ วชิ าการ หรือการแสดงผลงานสิง่ ประดิษฐใ์ นนทิ รรศการ

โดยใช๎การสืบเสาะหาความร๎ู การสารวจตรวจสอบ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละทกั ษะการ

เรียนร๎ูในศตวรรษท่ี ๒๑ การสบื คน๎ ข๎อมูลและการอภปิ ราย ใช๎กระบวนการคดิ เพ่ือนาไปสกํู ารแก๎ไขปญั หา ใช๎

เทคโนโลยีสารสนเทศและนวตั กรรมทีท่ ันสมยั เปน็ สอื่ ในการเรียนการสอน

เพื่อให๎เกดิ ความรู๎ความคดิ ความเข๎าใจ สามารถสื่อสารสง่ิ ทเ่ี รียนรู๎ มคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจ

การแกป๎ ญั หา การนาความร๎ูไปใช๎ในชวี ิตประจาวนั มจี ติ วทิ ยา จรยิ ธรรม คุณธรรม คาํ นิยมทเี่ หมาะสม

ผลการเรยี นรู้

๑. ระบปุ ระเภทของปฏกิ ริ ยิ าการเกิดพอลิเมอร์จากโครงสร๎างของมอนอเมอรห์ รือพอลเิ มอร์
๒. วเิ คราะหแ์ ละอธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหวาํ งโครงสรา๎ งกับสมบัตขิ องพอลิเมอร์ รวมทงั้ การนาไปใช๎

ประโยชน์
๓. ทดสอบและระบปุ ระเภทของพลาสติกและผลิตภัณฑย์ าง รวมทงั้ การนาไปใช๎ประโยชน์
๔. อธบิ ายผลของการปรบั เปลีย่ นโครงสรา๎ งและการสังเคราะหพ์ อลิเมอร์ท่มี ีตอํ สมบัติของพอลเิ มอร์
๕. สืบค๎นขอ๎ มลู และนาเสนอตวั อยาํ งผลกระทบจากการใช๎และการกาจัดผลิตภณั ฑ์พอลิเมอรแ์ ละ

แนวทางแก๎ไข
๖. กาหนดปัญหาและนาเสนอแนวทางการแก๎ปญั หาโดยใช๎ความรทู๎ างเคมีจากสถานการณท์ เ่ี กิดข้นึ

ในชีวติ ประจาวัน การประกอบอาชพี หรอื อตุ สาหกรรม
๗. แสดงหลกั ฐานถึงการบรู ณาการความรู๎ทางเคมรี วํ มกันกบั สาขาวชิ าอ่นื รวมทั้งทกั ษะกระบวนการ

ทางวิทยาศาสตรห์ รือกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมโดยเนน๎ การคดิ วเิ คราะห์ การแกป๎ ญั หา
และความคดิ สร๎างสรรค์ เพือ่ แกป๎ ญั หาในสถานการณ์หรอื ประเด็นท่ีสนใจ
๘. นาเสนอผลงานหรือชิ้นงานท่ีได๎จากการแก๎ปญั หาในสถานการณ์หรอื ประเด็นทีส่ นใจโดยใช๎
เทคโนโลยีสารสนเทศ
๙. แสดงหลักฐานการเขา๎ รํวมการสัมมนา การเข๎ารํวมประชุมวชิ าการ หรือการแสดงผลงาน
สงิ่ ประดิษฐใ์ นงานนิทรรศการ

รวมทัง้ หมด ๙ ผลการเรียนรู้

๘๗

คาอธิบายรายวชิ า

รหสั วิชา ว ๓๓๒๔๕ วิชา ชีววิทยา ๖ กลํมุ สาระการเรยี นร๎ูวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ เวลา ๖๐ ชัว่ โมง จานวน ๑.๕ หนวํ ยกติ

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

แนวคิดเกีย่ วกบั ระบบนเิ วศ กระบวนการถาํ ยทอดพลงั งานและ การหมนุ เวยี นสารในระบบนิเวศ
ความหลากหลายของไบโอม การเปลีย่ นแปลงแทนที่ ของสง่ิ มชี วี ิตในระบบนเิ วศ ประชากรและรปู แบบการ

เพ่มิ ของประชากร ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ๎ ม ปญั หาและผลกระทบที่เกดิ จากการใชป๎ ระโยชน์ และ
แนวทางการแกไ๎ ขปญั หา โดยใช๎การเรียนรดู๎ ว๎ ยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความร๎ู การ

สารวจตรวจสอบ สามารถนาความรแู๎ ละหลกั การไปใชป๎ ระโยชน์ เชื่อมโยง อธบิ ายปรากฎการณ์ หรอื
แกป๎ ัญหาในชวี ติ ปราจาวัน สามารถจดั กระทาและวเิ คราะห์ข๎อมูล ส่ือสารสง่ิ ที่เรยี นร๎ู มีความสามารในการ
ตัดสินใจแก๎ปัญหา มีจิตวทิ ยาศาสตร์ เห็นคุณคําของวิทยาศาสตร์ มีจรยิ ธรรม คุณธรรมและคาํ นิยมที่

เหมาะสม

ผลการเรียนรู้

๑. วเิ คราะห์ อธิบาย และยกตวั อยาํ งกระบวนการถํายทอดพลังงานในระบบนเิ วศ
๒. อธิบาย ยกตวั อยาํ งการเกิดไบโอแมกนฟิ ิเคชนั และบอกแนวทางในการลดการเกิด
ไบโอแมกนฟิ เิ คชนั

๓. สบื ค๎นข๎อมูล และเขียนแผนภาพ เพือ่ อธบิ ายวัฏจกั รไนโตรเจน วฏั จักรกามะถนั และวัฏจักร
ฟอสฟอรัส

๔. สบื คน๎ ขอ๎ มูล ยกตัวอยาํ ง และอธบิ ายลักษณะของไบโอมทกี่ ระจายอยํตู ามเขตภมู ิศาสตร์ตํางๆ บน
โลก
๕. สืบคน๎ ข๎อมูล ยกตัวอยําง อธบิ าย และเปรยี บเทียบการเปล่ยี นแปลงแทนที่แบบปฐมภมู ิ และการ

เปลย่ี นแปลงแทนท่แี บบทตุ ิยภูมิ
๖. สืบคน๎ ขอ๎ มูล อธิบาย ยกตวั อยําง และสรปุ เกีย่ วกับลกั ษณะเฉพาะของประชากรของส่ิงมชี วี ิตบาง

ชนดิ
๗. สืบคน๎ ข๎อมูล อธิบาย เปรียบเทียบ และยกตวั อยาํ งการเพิ่มของประชากรแบบเอก็ โพเนนเชียล
และการเพม่ิ ของประชากรแบบลอจิสตกิ

๘. อธบิ าย และยกตวั อยํางปจั จยั ที่ควบคุมการเติบโตของประชากร
๙. วิเคราะห์ อภิปราย และสรปุ ปญั หาการขาดแคลนน้า การเกิดมลพษิ ทางน้า และผลกระทบที่มีตํอ

มนุษย์และสิง่ แวดลอ๎ ม รวมทง้ั เสนอแนวทางการวางแผนการจัดการนา้ และการแกไ๎ ขปัญหา
๑๐. วิเคราะห์ อภปิ ราย และสรปุ ปัญหามลพษิ ทางอากาศ และผลกระทบที่มตี ํอมนษุ ย์และ
สง่ิ แวดลอ๎ ม รวมท้ังเสนอแนวทางการแกไ๎ ขปญั หา

๑๑. วเิ คราะห์ อภิปราย และสรปุ ปัญหาท่ีเกดิ กบั ทรพั ยากรดนิ และผลกระทบที่มีตํอมนษุ ยแ์ ละ
ส่งิ แวดลอ๎ ม รวมทัง้ เสนอแนวทางการแกไ๎ ขปญั หา

๑๒. วิเคราะห์ อภิปราย และสรปุ ปญั หา ผลกระทบท่ีเกิดจากการทาลายปา่ ไม๎ รวมท้ังเสนอแนวทาง
ในการปอ้ งกนั การทาลายปา่ ไม๎และการอนุรักษป์ ่าไม๎
๑๓. วิเคราะห์ อภิปราย และสรปุ ปัญหา ผลกระทบทท่ี าให๎สัตว์ปา่ มีจานวนลดลง และแนวทางในการ

อนุรักษส์ ัตวป์ ่า
รวมทง้ั หมด ๑๓ ผลการเรยี นรู้

๘๘

คาอธิบายรายวิชา

รหสั วชิ า ว ๓๓๒๖๕ วชิ าวิทยาศาสตร์ชวี ภาพ กลุมํ สาระการเรียนร๎ูวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๖๐ ชว่ั โมง จานวน ๑.๐ หนวํ ยกิต

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศกึ ษาลกั ษณะทางพันธ์กุ รรมของคน สัตว์ และพืช การทลอง การถาํ ยทอดลักษณะบางประการ
ประวัติ และงานของเมนเดลโครโมโซมของสงิ่ มชี ีวติ การทดลองการจดั เรียงโครโมโซมอยาํ งงําย การแยกตวั

และรวมตัวของยนี และการทดลอง หลักการแบํงตัวของเซลล์รํางกายและเซลล์สบื พันธ์ หลกั การเกิดเพศ ผล
ของความผดิ ปกติบางชนดิ ทีเ่ กิดจากโครโมโซมราํ งกายและโครโมโซมเพศ ลกั ษณะพันธุก์ รรมบางลกั ษณะในคน

หมูํเลอื ด ความสัมพันธ์ทางพันธุ์กรรม และส่งิ แวดลอ๎ มการเกิดการทาลาย และผลกระทบในสิ่งมีชวี ิตบางชนิด
โดยใช๎ สบื เสาะหาความรู๎ การสารวจตรวจสอบ การสงั เกต การสืบค๎นขอ๎ มูล การอภปิ ราย

อธบิ ายสรปุ ผล การใช๎หลักเศรษฐกิจพอเพียงมาประยกุ ต์ใช๎กบั การจดั กจิ กรรมเพือ่ ใหเ๎ กิดความรู๎ ความคิด

ความเข๎าใจ สอื่ สารสง่ิ ทเ่ี รยี นร๎ู มคี วามสามารถในการ ตัดสินใจ สามารถนาไปใช๎ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจาวัน
ของตนเองไดอ๎ ยํางมีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่เหมาะสม

ผลการเรยี นรู้
๑. สบื คน๎ ขอ๎ มูล อภิปรายและอธบิ ายเกย่ี วกบั ลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรมและโครโมโซม

๒. สืบค๎นข๎อมูล อภปิ รายและอธิบายเกี่ยวกบั การถาํ ยทอดลักษณะทางพันธุกรรม การแปรผันทาง
พันธกุ รรม และการเกดิ มิวเทชนั

๓. อธบิ ายผลการคัดเลือกตามธรรมชาติ การคดั เลือกและการปรับปรงุ พนั ธุโ์ ดยมนุษย์
๔. อธบิ ายความสาคัญและยกตัวอยํางการใชเ๎ ทคโนโลยีชีวภาพในการปรับปรุงพันธุ์
๕. สารวจ สบื คน๎ วเิ คราะห์และนาเสนอเก่ียวกับสภาพแวดล๎อมและทรพั ยากรธรรมชาตขิ องทอ๎ งถ่ินของ

ประเทศ และของโลก
๖. สบื ค๎นข๎อมูล และอธิบายความสาคญั ของความหลากหลายของระบบนิเวศและดลุ ยภาพของ

ระบบนเิ วศ
๗. สารวจวิเคราะห์ และอธบิ ายหลกั การของกระบวนการเปล่ยี นแปลงแทนทแี่ ละยกตัวอยาํ งการ
เปลี่ยนแปลงแทนท่ใี นทอ๎ งถ่นิ

๘. สบื คน๎ ข๎อมูล วิเคราะหป์ ัญหา สาเหตขุ องปัญหาในการใช๎ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละนาเสนอวธิ ี
ปอ้ งกนั แก๎ไขปัญหา

รวมทงั้ หมด ๘ ผลการเรียนรู้

๘๙

คาอธบิ ายรายวิชา

รหสั วิชา ว ๓๓๒๘๕ IOT (INTERNET OF THINGS) กลํุมสาระการเรยี นรวู๎ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หนํวยกิต

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศกึ ษาและปฏิบัตเิ กย่ี วกบั ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ การโปรแกรมคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต๎น การคานวณทาง

คณิตศาสตร์และตรรกะ การทางานเป็นลูป หลกั การของวงจรและอุปกรณไ์ ฟฟ้าทส่ี ามารถควบคมุ ด๎วย

คอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมเพอ่ื ควบคมุ เครอื่ งใช๎ไฟฟา้ ในลกั ษณะการปิดเปิด หลกั การของอปุ กรณ์อินพุท/

เอา๎ พุท วงจรตรวจจบั หรือเซนเซอร์ หลกั การด๎านเครือขาํ ยอนิ เทอร์เน็ตและระบบหรอื อปุ กรณท์ ี่เกยี่ วข๎อง

เบือ้ งต๎นเพื่อสรา๎ ง IOT การใช๎โปรแกรมแอพบนสมาร์ทโฟน และคอมพวิ เตอร์เพ่อื ส่ังงาน และการนาไป

ประยุกตใ์ ชง๎ านกับชีวติ ประจาวนั ได๎

ใช๎กระบวนการฝึกปฏิบัติ กระบวนการออกแบบอยํางสร๎างสรรค์ เพ่ือให๎เกิดความสามารถในการคิด

ความสามารถในการแก๎ปัญหา ความสามารถในการเลือกและใช๎เทคโนโลยีด๎านตําง ๆ เพ่ือพัฒนาตนเองและ

สงั คม ตะหนักและเห็นคุณคําของการใฝ่เรียนร๎ู มีความรับผิดชอบ ซ่ือสัตย์ มํุงมันในการทางาน สามารถ

ทางานได๎อยาํ งเป็นระบบระเบยี บ มจี ิตสาธารณะและทางานรํวมกับผูอ๎ ่ืนไดอ๎ ยํางสรา๎ งสรรค์

ผลการเรยี น
๑. ระบบคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวรแ์ ละซอฟตแ์ วร์
๒. ภาษาคอมพิวเตอรแ์ ละโปรแกรมคอมพิวเตอร์
๓. อุปกรณ์อนิ พทุ /เอา๎ พุท และเซ็นเซอร์
๔. วงจรและอุปกรณไ์ ฟฟา้ เบอ้ื งตน๎
๕. การเช่ือมโยงและสอ่ื สารผํานระบบอนิ เตอร์เน็ต
๖. การตดิ ตงั้ แอพพลิเคช่นั และการเช่อื มตอํ เครอื ขาํ ย
๗. ออกแบบสถาปัตยกรรม Internet of Things ได๎
๘. การเขยี นโปรแกรมเพ่ือควบคมุ เครอื่ งใชไ๎ ฟฟา้ ในลักษณะการปิดเปิดได๎
๙. ปฎิบตั ิงาน Internet of Things ได๎
๑๐. สามารถนาความร๎ูทีไ่ ดร๎ บั มาประยกุ ตใ์ ช๎ในงานด๎านตาํ งๆได๎

รวม ๑๐ ผลการเรียน

๙๑

โครงสร้างรายวิชาวทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา ว๒๑๑๐๑
๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๖๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน ๑.๕ หนว่ ยกติ

หน่วยการเรยี นรู้ หน่วยย่อยการเรยี นรู้ จานวนช่วั โมง
๑. สารรอบตัว (๒๓ ช่ัวโมง) ๑.๑ สารและการจาแนกสาร ๔
๑.๒ การเปลยี่ นแปลงของสาร ๔
๒. หน่วยของสง่ิ มชี ีวติ (๑๑ ชว่ั โมง) ๑.๓ สารบริสทุ ธิ์ ๓
๓. การดารงชีวิตของพืช (๒๑ ๑.๔ ธาตุกมั มันตรังสี ๒
ช่วั โมง) ๑.๕ สารประกอบ ๒
๑.๖ สารผสม ๔
๑.๗ สมบัตขิ องสารบรสิ ทุ ธิ์ และสารผสม ๔
๒.๑ เซลล์ของสิง่ มีชวี ิต ๔
๒.๒ เซลล์พชื และเซลล์สตั ว์ ๓
๒.๓ การแพร่ และการออสโมซสิ ๔
๓.๑ การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง ๓
๓.๒ การลาเลียงสารในพชื ๕
๓.๓ การเจริญเติบโตของพชื ๓
๓.๔ การสบื พนั ธแ์ุ บบไมอ่ าศัยเพศของพืช ๒
๓.๕ การสืบพันธุ์แบบอาศยั เพศของพชื ๕
๓.๖ เทคโนโลยีชีวภาพของพืช ๓
รวม ๕๕

หมายเหตุ ๑ ชั่วโมง
๒ ชั่วโมง
๑. ปฐมนิเทศ และทาแบบทดสอบก่อนเรียน ๒ ชั่วโมง
๒. สอบกลางภาคเรียน
๓. สอบปลายภาคเรียน

รวมเวลาทง้ั หมด ๖๐ ชวั่ โมง

๙๒

ตวั ชี้วัด รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา ว๒๑๑๐๑

คะแนนทปี่ ระเมิน

้ขอที่
คะแนน ่กอนกลางภาค
คะแนนสอบกลางภาค
คะแนนหลังกลางภาค
คุณ ัลกษณะที่พึงประสง ์ค
คะแนนสอบปลายภาค
รวมคะแนนทั้งหมด
ผลการเรียนรูท้ ี่คาดหวงั รายวชิ า

๑ ทดลองและจาแนกสารเปน็ กลุม่ โดยใชเ้ นอื้ สารเป็นเกณฑ์ ๒๒ - - ๑๕

๒ อธิบายสมบตั แิ ละการเปล่ียนสถานะของสาร ๒๓ - - ๑๖

๓ ทดลองและอธิบายสมบัติความเป็นกรด เบส ของสารละลาย ๒ ๓ - - ๑ ๖

๔ ตรวจสอบค่า pH ของสารละลายและนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ๒ ๑ - - ๑ ๔

๕ ทดลองและอธิบายวิธีเตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้นเป็น ๓ ๒ - - ๑๖
รอ้ ยละ และอภิปรายการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

๖ ทดลองและอธบิ ายปจั จยั ทม่ี ผี ลตอ่ การเปล่ียนสถานะ และการ ๒ ๒ - - ๒๖
ละลายของสาร

๗ สงั เกตและอธบิ ายรปู ร่าง ลกั ษณะของเซลลส์ ่ิงมชี ีวติ เซลลเ์ ดยี ว ๒ ๒ - - ๑๕
และเซลล์ส่งิ มชี ีวติ หลายเซลล์

๘ เปรียบเทียบและอธิบายหน้าท่ีส่วนประกอบสาคัญของเซลล์ ๓ ๓ - - ๒๘
พชื และเซลลส์ ตั ว์

๙ ทดลองและอธิบายกระบวนการสารผ่านเซลลโ์ ดยการแพร่และ ๒ ๒ - - ๑๕
ออสโมซิส

๑๐ ทดลองและอธบิ ายผลท่ีได้จากการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพืช - - ๓ - ๒ ๕

๑๑ อธิบายความสาคัญของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของ - - ๒ - ๒๔
พชื ตอ่ สง่ิ มีชีวิต และส่งิ แวดล้อม

๑๒ ทดลองและอธบิ ายกลุม่ เซลล์ทีเ่ กย่ี วกบั การลาเลียงน้าของพชื - - ๓ - ๓ ๖

๑๓ สังเกตและอธิบายโครงสร้างท่ีเกี่ยวกับระบบลาเลียงน้าและ - - ๒ - ๒๔
อาหารของพชื

๑๔ ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกท่ีเกี่ยวข้องกับการสืบ - - ๓ - ๓๖
พันธ์ุของพืช

๑๕ อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก และ - - ๒ - ๒๔
การสบื พันธุ์แบบไมอ่ าศยั เพศของพชื โดยใช้ส่วนต่างๆ

๑๖ อธิบายการตอบสนองของพชื ต่อแสง นา้ และการสัมผสั - - ๓ - ๓๖

๑๗ อธิบายหลักการ และผลของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการ - - ๒ - ๒๔
ขยายพนั ธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ เพม่ิ ผลผลติ ของพืช

๑๘ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - - - ๑๐ - ๑๐

รวม ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๑๐ ๓๐ ๑๐๐

๙๓

โครงสรา้ งรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ รหสั วิชา ว๒๑๑๐๒
๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ ๖๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน ๑.๕ หน่วยกติ

หนว่ ยการเรียนรู้ หน่วยยอ่ ยการเรียนรู้ จานวนช่วั โมง
๑. พลังงานความรอ้ น (๒๐ ชวั่ โมง) ๑.๑ อุณหภมู ิ และการวดั ๔
๑.๒ ผลของความร้อนตอ่ การหดตัว และขยายตัว ๓
๒. บรรยากาศ ๑ (๒๑ ชั่วโมง)
ของสาร ๔
๓. บรรยากาศ ๒ (๑๔ ชว่ั โมง) ๑.๓ ผลของความร้อนตอ่ การเปลย่ี นแปลง
อณุ หภมู ิ และสถานะของสาร ๒
๑.๔ สมดุลความรอ้ น ๓
๑.๕ การนาความร้อน ๒
๑.๖ การพาความร้อน ๒
๑.๗ การแผ่รงั สีความร้อน ๓
๒.๑ องคป์ ระกอบของบรรยากาศ ๓
๒.๒ การแบง่ ช้นั บรรยากาศ ๒
๒.๓ องค์ประกอบของลม ฟา้ อากาศ ๓
๒.๔ อุณหภมู ิของอากาศ ๒
๒.๕ ความดนั อากาศ ๓
๒.๖ ความชื้นอากาศ ๒
๒.๗ ลม ๓
๒.๘ เมฆและฝน ๓
๓.๑ พายฝุ นฟ้าคะนอง ๓
๓.๒ พายุหมนุ เขตร้อน ๓
๓.๓ เกณฑ์รายงานพยากรณอ์ ากาศ ๒
๓.๔ แผนที่อากาศ ๓
๓.๕ การเปลีย่ นแปลงอณุ หภูมขิ องโลก ๕๕

รวม

หมายเหตุ ๑ ชวั่ โมง
๑. ปฐมนิเทศ และทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น ๒ ชว่ั โมง
๒. สอบกลางภาคเรยี น ๒ ชว่ั โมง
๓. สอบปลายภาคเรียน

รวมเวลาทัง้ หมด ๖๐ ชวั่ โมง

๙๔

ตัวชวี้ ดั รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ รหสั วิชา ว๒๑๑๐๒

คะแนนทปี่ ระเมิน

้ขอที่
คะแนน ่กอนกลางภาค
คะแนนสอบกลางภาค
คะแนนหลังกลางภาค
ุคณ ัลกษณะที่พึงประสง ์ค
คะแนนสอบปลายภาค
รวมคะแนนทั้งหมด
ผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวังรายวชิ า

๑ คานวณปริมาณความร้อนท่ีทาให้สสารเปล่ียนอุณหภูมิและ ๕ ๕ - - ๒ ๑๒
เปล่ียนสถานะโดยใชส้ มการ Q = mc t และ Q = mL

๒ ใชเ้ ทอรม์ อมิเตอรใ์ นการวดั อุณหภูมขิ องสสาร ๓๒ - - ๑๖

๓ อธิบายและตระหนักถึงประโยชน์ของการขยายตัวหรือหดตัว ๓ ๓ - - ๑๗
ของสสารเน่อื งจากได้รับหรอื สญู เสียความร้อน

๔ คานวณปริมาณความรอ้ นที่ถ่ายโอนระหว่างสสารจนเกดิ สมดุล ๔ ๓ - - ๑๘
ความร้อนโดยใช้ สมการ Q สญู เสีย = Q ไดร้ ับ

๕ อธบิ ายการถา่ ยโอนความรอ้ นโดยการนาความร้อน การพา ๓๔ - - ๑๘
ความร้อน และการแผ่รงั สคี วามรอ้ น

๖ เลือกใชแ้ ละสรา้ งอุปกรณ์เพอ่ื แก้ปัญหาในชีวติ ประจาวนั โดยใช้ ๒ ๓ - - ๑๖
ความรเู้ ก่ยี วกับการถา่ ยโอนความร้อน

๗ อธบิ ายการแบ่งช้นั บรรยากาศ และเปรยี บเทียบประโยชน์ของ - - ๓ - ๓๖
บรรยากาศแตล่ ะช้ัน

๘ อธิบายปัจจัยท่ีมีผลต่อการเปล่ียนแปลงองค์ประกอบของลม - - ๔ - ๔๘
ฟ้าอากาศ

๙ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความดันอากาศกับความสูงจาก - - ๓ - ๓๖
พื้นโลก

๑๐ เปรียบเทียบกระบวนการเกิดพายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมุน - - ๓ - ๔๗
เขตรอ้ น และผลท่มี ตี ่อสิง่ มชี วี ติ

๑๑ อธบิ ายการพยากรณอ์ ากาศจากข้อมลู ทรี่ วบรวมได้ และการใช้ - - ๓ - ๓๖
ประโยชน์จากคาพยากรณ์อากาศ

๑๒ อธิบายสถานการณ์ ผลกระทบการเปล่ยี นแปลงภมู ิอากาศโลก - - ๒ - ๓ ๕

๑๓ ตระหนักถึงผลกระทบของการเปล่ียนแปลงภูมอิ ากาศโลกโดย - - ๒ - ๓๕
เสนอแนวทางการปฏบิ ตั ิตน

๑๔ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - - - ๑๐ - ๑๐

รวม ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๑๐ ๓๐ ๑๐


๙๕

โครงสร้างรายวชิ าวทิ ยาการคานวณและการออกแบบ๑ รหัสวชิ า ว๒๑๑๘๑
๓ ชวั่ โมง/สัปดาห์ ๖๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน ๑.๕ หน่วยกติ

ลาดบั ชือ่ หน่วยการเรียน สาระสาคญั เวลา
ท่ี (ช่วั โมง)

๑ เทคโนโลยรี อบตวั ความหมายของเทคโนโลยี ๖

ประโยชน์ของเทคโนโลยี

๒ การเปลย่ี นแปลงของ การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี ๖

เทคโนโลยี การวเิ คราะห์การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี

๓ ระบบทางเทคโนโลยี ระบบทางเทคโนโลยี ๖

๔ การใช้เมนูและแถบเครื่องมอื แถบเมนูเป็นที่เกบ็ คาส่งั ท้ังหมดของโปรแกรม การ ๘
ทางโปรแกรมmicrosoft เรียกใชง้ านแถบเมนทู าไดโ้ ดยการเล่ือนเมาส์มาว่าง
office ทีช่ ่ือเมนทู ต่ี ้องการเปิด แล้วเลื่อนเมาสไ์ ปตาม

รายการคาสงั่ เมอ่ื ต้องการใช้ คาส่ังใด ๆ กใ็ ห้คลิก

เมาสท์ ่ีคาสั่งน้ัน โปรแกรมก็จะทาการเรยี กใช้งาน

คาส่งั นั้น ๆ ถ้าคาสง่ั น้นั มเี มนยู ่อย ๆ โปรแกรมกจ็ ะ

แสดงรายการคาส่ังยอ่ ย ๆ ออกมาให้เลอื กต่อไป

โปรแกรมบางรนุ่ จะมีแถบเมนคู ลา้ ย ๆ กนั คือ แฟ้ม,

หนา้ แรก, แทรก, เคา้ โครงหน้ากระดาษ, การอ้างอิง,

การสง่ จดหมาย, ตรวจทาน, มุมอง, รปู แบบ,วิธีใช้

แต่ละเมนมู ีคาสง่ั การใชง้ านแตกตา่ งกนั ออกไป

๕ โปรแกรม microsoft office สรา้ งเอกสารแบบมืออาชพี อย่างมปี ระสิทธิภาพและ ๑๔
- Microsoft word
ประหยัด เชน่ เหมาะกับงานดา้ นการพิมพ์เอกสาร
- Microsoft powerpoint ทกุ ชนิด สามารถพิมพเ์ อกสารออกมาเปน็ ชุด ๆ ซ่ึง
- Microsoft excel
เอกสารอาจเป็นจดหมาย บนั ทึกขอ้ ความ รายงาน

บทความ ประวัตยิ อ่ และยังสามารถตรวจสอบ

ทบทวน แกไ้ ข ปรับปรงุ ความถกู ต้องในการพิมพ์

เอกสารไดอ้ ยา่ งงา่ ยดาย สามารถตรวจสอบ สะกดคา

และหลกั ไวยากรณ์ เพ่ิมตาราง เพิม่ กราฟิก ใน

เอกสารได้

๙๖

ผลการเรียนรู้ วิชาวิทยาการคานวณและการออกแบบ๑ ว๒๑๑๘๑
ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๑

คะแนนระหวา่ งภาค : ปลายภาค ๘๐ : ๒๐ (๔๐ ชวั่ โมง) จานวน ๑ หน่วยกิต

คะแนนทป่ี ระเมิน

ข้อที่ รวม
ัวดผล ่กอนกลางภาค
ัวดผลกลางภาค
ัวดผลห ัลงกลางภาค
ัวดผลปลายภาค
ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้รายวิชา

๑ สามารถอธบิ ายความหมายของเทคโนโลยี ๕๕ ๑๐

๒ สามารถการวเิ คราะหก์ ารเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี ๕ ๕ ๑๐

๓ สามารถอธบิ ายความหมายระบบทางเทคโนโลยี ๕๕ ๑๐

๔ มคี วามรู้ความเข้าใจด้านการใชโ้ ปรแกรม Microsoft ๕๕ ๕ ๑๕
office

๕ สามารถอธบิ ายกเคร่ืองมอื การใช้งานทางโปรแกรม ๕ ๕ ๕ ๑๕
Microsoft office

๖ สามารถสร้างเอกสาร รายงาน ดว้ ยโปรแกรม ๕ ๕ ๑๐
Microsoft word ได้

๗ สามารถนาเสนอผลงาน ดว้ ยโปรแกรม Microsoft ๕ ๕ ๑๐
Power point ได้

๘ สามารถใชส้ ูตรคานวณด้วยโปรแกรม Microsoft Excel ๕ ๕ ๑๐
ได้

๙ คะแนนคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๑๐

รวม ๒๕ ๒๐ ๒๕ ๒๐ ๑๐๐

๙๗

โครงสร้างรายวชิ า คอมพิวเตอร์ ๑ รหสั วิชา ว๒๑๒๘๑

ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒

ลาดบั ชื่อหน่วยการเรียน สาระสาคัญ เวลา
ท่ี (ชั่วโมง)

๑ แนวคดิ เชิงนามธรรม - แนวคดิ เชงิ นามธรรม ๖

- การคัดเลอื กคุณลักษณะที่จาเปน็ ต่อการแกป้ ญั หา ๘

-การถา่ ยทอดรายละเอียดของปญั หาและการ ๑๒

แก้ปัญหา ๘

๒ การแกป้ ัญหา - ข้ันตอนของการแกป้ ัญหา

-การเขียนรหสั จาลองและผังงาน

-การกาหนดค่าใหต้ วั แปร

-ภาษาโปแกรม

๓ การเขยี นโปรแกรมด้วย - การทางานแบบวนซ้า

ภาษา scratch -ตวั แปร

-การทางานแบบมที างเลอื ก

-คาสงั่ วนซา้ แบบมีเงอ่ื นไข

๔ ขอ้ มูลและการประมวลผล -ขอ้ มลู

- การรวบรวมข้อมูล

-การประมวลผลขอ้ มูล

- การสรา้ งทางเลือกเพือ่ ตดั สนิ ใจ

- ซอฟตแ์ วร์จดั การข้อมูล

๕ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ - ภัยคุกคามจากการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการ ๖

อย่างปลอดภยั ปอ้ งกัน

- การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

๙๘

ผลการเรยี นรู้ วิชา คอมพวิ เตอร์ ๑
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๒
คะแนนระหวา่ งภาค:ปลายภาค ๘๐:๒๐ (๔๐ ชวั่ โมง) จานวน ๑ หน่วยกิต

คะแนนทีป่ ระเมนิ

ขอ้ ท่ี ผลการเรียนรู้ ัวดผล ่กอนกลางภาค
สอบกลางภาค

ราย ้ขอหลังกลางภาค
ุคณลักษณะท่ีพึงประสง ์ค

สอบปลายภาค
รวมคะแนนทั้งหมด

๑ การเขยี นอัลกอรทิ มึ ๕๔ - - - ๙
๒ อธบิ ายการเขยี นโปรแกรมเบื้องตน้ ๕๔ - - - ๙
๓ อธิบายซอฟต์แวรท์ ่ใี ช้เขยี นโปรแกรมได้ ๕๔ - - - ๙
๔ สามารถอธบิ ายลกั ษณะขอ้ มูลกับสารสนเทศได้ ๕๔ - - - ๙
๕ สามารถอธิบายข้ันตอนการประมวลผลขอ้ มูล ๕๔ - - - ๙

สารสนเทศได้ - -๕-๔ ๙
๖ สามารถอธิบายวิธกี ารปอ้ งกันการใช้เทคโนโลยี
- -๕-๔ ๙
สารสนเทศได้อย่างถูกตอ้ ง
๗ สามารถอธิบายการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ ง - - ๕ - ๘ ๑๓

ปลอดภยั ๑๐ ๔ ๑๔
๘ มคี วามรูค้ วามเข้าใจในการใชง้ านโปรแกรมภาษา
-- ๑๐ - ๑๐
scratch
๙ สามารถใชง้ านโปรแกรมภาษา scratch ได้ ๒๕ ๒๐ ๒๕ ๑๐ ๒๐ ๑๐๐
๑๑ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

คะแนนรวม


Click to View FlipBook Version