The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กฤติยา พลหาญ, 2022-05-15 11:50:54

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม

๑๙๙

คะแนนทีป่ ระเมิน

ข้อท่ี ผลการเรียนรู้ คะแนน ่กอนกลางภาค
คะแนนสอบกลางภาค
คะแนนหลังกลางภาค
คุณลักษณะท่ีพึงประสง ์ค
คะแนนสอบปลายภาค
รวมคะแนนท้ังหมด

๑๐ อธบิ ายแรงนิวเคลยี ร์ เสถยี รภาพของ นิวเคลียส และ

พลังงานยึดเหนยี่ ว รวมทงั้ คานวณปรมิ าณต่าง ๆ ท่ี - - ๔ - ๖ ๑๐

เกย่ี วขอ้ ง

๑๑ อธิบายปฏิกริ ิยานวิ เคลยี ร์ ฟชิ ชัน และ ฟวิ ชัน รวมทง้ั - - ๔ - ๖ ๑๐
คานวณพลังงานนิวเคลยี ร์

๑๒ อธบิ ายประโยชน์ของพลงั งานนิวเคลยี รแ์ ละรงั สี ๒ ๖๘
รวมทั้ง อนั ตรายและการป้องกัน รงั สีในด้านต่าง ๆ

๑๓ อธบิ ายการคน้ ควา้ วจิ ยั ด้านฟิสิกส์ อนุภาคแบบจาลอง

มาตรฐาน และการใช้ ประโยชนจ์ ากการค้นคว้าวจิ ัย - - ๒ - ๖ ๘

ด้านฟิสิกส์ อนภุ าคในดา้ นต่าง ๆ

๑๔ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ - - - ๑๐ - ๑๐

รวม ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๑๐ ๓๐ ๑๐๐

๒๐๐

โครงสรา้ งรายวชิ าเคมี๖ รหสั วชิ า ว๓๓๒๒๕
๔ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ ๘๐ ชว่ั โมง/ภาคเรียน ๒.๐ หน่วยกติ

หน่วยการเรียนรู้ หน่วยยอ่ ยการเรียนรู้ จานวนช่วั โมง

๑. พอลเิ มอร์ ๑. ปฏกิ ริ ิยาการเกดิ พอลิเมอร์ ๑๒
( ๑๒ ชั่วโมง) ๒. โครงสรา้ งและสมบัติของพอลเิ มอร์ ๔๐
๓. ผลิตภัณฑจ์ ากพอลิเมอร์
๒. การบรู ณาการความรู้ ๔. ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์
ทางเคมีรว่ มกบั สาขา วิชา พอลิเมอร์สงั เคราะห์
อืน่ โดยใช้หลัก STEM
( ๔๐ ชัว่ โมง) ๑. กาหนดปญั หาและนาเสนอแนวทางการ
แกป้ ญั หาโดยใช้ความรทู้ างเคมีในการแกป้ ัญหา
๒. การบรู ณาการความรทู้ างเคมีร่วมกับสาขา
วิชาอ่นื โดย หลัก STEM

๓. การนาเสนอผลงานหรือ ๑. วิธีการและรูปแบบการนาเสนอผลงานหรอื ๑๘
ชิน้ งาน โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ๘๐
ชิ้นงาน ๒. รูปแบบของงานวชิ าการประเภทต่างๆ (งาน
( ๑๘ ชัว่ โมง ) นิทรรศการ การสัมมนา การประชุมวิชาการ)
๓. การแลกเปลย่ี นและ แสดงความคดิ เห็น

รวม

๒๐๑

ตัวชว้ี ัด/ผลการเรียนรู้ รายวิชาเคมี๖ รหสั วิชา ว๓๓๒๒๕
คะแนนทป่ี ระเมนิ

ข้อที่ ตัวชวี้ ัด/ผลการเรยี นรู้ ราย ้ขอ ่กอนกลาง
สอบกภลาาคงภาค
รายข้อหลังกลาง
สอบปภลาาคยภาค
รวมคะแนนทั้งหมด

๑ ระบุประเภทของปฏิกิริยาการเกิดพอลเิ มอร์ ๒๓ ๕

จากโครงสร้างของมอนอเมอรห์ รอื พอลิเมอร์

๒ วิเคราะหแ์ ละอธิบายความสมั พันธ์ระหว่างโครงสรา้ ง ๔ ๔ ๘

กับสมบัตขิ องพอลิเมอร์ รวมทง้ั การนาไปใชป้ ระโยชน์

๓ ทดสอบและระบุประเภทของพลาสตกิ และผลิตภัณฑ์ ๓ ๔ ๗

ยาง รวมทั้งการนาไปใช้ประโยชน์

๔ อธิบายผลของการปรับเปลี่ยนโครงสรา้ งและ ๔๓ ๗

การสงั เคราะหพ์ อลิเมอร์ทีม่ ตี ่อสมบตั ขิ องพอลิเมอร์

๕ สบื ค้นขอ้ มูลและนาเสนอตัวอยา่ งผลกระทบจากการ ๒ ๓ ๕

ใชแ้ ละการกาจัดผลติ ภณั ฑ์พอลิเมอรแ์ ละ

แนวทางแกไ้ ข

๖ กาหนดปญั หาและนาเสนอแนวทางการแกป้ ัญหาโดย ๕ ๓ ๕ ๑๓

ใชค้ วามรู้ทางเคมจี ากสถานการณ์ที่เกดิ ขึน้ ใน

ชวี ติ ประจาวนั การประกอบอาชพี หรอื อุตสาหกรรม

๗ แสดงหลกั ฐานถึงการบูรณาการความรทู้ างเคมรี ่วมกัน ๕ ๕ ๑๐

กับสาขาวิชาอ่นื รวมท้งั ทกั ษะกระบวนการทาง

วิทยาศาสตรห์ รือกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม

โดยเนน้ การคดิ วิเคราะห์ การแกป้ ญั หาและความคดิ

สร้างสรรค์ เพ่อื แก้ปัญหาในสถานการณห์ รอื ประเด็น

ทส่ี นใจ

๘ นาเสนอผลงานหรอื ชิ้นงานท่ีได้จากการแกป้ ญั หาใน ๑๐ ๑๐ ๒๐

สถานการณ์หรอื ประเดน็ ท่สี นใจโดยใช้เทคโนโลยี

สารสนเทศ

๙ แสดงหลักฐานการเขา้ ร่วมการสมั มนา การเข้าร่วม ๕ ๑๐ ๑๕

ประชมุ วชิ าการหรือการแสดงผลงานส่งิ ประดษิ ฐใ์ น

งานนิทรรศการ

๑๐ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๑๐

รวม ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๓๐ ๑๐



๒๐๒

โครงสรา้ งรายวิชาชีววิทยา๖ รหสั วชิ า ว๓๓๒๔๕
๓ ชว่ั โมง/สัปดาห์ ๖๐ ชว่ั โมง/ภาคเรยี น ๑.๕ หนว่ ยกิต

หนว่ ยการเรียนรู้ หน่วยย่อยการเรียนรู้ จานวนชัว่ โมง
๑การรกั ษาดลุ ยภาพของเซลล์ . ๑.๑ โครงสรา้ งของเซลล์ ๒
)๔ ชัว่ โมง) ๑.๒ การลาเลียงของสารผ่านเซลล์ ๒
๒ .การรักษาดุลยภาพของ ๒.๑ การรักษาดุลยภาพของร่างกาย ๕
๒.๒ การรกั ษาดลุ ยภาพของพชื ๓
สง่ิ มีชีวติ ๒.๓ การรกั ษาดลุ ยภาพของสัตว์ ๓
) ๑๙ ชวั่ โมง) ๒.๔ การรกั ษาดุลยภาพในรา่ งกายมนุษย์ ๕
๒.๕ การสร้างภมู ิคมุ้ กนั ๓
๓ การถ่ายทอดลกั ษณะทาง . ๓.๑ ลักษณะทางพนั ธกุ รรม ๓
พันธกุ รรม ๓.๒ ทฤษฎกี ารถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรมของ ๕
) ๒๘ ชั่วโมง)
เมนเดล ๓
๔เทคโนโลยีชีวภาพ . ๓.๓ โครงสรา้ งของยนี และสารพันธุกรรม ๓
) ๙ ช่ัวโมง ) ๒
๓.๔ การแบง่ เซลล์ ๕

๓.๕ โครโมโซม : ตวั กาหนดชนดิ ของสงิ่ มชี วี ติ ๕

๓.๖ โครโมโซมและการถา่ ยทอดลกั ษณะทาง
พนั ธกุ รรม ๓
๓.๗ การถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรมในมนุษย์ ๓

๓.๘ อิทธพิ ลของพนั ธกุ รรมและส่งิ แวดล้อมมีผลต่อ ๖๐
ลักษณะขอส่ิงมีชวี ติ

๓.๙ การเปล่ียนแปลงทางพนั ธกุ รรม

๔.๑ เทคโนโลยีชวี ภาพ

๔.๒ ผลของเทคโนโลยชี วี ภาพ

รวม

๒๐๓

ตวั ช้ีวัด/ผลการเรยี นรู้
รายวชิ าชีววทิ ยา๖ รหสั วชิ า ว๓๓๒๔๕

คะแนนทปี่ ระเมิน

้ขอที่
ราย ้ขอ ่กอนกลางภาค
สอบกลางภาค
ราย ้ขอหลังกลางภาค
สอบปลายภาค
รวมคะแนนทั้งหมด
ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรียนรู้

๑ อธบิ ายความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ ๓ ๓ - - ๖

และเสนอแนวทางในการดูแลรักษา

๒ อภปิ รายแนวทางในการปอ้ งกันแกไ้ ขปญั หาส่ิงแวดล้อม ๓ ๓ - - ๖

และทรพั ยากรธรรมชาติ

๓ วางแผนและดาเนินการเฝา้ ระวัง อนรุ กั ษ์ และ พฒั นา ๓ ๓ - - ๖

สิ่งแวดล้อมและทรพั ยากรธรรมชาติ

๔ อธิบายโครงสรา้ งและหน้าทข่ี ององค์ประกอบของเซลล์ ๓ ๓ - - ๖

ทศ่ี กึ ษาดว้ ยกล้องจุลทรรศน์อเิ ลก็ ตรอน

๕ อธบิ ายหลักการและวิธีการลาเลยี งสารผ่านเซลล์ ๒ ๒- - ๔

๖ อธบิ ายกลไกในการรักษาดลุ ยภาพของพชื สัตว์และ ๓ ๓ - - ๖

มนุษย์

๗ อธิบายกลไกการสรา้ งภูมคิ ้มุ กนั และการกาจัดเชือ้ โรค ๓ ๓ - - ๖

หรือส่งิ แปลกปลอมของร่างกาย

๘ สืบคน้ ข้อมลู อภิปรายและอธิบายเกยี่ วกบั สารพันธกุ รรม - - ๓ ๗ ๑๐

โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพนั ธกุ รรม

๙ สืบคน้ ข้อมลู อภปิ รายและอธบิ ายเก่ยี วกบั ลักษณะทาง - - ๔ ๖ ๑๐

พนั ธกุ รรม ความแปรผนั ทางพนั ธกุ รรม การเกดิ มวิ เทชัน

๑๐ อธิบายผลการคัดเลอื กโดยธรรมชาติและ การคดั เลอื ก - - ๔ ๖ ๑๐

ปรบั ปรุงพันธ์ โดยมนุษย์

๑๑ ศึกษาและอธบิ ายความสาคัญและยกตวั อยา่ งการใช้ - - ๔ ๖ ๑๐

เทคโนโลยีชีวภาพในการคัดเลอื กปรับปรุงพนั ธ์

๑๒ สืบค้นขอ้ มลู อภิปรายและนาเสนอเก่ียวกับความ - - ๕ ๕ ๑๐

หลากหลายทางชวี ภาพในท้องถน่ิ และการอนรุ กั ษ์

๑๓ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ - - - - ๑๐

รวม ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๓๐ ๑๐๐

๒๐๔

โครงสรา้ งรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ รหสั วิชา ว ๓๓๒๖๕
๒ ช่วั โมง/สัปดาห์ ๔๐ ช่ัวโมง/ภาคเรยี น ๑.๐ หนว่ ยกติ

ท่ี ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ สาระสาคญั เวลา
(ช่วั โมง)
๑ สง่ิ มชี ีวิตในส่งิ แวดล้อม ๑.๑ ความหลากหลายของระบบนเิ วศ
( ๘ ชั่วโมง ) ๑.๒ การเปลย่ี นแปลงของระบบนิเวศ ๒
๑.๓ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม ๔
๒. องค์ประกอบของส่งิ มีชีวติ ๒.๑ เซลลข์ องสิ่งมีชวี ิต ๕
( ๖ ชัว่ โมง ) ๒.๒ การลาเลยี งสารผ่านเซลล์
๓.๑ การรกั ษาดุลยภาพของร่างกายมนุษย์ ๒
๓ การดารงชีวติ ของมนษุ ย์ ๓.๒ ระบบภมู ิคมุ้ กนั ของมนุษย์ ๔
( ๘ ชั่วโมง ) ๔.๑ การสร้างอาหารของพชื
๔.๒ การเจริญเติบโตของพชื ๔
๔ การดารงชวี ิตของพชื ๔.๓ การตอบสนองต่อสิง่ เร้าของพืช ๔
( ๘ ชว่ั โมง ) ๕.๑ การถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม
๕.๒ การเปลย่ี นแปลงทางพนั ธกุ รรม ๒
๕ พันธกุ รรม ๕.๓ เทคโนโลยีทาง DNA ๔
( ๑๐ ชัว่ โมง ) ๒
รวม




๔๐

๒๐๕

ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู้
รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ รหสั วชิ า ว๓๓๒๖๕

คะแนนทีป่ ระเมนิ

ข้อ ตวั ชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้ ราย ้ขอ ่กอน
ท่ี กสลอาบงกลางภาค
ราย ้ขอห ัลงกลาง
สภาอคบปลายภาค
รวมคะแนน

๑. สืบคน้ ข้อมลู อภิปรายและอธิบายเกย่ี วกับลกั ษณะทางพันธุกรรม ๔ ๓ - ๓ ๑๐
สารพันธุกรรมและโครโมโซม

๒ สืบค้นข้อมูล อภิปรายและอธิบายเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะ ๔ ๓ - ๓ ๑๐
ทางพันธุกรรม การแปรผนั ทางพนั ธุกรรม และการเกดิ มิวเทชนั

๓ อธิบายผลการคัดเลือกตามธรรมชาติ การคัดเลือกและการ ๔ ๓ - ๓ ๑๐
ปรบั ปรุงพนั ธโุ์ ดยมนุษย์

๔ อธิบายความสาคัญและยกตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีชีวภาพใน ๔ ๓ - ๓ ๑๐
การปรบั ปรงุ พนั ธ์ุ

๕ สารวจ สืบค้น วิเคราะห์และนาเสนอเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม ๔ ๓ ๕ ๒ ๑๔
และทรัพยากรธรรมชาตขิ องทอ้ งถิ่นของประเทศ และของโลก

๖ สืบคน้ ขอ้ มูล และอธิบายความสาคัญของความหลากหลายของ ๕ ๕ ๔ ๑๔

ระบบนิเวศและดลุ ยภาพของ

ระบบนเิ วศ

๗ สารวจวิเคราะห์ และอธิบายหลักการของกระบวนการ ๕ ๖ ๑๑

เปลี่ยนแปลง แทนท่ีและยกตัวอย่างก ารเปล่ียนแปลง แทนท่ีใน

ทอ้ งถ่ิน

๘ สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ปัญหา สาเหตุของปัญหาในการใช้ ๕ ๖ ๑๑

ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละนาเสนอวธิ ี

ปอ้ งกนั แกไ้ ขปัญหา

๙ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ - - - - ๑๐

รวม ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๓๐ ๑๐๐

๒๐๖

ตวั ชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้
รายวชิ า IOT(Internet of Things) รหสั วิชา ว๓๓๒๔๕

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ ภาคเรียนท่ี ๒
คะแนนระหวา่ งภาค:ปลายภาค ๘๐:๒๐ (๔๐ ชว่ั โมง) จานวน ๑ หน่วยกิต

คะแนนทป่ี ระเมิน

ตัวชีว้ ดั /ผลการเรยี นร้รู ายวชิ า
ข้อ ่ีท
วัดผลก่อนกลางภาค
ัวดผลกลางภาค
ัวดผลหลังกลางฯ
ุคภาณคลักษณะ ฯ
วัดผลปลายภาค

รวม

๑ ระบบคอมพวิ เตอร์ฮารด์ แวรแ์ ละซอฟตแ์ วร์ ๕๕ ๑๐ ๒๐

๒ ภาษาคอมพวิ เตอรแ์ ละโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ๕๕ ๑๐

๓ อปุ กรณ์อนิ พทุ /เอ้าพทุ และเซน็ เซอร์ ๕๕ ๑๐

๔ วงจรและอปุ กรณไ์ ฟฟา้ เบือ้ งตน้ ๕๕ ๑๐

๕ การเชือ่ มโยงและส่ือสารผ่านระบบอนิ เตอรเ์ น็ต ๕ ๕

๖ การติดตง้ั แอพพลเิ คชัน่ และการเช่ือมตอ่ เครือข่าย ๕ ๑๐ ๑๕

๗ ออกแบบสถาปัตยกรรม Internet of Things ได้ ๕๕

๘ การเขียนโปรแกรมเพ่อื ควบคุมเครอื่ งใช้ไฟฟ้าใน ๕๕
ลกั ษณะการปดิ เปิดได้

๙ ปฏบิ ัติงาน Internet of Things ได้ ๕๕

๑๐ สามารถนาความรู้ท่ีได้รับมาประยกุ ตใ์ ช้ในงานด้าน ๕๕
ตา่ งๆได้

รวม ๒๕ ๒๐ ๒๕ ๑๐ ๒๐ ๑๐๐

หมายเหตุ คะแนนคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ๑๐ คะแนน ประกอบดว้ ย
ตรงตอ่ เวลา, ระเบียบวินัย, ความรับผดิ ชอบ, ความขยนั ม่นั เพยี ร, ทางานเป็นทีม

๒๐๗

เกณฑก์ ารจบการศึกษา
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กาหนดเกณฑ์สาหรบั การจบการศึกษา

ดงั นี้

เกณฑก์ ารจบระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
(๑) ผเู้ รียนตอ้ งเรียนรายวิชาพนื้ ฐาน จานวน ๒,๖๔๐ ช่วั โมง (๖๖ หนว่ ยกติ ) และรายวิชาเพ่ิมเติมไม่น้อย

กว่า ๖๐๐ ชั่วโมง (๑๕ หน่วยกติ )
(๒) ผู้เรียนตอ้ งมีผลการประเมนิ รายวิชาพื้นฐานในระดับ ๑ ขน้ึ ไปทกุ รายวชิ า
(๓) ผเู้ รยี นตอ้ งมผี ลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี นผ่านเกณฑ์การประเมิน

ในระดับ “ผ่าน” ขน้ึ ไปทุกดา้ น
(๔) ผเู้ รยี นมผี ลการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคใ์ นระดับ ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ในระดับ “ผา่ น” ขึ้นไปทกุ ด้าน
(๕) ผู้เรี ยน ต้อง เข้าร่ว มกิจกร รมพั ฒน าผู้เรียน และ มีผลการปร ะเมิน ในร ะดับ “ ผ่าน ”

ทกุ กจิ กรรม

เกณฑ์การจบระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
(๑) ผู้เรยี นตอ้ งเรยี นรายวชิ าพ้นื ฐาน จานวน ๒,๖๔๐ ชั่วโมง (๖๖ หนว่ ยกติ ) และรายวิชาเพ่ิมเติมไม่น้อย

กวา่ ๖๐๐ ช่วั โมง (๑๕ หนว่ ยกิต)
(๒) ผู้เรียนตอ้ งมีผลการประเมนิ รายวชิ าพนื้ ฐานในระดบั ๑ ข้นึ ไปทกุ รายวิชา
(๓) ผเู้ รยี นตอ้ งมีผลการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ

ในระดับ “ผา่ น” ขึน้ ไปทกุ ดา้ น
(๔) ผู้เรียนมผี ลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ในระดบั ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ

ในระดบั “ผา่ น” ขึ้นไปทุกดา้ น
(๕) ผู้เรี ยน ต้อง เข้าร่ว มกิจกร รมพั ฒน าผู้เรียน และ มีผลการปร ะเมิน ในร ะดับ “ ผ่าน ”

ทกุ กิจกรรม

๒๐๘

ระเบยี บโรงเรยี นเสลภูมพิ ิทยาคม

ว่าด้วยการประเมินผลการเรยี นตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

******************************************

โดยท่โี รงเรียนเสลภูมิพทิ ยาคมได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ตามคาสง่ั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ท่ี สพฐ ๒๙๓/๒๕๕๑ ลงวนั ท่ี ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ เรือ่ ง ให้ใช้หลกั สตู ร
แกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และกระจายอานาจให้สถานศึกษากาหนดหลกั สูตรสถานศกึ ษา
ข้นึ ใช้เอง เพอื่ ใหส้ อดคล้องกบั คาสัง่ ดงั กลา่ ว

ฉะนน้ั อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๒๑ และมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติระเบยี บบริหาร
ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
โรงเรียนเสลภมู ิพิทยาคม จึงกาหนดระเบยี บสถานศกึ ษาว่าด้วยการประเมนิ ผลการเรยี นหลกั สตู รโรงเรยี เสลภมู ิ
พทิ ยาคม ไว้ดังตอ่ ไปน้ี

ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรยี กว่า “ระเบียบโรงเรียนเสลภูมพิ ิทยาคม ว่าด้วยการประเมนิ ผลการเรยี นตามหลักสตู ร
แกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑”

ข้อ ๒ ระเบียบน้ใี หใ้ ช้บังคบั
ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนต้น
ระดับชั้นมธั ยมศึกษาตอนปลาย

ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบหรือข้อบงั คบั หรอื คาส่ังอนื่ ใดในส่วนทกี่ าหนดไว้ในระเบียบน้ี หรือซง่ึ ขดั หรือแย้ง
กับระเบยี บนี้ ใหใ้ ชร้ ะเบยี บนแี้ ทน

ข้อ ๔ ระเบียบน้ใี หใ้ ชค้ วบคกู่ ับหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นเสลภูมพิ ทิ ยาคม
ข้อ ๕ ให้ผูอ้ านวยการโรงเรยี นเสลภมู พิ ิทยาคม รกั ษาการให้เปน็ ไปตามระเบยี บนี้

หมวด ๑

หลกั การประเมินผลการเรยี น

ข้อ ๖ การประเมนิ ผลการเรยี นให้เป็นไปตามหลักการตอ่ ไปนี้
๖.๑ สถานศึกษาเป็นผ้รู ับผดิ ชอบการประเมินผลการเรยี นรขู้ องผ้เู รยี นโดยเปดิ โอกาสให้ทกุ ฝ่ายที่

เกย่ี วขอ้ งมีส่วนร่วม
๖.๒ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรตู้ อ้ งสอดคล้องและครอบคลมุ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

ตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ที่กาหนดในหลักสูตร และจัดใหม้ ีการประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น
การประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ตลอดจนกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น

๖.๓ การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นร้ขู องผู้เรียนมีจดุ มงุ่ หมายเพื่อปรบั ปรุงพัฒนาผ้เู รยี น
พัฒนาการจดั การเรียนรู้ และตัดสนิ ผลการเรยี น

๖.๔ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรเู้ ป็นสว่ นหนึ่งของการจัดการเรยี นการสอน ตอ้ งดาเนินการ
วัดและประเมนิ โดยใช้เทคนิคการประเมินที่หลากหลาย เชน่ การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน
การใช้แบบทดสอบ เป็นตน้ โดยผู้สอนเปน็ ผู้ประเมินเองหรอื เปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี น เพ่ือน และผู้ปกครองมสี ว่ นรว่ ม
ในการประเมินด้วย

๒๐๙

๖.๕ เพือ่ ใหส้ ามารถวดั และประเมินผเู้ รียนไดอ้ ย่างรอบด้าน ทั้งดา้ นความรู้ ความคิด
กระบวนการ พฤติกรรม และเจตคติ เหมาะสมกบั สิง่ ที่ตอ้ งการวัด ธรรมชาตวิ ชิ า และระดบั ช้ันของผเู้ รยี น โดย
ตง้ั อยบู่ นพ้นื ฐานของความเทยี่ งตรง ยตุ ิธรรม และเชื่อถือได้

๖.๖ เปดิ โอกาสให้ผ้เู รียนและผมู้ สี ว่ นเก่ียวข้องตรวจสอบผลการประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๖.๗ สามารถเทียบโอนผลการเรยี นระหว่างสถานศกึ ษาและการศกึ ษารปู แบบต่างๆได้
๖.๘ ให้สถานศกึ ษาจัดทาเอกสารหลกั ฐานการศึกษาเพอ่ื เปน็ หลักฐานการประเมนิ ผลการเรยี นรู้
รายงานผลการเรียน แสดงวุฒกิ ารศึกษา และรับรองผลการเรยี นของผเู้ รยี น
๖.๙ หัวหน้าสถานศึกษาเป็นผู้อนุมตั ผิ ลการเรียนและการจบหลกั สูตร

หมวด ๒

การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

ขอ้ ๗ การวดั และประเมินผลการเรยี นประกอบด้วยการประเมนิ ความรูแ้ ละทกั ษะตา่ งๆ ควบคกู่ บั การ
ประเมินคณุ ลกั ษณะอ่นื ๆ ดงั นี้

๗.๑ การประเมนิ ผลการเรียนรตู้ ามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
๗.๒ การประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน
๗.๓ การประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๗.๔ การประเมินกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน
ข้อ ๘ ครูผู้สอนต้องตรวจสอบคุณภาพของผู้เรยี นโดยบูรณาการการจดั การเรยี นร้แู ละการประเมนิ
คณุ ลกั ษณะอื่นๆ มงุ่ ส่กู ารพฒั นาสมรรถนะสาคัญ ๕ ดา้ น ได้แก่
๘.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๘.๒ ความสามารถในการคิด
๘.๓ ความสามารถในการแก้ปญั หา
๘.๔ ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
๘.๕ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

๒๑๐

หมวด ๓

วธิ กี ารวัดและประเมนิ ผลการเรียนรายวิชาตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้

ข้อ ๙ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรายวชิ าตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้เปน็ การวัดและประเมนิ ผลการ
เรียนรรู้ ายวชิ าทีก่ าหนดไว้ในหลกั สูตร ซงึ่ จะนาไปสู่การสรุปผลการเรียนรขู้ องผูเ้ รียนในรายวิชาน้นั ๆ โดย
ดาเนินการดงั น้ี

๙.๑ ครผู ู้สอนเปน็ ผดู้ าเนินการประเมนิ ผลการเรียนรรู้ ายวชิ า
๙.๒ แจ้งใหผ้ ู้เรียนทราบมาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ัดหรอื ผลการเรียนรู้ วธิ กี ารวดั ผลและ
ประเมนิ ผล เกณฑก์ ารประเมนิ ผล กอ่ นการเรียนรายวชิ านน้ั
๙.๓ ประเมนิ ผลกอ่ นเรยี นเพ่ือศึกษาความรู้พ้ืนฐานของผเู้ รยี น
๙.๔ วัดและประเมินผลระหวา่ งเรยี น เพอื่ ตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรยี นตามมาตรฐานการ
เรียนร้/ู ตัวชี้วดั หรือผลการเรียนรู้ เพอ่ื จัดการสอนซ่อมเสรมิ หรือปรับปรุงการจดั การเรียนการสอน และไปรวมกับ
คะแนนวดั ผลปลายภาคเรียน โดยวดั ผลและประเมนิ ผลทกุ มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชี้วดั หรอื ผลการเรยี นรูข้ อง
รายวิชานั้น
๙.๕ จดั ให้มีการวัดผลกลางภาคเรยี น โดยผู้สอนเป็นผู้กาหนดมาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้ีวดั หรือ
ผลการเรียนรู้ที่จะวดั ผลและประเมนิ ผล โดยให้คะแนนสอบกลางภาคเรียนคดิ เป็นรอ้ ยละ ๒๐ ของคะแนนเต็มใน
รายวชิ านนั้ ๆ หากผู้เรยี นมผี ลการสอบวัดผลกลางภาคไม่ถึงกึ่งหนงึ่ ให้ครูผู้สอนดาเนนิ การสอนซ่อมเสรมิ และ
จดั ให้สอบแกต้ ัว โดยเม่ือแก้ไขแลว้ ได้คะแนนไม่เกนิ กึ่งหนง่ึ เทา่ นนั้
๙.๖ วดั ผลการเรยี นปลายภาค เพือ่ ตรวจสอบผลการเรียน โดยให้ครอบคลุมมาตรฐานการ
เรียนร้/ู ตัวชว้ี ัดหรอื ผลการเรียนรทู้ ี่สาคัญ
๙.๗ การประเมินผลการเรยี นปลายภาคเรยี น เป็นการสรปุ ผลการเรยี นรูป้ ลายภาค ของรายวิชา
นนั้ ๆ โดยนาคะแนนจากการวัดและประเมินผลระหว่างเรียนรวมกับคะแนนวัดผลปลายภาคเรียน
เพือ่ ตดั สนิ เปน็ ระดับผลการเรยี นต่อไป
๙.๘ ผู้เรยี นตอ้ งได้รับการตัดสินผลการเรยี นทุกรายวชิ า
๙.๙ ผู้เรียนที่จะไดร้ ับการตัดสินผลการเรียนในรายวิชาใดต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้

๑) มีเวลาเรียนตลอดภาคเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวิชาน้ัน
๒) ไดร้ ับการประเมินทุกตัวชีว้ ดั หรอื ผลการเรียนรู้
๙.๑๐ การตัดสินผลการเรยี นใหต้ ดั สนิ ผลการเรียนเปน็ ระดับผลการเรียนโดยใชต้ ัวเลขแสดงระดับ
ผลการเรยี นเปน็ ๘ ระดบั ดังน้ี

๒๑๑

คะแนนรอ้ ยละ ระดับผลการเรียน ความหมายของผลการประเมนิ

๘๐ – ๑๐๐ ๔ ดีเยยี่ ม
๗๕ – ๗๙ ๓.๕ ดมี าก
๗๐ – ๗๔ ๓
๖๕ – ๖๙ ๒.๕ ดี
๖๐ – ๖๔ ๒ คอ่ นขา้ งดี
๕๕ – ๕๙ ๑.๕ ปานกลาง
๕๐ – ๕๔ ๑
๐ – ๔๙ ๐ พอใช้
ผ่านเกณฑข์ ้นั ต่า
ต่ากว่าเกณฑ์

๙.๑๑ ใหใ้ ช้ตวั อักษรแสดงผลการเรียนท่ีมีเง่อื นไข ดงั นี้

“มส” หมายถึง ไมม่ สี ิทธ์เิ ข้ารับการประเมินผลปลายภาคเรยี น โดยผู้เรยี นมเี วลาเรยี น
ตลอดภาคเรยี น ไมถ่ งึ รอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรียนท้ังหมดในแต่ละรายวิชา และไมไ่ ด้รบั การผ่อนผนั ให้เข้ารับการ

วดั ผลปลายภาคเรยี น
“ร” หมายถึง รอการตดั สนิ และยังตดั สนิ ผลไม่ได้ โดยผ้เู รยี นไมม่ ขี ้อมลู ผลการเรียน

รายวิชาน้ันครบถ้วน ได้แก่ ไมไ่ ด้วัดผลกลางภาคเรียน/ปลายภาคเรียน ไมไ่ ด้ส่งงานทีม่ อบหมายให้ทาซงึ่ งานนั้น
เป็นส่วนหนงึ่ ของการตดั สินผลการเรียน หรอื มเี หตุสดุ วสิ ัยทท่ี าใหป้ ระเมนิ ผลการเรียนไมไ่ ด้ โดยลักษณะเหตุ
สุดวิสยั ไดแ้ ก่ ป่วยโดยมใี บรบั รองแพทยย์ นื ยันและมีภารกจิ สาคญั ทไี่ ด้รับอนมุ ัติจากผบู้ รหิ าร

หมวด ๔

การประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี น

ขอ้ ๑๐ การประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี น เป็นการประเมนิ ศักยภาพของผูเ้ รียนในการอ่าน
การฟงั การดู และการรับรู้ จากหนังสือ เอกสาร และสือ่ ตา่ งๆได้อย่างถูกต้อง และนามาคิดวิเคราะหเ์ นอื้ หาสาระ
ท่นี ามาสกู่ ารแสดงความคิดเหน็ การสังเคราะห์สร้างสรรค์ในเร่อื งต่างๆ และถ่ายทอดความคิดนั้นด้วยการเขียนซึ่ง

สะท้อนถึงระดับสติปญั ญา ความรู้ความเข้าใจ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา และสร้างสรรคจ์ ินตนาการ
อยา่ งเหมาะสม และมีคุณค่าแก่ตนเอง สังคม และประเทศชาติ พร้อมด้วยประสบการณแ์ ละทกั ษะในการเขียนทม่ี ี

สานวนภาษาถูกต้อง มีเหตุผล และลาดับขัน้ ตอนการนาเสนอ สามารถสร้างความเข้าใจแก่ผอู้ ่านได้อย่างชัดเจนตาม
ระดับความสามารถในแต่ละระดับชนั้ เป็นเงอื่ นไขหน่งึ ที่ผ้เู รียนทกุ คนจะตอ้ งได้รับการประเมินผ่านเกณฑท์ ี่สถานศึกษา
กาหนด การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนส่ือความผา่ นรายช้นั ให้ถือปฏิบัติดงั นี้

๑๐.๑ ใหค้ ณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวชิ าการกาหนดมาตรฐานและแนวทางการประเมิน
เกณฑ์การตดั สิน และแนวดาเนินการซ่อมเสรมิ ปรบั ปรุงผู้เรียนใหเ้ หมาะสมกับระดบั ช้นั

๑๐.๒ ให้มีคณะกรรมการพัฒนาและประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี น มหี นา้ ท่จี ัดทา
เคร่ืองมือประเมิน สรุปรวบรวมขอ้ มูลจากผู้ทีเ่ กยี่ วขอ้ งและตดั สินผลการประเมนิ

๑๐.๓ คณะกรรมการพัฒนาและประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น ดาเนินการประเมิน

และสรปุ ผลการประเมินของผ้เู รียนเสนอตอ่ คณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและวชิ าการ เพ่อื ให้ความเหน็ ชอบและ
เสนอผบู้ ริหารอนุมตั ิผลต่อไป

๑๐.๔ ใหป้ ระชาสัมพนั ธแ์ จ้งให้ผู้เรยี นและผทู้ ี่เก่ยี วข้องใหท้ ราบจดุ ประสงคข์ องการประเมนิ
การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน

๒๑๒

๑๐.๕ ให้ประเมนิ และพัฒนาผ้เู รียนในด้านการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน เป็นระยะๆ
อย่างนอ้ ยภาคเรียนละ ๒ ครงั้ คร้งั สุดท้ายเมอ่ื ผู้เรียนสิ้นสุดการเรียนร้ทู กุ กลุ่มสาระการเรยี นรูข้ องแตล่ ะภาคเรียน
ถอื วา่ เป็นการสรุปผลการประเมนิ

ขอ้ ๑๑ การตัดสนิ ผลการประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน ให้ตัดสินเป็นรายภาค โดยกาหนด
เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ๔ ระดับ คอื ดีเย่ยี ม ดี ผ่าน และไมผ่ ่าน

ระดบั ผลการ ความหมายของผลการประเมิน

คณุ ภาพ ประเมนิ

๓ ดเี ย่ยี ม สามารถจับใจความสาคัญไดค้ รบถว้ น เขียนวพิ ากษว์ จิ ารณ์ เขียนสร้างสรรค์

แสดงความคิดเหน็ ประกอบอยา่ งมเี หตผุ ลได้ถกู ต้องและสมบรู ณ์ ใชภ้ าษาสภุ าพ

และเรียบเรยี งไดส้ ละสลวย

๒ ดี สามารถจับใจความสาคัญ เขียนวิพากษ์วจิ ารณ์ และเขียนสร้างสรรคไ์ ด้โดย

ใชภ้ าษาสุภาพ

๑ ผา่ น สามารถจบั ใจความสาคัญและเขียนวิพากษ์วิจารณไ์ ด้บา้ ง

๐ ไม่ผา่ น ไม่สามารถจับใจความสาคญั และเขียนวิพากษ์วิจารณไ์ ด้

ในกรณีท่ี “ไม่ผา่ น” ใหส้ ถานศกึ ษาดาเนนิ การซอ่ มเสรมิ จนกว่าจะผา่ นเกณฑ์
ข้อ ๑๒ ให้คณะกรรมการพัฒนาและประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน หรอื ผู้ท่ีได้รบั มอบหมาย

นาผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียนของนกั เรยี นแตล่ ะคนมาสรปุ ประมวลผลโดยใช้ “ฐานนยิ ม”(Mode)
ขอ้ ๑๓ นาผลการประเมนิ เสนอคณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและวิชาการ เพ่ือให้ความเหน็ ชอบและ

เสนอผู้บริหารสถานศกึ ษาอนุมัติผลการตดั สินการผ่านการประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียนแตล่ ะภาคเรยี น
และการผ่านระดับช้ันตอ่ ไป

หมวด ๕

การประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

ข้อ ๑๔ การประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคเ์ ปน็ เงื่อนไขหนงึ่ ท่ผี เู้ รียนทุกคนจะต้องไดร้ บั การประเมนิ
ตามเกณฑท์ ่ีสถานศกึ ษากาหนดจึงจะได้รบั การพิจารณาให้เล่ือนชัน้ เป็นการพฒั นาผูเ้ รียนตามที่หลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขัน้ พื้นฐานกาหนด เปน็ ลักษณะท่ีตอ้ งการใหเ้ กิดขึน้ กบั ผู้เรยี นอันเป็นคณุ ลักษณะท่ีสังคมต้องการ ในดา้ น

คณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม จิตสานึก สามารถอยูร่ ่วมกับผูอ้ นื่ ได้อยา่ งมีความสุข ท้ังในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก
ใหถ้ อื ปฏบิ ตั ิดังนี้

๑๔.๑ ให้มีคณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ เพ่ือกาหนดแนวทาง
เป้าหมาย กิจกรรมพฒั นาคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ สรา้ งเครอื่ งมือประเมิน ออกแบบเกณฑก์ ารประเมิน และ
ปรับปรงุ ซ่อมเสริมคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของผู้เรียน

๑๔.๒ ให้มกี ารประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ท้งั ใน และนอกหอ้ งเรียน ในหอ้ งเรียนให้
ครูผสู้ อนเป็นผู้ประเมนิ ผู้เรยี น นอกห้องเรียนใหค้ รทู ี่ปรกึ ษา และผ้ทู ี่เกย่ี วข้อง รว่ มกนั ประเมนิ ผเู้ รียนเปน็ ระยะๆ

เพื่อใหม้ กี ารส่งั สมและพฒั นาอยา่ งต่อเนอ่ื ง
๑๔.๓ ให้มวี ธิ กี ารประเมนิ ท่หี ลากหลาย โดยใชเ้ ครอื่ งมอื ท่เี หมาะสมกบั กิจกรรมพัฒนาคุณลกั ษณะ

อนั พึงประสงค์ท่ีจะประเมิน

๒๑๓

๑๔.๔ ให้ครูที่ปรกึ ษารวบรวมข้อมลู การประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ จากทุกฝ่ายที่
เกี่ยวขอ้ ง และนาเสนอคณะกรรมการพัฒนาและประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เพ่อื วินิจฉยั พจิ ารณาตัดสนิ ผล
การประเมนิ และเสนอผบู้ รหิ ารอนมุ ัตผิ ลการตัดสินการผา่ นรายภาคต่อไป

๑๔.๕ การตัดสินผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ให้ตดั สินเป็นรายภาค โดยกาหนด
เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ๔ ระดบั คือ ดีเย่ียม ดี ผ่าน และไมผ่ ่าน

ระดบั ผลการ ความหมายของผลการประเมิน

คุณภาพ ประเมิน

๓ ดเี ยีย่ ม ผ้เู รยี นมีคุณลกั ษณะในการปฏิบตั ิจนเป็นนสิ ยั และนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวันเพื่อ

ประโยชนส์ ุขของตนเองและสังคม

๒ ดี ผ้เู รยี นมคี ณุ ลักษณะในการปฏบิ ตั ิเพอื่ ใหเ้ ปน็ ท่ียอมรับของสังคม

๑ ผ่าน ผเู้ รยี นรับรแู้ ละปฏบิ ตั ติ ามเงอ่ื นไขท่สี ถานศึกษากาหนด

๐ ไม่ผ่าน ผู้เรียนไมร่ บั รูแ้ ละไม่ปฏบิ ัติตามเง่ือนไขทสี่ ถานศกึ ษากาหนด

๑๔.๖ ผ้เู รียนที่ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน ให้บันทกึ ขอ้ มลู “ดเี ยยี่ ม” หรอื “ดี” หรือ “ผ่าน”

และรายงานให้ผปู้ กครองทราบ
๑๔.๗ ผู้เรียนท่ีไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ใหจ้ ัดกิจกรรมซอ่ มเสรมิ เพ่ือปรับปรงุ แก้ไขเพ่มิ เติมตาม

แนวทางที่สถานศกึ ษากาหนด

๑๔.๘ ใหป้ ระชาสัมพนั ธ์แจง้ ให้ผเู้ รียนผู้เก่ยี วข้องใหท้ ราบจุดประสงค์ของการประเมนิ คุณลกั ษณะ
อันพงึ ประสงค์

๑๔.๙ ผเู้ รยี นทไี่ ม่ได้รับการประเมนิ ผลรวมคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์จะไมไ่ ด้รบั การอนมุ ัติใหจ้ บ
หลกั สูตร จนกว่าจะไดร้ ับการประเมินใหเ้ รียบร้อยเสยี กอ่ น

๒๑๔

หมวด ๖

การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น

ขอ้ ๑๕ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน เปน็ กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรูแ้ ละพฒั นาการของผู้เรียน ตามมาตรฐาน
การเรยี นร้ขู องกล่มุ สาระการเรยี นรใู้ ห้ครบถ้วนสมบูรณ์ยง่ิ ข้นึ และเปน็ เงือ่ นไขสาคัญอกี ประการหนง่ึ ของหลกั สตู ร
แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ผู้เรียนทุกคนจะตอ้ งเขา้ รว่ มกจิ กรรมใหค้ รบตามทสี่ ถานศกึ ษา
กาหนดจงึ จะได้รบั ตดั สนิ ใหผ้ ่านช่วงชนั้ การประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นมแี นวทางการประเมนิ ใหถ้ ือปฏบิ ตั ิดงั นี้

๑๕.๑ ใหม้ ีคณะกรรมการประเมินกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น กาหนดเกณฑก์ ารประเมินและ
แนวดาเนินการเกย่ี วกับการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

๑๕.๒ ใหผ้ รู้ บั ผิดชอบกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นแตล่ ะกจิ กรรม เปน็ ผปู้ ระเมินกิจกรรมของผเู้ รียนตาม
จุดประสงคส์ าคัญและเวลาเขา้ รว่ มกจิ กรรมแต่ละกิจกรรมด้วยวธิ หี ลากหลายเปน็ รายภาค/รายปี และนาข้อมูลการ
ประเมนิ เสนอตอ่ คณะกรรมการประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น

๑๕.๓ ให้คณะกรรมการประเมินกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน สรปุ และประเมินผลการประเมินกจิ กรรม
พัฒนาผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล เพื่อตดั สนิ ตามเกณฑ์ทโ่ี รงเรยี นกาหนดทุกช้นั เรยี น และนาเสนอผลการประเมินให้
ผบู้ รหิ ารพจิ ารณาอนุมัติ

๑๕.๔ ใหป้ ระชาสมั พันธ์ แจง้ ให้ผเู้ รยี น ผู้ทเี่ ก่ียวข้อง ใหท้ ราบ วัตถุประสงค์ของการ
ประเมินกิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน

๑๕.๕ การใหร้ ะดับผลการเรยี นการเข้ารว่ มกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ใหร้ ะดับผลการประเมินเปน็
“ผา่ น” และ “ไมผ่ า่ น”

“ผ่าน” หมายถึง ผู้เรยี นมเี วลาเข้ารว่ มกิจกรรมตลอดภาคเรยี นไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐
ของเวลาร่วมกิจกรรมน้นั ท้งั หมด และมีผลงานตามเกณฑท์ ่ีแต่ละกจิ กรรมกาหนด

“ไม่ผ่าน” หมายถึง ผเู้ รียนมเี วลาเขา้ รว่ มกิจกรรมตลอดภาคเรียนไมถ่ งึ รอ้ ยละ ๘๐ ของ
เวลาร่วมกจิ กรรมน้นั ทัง้ หมด และมผี ลงานไมไ่ ดต้ ามเกณฑ์ทแ่ี ต่ละกจิ กรรมกาหนด

๑๕.๖ เกณฑ์การตดั สินผลการประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นเพือ่ จบระดับการศึกษา
“ผ่าน” หมายถงึ ผู้เรยี นมีผลการประเมินระดับ “ผ่าน” ทกุ ชนั้ ปีในระดับการศึกษาน้ัน
“ไม่ผ่าน” หมายถึง ผ้เู รยี นมีผลการประเมนิ ระดบั “ไม่ผ่าน” บางช้นั ปีในระดบั

การศึกษาน้ัน
๑๕.๗ ผู้เรยี นตอ้ งผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ตามที่สถานศกึ ษากาหนด กรณีท่ีไมผ่ ่านการประเมนิ

กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น ใหผ้ ้เู รยี นเขา้ รบั การซอ่ มเสริมในสว่ นท่ีไมผ่ ่าน หรอื เลอื กกจิ กรรมใหม่ จนครบทุกกิจกรรม
ตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา

๑๕.๗ รายงานการประเมินกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียนแตล่ ะกิจกรรมให้ผเู้ กยี่ วข้องทราบ

๒๑๕

หมวด ๗

การตดั สนิ ผลการเรียน

ขอ้ ๑๖ หลักสูตรโรงเรียนเสลภมู พิ ทิ ยาคม ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช
๒๕๕๑ กาหนดโครงสรา้ งรายวชิ า นาไปส่กู ารกาหนดหลักเกณฑก์ ารวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ เพ่อื ตดั สนิ ผลการ
เรยี นของผู้เรียนใหถ้ อื ปฏบิ ตั ิ ดงั นี้

๑๖.๗ การตัดสินผลการเรยี นในระดบั มัธยมศึกษามีการตดั สินในการผา่ นรายวิชากาหนดเปน็ ภาค
เรียน การเลอ่ื นช้นั ปีกาหนดเปน็ ปกี ารศึกษา และการจบระดับชั้นกาหนดเป็นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และระดบั
มัธยมศึกษาตอนปลาย หลักเกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้เพ่อื ตดั สนิ ผลการเรยี นของผู้เรยี นในหลักสตู ร
โรงเรียนเสลภมู พิ ิทยาคม ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ให้ถือปฏบิ ตั ดิ งั นี้

๑) ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวชิ า ผ้เู รียนตอ้ งมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไมน่ ้อยกว่า
ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทัง้ หมดในรายวิชานน้ั ๆ

๒) ผู้เรียนตอ้ งไดร้ ับการประเมนิ ทุกตวั ช้วี ดั
๓) ผเู้ รยี นต้องไดร้ บั การตัดสินผลการเรยี นทุกรายวิชา
๔) ผเู้ รยี นตอ้ งได้รบั การประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ในการอา่ น คิดวเิ คราะห์
และเขียน คุณลักษณะอนั พึงประสงค์และกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น
๑๖.๘ การให้ระดับผลการเรยี น หลักสูตรโรงเรียนเสลภูมิพทิ ยาคม พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ตาม
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กาหนดหลักเกณฑก์ ารให้ระดบั ผลการเรียน ดังน้ี
๑) การตดั สนิ ผลการเรียนรายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ใหร้ ะดบั ผลการเรียน ๘ ระดบั
พจิ ารณาตัดสนิ ว่าผเู้ รียนผา่ นเกณฑ์สาระการเรยี นรู้ตามเกณฑ์ โดยให้ได้ระดบั ผลการเรียน “๑” ถงึ “๔” เทา่ น้ัน
รายวิชาท่ีจะนบั หนว่ ยกิต จะตอ้ งได้ระดบั ผลการเรียนต้ังแต่ ๑ ขน้ึ ไป
๒) การตัดสนิ ผลการประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
ให้ระดับผลการประเมนิ เป็นผา่ นและไมผ่ ่าน กรณีที่ผ่านให้ระดบั ผลการเรียนเป็น “ดเี ยี่ยม” “ ดี” “ผา่ น”
๓) การตดั สินผลการประเมินกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นตอ้ งพิจารณาทัง้ เวลาการเขา้ รว่ มกิจกรรม การ
ปฏิบตั ิกจิ กรรม และผลงานของผู้เรียนตามเกณฑ์ โดยให้ผลการประเมนิ เป็น “ผ่าน” และ “ไม่ผา่ น”
๑๖.๙ การจบระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
๑) ผเู้ รียนเรยี นรายวิชาพนื้ ฐานและเพิม่ เติมไมน่ อ้ ยกว่า ๘๑ หนว่ ยกิต โดยเปน็ รายวชิ าพื้นฐาน
๖๖ หนว่ ยกิต และรายวชิ าเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากาหนด
๒) ผู้เรยี นต้องไดห้ น่วยกิตตลอดหลักสตู รไม่นอ้ ยกว่า ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็นรายวชิ าพืน้ ฐาน
๖๖ หนว่ ยกิต และรายวชิ าเพม่ิ เตมิ ไมน่ ้อยกวา่ ๑๑ หนว่ ยกติ
๓) ผเู้ รียนตอ้ งได้รับการตดั สินผลการเรยี นทุกรายวิชา
๔) ผเู้ รยี นมีผลการประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมนิ
๕) ผูเ้ รยี นมีผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ในระดบั ผ่านเกณฑ์การประเมนิ
๖) ผเู้ รยี นเข้ารว่ มกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนและมผี ลการประเมนิ ผ่านเกณฑ์การประเมิน

๑๖.๑๐ การจบระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
๑) ผเู้ รยี นเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพม่ิ เตมิ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๘๑ หนว่ ยกิต โดยเปน็ รายวิชาพืน้ ฐาน

๔๑ หนว่ ยกิต และรายวชิ าเพิ่มเตมิ ตามท่ีสถานศึกษากาหนด
๒) ผูเ้ รียนต้องได้หนว่ ยกิตตลอดหลักสตู รไมน่ อ้ ยกวา่ ๗๗ หนว่ ยกติ โดยเปน็ รายวิชาพื้นฐาน

๔๑ หน่วยกติ และรายวิชาเพิ่มเตมิ ไม่น้อยกว่า ๓๖ หนว่ ยกิต

๒๑๖

๓) ผเู้ รยี นต้องได้รับการตดั สินผลการเรียนทกุ รายวิชา
๔) ผ้เู รยี นมีผลการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขยี น ในระดับผา่ นเกณฑ์การประเมนิ
๕) ผเู้ รยี นมีผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ในระดบั ผ่านเกณฑ์การประเมิน
๖) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนและมผี ลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน
๑๖.๑๑ ผลการเรยี นท่มี เี งื่อนไข ผลการเรยี นทม่ี ีเงอ่ื นไข ไดแ้ ก่ ไมม่ ีสิทธ์ิเขา้ รบั การประเมนิ ผลปลาย
ภาคในรายวชิ า และรอการตดั สิน ให้ใชต้ วั อกั ษรระบเุ ง่ือนไขแสดงผลการเรียน ประกอบด้วย
๑) ตวั อักษรแสดงผลการเรยี นแตล่ ะรายวิชาใน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้

“มส” หมายถึง ไม่มีสิทธเิ ขา้ รบั การประเมนิ ผลปลายภาคเรียน โดยผู้เรียนท่ีมีเวลาเรยี นไม่ถงึ
รอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรียนในแตล่ ะรายวชิ าและไมไ่ ด้รับการผ่อนผนั ใหเ้ ขา้ รับการวดั ผลปลายภาคเรยี น

“ร” หมายถงึ รอการตดั สินและยังตดั สินไมไ่ ด้ โดยผู้เรยี นไม่มีขอ้ มลู ผลการเรียนรายวชิ า
นนั้ ครบถว้ น ไดแ้ ก่ ไม่ไดว้ ัดผลกลางภาคเรยี น/ปลายภาคเรียน ไม่ไดส้ ่งงานที่มอบหมายใหท้ าซง่ึ งานนน้ั เป็นส่วน
หนง่ึ ของการตดั สินผลการเรียน หรือมเี หตุสุดวสิ ยั ทีท่ าให้ประเมินผลการเรียนไม่ได้

๒) ตวั อกั ษรแสดงผลการเข้ารว่ มกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น
“ผ” หมายถงึ ผา่ นเกณฑ์
“มผ” หมายถงึ ไม่ผ่านเกณฑ์

๑๖.๑๒ การเปล่ียนผลการเรียน “๐” จัดให้มีการสอนซ่อมเสริมในตัวชี้วัดที่ผู้เรียนสอบ
ไม่ผ่านก่อน แล้วจึงสอบแก้ตัวให้และให้สอบแก้ตัวได้ไม่เกนิ ๒ คร้งั โดยได้ผลการเรียนไม่เกนิ ๑ ทั้งน้ตี อ้ ง
ดาเนินการให้เสร็จสนิ้ ภายในปีการศึกษาน้นั

ถา้ ผ้เู รยี นไม่ดาเนินการสอบแก้ตัวตามระยะเวลาที่กาหนดไวน้ ้ี ใหอ้ ย่ใู นดลุ ยพินิจของผ้บู ริหารท่จี ะ
พจิ ารณาขยายเวลาออกไปอีกไม่เกิน ๑ ภาคเรยี น

ถา้ สอบแก้ตวั ๒ คร้ังแลว้ ยงั ได้ระดบั ผลการเรียน “๐” อีก ใหค้ ณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ
ดาเนนิ การเกย่ี วกับการเปลย่ี นผลการเรียนของผ้เู รยี นโดยปฏิบตั ดิ ังน้ี

๑) ถา้ เป็นรายวิชาพนื้ ฐานใหเ้ รยี นซา้ รายวิชานั้น
๒) ถา้ เปน็ รายวิชาเพ่ิมเตมิ ให้เรยี นซา้ หรอื เปล่ยี นรายวิชาเรยี นใหม่
ในกรณีทีเ่ ปลีย่ นรายวชิ าเรยี นใหม่ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรยี นวา่ เรียนแทนรายวิชาใด
๑๖.๑๓ การเปล่ียนผลการเรียน “ร”
การเปลี่ยนผลการเรยี น “ร” ให้ดาเนินการ ดงั น้ี
๑) ใหผ้ ู้เรยี นดาเนินการแกไ้ ข “ร” ตามสาเหตุ เมอื่ ผู้เรยี นดาเนนิ การแกไ้ ขปญั หาเสร็จสน้ิ แลว้
ถ้าเปน็ เหตุสดุ วิสัยให้ไดผ้ ลการเรียนตามปกต(ิ ๐-๔) แต่ถ้าไม่มเี หตุผลจาเป็นใหไ้ ดผ้ ลการเรยี นเป็น ๑ เท่านน้ั
๒) ถ้าผู้เรยี นไมด่ าเนินการแก้ไข “ร” ให้ผ้สู อนนาข้อมลู ทมี่ อี ยู่ตดั สินผลการเรยี น ยกเว้นมเี หตุ
สดุ วสิ ัย ใหอ้ ยู่ในดุลพนิ ิจของผบู้ รหิ ารทจี่ ะขยายเวลาแก้ “ร” ออกไปอีกไมเ่ กนิ ๑ ภาคเรยี น ท้ังนีต้ ้องดาเนนิ การแก้
ให้เสร็จส้ินภายในปีการศึกษานั้น เมอื่ พน้ กาหนดนแ้ี ลว้ หากผลการเรยี นเปน็ “๐” ให้ดาเนินการแก้ไขตาม
หลกั เกณฑ์
๑๖.๑๔ การเปลี่ยนผลการเรียน “มส” มี ๒ กรณี ดงั น้ี
๑) กรณผี เู้ รียนได้ผลการเรยี น “มส” เพราะมีเวลาเรยี นไมถ่ ึงร้อยละ ๘๐ แต่มีเวลาเรียนไม่
น้อยกวา่ ร้อยละ ๖๐ ของเวลาเรียนทงั้ หมด ใหด้ าเนนิ การดงั นี้

๑.๑ แจง้ ให้ผู้เรยี นทราบ และดาเนินการยื่นคารอ้ ง เพอื่ ขอแก้ “มส” ในช่วงเวลาทีก่ าหนด
๑.๒ ให้ครูผู้สอนในรายวิชานนั้ จดั เรยี นเพิม่ เติมโดยใช้ชว่ั โมงสอนซ่อมเสรมิ หรือเวลาวา่ ง หรอื
วนั หยดุ หรือมอบหมายงานใหท้ า จนมเี วลาเรยี นครบตามที่กาหนดไวส้ าหรบั รายวชิ านั้นแล้วจงึ ให้สอบเป็น
กรณีพิเศษ

๒๑๗

ผลการสอบแก้ “มส” ให้ได้ระดบั ผลการเรียนไม่เกนิ “๑” การแก้ “มส” กรณีนี้ให้กระทาให้เสร็จ
ส้นิ ในปีการศกึ ษานัน้ ถ้าผู้เรยี นไม่มาดาเนนิ การแก้ “มส” ตามระยะเวลาท่ีกาหนดไวน้ ใ้ี ห้เรียนซา้ ยกเวน้
มเี หตุสดุ วิสยั ให้ขยายเวลาการแก้ “มส” ออกไปอกี ไม่เกิน ๑ ภาคเรียน แต่เมอ่ื พ้นกาหนดนแ้ี ลว้ ให้ปฏบิ ตั ดิ ังนี้

๑.๑ ถา้ เป็นรายวิชาพ้นื ฐานใหเ้ รยี นซ้ารายวิชา
๑.๒ ถ้าเปน็ รายวิชาเพม่ิ เติมใหเ้ รยี นซ้าหรอื เปลี่ยนรายวชิ าใหม่
๒) กรณผี เู้ รยี นได้ผลการเรยี น “มส” และมเี วลาเรยี นน้อยกวา่ รอ้ ยละ ๖๐ ของเวลาเรียนท้งั หมด ให้
ดาเนินการดังนี้
๒.๑ ถ้าเป็นรายวิชาพ้ืนฐานใหเ้ รยี นซา้ รายวชิ า
๒.๒ ถา้ เป็นรายวิชาเพิ่มเติมให้เรียนซ้าหรอื เปลย่ี นรายวิชาใหม่
ในกรณที ี่เปล่ียนรายวิชาเรียนใหม่ ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่าเรียนแทนรายวิชาใด
ในกรณีภาคเรยี นที่ ๒ หากผเู้ รยี นยงั มผี ลการเรยี น “๐” “ร” “มส” ใหด้ าเนนิ การให้เสรจ็ สน้ิ
ก่อนเปิดเรยี นปกี ารศึกษาถดั ไป
๑๖.๑๕ การเปล่ียนผลการเรียน “มผ” ให้ถอื ปฏิบัติดงั น้ี
ในกรณีทีผ่ ู้เรียนได้ผลการเรยี น“มผ”สถานศึกษาจัดซอ่ มเสริมใหผ้ ู้เรยี นทากิจกรรม กิจกรรมแนะแนว
กจิ กรรมนกั เรียน กจิ กรรมชมุ นุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ อย่างใดอย่าง หนง่ึ จนครบตามเวลาท่กี าหนด
หรือปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเพ่อื พฒั นาคุณลกั ษณะท่ีต้องปรับปรงุ แกไ้ ข แลว้ จึงเปลยี่ นผลการเรียนจาก “มผ” เป็น “ผ”
ทง้ั น้ดี าเนินการใหเ้ สร็จสน้ิ ภายในปกี ารศกึ ษานน้ั
ข้อ ๑๗ หลกั สตู รโรงเรยี นเสลภมู พิ ทิ ยาคม ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช
๒๕๕๑ กาหนดเกณฑ์การเลื่อนชน้ั และการอนมุ ตั ิจบหลกั สตู รระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้นและระดบั มัธยมศึกษา
ตอนปลาย ใหถ้ ือปฏิบตั ิ ดังนี้
๑๗.๑ การเลือ่ นชน้ั ผเู้ รียนจะต้องไดร้ บั การตัดสนิ ผลการเรียนทุกภาคเรยี น และไดร้ ับการเลื่อนชั้นเมอ่ื
สนิ้ ปีการศกึ ษา ตอ้ งมีคุณสมบัตติ ามเกณฑ์ ดงั น้ี
๑) รายวชิ าพื้นฐาน ไดร้ ับการตัดสนิ ผลการเรยี นผ่านทุกรายวิชา
๒) รายวชิ าเพ่ิมเตมิ ได้รบั การตัดสนิ ผลการเรียนผ่านตามเกณฑ์
๓) ผู้เรียนตอ้ งได้รบั การประเมินและมีผลการประเมนิ ผา่ นตามเกณฑ์ ในการอา่ น คดิ
วเิ คราะห์และเขียน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์และกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น
๔) ระดับผลการเรียนเฉล่ียในปีการศึกษานนั้ ไดไ้ มต่ า่ กวา่ ๑.๐๐
๑๗.๒ การเรียนซ้า สถานศึกษาจะจดั ให้ผเู้ รยี นเรยี นซ้าใน ๒ กรณี คือ
กรณที ่ี ๑ เรียนซ้ารายวชิ า หากผู้เรียนได้รบั การสอนซอ่ มเสริมและสอบแก้ตวั ๒ ครั้งแลว้ ไม่
ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน ให้เรยี นซา้ รายวชิ านั้น ในช่วงเวลาใดเวลาหนง่ึ ตามความเหมาะสม เชน่ พักกลางวัน
วันหยุด ชวั่ โมงวา่ งหลงั เลกิ เรียน ภาคฤดูรอ้ น เป็นต้น
กรณีที่ ๒ เรยี นซา้ ช้ัน มี ๒ ลกั ษณะ คอื
ลักษณะที่ ๑ ผู้เรยี นมรี ะดบั ผลการเรยี นเฉลีย่ ในปีการศกึ ษาน้ันตา่ กวา่ ๑.๐๐ และมีแนวโน้ม
ว่าจะเป็นปญั หาตอ่ การเรียนในระดับชัน้ ทีส่ ูงขึ้น
ลักษณะที่ ๒ ผูเ้ รียนมผี ลการเรยี น ๐ , ร , มส เกินครงึ่ หนง่ึ ของรายวชิ าทลี่ งทะเบียนเรยี นใน
ปีการศกึ ษาน้ัน
ทง้ั น้ี หากเกิดลักษณะใดลกั ษณะหนึ่ง หรอื ทง้ั ๒ ลักษณะ ให้คณะกรรมการบริหารหลกั สตู ร
และวชิ าการพจิ ารณา หากเห็นวา่ ไมม่ เี หตุผลอันสมควรกใ็ ห้ซา้ ชัน้ โดยยกเลิกผลการเรยี นเดมิ และใหใ้ ช้ผลการเรียน
ใหม่แทน หากพิจารณาแลว้ ไม่ต้องเรยี นซา้ ชั้น ให้แกไ้ ขผลการเรยี น

๒๑๘

๑๗.๓ การสอนซอ่ มเสริม การสอนซอ่ มเสรมิ เป็นสว่ นหนง่ึ ของกระบวนการจดั การเรยี นรูแ้ ละเปน็
การให้โอกาสแก่ผ้เู รยี นได้มเี วลาเรียนรู้สงิ่ ตา่ งๆ เพ่มิ ข้ึน จนสามารถบรรลุตามมาตรฐานการเรยี นรู้ตวั ช้ีวัดทก่ี าหนดไว้
การสอนซ่อมเสรมิ เปน็ การสอนกรณีพิเศษนอกเหนือไปจากการสอนตามแผนการจัดการเรยี นร้ปู กติเพือ่ แก้ไข
ข้อบกพร่องท่ีพบในผ้เู รียน โดยจัดกระบวนการเรยี นรูท้ ่หี ลากหลายและคานงึ ถึงความแตกต่างระหว่างบคุ คลของ
ผู้เรยี น

การสอนซอ่ มเสริมสามารถดาเนนิ การไดใ้ นกรณีดังต่อไปน้ี
๑) ผู้เรียนมีความร/ู้ ทักษะพนื้ ฐานไมเ่ พียงพอทจี่ ะศกึ ษาในแต่ละรายวชิ านัน้ ควรจดั การ

สอนซอ่ มเสรมิ ปรบั ความรู/้ ทักษะพนื้ ฐาน
๒) การประเมินระหวา่ งเรียน ผเู้ รยี นไมส่ ามารถแสดงความรู้ ทกั ษะกระบวนการ หรอื

เจตคต/ิ คุณลักษณะท่ีกาหนดไวต้ ามมาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชีว้ ดั
๓) ผลการเรยี นไมถ่ งึ เกณฑ์ และ/หรือต่ากว่าเกณฑ์การประเมิน โดยผ้เู รียนได้ระดบั ผลการ

เรียน “๐” ต้องจดั การสอนซ่อมเสรมิ ก่อนจะให้ผู้เรียนสอบแกต้ วั
๔) ผ้เู รียนมผี ลการเรียนไม่ผ่าน สามารถจัดสอนซ่อมเสริมในเวลาท่ีเหมาะสม

หมวด ๘

การเทียบโอนผลการเรียน

ขอ้ ๑๘ โรงเรยี นเสลภมู พิ ิทยาคม สามารถเทยี บโอนผลการเรยี นของนกั เรยี นท่เี รียนรจู้ ากสถานศกึ ษา
อนื่ ไดใ้ นกรณี การยา้ ยสถานศกึ ษา การเปลีย่ นรปู แบบการศึกษา การย้ายหลกั สตู ร การละทิง้ การศึกษาและขอกลบั
เขา้ รับการศกึ ษาตอ่ การศกึ ษาจากต่างประเทศและขอเข้าศึกษาตอ่ ในประเทศ นอกจากนยี้ งั สามารถเทยี บโอนความรู้
ทกั ษะ ประสบการณจ์ ากแหลง่ การเรียนรู้อื่นๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันทางศาสนา สถาบนั การฝึกอบรม
อาชพี การศึกษาโดยครอบครัว

การเทียบโอนผลการเรยี นจะดาเนนิ การในชว่ งก่อนเปดิ ภาคเรยี นแรกหรอื ตน้ ภาคเรียน ท้ังน้นี กั เรียนที่
ได้รบั การเทียบโอนผลการเรียนตอ้ งศกึ ษาตอ่ เน่ืองในโรงเรียนเสลภูมพิ ทิ ยาคม อย่างนอ้ ย ๑ ภาคเรียน
การพิจารณาการเทยี บโอนใหด้ าเนนิ การ ดังน้ี

๑๘.๑ พิจารณาจากหลกั ฐานการศึกษา ซึ่งจะให้ขอ้ มลู ที่แสดงความรู้ ความสามารถของนกั เรียนใน
ดา้ นตา่ งๆ

๑๘.๒ พิจารณาจากความรู้ ประสบการณ์ตรงจากการปฏิบัติจริง การทดสอบ การสัมภาษณ์
๑๘.๓ พจิ ารณาจากความสามารถ และการปฏิบัติจริง
๑๘.๔ ในกรณมี เี หตุผลจาเป็นระหวา่ งเรยี น ผ้เู รียนสามารถแจง้ ความจานงขอไปศกึ ษาบางรายวิชาใน
สถานศกึ ษา/สถานประกอบการอน่ื แล้วนามาเทียบโอนได้ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลกั สูตร
และวิชาการ
๑๘.๕ การเทยี บโอนผลการเรียนให้ดาเนินการในรปู ของคณะกรรมการการเทียบโอนจานวน ๓ คน
๑๘.๖ การเทยี บโอนใหด้ าเนินการดงั น้ี

๑) กรณผี ขู้ อเทียบโอนมีผลการเรยี นมาจากหลกั สตู รอืน่ ให้นารายวิชาหรอื หน่วยกิตทีม่ ีมาตรฐาน
การเรียนร้/ู ตัวช้วี ัด/ผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวัง/จุดประสงค/์ เน้ือหาทส่ี อดคล้องกนั ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ ๖๐ มาเทียบโอนผล
การเรยี นและพจิ ารณาให้ระดบั ผลการเรยี นใหส้ อดคลอ้ งกบั หลักสูตรโรงเรยี นเสลภูมิพิทยาคม

๒) กรณกี ารเทียบโอนความรู้ ทักษะและประสบการณ์ ให้พจิ ารณาจากเอกสารหลกั ฐาน (ถ้ามี)
โดยให้มกี ารประเมนิ ดว้ ยเครอ่ื งมือทห่ี ลากหลายและใหร้ ะดับผลการเรียนให้สอดคล้องกบั หลักสตู รโรงเรียนเสลภมู ิ
พิทยาคม

๒๑๙

๓) กรณกี ารเทียบโอนทน่ี ักเรยี นเขา้ โครงการแลกเปลี่ยนตา่ งประเทศ ให้ดาเนินการตาม
ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ ารเร่ืองหลักการและแนวปฏิบัตกิ ารเทยี บช้ันการศกึ ษาสาหรับนักเรยี นที่เข้าร่วมโครงการ
แลกเปล่ียน

ทงั้ น้ี วิธกี ารเทียบโอนผลการเรียนให้เปน็ ไปตามประกาศของกระทรวงศึกษาธกิ ารและแนวปฏิบัตทิ ี่
เกีย่ วขอ้ ง

หมวด ๙

เอกสารหลักฐานการศกึ ษา

ขอ้ ๑๙ หลกั สตู รโรงเรยี นเสลภูมพิ ิทยาคม ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช
๒๕๕๑ กาหนดให้มเี อกสารประเมนิ ผลการเรียนตา่ งๆ ตามทห่ี ลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช
๒๕๕๑ กาหนด ดังตอ่ ไปนี้

๑๙.๑ เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาทีก่ ระทรวงศึกษาธกิ ารกาหนด ประกอบด้วย
๑) ระเบยี นแสดงผลการเรยี น (ปพ.๑)
๒) ประกาศนียบัตร (ปพ.๒)
๓) แบบรายงานผู้สาเรจ็ การศกึ ษา (ปพ.๓)

๑๙.๒ เอกสารหลักฐานการศึกษาทีส่ ถานศึกษากาหนด
๑) สมดุ บนั ทึกผลการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น (ปพ.๕)
๒) แบบรายงานประจาตวั นักเรยี น(ปพ.๖)
๓) ใบรบั รองผลการเรยี น(ปพ.๗)

หมวด ๑๐

บทเฉพาะกาล

ข้อ ๒๐ ใหใ้ ช้ระเบยี บโรงเรียนเสลภมู ิพิทยาคม วา่ ดว้ ยการประเมนิ ผลการเรียนตามหลกั สูตรโรงเรยี น
เสลภมู พิ ิทยาคม ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กบั ผูเ้ รยี นในหลักสตู รโรงเรียน
เสลภมู พิ ทิ ยาคม ใช้ในทกุ ชนั้ เรียน

ขอ้ ๒๑ การเปลย่ี นแปลงแกไ้ ข เพิ่มเติมระเบียบน้ี ต้องได้รบั การพจิ ารณาจากคณะกรรมการบรหิ าร
หลักสูตรและวิชาการของโรงเรียนเสลภูมิพทิ ยาคม แล้วเสนอขอความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา
ขนั้ พนื้ ฐานของโรงเรยี นเพ่อื ประกาศใชต้ อ่ ไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๓ เดือน มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๐

(นายไพฑรู ย์ มนตรี) (นายพูนศกั ดิ์ ปิยมาตย์)
ผ้อู านวยการโรงเรยี นเสลภูมพิ ิทยาคม ประธานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

โรงเรียนเสลภมู ิพทิ ยาคม

๒๒๐

คำสั่งโรงเรยี นเสลภูมิพิทยำคม

ท่ี ๗๗/ ๒๕๖๒

เรอ่ื ง แต่งตง้ั คณะกรรมกำรปรับปรุงและพัฒนำหลักสตู รสถำนศกึ ษำ พทุ ธศักรำช ๒๕๖๑

กล่มุ สำระกำรเรยี นรูว้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี

-------------------------------------------------------

ตามคาสัง่ กระทรวงศึกษาธกิ ารท่ี สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ เร่ือง ใหใ้ ช้มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชี้วดั

กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา

ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช

๒๕๕๑

เพ่อื ให้การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสอดคล้องกบั การเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม

สภาพแวดลอ้ ม และความรู้ทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที เ่ี จรญิ ก้าวหนา้ อย่างรวดเร็ว เปน็ การพฒั นาและ

เสริมสรา้ งศกั ยภาพคนของชาตใิ ห้สามารถเพิม่ ขีดความสามรถความสามรถในการแขง่ ขันของประเทศ การ

ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาและการเรียนให้มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล สอดคล้องกบั ประเทศไทย

๔.๐ ในโลกศตวรรษ ๒๑ และทักเทียมกบั นานาชาติ ผ้เู รียนมีศกั ยภาพในการแข่งขนั และดารงชวี ิตอย่าง

สรา้ งสรรคใ์ นประชาคมโลก ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ฉะน่ัน อาศัยอานาจตามความในมาตร ๕ แห่งพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และ

แก้ไขเพ่ิมเตมิ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และมาตร ๑๒ แห่งพระราชบญั ญตั ิระเบยี บราชการ

กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ กระทรวงศกึ ษาธิการจึงประกาศใชม้ าตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ช้ีวัด กลุ่ม

สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา

และวฒั นธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

เพ่ือสนองนโยบายดังกล่าว โรงเรียนเสลภมู พิ ทิ ยาคม จึงแต่งตงั้ คณะกรรมการปรับปรงุ และพัฒนาหลกั สตู ร

พ.ศ. ๒๕๖๑ ดงั ตอ่ ไปนี้

๑. สาระวทิ ยาศาสตร์กายภาพ และชีวภาพ (ม.ต้น) ประกอบด้วย

๑. นางนภาพร จนั ทะปิดตา ครูชานาญการพิเศษ ประธานกรรมการ

๒. นางสภุ าพ จิตราช ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ

๓. นายปญั ญา นา่ บณั ฑิต ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ

๔. นายรักชาติ อาวรณ์ ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ

๕. นางณฐั ธิรา พรมวิจิตร ครชู านาญการ กรรมการ

๖. นายธนพล นิลผาย ครู กรรมการ

๗. นางสาววริ ิยะ ลามคา ครูผชู้ ่วย กรรมการและเลขานุการ

๒. สาระวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ (ฟสิ ิกส์) ประกอบดว้ ย ๒๒๑

๑. นายพรชยั กาหอม ครูชานาญการพิเศษ ประธานกรรมการ
กรรมการ
๒. นายธรี ดนย์ โพธิคา ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ
กรรมการ
๓. นางสมฤทัย กาหอม ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ
กรรมการ
๔. นางสงกรานต์ มลู ศรแี กว้ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการและเลขานุการ

๕. นายทองคณู จันทสงิ ห์ ครชู านาญการ ประธานกรรมการ
กรรมการ
๖. นายธนพล นลิ ผาย ครู กรรมการ
กรรมการ
๗. นายธรี ยทุ ธ ดวงมาลา ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ
กรรมการ
๓. สาระวิทยาศาสตร์กายภาพ (เคม)ี ประกอบด้วย กรรมการและเลขานุการ

๑. นายพมิ พ์ชนก โคตรฉวะ ครูชานาญการพิเศษ ประธานกรรมการ
กรรมการ
๒. นางสกุ านดา ฤทธิทิพย์ ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ
กรรมการ
๓. นางชุตมิ า ศรีเรือง ครชู านาญการพิเศษ กรรมการและเลขานุการ

๔. นางสธุ ัมมา กาบนิ พงษ์ ครชู านาญการพิเศษ ประธานกรรมการ
กรรมการ
๕. นางสาวฉันทนา ภาโนมัย ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ
กรรมการ
๖. นางสาวพไิ ลวรรณ พรรณขาม ครผู ูช้ ว่ ย กรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
๗. นางสาวณฐาภคั ทูลธรรม ครชู านาญการ
ประธานกรรมการ
๔. สาระวทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ (ชวี วิทยา) ประกอบดว้ ย กรรมการ
กรรมการ
๑. นางอรทัย โนนแกว้ ครชู านาญการพเิ ศษ

๒. นางสาวสกุ ญั ญา แก้วนอก ครูชานาญการพิเศษ

๓. นางสาวฐติ าภรณ์ อนิ ทร์งาม ครผู ชู้ ่วย

๔. นางสาวเพชรแพรว เนติศรี ครพู เิ ศษ

๕. นางสาวเบญจพร พรประสิทธ์ิ ครูพิเศษ

๕. สาระโลก และอวกาศ ประกอบดว้ ย

๑. นายรักชาติ อาวรณ์ ครูชานาญการพเิ ศษ

๒. นางสกุ านดา ฤทธิทิพย์ ครชู านาญการพิเศษ

๓. นางชตุ ิมา ศรีเรือง ครชู านาญการพิเศษ

๔. นางสาวณฐาภัค ทลู ธรรม ครชู านาญการ

๕. นายธนพล นิลผาย ครู

๖. นางสาวฉันทนา ภาโนมยั ครูชานาญการพิเศษ

๖. สาระเทคโนโลยี ประกอบด้วย

๑. นายเกยี รตศิ ักดิ์ ศรีเรือง ครชู านาญการพเิ ศษ

๒. นายวฒั นา อายุพฒั น์ ครชู านาญการพเิ ศษ

๓. นายสนุ ทร โวหารลกึ ครูชานาญการ

๒๒๒

๔. นางสาวกฤตยิ า พลหาญ ครูชานาญการ กรรมการ

๕. นางสาวปิยะฉตั ร เพช็ รักษา ครผู ู้ช่วย กรรมการ

๖. นางสาวจิตราภรณ์ ทอดภกั ดี พนกั งานราชการ กรรมการ

๗. นางสาวจิราภรณ์ พ้องเสยี ง ครูพเิ ศษ กรรมการ

๘. นางสาวปน่ิ ชนก บญุ ทนั ครพู ิเศษ กรรมการ

๙. นายอภสิ ทิ ธ์ิ ฉัตรเฉลมิ ครชู านาญการ กรรมการและเลขานุการ

หน้ำที่

๑. ทบทวนหลักสูตร วางแผนการปรบั ปรงุ กาหนดสาระรายละเอยี ดของหลกั สตู รระดับสถานศกึ ษา

และแนวทางการจัดสดั ส่วนสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของสถานศึกษา ใหส้ อดคล้องกบั หลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) และสภาพเศรษฐกจิ สังคม

ศลิ ปวฒั นธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่นิ

๒. จดั เตรยี มเอกสารเพ่ือเตรยี มปรบั ปรุงหลกั สูตร เชน่ โครงสร้างหลกั สตู ร หลักสูตรแกนกลาง

การศกึ ษาขึน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) หลักสูตรสถานศึกษา มาตรฐานการ

เรยี นรู้ ตัวชวี ดั /ผลการเรียนรู้

๓. ปรับปรงุ คาอธิบายรายวิชา โครงสร้างราวิชา หน่ายการเรียนรู้ และเอกสารประกอบหลกั สูตร

ต่างๆ ทุกสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

๔. รายงานผลการปรับปรุงหลกั สตู รสถานศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

โดยเนน้ ผลการพฒั นาคณุ ภาพการเรียนต่อคณะกรรมการบริหารหลักสตู รโรงเรียน เพือ่ ให้สอดคลอ้ งกบั จานวน

ครู นักเรยี น และห้องเรียนจดั ทารปู เลม่ นาเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาอนุมตั ิ

ใหค้ ณะกรรมการที่ไดร้ ับการแต่งตั้งปฏบิ ัติหนา้ ท่ีอย่างเต็มกาลงั ความสามารถ เพ่ือใหเ้ กดิ ผลดีตอ่ การ

พฒั นาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนตอ่ ไป

สง่ั ณ วันที่ ๒๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

(นายไพฑูรย์ มนตรี)
ผูอ้ านวยการโรงเรียนเสลภมู ิพิทยาคม


Click to View FlipBook Version