The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กฤติยา พลหาญ, 2022-05-15 11:50:54

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม

๑๔๙

โครงสรา้ งรายวชิ า โลก และดาราศาสตร์ ๑ รหสั วิชา ว ๓๑๒๖๑
เวลาเรียน ๒ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ๔๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน ๑.๐ หนว่ ยการเรยี น

หนว่ ยการเรยี นรู้ หน่วยยอ่ ยการเรียนรู้ จานวนช่วั โมง
โครงสรา้ งโลก ๔
โลกและการเปลยี่ นแปลง -การศกึ ษาโครงสรา้ งโลกโดยใชค้ ลืน่ ไหวสะเทอื น ๖
-ลกั ษณะสร้างโลกแต่ละชน้ั
ธรณปี ระวัติ ๖
แผ่นดินไหวและภเู ขาไฟระเบดิ -ทฤษฎที วปี เลอื่ น ๖
-หลักฐานและขอ้ มูลทางธรณีวิทยาที่สนบั สนนุ การ
แร่และหิน เคลื่อนทข่ี องทวีป ๘
ทรัพยากรธรณี -กระบวนการทท่ี าให้เกิดการเคลอ่ื นทีข่ องแผน่ ธรณี ๖
แผนท่ี -ลกั ษณะการเคลื่อนทข่ี องแผ่นธรณี ๔
-การเปล่ียนลกั ษณะของเปลอื กโลก

-อายทุ างธรณวี ิทยา
-ซากดกึ ดาบรรพ์
-การลาดบั ช้นั หนิ

-แผน่ ดนิ ไหว
-ภเู ขาไฟ
-ตาแหนง่ แผน่ ดินไหวและภูเขาไฟบนโลก
-สึนามิ

-แร่
-ชนิดและวัฏจกั รของหิน

-ทรพั ยากรพลังงาน
-ทรัพยากรโลหะ
-ทรัพยากรอโลหะ

-แผนทภ่ี ูมปิ ระเทศ
-แผนทีธ่ รณีวิทยา
-แผนท่อี ่ืนๆ

๑๕๐

ตัวช้วี ัด/ผลการเรียนรู้
รายวิชาโลกและดาราศาสตร์๑ ว๓๑๒๖๑ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๔

คะแนนทีป่ ระเมิน

ตัวชีวดั /ผลการเรียนรู้ท่ี
้ขอ ี่ท
ราย ้ขอ ่กอนกลางภาคเ ีรยน

สอบกลางภาค
ราย ้ขอหลังกลางภาคเ ีรยน
คุณลักษณะ ่ีทพึงประสงค์

สอบปลายภาค
รวมคะแนน ั้ทงหมด

๑ อธบิ ายการแบง่ ช้ันและสมบัตขิ องโครงสร้างโลก พรอ้ ม ๓๓ ๑๗
ยกตัวอย่างขอ้ มูลท่สี นับสนนุ ๑๗
๑๗
๒ อธิบายหลักฐานทางธรณีวิทยาทส่ี นับสนนุ การเคล่อื นทข่ี อง ๓ ๓ ๑๗
แผน่ ธรณี ๒๗

๓ ระบสุ าเหตแุ ละอธิบายแนวรอยตอ่ ของแผ่นธรณที ส่ี มั พนั ธ์ ๒๗

กบั การเคลอื่ นที่ของแผ่นธรณพี รอ้ มยกตวั อย่างหลักฐานทาง ๓ ๓ ๑๗
๔๙
ธรณวี ทิ ยาที่พบ ๔๙
๔๘
๔ วเิ คราะหห์ ลักฐานทางธรณีวทิ ยาทีพ่ บในปจั จุบันและ ๓๓
อธิบายลาดับเหตุการณ์ ทางธรณวี ิทยาในอดีต

๕ อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิดภเู ขาไฟระเบิดและปัจจยั ที่

ทาใหค้ วามรนุ แรงของการปะทแุ ละรูปรา่ งของภูเขาไฟ ๓ ๒
แตกตา่ งกนั รวมทง้ั สืบคน้ ขอ้ มลู พ้นื ทเ่ี สีย่ งภัยการปฏบิ ตั ิตน

ออกแบบและนาเสนอแนวทางการเฝ้าระวงั และใหป้ ลอดภยั

๖ อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกิด ขนาดและความรุนแรง

และผลจากแผ่นดนิ ไหว รวมทัง้ สืบคน้ ข้อมลู พืน้ ทีเ่ สีย่ งภยั ๓ ๒
ออกแบบและนาเสนอแนวทางการเฝา้ ระวงั และการปฏิบัติ

ตนใหป้ ลอดภยั

๗ อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกิด และผลจากสึนามิรวมทงั้

สืบคน้ ขอ้ มลู พืน้ ทเ่ี ส่ียงภัยออกแบบและนาเสนอแนว ๒๔

ทางการเฝ้าระวังและการปฏิบัตติ นใหป้ ลอดภัย

๘ ตรวจสอบ และระบุชนดิ แร่ รวมท้ังวิเคราะหส์ มบัตแิ ละ ๕
นาเสนอการใชป้ ระโยชนจ์ ากทรัพยากรแร่ท่ีเหมาะสม

๙ ตรวจสอบ จาแนกประเภท และระบชุ อื่ หินรวมทัง้ วิเคราะห์

สมบัตแิ ละนาเสนอการใชป้ ระโยชนข์ องทรพั ยากรหนิ ที่ ๕

เหมาะสม

๑๐ อธบิ ายกระบวนการเกิด และการสารวจแหล่งปโิ ตรเลยี ม ๔

๑๕๑

และถ่านหนิ โดยใช้ข้อมลู ทางธรณีวิทยา ๔ ๔๘

๑๑ อธบิ ายสมบตั ิของผลติ ภณั ฑ์ท่ีได้จากปโิ ตรเลยี มและถา่ นหนิ ๒ ๕๗
พรอ้ มนาเสนอการใช้ประโยชนอ์ ย่างเหมาะสม ๑๐ ๑๐

๑๒ ท่กี าหนดพร้อมทง้ั อธบิ ายและยกตัวอยา่ ง การนาไปใช้
ประโยชน์

๑๔ จติ พิสัย

รวม ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๑๐ ๓๐ ๑๐๐

๑๕๒

โครงสร้างรายวชิ าวทิ ยาการคานวณและการออกแบบ ว๓๑๑๘๑
เวลาเรียน ๒ ชวั่ โมง/สัปดาห์ ๔๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน ๑.๐ หน่วยกิต

ลาดบั ช่ือหนว่ ยการเรยี นรู้ สาระสาคัญ เวลา
ท่ี (ชม.)

๑. แนวคดิ เชิงคานวณในการ แนวคิดเชิงคานวณ เป็นความสามารถในการ ๒๐
พฒั นาโครงงาน แก้ไขปัญหาโดยมุ่งเน้นการคิด เชิงตรรกะ ๒๐
หรือเปน็ การแกไ้ ขปัญหาอย่างเป็นลาดับขั้นตอน
๒. การนาแนวคดิ เชิงคานวณ และมวี ธิ กี ารแกป้ ญั หาอย่างมีระบบ
พัฒนาโครงงานที่เกย่ี วกับ
ชวี ิตประจาวนั การพัฒนาโครงงานทางด้านเทคโนโลยี เป็น
การนาแนวคิดเชิงคานวณมาแก้ปัญหาต่าง ๆ
อย่างเปน็ ระบบ เพอ่ื ให้โครงงานสาเร็จลุล่วงตาม
เปา้ หมาย

การนาแนวคิดเชิงคานวณพัฒนาโครงงาน
พฒั นาเว็บไซต์ แนะนาการใช้งานห้องสมดุ

การนาแนวคิดเชิงคานวณพัฒนาโครงงาน
โปรแกรมแจ้งเตือนการกินยาผ่าน สมาร์ต
โฟนหรือแทบ็ เลต็

๑๕๓

ตวั ชีว้ ัด/ผลการเรียนรรู้ ายวชิ าวทิ ยาการคานวณและการออกแบบ ว๓๑๑๘๑
คะแนนทป่ี ระเมนิ

ตัวชว้ี ดั /ผลการเรยี นร้รู ายวิชา
ข้อ ่ีท
คะแนนก่อนกลางภาค
คะแนนสอบกลางภาค
คะแนนหลังกลางภาค
ุคณลักษณะ ี่ทพึงประสง ์ค
คะแนนสอบปลายภาค

รวมคะแนน ้ัทงสิ้น

๑ อธบิ ายความหมายของวิทยาการคานวณคอื อะไร? ๒ ๒ - - - ๔

๒ สามารถอธิบายและทาความเข้าใจเก่ียวกับแนวคิดเชงิ ๓ ๓ - - - ๖

คานวณ

๓ สามารถออกแบบผังงานระบบเขียนรหัสลาลองและ ๕ ๒ - - - ๗
เขียนโปรแกรมเพ่ือเปรียบเทยี บจานวนได้

๔ สามารถแยกส่วนประกอบและการยอ่ ยปัญหาและการ ๕ ๓ - - - ๘
หาความสมั พันธ์แนวคิดเชิงนามธรรม

๕ สามารถเขยี น Flowchart เพื่อออกแบบให้เป็นไป ๕ ๕ - - - ๑๐
เงื่อนไขตามรูปแบบต่างๆและสามารถอธิบายข้ันตอน

การทางาน Flowchart ได้

๖ สามารถเรยี นรแู้ ละอธิบายภาษาโปรแกรมได้ ๕ ๕ - - ๒ ๑๒

๗ สามารถวเิ คราะห์ขัน้ ตอนกระบวนการการแกป้ ญั หา - - ๒ - ๓ ๕

๘ สามารถอธิบายความหมายของภาษา Python - -๓-๒๕

๙ สามารถเขียนโปรแกรมเบอ้ื งต้นดว้ ยภาษา Python - -๒-๓๕
อยา่ งง่ายได้

๑๐ สามารถเขยี นโปรแกรมการหาพืน้ ทีต่ ่าง ๆทาง - -๓-๕๘
คณิตศาสตรไ์ ด้

๑๑ สามารถเขียนโปรแกรมการตดั เกรดผลการเรียนดว้ ย - - ๕ - ๕ ๑๐
ภาษา Python

๑๒ สามารถเขยี นโปรแกรมคานวณการหาพ้ืนทีด่ ว้ ยการ - - ๑๐ - - ๑๐

เคล่อื นที่ของเต่าไพทอนดว้ ยภาษา Python ตาม
รูปภาพตามจนิ ตนาการได้

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - - - ๑๐ - ๑๐

รวมคะแนนท้ังสิ้น ๒๕ ๒๐ ๒๕ ๑๐ ๒๐ ๑๐๐

๑๕๔

โครงสรา้ งรายวชิ าเทคโนโลยี ว๓๑๒๘๑

ลาดับ ช่อื หน่วยการ สาระสาคัญ เวลาชัว่ โมง

ท่ี เรียนรู้

๑. ระบบทาง เทคโนโลยมี อี งค์ประกอบสาคัญ ๕ สว่ น ซง่ึ แต่ละสว่ นมคี วาม ๑๐

เทคโนโลยี สัมพันธเ์ กีย่ วขอ้ งกนั เรยี กวา่ ระบบเทคโนโลยี ประกอบไป ดว้ ย

ตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) ผลผลิต(outcome)

หรอื ผลลพั ธ์ (output) ทรพั ยากรทางเทคโนโลยี(resources)

ปจั จัย ที่ขดั ขวาง (constraints) เทคโนโลยีมีการเปลยี่ นแปลง

ตลอดเวลาตั้งแตอ่ ดีตจนถึง ปัจจบุ ัน ซงึ่ มีสาเหตหุ รือปัจจัยมาจาก

หลายด้าน เช่น ปัญหา ความตอ้ งการ ความกา้ วหนา้ ของศาสตร์

ตา่ งๆเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม

๒ กระบวนการเชงิ กระบวนการออกแบบทางวิศวกรรม เป็นกระบวนการคดิ สรา้ งส ๑๕

วศิ วกรรม ร รคเ์ ทคโนโลยีทเี่ ป็นระบบ เนน้ การทาซา้ เพอื่ หาทางออกท่ตี อบ

โจทย์ความตอ้ งการของมนุษยป์ ระกอบไป ดว้ ยตวั ป้อน (input)

คอื การระบปุ ญั หาหรือความต้องการ กระบวนการ (process)

คือ การระดมความคดิ และหาวธิ ี แก้ปัญหา ผลลัพธ์ (output)

คือได้เทคโนโลยีท่สี รา้ งสรรค์ ออกมาเพือ่ แก้ปัญหา และผล

สะทอ้ น (feedback) คอื การนาผล ตอบรับจากการทดสอบมา

ปรับปรุง แกไ้ ข และพฒั นาเพ่มิ เตมิ การเลอื กใช้วสั ดุให้เหมาะสม

กบั งานน้ันจาเป็นจะต้องศึกษา หรือพจิ ารณาจากสมบัติของวัสดุ

นั้นให้ตรงกบั งานทไี่ ด้ออกแบบ เพ่ือการประหยัดเวลาและการ

ลงทุน

๓ ผลงานออกแบบ การออกแบบเชิงวศิ วกรรมเรม่ิ จากการนาปัญหาหรือความ ๑๕

และ เทคโนโลยี ตอ้ งการมาเป็นจดุ เรมิ่ ต้น โดยนาโจทยม์ าจากสถานการณจ์ ริง

เน้นการเข้าใจความเชอ่ื มโยงของความรสู้ ู่เทคโนโลยีดว้ ย

กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมโดยใช้เกณฑ์ (criteria) และ

ขอ้ จากัด (constrain) เป็นตัวกาหนดเวลา ใชก้ ระบวนการคดิ

ถอยหลังเป็นผังเข้าสู่คาตอบทางวทิ ยาศาสตร์ มีคณิตศาสตร์ เป็น

เครือ่ งมือเพอ่ื ส่งต่อให้กระบวนการสรา้ งสรรคท์ าง วศิ วกรรม เห็น

การเชอื่ มตอ่ ศาสตรอ์ ยา่ งชัดเจน

๑๕๕
ตวั ชีว้ ัด/ผลการเรยี นรรู้ ายวิชาเทคโนโลยี ว๓๑๒๘๑

คะแนนท่ีประเมิน

ตวั ช้วี ัด/ผลการเรยี นรรู้ ายวิชา
้ขอที่
คะแนน ่กอนกลางภาค
คะแนนสอบกลางภาค
คะแนนห ัลงกลางภาค

ุคณ ัลกษณะที่พึง
คะแนนปสรอะบสปง ์คลายภาค

รวมคะแนนท้ัง ิ้สน

๑ สามารถอธบิ ายความหมายระบบทางเทคโนโลยี ๕๔ - - - ๙
(Technology System)

๒ ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมภาษาphp ๕ ๔ - - - ๙

๓ การเขียน Web Application ภาษา php ด้วย ๕๔ - - - ๙

โปรแกรม Dreamweaver CS๖+Appserv

๒.๕.๑๐.exe

๔ เขยี นโปรแกรมภาษา php ด้วยการสรา้ งหน้า Login ๕ ๔ - - - ๙

ใน Dreamweaver CS๖ โดยใช้ Appserv เช่ือมตอ่

ฐานขอ้ มูลได้

๕ เขียนโปรแกรมภาษา php ด้วยการสรา้ งหน้า รบั ๕ ๔ - - ๔ ๑๓

สมคั รสมาชกิ ใน Dreamweaver CS๖ โดยใช้

Appserv เชื่อมตอ่ ฐานข้อมูลได้

๖ สามารถสรา้ ง from และออกแบบระบบตา่ ง ๆ และ - - ๒ - ๔ ๖

สามารถเช่ือมต่อฐานขอ้ มูล My SQL ได้

๗ สามารถออกแบบช้ินงานระบบงาน ๑ ช้นิ งานด้วยการ - -๓-๔๗
เชอ่ื มตอ่ กับฐานข้อมลู My SQL และโชว์ข้อมูลบน - -๕-๔๙
ฟอร์มได้ - - ๑๕ - ๔ ๑๙

๘ สามารถอธบิ ายและทาความเข้าใจในหลกั การทางาน - - - ๑๐ - ๑๐
และโครงสรา้ งของฐานข้อมูลการเขียนโปรแกรมและ
เพอื่ ตดิ ต่อกบั ฐานข้อมลู ได้

๙ สามารถสร้างและออกแบบช้นิ งาน ๑ ระบบชน้ิ งาน
โดยเขยี นโปรแกรม Web Application โดยใช้
โปรแกรม Dreamweaver CS๖เชอื่ มต่อฐานข้อมูล
My SQL ได้

๑๐ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์

รวมคะแนนทั้งสนิ้ ๒๕ ๒๐ ๒๕ ๑๐ ๒๐ ๑๐๐

๑๕๖

โครงสรา้ งรายวชิ าฟสิ ิกส์ รหสั วิชา ว๓๒๒๐๒
๔ ช่วั โมง/สัปดาห์ ๘๐ ช่ัวโมง/ภาคเรยี น ๒.๐ หน่วยกิต

หนว่ ยการเรียนรู้ หนว่ ยย่อยการเรยี นรู้ จานวนชัว่ โมง
๑. การเคลอ่ื นที่แบบฮารม์ อนกิ ๑. การเคล่อื นท่แี บบฮารม์ อนกิ อย่างง่าย ๙
อย่างงา่ ย (๑๓ ชัว่ โมง) ๒. การสัน่ พอ้ ง ๔
๒. คลืน่ กล (๒๔ ชวั่ โมง) ๑. การถา่ ยโอนพลังงานของคลนื่ ๔
๒. คลื่นผวิ น้า ๖
๓. เสียง (๒๐ ชัว่ โมง) ๓. คล่นื ในเส้นเชือกและการซอ้ นทับของคลืน่ ๘
๔. สมบัตขิ องคลื่น ๖
๔. แสงและทัศนอุปกรณ์ ๑. ธรรมชาติของเสียง ๒
(๑๘ ช่วั โมง) ๒. สมบตั ขิ องคล่นื เสียง ๔
๓. ความเข้มเสียงและการได้ยนิ ๔
๔. เสียงดนตรี ๔
๕. บตี และคลืน่ นิ่งของเสยี ง ๒
๖. ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์และคล่ืนกระแทก ๔
๑. การเคล่อื นที่และอัตราเรว็ ของแสง ๒
๒. การสะทอ้ นของแสง ๔
๓. การหกั เหของแสง ๔
๔. เลนส์บาง ๒
๕. ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกบั แสง ๑
๖. ทัศนอุปกรณ์ ๒
๗. ความสว่าง ๑
๘. ตาและการมองเห็นสี ๑
๙. สี ๑
๗๕
รวม

หมายเหตุ ๑ ชัว่ โมง
๑. ปฐมนเิ ทศ และทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน ๒ ชว่ั โมง
๒ ชวั่ โมง
๒. สอบกลางภาคเรียน
๓. สอบปลายภาคเรยี น

รวมเวลาท้งั หมด ๘๐ ชั่วโมง

คะแนน ่กอนกลางภาค ๑๕๗
คะแนนสอบกลางภาค
คะแนนหลังกลางภาคผลการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ ิกส์ รหสั วิชา ว๓๒๒๐๒
คุณลักษณะ ี่ท ึพงประสงค์
คะแนนสอบปลายภาค คะแนนทีป่ ระเมิน
รวมคะแนน ้ัทงหมด
ข้อท่ี ผลการเรยี นรู้

๑ ทดลอง และอธิบายการเคล่ือนที่แบบฮารม์ อนกิ อย่างง่าย ๕ ๒ - - - ๗
ของวัตถตุ ิดปลายสปริงและลูกตุ้มอย่างง่ายรวมทง้ั
คานวณปริมาณตา่ งๆ ที่เกย่ี วข้อง

๒ อธิบายความถ่ีธรรมชาติของวตั ถุและการเกิดการส่ันพ้อง ๒ ๔ - - - ๖
๓ อธบิ ายปรากฏการณ์คล่ืน ชนดิ ของคลนื่ ส่วนประกอบ ๒ ๔ - - - ๖

ของคล่นื การแผ่ของหน้าคลืน่ ดว้ ยหลกั การของ
ฮอยเกนส์และการรวมกันของคล่นื ตามหลกั การซอ้ นทบั
พรอ้ มทั้งคานวณอัตราเร็ว ความถ่ีและความยาวคลื่น
๔ สังเกต และอธิบายการสะทอ้ น การหักเหการแทรกสอด ๒ ๔ - - - ๖
และการเลี้ยวเบนของคลื่นผวิ น้ารวมทง้ั คานวณปริมาณ
ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
๕ อธิบายการเกิดเสียง การเคลื่อนที่ของเสียงความสัมพนั ธ์ ๓ ๒ - - - ๕
ระหว่างคล่นื การกระจัดของอนุภาคกบั คลน่ื ความดัน
ความสัมพนั ธ์ระหว่างอตั ราเร็วของเสยี งในอากาศที่
ขึ้นกับอุณหภมู ใิ นหนว่ ยองศาเซลเซียสสมบัตขิ องคล่ืน
เสียง ได้แก่การสะท้อน การหักเห การแทรกสอด
การเลีย้ วเบน รวมท้งั คานวณปรมิ าณต่าง ๆท่ีเกยี่ วข้อง
๖ อธบิ ายความเข้มเสียง ระดับเสียง องคป์ ระกอบของการ ๓ ๒ - - - ๕
ไดย้ นิ คุณภาพเสียง และมลพิษทางเสียง รวมท้งั คานวณ
ปรมิ าณต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง
๗ ทดลอง และอธิบายการเกิดการส่ันพ้องของอากาศในทอ่ ๓ ๒ - - - ๕
ปลายเปิดหน่ึงด้าน รวมทงั้ สงั เกตและอธิบายการเกิดบีต
คลื่นนิ่ง ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์คลื่นกระแทกของเสยี ง
คานวณปริมาณต่าง ๆ ท่เี ก่ียวข้อง และนาความรู้เรือ่ ง
เสียงไปใช้ในชวี ิตประจาวัน
๘ ทดลอง และอธบิ ายการแทรกสอดของแสงผา่ นสลิตคู่และ - - ๕ - ๘ ๑๓
เกรตติง การเลี้ยวเบนและการแทรกสอดของแสงผา่ นสลติ
เด่ยี วรวมทง้ั คานวณปรมิ าณต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง

๑๕๘
คะแนนท่ีประเมิน

ขอ้ ที่ ผลการเรยี นรู้ คะแนน ่กอนกลางภาค
คะแนนสอบกลางภาค
คะแนนหลังกลางภาค
คุณลักษณะ ี่ท ึพงประสงค์
คะแนนสอบปลายภาค
รวมคะแนน ้ัทงหมด

๙ ทดลอง และอธิบายการสะท้อนของแสงที่ผิววัตถุตาม - - ๓ - ๔ ๗

กฎการสะท้อน เขียนรังสีของแสงและคานวณตาแหน่ง

และขนาดภาพของวตั ถุเมื่อแสงตกกระทบกระจกเงาราบ

และกระจกเงาทรงกลมรวมทง้ั อธิบายการนาความรู้เรื่อง

การสะทอ้ นของแสงจากกระจกเงาราบ และกระจกเงา

ทรงกลมไปใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจาวัน

๑๐ ทดลอง และอธิบายความสมั พนั ธร์ ะหว่างดรรชนหี ักเห - - ๔ - ๔ ๘

มมุ ตกกระทบ และมุมหักเหรวมท้ังอธิบายความสมั พนั ธ์

ระหว่างความลกึ จริงและความลึกปรากฏ มุมวกิ ฤตและ

การสะทอ้ นกลับหมดของแสง และคานวณปรมิ าณต่าง ๆ

ทเี่ ก่ียวข้อง

๑๑ ทดลอง และเขียนรังสีของแสงเพื่อแสดงภาพทเี่ กิดจาก

เลนส์บาง หาตาแหนง่ ขนาด ชนิดของภาพ และ

ความสมั พันธ์ระหว่างระยะวัตถุระยะภาพและความยาว - - ๔ - ๖ ๑๐
โฟกัส รวมทั้งคานวณปรมิ าณต่าง ๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง และ

อธบิ ายการนาความรู้เรอ่ื งการหักเหของแสงผ่านเลนส์

บางไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจาวนั

๑๒ อธบิ ายปรากฏการณธ์ รรมชาตทิ ่ีเกี่ยวกบั แสงเช่น รุ้ง การ

ทรงกลด มริ าจ และการเหน็ ท้องฟ้าเป็นสีต่าง ๆ ในช่วง - - ๒ - ๔ ๖

เวลาต่างกนั

๑๓ สงั เกต และอธิบายการมองเห็นแสงสีสีของวัตถุการผสม

สารสีและการผสมแสงสีรวมทัง้ อธิบายสาเหตุของการ - - ๒ - ๔ ๖

บอดสี

๑๔ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ - - - ๑๐ - ๑๐

รวม ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๑๐ ๓๐ ๑๐๐

๑๕๙

โครงสร้างรายวชิ าเคมี รหัสวิชา ว ๓๒๒๒๒

๓ ชว่ั โมง/สัปดาห์ ๖๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน ๑.๕ หนว่ ยกิต

หน่วยการเรยี นรู้ หน่วยย่อยการเรียนรู้ จานวนชว่ั โมง
๑. แกส๊ ๑.๑ สมบัตขิ องแกส๊ ๑
๑.๒ กฎของแก๊ส ๙
(๑๗ ช่วั โมง) ๑.๓ การแพร่ของแกส๊ ๔
๑.๔ เทคโนโลยีที่เก่ยี วขอ้ งกบั สมบัติของแก๊ส ๓
๒. อัตราการเกดิ ปฏิกิรยิ า ๒.๑ ความหมายของอตั ราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี ๔
(๒๑ ชวั่ โมง) ๒.๒ แนวคดิ เกย่ี วกบั การเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี ๓
๒.๓ พลังงานกับการดาเนนิ ไปของปฏกิ ิรยิ าเคมี ๓
๓. สมดลุ เคมี ๒.๔ ความเขม้ ข้นของสารตั้งตน้ ตอ่ อัตราการเกิดปฏกิ ริ ยิ า ๓
(๑๖ ชั่วโมง) เคมี
๒.๕ พนื้ ทผ่ี ิวของสารตั้งต้นตอ่ อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี ๒
๒.๖ อุณหภูมติ ่ออตั ราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี ๒
๒.๗ ตัวเรง่ ปฏกิ ริ ิยาเคมีและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี ๒
๒.๘ ผลจากปจั จัยท่มี ีผลต่ออัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี ๒
๓.๑ การเปลีย่ นแปลงท่ีผันกลับได้ ๒
๓.๒ การเปลย่ี นแปลงทภี่ าวะสมดลุ ๒
๓.๓ คา่ คงท่ีสมดลุ ๔
๓.๔ ผลของการเปลย่ี นแปลงความเข้มข้นต่อภาวะสมดลุ ๓
๓.๕ ผลของการเปลย่ี นแปลงความดันและอณุ หภูมติ อ่ ๓
ภาวะสมดุล
๓.๖ สมดลุ เคมีในชวี ติ ประจาวัน ๒
๕๔
รวม

หมายเหตุ

1. สอบกลางภาคเรียน ๓ ช่วั โมง
2. สอบปลายภาคเรยี น ๓ ชั่วโมง

รวมเวลาทง้ั หมด ๖๐ ชัว่ โมง

๑๖๐

ตวั ชวี้ ัด รายวชิ าเคมี ๓ รหสั วิชา ว ๓๒๒๒๒
คะแนนท่ีประเมนิ

ตวั ช้วี ดั /ผลการเรียนรู้
้ขอ ี่ท
ราย ้ขอก่อนกลางภาค
สอบกลางภาค
ราย ้ขอหลังกลางภาค
สอบปลายภาค
รวมคะแนน ้ัทงหมด

๑ อธบิ ายความสัมพนั ธแ์ ละคานวณปรมิ าตร ความดัน ๖ ๖ ๑๒

หรอื อุณหภมู ิของแก๊สทภี่ าวะตา่ ง ๆ ตามกฎของบอยล์

กฎของชารล์ กฎของเกย์–ลสู แซก กฎรวมแกส๊ กฎของ

อาโวกาโดร และกฎแกส๊ อดุ มคติ

๒ คานวณความดนั ย่อยหรือจานวนโมลของแก๊สในแก๊ส ๔ ๔ ๘

ผสม โดยใช้กฎความดนั ย่อยของดอลตัน อธบิ ายการ

แพรข่ องแกส๊ โดยใชท้ ฤษฎจี ลนข์ องแกส๊ คานวณและ

เปรยี บเทียบอัตราการแพรข่ องแก๊ส โดยใชก้ ฎการแพร่

ผ่านของ

เกรแฮม

๓ สืบค้นข้อมูล นาเสนอตัวอยา่ ง และอธิบายการ ๒๒ ๔

ประยุกตใ์ ช้ความรูเ้ กี่ยวกับสมบัติและกฎต่าง ๆ ของ

แก๊สในการอธิบายปรากฏการณ์ หรือแก้ปญั หาใน

ชีวิตประจาวันและในอตุ สาหกรรม

๔ ทดลองและเขียนกราฟการเพมิ่ ขน้ึ หรือลดลงของสารท่ี ๔ ๔ ๔ ๑๒

ทาการวดั ในปฏกิ ริ ิยา คานวณอตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

และเขยี นกราฟการลดลงหรือเพม่ิ ขึน้ ของสารทีไ่ มไ่ ด้วดั

ในปฏิกริ ิยา

๕ เขียนแผนภาพและอธบิ ายทิศทางการชนกันของอนภุ าค ๒ ๒ ๓๗

และพลังงานที่ส่งผลตอ่ อตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี

๖ ทดลองและอธบิ ายผลของความเข้มข้น เปรียบเทียบ ๒ ๒ ๓ ๔ ๑๑

อตั ราการเกิดปฏกิ ิรยิ าเมอื่ มกี ารเปล่ียนแปลงความ

เขม้ ขน้ พน้ื ทีผ่ ิวของสารตั้งต้น อุณหภมู ิ และตวั เร่ง

ปฏกิ ริ ิยา

๗ ยกตวั อย่างและอธบิ ายปัจจยั ทมี่ ีผลต่ออตั ราการ ๒๒ ๔

เกดิ ปฏิกริ ิยาเคมีในชีวติ ประจาวนั หรอื อุตสาหกรรม

๑๖๑

คะแนนทป่ี ระเมิน

้ขอ ี่ท
ราย ้ขอก่อนกลางภาค
สอบกลางภาค
ราย ้ขอหลังกลางภาค
สอบปลายภาค
รวมคะแนน ้ัทงหมด
ตัวช้วี ดั /ผลการเรยี นรู้

๘ ทดสอบและอธิบายความหมายของปฏิกริ ิยาผนั กลับ ๔๕ ๙
ภาวะสมดุลและผลของการเปล่ยี นแปลงความเข้มขน้
ของสารและปจั จัยอ่นื ๆ ต่ออัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาไป ๗ ๘ ๑๕
ขา้ งหน้า และอัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาย้อนกลบั ๒๒ ๔
จนกระท่งั ระบบอยู่ในภาวะสมดุล
๒๒ ๔
๙ คานวณคา่ คงท่สี มดุลหรอื ความเข้มข้นของปฏกิ ริ ยิ าท่ี ๑๐
ภาวะสมดุล และความเข้มขน้ ของปฏกิ ิรยิ าหลาย
ขนั้ ตอน ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๓๐ ๑๐๐

๑๐ ระบปุ จั จยั ท่ีมผี ลต่อภาวะสมดลุ และค่าคงท่ีสมดุลของ
ระบบ รวมทัง้ คาดคะเนการเปลย่ี นแปลงท่เี กิดขน้ึ เม่อื
ภาวะสมดลุ ของระบบถกู รบกวนโดยใชห้ ลักของ
เลอชาเตอลิเอ

๑๑ ยกตัวอยา่ งและอธิบายสมดลุ เคมขี องกระบวนการที่
เกดิ ขน้ึ ในสิ่งมชี ีวติ ปรากฏการณ์ในธรรมชาติและ
กระบวนการในอุตสาหกรรม

๑๒ จติ พสิ ัย

รวม

๑๖๒

โครงสร้างรายวชิ าชีววิทยา รหัสวชิ า ว๓๒๒๔๒
๓ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ ๖๐ ชัว่ โมง/ภาคเรียน ๑.๕ หนว่ ยกติ

หนว่ ยการเรียนรู้ หน่วยย่อยการเรียนรู้ จานวน
ชวั่ โมง
๑. โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก ๑.๑ เนื้อเย่ือพืช
(๒๖ ชัว่ โมง) ๓
๑.๒ โครงสร้างและหนา้ ทีข่ องราก ๕
๒. การสงั เคราะห์ด้วยแสง ๕
(๑๔ ช่ัวโมง) ๑.๓ โครงสรา้ งและหน้าทข่ี องลาต้น ๓

๓. การสืบพันธุ์ของพชื ดอก ๑.๔ โครงสร้างและหน้าทข่ี องใบ ๓
และการเจรญิ เตบิ โต ๒
(๑๔ ช่ัวโมง) ๑.๕ การแลกเปล่ยี นแก๊สและการคายนา้ ของ ๒
พ๑ชื.๖ การลาเลยี งน้าของพชื ๒
๔. การตอบสนองของพชื
(๖ ชวั่ โมง) ๑.๗ ธาตอุ าหารของพืช ๒

๑.๘ การลาเลยี งอาหารของพชื ๒

2.1 การคน้ คว้าทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับกระบวนการ ๒
สังเคราะห์ด้วยแสง ๒

๒.๒ โครงสร้างของคลอโรพลาสต์ ๓
๒.๓ กระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสง ๕
๒.๔ โครงสร้างของใบพชื C๓ และใบพืช C๔
๒.๕ วฏั จักรคารบ์ อนของพืช C๔ ๕
๒.๖ วัฏจักรคารบ์ อนของพชื CAM ๒
2.7 ปจั จยั ท่ีมีผลต่อการสังเคราะห์ดว้ ยแสง ๒
๓.๑ วัฏจกั รชีวติ ของพืชดอก ๒
๓.๒ โครงสร้างและประเภทของพชื ดอก ๖๐
๓.๓ กระบวนการสรา้ งเซลล์สืบพนั ธ์แุ ละการ

ปฏิสนิ ธิของพืช
๓.๔ การเจรญิ เติบโตของพชื
๔.๑ การตอบสนองต่อสารเคมี
๔.๒ การตอบสนองต่อสิง่ เร้าภายนอก
๔.๓ การตอบสนองตอ่ สิ่งเรา้ ภายใน
รวม

๑๖๓

ตวั ชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้
รายวิชาชวี วิทยา รหัสวชิ า ว๓๒๒๔๒

คะแนนท่ปี ระเมนิ

ขอ้ ราย ้ขอ ่กอนกลางภาค
ท่ี ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู้ สอบกลางภาค
รายข้อหลังกลางภาค
สอบปลายภาค
รวมคะแนนท้ังหมด

๑ อธิบายเก่ียวกับชนิดและลักษณะของเนื้อเยื่อพืชและ ๑ - - - ๑

เขียนแผนผังเพอื่ สรปุ ชนิดของเนอ้ื เย่อื พชื

๒ สงั เกตอธิบายและเปรียบเทียบโครงสร้างภายในของราก ๒ ๒ - - ๔
พืชใบเล้ียงเดี่ยวและรากพืชใบเล้ียงคู่จากการตัดตาม
ขวาง

๓ สังเกตอธิบายและเปรียบเทียบโครงสร้างภายในของลา ๒ ๓ - - ๕

ต้นพชื ใบเลยี งเด่ยี วและลา้ ต้นพืชใบเลย้ี งคู่จากการตัดตาม
ขวาง

๔ สงั เกตและอธิบายโครงสร้างภายในของใบพืชจากการตัด ๒ ๓ - - ๕
ตามขวาง

๕ สืบค้นข้อมูลสังเกตและอธิบายการแลกเปลี่ยนแก๊สและ ๒ ๓ - - ๕
การคายนา้ ของพชื

๖ สืบค้นข้อมูลและอธิบายกลไกการลาเลียงน้าและธาตุ ๒ ๒ - - ๔
อาหารของพชื

๗ สืบค้นข้อมูลอธิบายความสาคัญของธาตุอาหารและ ๑ - - - ๑

ยกตัวอย่างธาตุอาหารท่ีสาคัญท่ีมีผลต่อการเจริญเติบโต
ของพชื

๘ อธิบายกลไกการลาเลียงอาหารในพืช ๒๒ - - ๔

๙ สืบค้นข้อมูลและสรุปการศึกษาที่ได้จากการทดลองของ ๑ - - - ๑
นักวิทยาศาสตร์ในอดีตเกี่ยวกับกระบวนการสังเคราะห์

ดว้ ยแสง

๑๐ อธิบายข้ันตอนท่ีเกิดขึ้นในกระบวนการสังเคราะห์ด้วย ๒ ๒ - ๓ ๗
แสงของพชื C๓

๑๑ เปรียบเทียบกลไกการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ในพืช C๓ ๒ ๒ - ๓ ๗
พชื C๔ และพืช CAM

๑๖๔

๑๒ สืบค้นข้อมูลอภิปรายและสรุปปัจจัยความเข้มของแสง ๑ ๑ - ๒ ๔

ความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์และอุณหภูมิท่ีมีผล

ตอ่ การสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพืช

๑๓ อธิบายวฏั จกั รชวี ติ แบบสลบั ของพืชดอก - - ๒๒๔

๑๔ อธิบายและเปรียบเทียบกระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธ์ุ - - ๔ ๕ ๙

เพศผแู้ ละเพศเมยี ของพืชดอกและอธิบายการปฏสิ นธขิ อง

พืชดอก

๑๕ อธิบายการเกิดเมล็ดและการเกิดผลของพืชดอก - - ๓ ๔ ๗

โครงสร้างของเมล็ดและผลและยกตัวอย่างการใช้

ประโยชน์จากโครงสร้างตา่ งๆของเมลด็ และผล

๑๖ ทดลองและอธิบายเก่ียวกับปัจจัยต่างๆท่ีผลต่อการงอก - - ๓ ๓ ๖

ของเมล็ดสภาพพักตัวของเมล็ดและบอกแนวทางในการ

แก้สภาพพักตวั ของเมล็ด

๑๗ สืบค้นข้อมูลอธิบายบทบาทและหน้าท่ีของออกซิน - - ๔ ๔ ๘

ไซ โทไคนิน จิบเบอเรลลิน เอทิลีนและกรดแอบไซซิก

แ ล ะ อ ภิ ป ร า ย เ ก่ี ย ว กั บ ก า ร น า ไ ป ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ท า ง

การเกษตร

๑๘ สืบคน้ ขอ้ มูลทดลองและอภิปรายเกี่ยวกับสิ่งเร้าภายนอก - - ๔ ๔ ๘

ท่ีมีผลตอ่ การเจรญิ เติบโตของพชื

๑๙ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - - - - ๑๐

รวม ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๓๐ ๑๐๐

๑๖๕

โครงสร้างรายวชิ าโลกและดาราศาสตร์ ๒ รหสั วชิ า ว ๓๒๒๖๒
เวลาเรียน ๒ ช่วั โมง/สปั ดาห์ ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรยี น ๑.๐ หนว่ ยการเรียน

หน่วยการเรียนรู้ หนว่ ยย่อยการเรียนรู้ จานวนช่วั โมง
๑๐
การหมนุ เวยี นลมของระบบ -การหมนุ เวียนลมของระบบของโลก
๑๐
ของโลกและการหมนุ เวียนของ -การหมนุ เวียนของน้าในมหาสมทุ ร
๑๐
นา้ ในมหาสมทุ ร
๑๐
เมฆและการเกดิ เมฆ -เมฆและการเกดิ เมฆ

-เสถียรภาพของอากาศ

-แนวปะทะอากาศ

ความแปรปรวนของอากาศ -ปรากฏการณ์เอลนโี ญ และลานญี า่

-ปรากฏการณเ์ รือนกระจก

-คล่ืนความร้อน

การพยากรณ์อากาศ -การตรวจอากาศ

-ข้นั ตอนในการพยากรณ์อากาศ

-วธิ กี ารพยากรณ์อากาศ

-แผนทอ่ี ากาศ

๑๖๖

โครงสรา้ งรายวชิ า การสรา้ งAnimationดว้ ยโปรแกรมFlash

ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๕ ภาคเรียนที่ ๑

ท่ี ชื่อหนว่ ยการเรยี น สาระสาคญั เวลา
(ช่วั โมง)

๑ รจู้ กั กบั Flash CS ปัจจุบัน การนาเสนอข้อมูลบนสือ่ ต่างๆ มีการพัฒนาข้ึนมา ๔

อยา่ งรวดเรว็ สามารถนาเสนอได้ทัง้ ภาพเคล่ือนไหวและ

เสยี งพรอ้ มๆ กนั ไดท้ นั ที แต่ต้องอาศยั เทคนคิ จากโปรแกรม

มากมายที่มคี วามย่งุ ยากและซับซ้อน ยิง่ กว่านน้ั ผลงานที่

สร้างออกมายงั มีขนาดใหญอ่ ีกดว้ ย แตเ่ ราก็พบทางออกของ

ทกุ ๆ ปัญหาที่กล่าวมาโดยการใชง้ านโปรแกรม “Flash”

๒ การวาดรปู และลงสี การสรา้ งภาพกราฟิกใน Flash มี ๒ วธิ ี วิธีแรกคือการใช้ ๔

เครอ่ื งมอื Flash สร้างข้นึ มา และวิธที ี่ ๒ คือนาเข้าภาพจาก

ภายนอก อาจเปน็ ภาพถ่ายหรอื ภาพทส่ี ร้างจากโปรแกรม

กราฟิกอนื่ ก็ได้ เชน่ Illustrator หรือ Photoshop ซึง่ มไี ด้

หลากหลายนามสกลุ อาทิ .GIF .PNG .BMP เป็นตน้

สาหรับในบทนีเ้ ราจะกล่าวถึงการสรา้ งภาพกราฟกิ ดว้ ยวธิ ี

แรก นัน่ คอื การใชเ้ คร่อื งมอื ใน Flash วาดรูปข้ึนมาเอง โดย

เราจะกลา่ วถงึ หลกั การพ้นื ฐานและการใช้เคร่ืองมอื วาดทลี ะ

ตวั

๓ ซมิ บอลและ ซิมบอล (symbol) คือการนาออบเจ็กต์ที่เปน็ ภาพกราฟิก ๔

อนิ สแตนซ์ ปุม่ กด หรือมูฟวี่ มากาหนดเป็นตน้ แบบ เพื่อนาไปใช้เปน็

สว่ นประกอบในช้ินงานโดยซมิ บอลท่สี รา้ งจะถกู เกบ็ ไวใ้ น

พาเนล LIBRARY

๔ การนาเข้า เราไดก้ ล่าวไปแลว้ วา่ ภาพกราฟกิ นัน้ แบ่งออกได้เปน็ ๒ ๔

ภาพกราฟิกจาก ประเภท คือ ภาพบิทแมป และภาพเวกเตอร์ เนอื่ งจาก

ภายนอก Flash เป็นโปรแกรมท่ที างานกบั ภาพเวกเตอรเ์ ปน็ หลกั
ดังนั้นในบทการวาดรปู การใชส้ ี และการสร้างข้อความทไี่ ด้

กลา่ วไปแลว้ จึงเปน็ การสร้างภาพหรอื ข้อความทเี่ ปน็

เวกเตอร์ทัง้ สิน้ อยา่ งไรก็ตามภาพเวกเตอร์มขี อ้ จากดั ตรงท่ี

ไมส่ ามารถแทนภาพถ่าย หรอื ภาพทีม่ ีรายละเอยี ดสงู ไดด้ นี ัก

ในบางกรณีเราจงึ ยงั ต้องใช้ภาพบิทแมปในช้ินงานทสี่ ร้างอยู่

ซึ่งเราจะตอ้ งนาเข้าภาพบิทแมปเปน็ ไฟล์ภาพที่สร้าง โดยใช้

โปรแกรมกราฟิกอื่น เชน่ Photoshop นอกจากนน้ั เราอาจ

พบวา่ เครื่องมอื ใน Flash ยังไมค่ ล่องตัวพอที่จะสร้างภาพ

เวกเตอร์ทมี่ ีรายละเอยี ดซบั ซอ้ นมากๆ จากศนู ย์ ดังนั้นเรา

อาจจะต้องพ่งึ โปรแกรมกราฟิกสรา้ งภาพลายเส้นโดยเฉพาะ

๑๖๗

เชน่ Illustrator สร้างภาพเวกเตอรใ์ ห้เสร็จแลว้ จงึ นาเขา้ มา

ใช้ในชนิ้ งานตอ่ ไป สาหรบั เน้ือหาในบทน้จี ะกลา่ วถึงการ

นาเข้าภาพกราฟกิ จากภายนอกท้งั ภาพบทิ แมป และภาพ

เวกเตอร

๕ การสรา้ งงานแอนิ .ภาพเคลอ่ื นไหวใน Flash นั้นทาไดอ้ ยู่ ๓ วธิ ี คือ การสร้าง ๔๔

เมชน่ั ภาพเคล่ือนไหวแบบเฟรมต่อเฟรมท่เี ราตอ้ งระบขุ ้อมลู ทกุ ๔

เฟรมดว้ ยตนเอง และการสรา้ งภาพเคลอ่ื นไหวแบบทวนี ซง่ึ ๔

เราเพยี งกาหนดบางเฟรมท่สี าคัเท่านัน้ ส่วน Flash จะ

คานวณและสร้างเฟรมอ่นื ๆ ให้เองโดยอัตโนมตั ิ และการ

เคล่ือนไหวโดยการใส่กระดูก

๖ รู้จักกับ SketchUp หนงั สอื เลม่ นี้เป็นค่มู ือสาหรับการเรียนรกู้ ารใช้ซอฟตแ์ วร์สร้างงาน ๓

มิตโิ ปรแกรมหนึ่งมชี ื่อว่า SketchUp ซ่งึ เปน็ โปรแกรมท่เี หมาะสาหรบั

ผู้ทเ่ี ร่มิ ต้นศึกษาการวาดเขยี นแบบ และสรา้ งโมเดล ๓ มติ ิ เน่อื งจาก

SketchUp มขี ้อดใี นการใช้งานหลายอย่าง หนึ่งในนั้นคือโปรแกรมนี้

ใช้งานไดฟ้ รีและไม่ต้องการเคร่ืองคอมพิวเตอรร์ าคาแพง

๗ การใช้เครื่องมอื วาด การสร้างโมเดล ๓ มิติแม้ว่าโครงสร้างจะซับซอ้ นเพียงใดกเ็ ร่ิมตน้

จากรูปทรงพ้ืนฐานทางคณติ ศาสตรท์ ง้ั สนิ้ ไม่วา่ จะเป็นเสน้ ตรง เสน้

โคง้ สี่เหลย่ี ม วงกลม และรปู ทรงอ่ืนๆ เราจงึ ควรศึกษาเคร่ืองมือ

วาดรปู ทรงพื้นฐานที่มีใน SketchUp ให้เกิดความคุ้นเคย และวาดได้

อยา่ งแม่นยาเสยี กอ่ น และการต่อยอดในการสร้างโมเดลต่างๆ ต่อไป

จะเป็นเรื่องท่ไี มย่ าก

๘ การใช้เครอ่ื งมือ เครอ่ื งมอื ทจ่ี าเปน็ ตอ่ จากเครือ่ งมือวาดและสร้างรูปทรงคอื กลมุ่

ปรับแตง่ เครอื่ งมือปรบั แต่งตา่ งๆ เครือ่ งมอื เหล่านีจ้ ะทาใหว้ ัตถุพ้ืนฐานทีเ่ รา
วาดกลายเป็นโมเดลทต่ี ้องการไดด้ ว้ ยเทคนคิ หลายอยา่ งด้วยกนั ทาง

SketchUp ได้ออกแบบการปรบั แต่งรูปทรงวตั ถุให้ทางานง่ายและ

รวดเรว็

๙ เครื่องมอื เกยี่ วกบั ในบทนีจ้ ะเป็นการใชเ้ ครอื่ งมือเทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั งานเขียนแบบ และ

งานเขียนแบบ จาเป็นตอ้ งทางานควบค่กู ันไป ได้แก่ เคร่อื งมือเก่ียวกับการทางาน
กบั แกน การวัดระยะ วดั มมุ การเขยี นบอกขนาดวัตถุ การเขยี น

ขอ้ ความกากบั ตาแหนง่ ต่างๆ ซ่ึงเป็นหลกั มาตฐานในการเขียนแบบ

โดยทว่ั ไป

๑๐ การนาเขา้ และ โปรแกรม SketchUp สามารถนาไฟล์กราฟิกจากภายนอกเข้ามาใช้

สง่ ออกชิน้ งาน งานได้ และสามารถบนั ทกึ ไฟลช์ น้ิ งานออกไปเพ่อื ใชก้ บั โปรแกรมอน่ื
ได้เชน่ กันทง้ั ในรปู แบบภาพ ๒ มิติ, วตั ถุ ๓ มิติ หรอื วิดโี อแอนเิ มช่นั

เมือ่ ผูเ้ รียนได้ศกึ ษาในบทนแ้ี ล้วกจ็ ะร้จู ักประเภทไฟลท์ ่สี ามารถ

นาเขา้ และส่งออกไปใชง้ านได้ และสามารถกาหนดค่าในการพิมพ์

ช้ินงานได้

๑๖๘

ผลการเรียนรู้ การสร้างAnimationด้วยโปรแกรมFlash ๒ ว๓๒๒๖๓
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๕ ภาคเรียนท่ี ๑

คะแนนระหวา่ งภาค:ปลายภาค ๘๐:๒๐ (๔๐ ช่วั โมง) จานวน ๑ หนว่ ยการเรยี น

คะแนนทีป่ ระเมิน

ตัวชว้ี ดั /ผลการเรียนรู้
้ขอ ี่ท
วัดผลก่อนกลางภาค
วัดผลกลางภาค
ัวดผลหลังกลางฯ
ุคภาณคลักษณะ ฯ
ัวดผลปลายภาค

รวม

๑ สามารถอธิบายส่วนประกอบของโปรแกรม Flash ได้ ๕๕ ๑๐ ๒๐
๕๕ ๑๐
๒ สามารถวาดและตกแต่งรูปภาพได้ ๕๕ ๑๐
๕๕ ๑๐
๓ สามารถสรา้ ง Symbol และ Layerได้
๕ ๕
๔ สามารถสรา้ งภาพเคลื่อนไหวแบบต่างๆได้

๕ สามารถนารปู ภาพ เสียงและไฟล์ภาพยนตร์เข้ามาใช้
งานได้

๖ อธิบายความหมาย และความสาคัญของการใช้ ๕ ๑๐ ๑๕
เคร่อื งมอื พน้ื ฐานในการออกแบบผลติ ภัณฑ์

๗ มีความรู้ความเข้าใจดา้ นการใชโ้ ปรแกรม sketch up ๕๕
ในการออกแบบผลิตภัณฑ์

๘ ปฏบิ ัติงานออกแบบโครงรา่ งชน้ิ งาน จากโปรแกรม ๕๕
sketch up

๙ ปฏบิ ตั งิ านทารูปทรง ๓ มติ ิ ต่างๆ จากโปรแกรม ๕๕
sketch up

๑๐ ปฏบิ ตั งิ านออกแบบผลติ ภณั ฑ์ จากโปรแกรม sketch ๕๕
up ๒๕ ๒๐ ๒๕ ๑๐ ๒๐ ๑๐๐

รวม

หมายเหตุ คะแนนคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ๑๐ คะแนน ประกอบดว้ ย
ตรงตอ่ เวลา, ระเบียบวินัย, ความรบั ผดิ ชอบ, ความขยันมน่ั เพยี ร, เสยี สละอดทน

๑๖๙

โครงสรา้ งรายวิชาฟสิ ิกส์๔ รหัสวิชา ว๓๒๒๐๓
๔ ชั่วโมง/สปั ดาห์ ๘๐ ช่ัวโมง/ภาคเรยี น ๒.๐ หนว่ ยกติ

หนว่ ยการเรียนรู้ หน่วยย่อยการเรียนรู้ จานวนชัว่ โมง
๑. ไฟฟ้าสถิต (๓๗ ช่ัวโมง) ๑. ประจุไฟฟ้าและกฎการอนรุ กั ษ์ประจุไฟฟา้ ๑
๒. ตัวนาและฉนวน การเหนยี่ วนาทางไฟฟ้า ๒
๒. ไฟฟา้ กระแสตรง ๓. แรงระหวา่ งประจุและกฎของคูลอมป์ ๔
(๓๘ ชัว่ โมง) ๔. สนามไฟฟา้ ๔
๕. ศกั ย์ไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้า ๖
๖. ตวั นาทรงกลม ๔
๗. ความสัมพันธร์ ะหว่างความตา่ งศกั ย์ ๔
กบั สนามไฟฟ้าสมา่ เสมอ
๘. พลงั งานจลนจ์ ากการเรง่ ประจผุ า่ นความต่างศักย์ ๔
๙. ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า ๖
๑๐. การนาความรเู้ กีย่ วกับไฟฟา้ สถติ ไปใชป้ ระโยชน์ ๒
๑. แหลง่ กาเนดิ ไฟฟ้าและการนาไฟฟ้า ๒
๒. กระแสไฟฟ้าในเส้นลวดตวั นา ๔
๓. สภาพต้านทานและสภาพนาไฟฟ้า ๔
๔. กฎของโอห์ม ตัวตา้ นทาน ๖
และการต่อตวั ตา้ นทาน
๕. แรงเคลอื่ นไฟฟา้ และการตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้า ๖
๖. การวิเคราะหว์ งจรไฟฟา้ กระแสตรงเบ้อื งตน้ ๖
๗. พลังงานไฟฟ้าและกาลงั ไฟฟ้า ๖
๘. เคร่ืองวดั ปรมิ าณทางไฟฟา้ ๔
๗๕
รวม

หมายเหตุ ๑ ช่วั โมง
๑. ปฐมนเิ ทศ และทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น ๒ ชว่ั โมง
๒. สอบกลางภาคเรียน ๒ ชว่ั โมง
๓. สอบปลายภาคเรียน
รวมเวลาทัง้ หมด ๘๐ ชัว่ โมง

๑๗๐
ตวั ชวี้ ัด/ผลการเรยี นรู้ รายวิชาฟสิ ิกส๔์ รหสั วิชา ว ๓๒๒๐๓

คะแนนที่ประเมิน

ผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวงั รายวิชา
้ขอ ี่ท
ราย ้ขอ ่กอนกลางภาคเ ีรยน

สอบกลางภาค
ราย ้ขอหลังกลางภาคเ ีรยน
คุณลักษณะ ่ีทพึงประสงค์

สอบปลายภาค
รวมคะแนน ั้ทงหมด

อธิบายปัจจัยสาคญั ทม่ี ผี ลต่อการรับและคายพลังงานจากดวง

๑ อาทิตยแ์ ตกต่างกันและผลท่มี ตี ่ออณุ หภูมอิ ากาศในแตล่ ะ ๓๓ ๒๘

บรเิ วณของโลก

๒ อธิบายกระบวนการทีท่ าใหเ้ กิดสมดุลพลังงานของโลก ๓๓ ๒๘

อธิบายผลของแรงเนอื่ งจากความแตกตา่ งของความกดอากาศ

๓ แรงคอรอิ อลิส แรงสู่ศูนย์กลาง และแรงเสียดทานที่มีต่อการ ๓ ๓ ๒๘

หมุนเวยี นของอากาศ

๔ อธิบายการหมุนเวียนของอากาศตามเขตละตจิ ดู และผลท่มี ตี ่อ ๓ ๓ ๒๘
ภมู ิอากาศ

๕ อธบิ ายปัจจัยท่ีทาให้เกดิ การแบง่ ช้ันนา้ ในมหาสมุทร ๓๒ ๒๗

๖ อธบิ ายปัจจยั ท่ีทาให้เกิดการหมนุ เวยี นของนา้ ในมหาสมุทรและ ๓ ๒ ๒๗
รูปแบบการหมุนเวียนของนา้ ในมหาสมทุ ร

๗ อธบิ ายผลของการหมุนเวียนของนา้ ในมหาสมุทรท่มี ีต่อลักษณะ ๒ ๔ ๒๘
ลมฟา้ อากาศ สง่ิ มชี ีวิต และสิ่งแวดลอ้ ม

๘ อธิบายความสัมพันธ์ระหวา่ งเสถียรภาพอากาศและการเกิดเมฆ ๔ ๒๖

๙ อธิบายการเกิดแนวปะทะอากาศแบบต่าง ๆ และลักษณะลมฟา้ ๔ ๒๖
อากาศทเี่ กย่ี วขอ้ ง

๑๐ อธิบายปัจจัยตา่ ง ๆ ท่ีมผี ลตอ่ การเปลี่ยนแปลงภมู อิ ากาศของ ๔ ๒๖
โลก พรอ้ มยกตวั อย่างขอ้ มลู สนับสนุน

วเิ คราะห์ และอภิปรายเหตุการณ์ท่เี ป็นผลจากการเปล่ยี นแปลง

๑๑ ภมู อิ ากาศโลกและนาเสนอแนวปฏบิ ตั ิของมนษุ ย์ทม่ี ีส่วนช่วยใน ๔ ๓๗

การชะลอการเปลย่ี นแปลงภูมิอากาศโลก

๑๒ แปลความหมายสัญลกั ษณล์ มฟา้ อากาศบนแผนที่อากาศ ๒ ๔๖

วเิ คราะห์ และคาดการณ์ลกั ษณะลมฟ้าอากาศ เบอ้ื งต้นจาก

๑๓ แผนทีอ่ ากาศและข้อมูลสารสนเทศอื่น ๆ เพ่ือวางแผนในการ ๒ ๓๕

ประกอบอาชพี และการดาเนนิ ชีวิตให้

สอดคลอ้ งกับสภาพลมฟา้ อากาศ

๑๔ จติ พิสยั ๑๐ ๑๐

รวม ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๑๐ ๓๐ ๑๐๐

๑๗๑

โครงสรา้ งรายวชิ าเคมี๔ รหัสวิชา ว ๓๒๒๒๓

๓ ช่วั โมง/สัปดาห์ ๖๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน ๑.๕ หน่วยกติ

หน่วยการเรียนรู้ หน่วยย่อยการเรยี นรู้ จานวนช่วั โมง
๑. กรด-เบส ๑ ๑.๑ สารละลายอิเล็กโทรไลต์และนอนอเิ ลก็ โทรไลต์ ๔
๑.๒ สารละลายกรดและสารละลายเบส ๒
(๒๗ ช่วั โมง) ๑.๓ ทฤษฎกี รด-เบส ๗
๑.๔ การแตกตัวของกรดและเบส ๕
๒. กรด-เบส ๒ ๑.๕ การแตกตวั เป็นไอออนของน้า ๕
(๒๗ ชว่ั โมง) ๑.๖ pH ของสารละลาย ๔
๑.๗ สมการเคมีและปฏกิ ิริยาสะเทิน ๔
๑.๘ อินดเิ คเตอรส์ าหรับกรด-เบส ๓
๑.๙ ปฏิกริ ิยาของกรดและเบส ๗
๑.๑๐ การไทเทรตกรด-เบส ๗
๑.๑๑ สารละลายบัฟเฟอร์ ๖
๕๔
รวม

หมายเหตุ

1. สอบกลางภาคเรียน ๓ ชวั่ โมง
2. สอบปลายภาคเรยี น ๓ ช่ัวโมง

รวมเวลาทงั้ หมด ๖๐ ชัว่ โมง

๑๗๒

ตวั ชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ รายวชิ าเคมี๔ รหัสวชิ า ว ๓๒๒๒๓
คะแนนทป่ี ระเมนิ

ตัวช้วี ัด/ผลการเรียนรู้
้ขอ ี่ท
ราย ้ขอก่อนกลางภาค
สอบกลางภาค
ราย ้ขอหลังกลางภาค
สอบปลายภาค
รวมคะแนน ้ัทงหมด

๑ ระบแุ ละอธบิ ายวา่ สารเป็นกรดหรือเบส โดยใชท้ ฤษฎี ๕๕ ๑๐
กรด-เบสของอารเ์ รเนยี ส เบรินสเตด-ลาวรี และลิวอสิ
๕๕ ๑๐
๒ ระบุคู่กรด-เบสของสาร ตามทฤษฎกี รด-เบสของ
เบรนิ สเตด-ลาวรี ๕๕ ๑๐

๓ คานวณและเปรียบเทยี บความสามารถในการแตกตวั ๕๕ ๑๐
ของกรดและเบส
๔๕ ๙
๔ คานวณคา่ pH ความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออน
หรือไฮดรอกไซดไ์ อออนของสารละลายกรดและเบส ๓๕ ๘

๕ เขียนสมการเคมีแสดงปฏกิ ิริยาสะเทิน และระบุความ ๓๕ ๘
เป็นกรด-เบสของสารละลายหลังการสะเทนิ
๔๕ ๙
๖ เขียนปฏิกิรยิ าไฮโดรลิซิสของเกลอื และระบุความเปน็
กรด-เบสของสารละลายเกลือ ๓๕ ๘

๗ ทดลองและอธิบายหลักการการไทเทรต และเลือกใช้ ๓๕ ๘
อินดเิ คเตอรท์ ่ีเหมาะสมสาหรบั การไทเทรตกรด-เบส
๑๐
๘ คานวณปรมิ าณสารหรือความเข้มข้นของสารละลาย ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๓๐ ๑๐๐
กรดหรือเบสจากการไทเทรต

๙ อธิบายสมบตั อิ งค์ประกอบ และประโยชน์ของ
สารละลายบัฟเฟอร์

๑๐ สืบคน้ ข้อมูลและนาเสนอตวั อยา่ งการใช้ประโยชน์และ
การแกป้ ัญหา โดยใช้ความรเู้ กย่ี วกบั กรด–เบส

๑๑ จติ พิสยั

รวม

๑๗๓

โครงสรา้ งรายวิชาชีววทิ ยา๔ รหัสวชิ า ว๓๒๒๔๓
๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๖๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน ๑.๕ หน่วยกติ

หนว่ ยการเรียนรู้ หนว่ ยยอ่ ยการเรยี นรู้ จานวนช่วั โมง
1. ระบบยอ่ ยอาหาร ๑.๑ การย่อยอาหารของจลุ ินทรยี แ์ ละส่งิ มีชีวิตเซลล์ ๒
เดยี ว
)๑๖ ช่ัวโมง( ๑.๒ การยอ่ ยอาหารของสตั ว์ ๖
๑.๓ การย่อยอาหารของมนุษย์ ๘
2. ระบบหายใจ ๒.๑ โครงสรา้ งท่ีในการแลกเปลย่ี นแกส๊ ของสงิ่ มีชีวิต ๔
)๑๔ ชั่วโมง(
เซลล์เดียวและของสัตว์ ๑๐
3. ระบบหมนุ เวยี น ๒.๒ การแลกเปลย่ี นแกส๊ ของมนุษย์ ๘
เลอื ดระบบนา้ เหลือง ๓.๑ การลาเลียงสารในรา่ งกายของสตั ว์ ๓
และระบบภูมคิ ุ้มกนั ๓.๒ การลาเลียงสารในร่างกายของมนุษย์ ๓
) ๒๐ ชว่ั โมง( ๓.๓ ระบบน้าเหลอื ง ๔
4. ระบบขบั ถา่ ย ๓.๔ ระบบภูมคิ มุ้ กนั ๒
๓.๕ ความผิดปกติของระบบภมู ิคมุ้ กัน ๓
)๑๐ ชว่ั โมง( ๔.๑ การขับถา่ ยของสง่ิ มีชีวิตเซลล์เดียวและของสตั ว์ ๗
๔.๒ การขบั ถา่ ยของมนุษย์ ๖๐

รวม

๑๗๔

ตัวชีว้ ัด/ผลการเรยี นรู้
รายวชิ าชวี วทิ ยา๔ รหัสวชิ า ว๓๒๒๔๓

คะแนนทป่ี ระเมิน

ขอ้
ท่ี ตวั ชวี้ ัด/ผลการเรยี นรู้
ราย ้ขอ ่กอนกลางภาค
สอบกลางภาค
รายข้อหลังกลางภาค
สอบปลายภาค
รวมคะแนนท้ังหมด

๑ สบื คน้ ข้อมลู อธิบายและเปรยี บเทยี บโครงสรา้ งและกระบวนการ ๒ ๒ - - ๔

ยอ่ ยอาหารของสัตวท์ ีไ่ ม่มีทางเดินอาหารสัตว์ที่มีทางเดินอาหาร

ไมส่ มบรู ณแ์ ละสัตวท์ ม่ี ที างเดนิ อาหารสมบูรณไ์ ด้

๒ สังเกตอธิบายการกนิ อาหารของไฮดราและพลานาเรยี ได้ ๑๑- - ๒

๓ อธิบายเก่ียวกับโครงสร้างหน้าที่และกระบวนการย่อยอาหาร ๔ ๔ - - ๘

และการดดู ซึมสารอาหารภายในระบบย่อยอาหารของมนษุ ย์ได้

๔ สืบค้นข้อมูลอธิบายและเปรียบเทียบโครงสร้างที่ทาหน้าที่ ๔ ๓ - - ๗

แลกเปล่ียนแก๊สของฟองน้าไฮดราพลานาเรียไส้เดือนดินแมลง

ปลากบและนกได้

๕ สงั เกต อธิบายโครงสรา้ งของปอดในสตั ว์เลย้ี งลูกด้วยนา้ นมได้ ๓ ๓ - - ๖

๖ สืบค้นข้อมูลอธิบายโครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปล่ียนแก๊สและ ๔ ๔ - - ๘

กระบวนการแลกเปล่ียนแกส๊ ของมนษุ ยไ์ ด้

๗ อธิบายการทางานของปอดและทดลองวดั ปรมิ าตรของอากาศใน ๒ ๓ - - ๕

การหายใจออกของมนุษยไ์ ด้

๘ สบื คน้ ขอ้ มลู อธิบายและเปรียบเทียบระบบหมุนเวียนเลือดแบบ - - ๑ ๒ ๓

เปดิ และระบบหมนุ เวียนเลือดแบบปดิ ได้

๙ สงั เกตและอธบิ ายทศิ ทางการไหลของเลือดและการเคล่ือนท่ีของ - - ๒ ๔ ๖

เซลล์เม็ดเลือดในหางปลาและสรุปความสัมพันธ์ระหว่างขนาด

ของหลอดเลือดกับความเรว็ ในการไหลของเลอื ดได้

๑๐ อธิบายโครงสร้างและการทางานของหัวใจและหลอดเลือดใน - - ๓ ๔ ๗

มนษุ ย์ได้

๑๑ สังเกตและอธบิ ายโครงสร้างหวั ใจของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมทิศ - - ๔ ๔ ๘

ทางการไหลของเลือดผ่านหัวใจของมนุษย์และเขียนแผนผังสรุป

การหมนุ เวียนเลือดของมนุษย์ได้

๑๒ สืบคน้ ขอ้ มูลระบุความแตกต่างของเซลล์เม็ดเลือดแดงเซลล์เม็ด - - ๑ ๒ ๓

เลือดขาวเพลตเลตและพลาสมาได้

๑๗๕

๑๓ อธิบายหมู่เลือดและหลักการให้และรบั เลือดในระบบ ABO และ - - ๑ ๒ ๓

Rh ได้

๑๔ อธิบายและสรุปเก่ียวกับส่วนประกอบและหน้าที่ของน้าเหลือง - - ๔ ๔ ๘

รวมท้ังโครงสร้างและหน้าที่ของหลอดน้าเหลืองและต่อม

นา้ เหลอื งได้

๑๕ สืบค้นข้อมูลอธิบายและเปรียบเทียบกลไกการต่อต้านหรือ - - ๑ ๔ ๕

ทาลายสิง่ แปลกปลอมแบบไมจ่ าเพาะและแบบจาเพาะได้

๑๖ สืบค้นข้อมูลอธิบายและเปรียบเทียบการสร้างภูมิคุ้มกันก่อเอง - - ๒ ๒ ๔

และภมู คิ มุ้ กันรบั มาได้

๑๗ สืบค้นข้อมูลและอธิบายเกี่ยวกับความผิดปกติของระบบ - - ๑ ๒ ๓

ภูมิคุ้มกันที่ทาให้เกิดโรคเอดส์ภูมิแพ้และการสร้างภูมิต้านทาน

ตอ่ เนือ้ เย่ือตนเองได้

๑๘ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ - - - - ๑๐

รวม ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๓๐ ๑๐๐

๑๗๖

โครงสร้างรายวิชาโลกและดาราศาสตร์ ๓ รหัสวิชา ว ๓๒๒๖๓
เวลาเรียน ๒ ชัว่ โมง/สัปดาห์ ๔๐ ช่ัวโมง/ภาคเรียน ๑.๐ หนว่ ยกิต

หน่วยการเรยี นรู้ หนว่ ยยอ่ ยการเรยี นรู้ จานวนชั่วโมง
เอกภพ ๖
ดาวฤกษ์ -กาเนดิ เอกภพ ๑๒
-กาแลก็ ซี
ระบบสุรยิ ะ ๘
การบอกตาแหนง่ บนทรงกลม -แหล่งกาเนิดพลงั งานของดาวฤกษ์ ๑๐
ฟา้ -ความสอ่ งสวา่ งและโชติมาตรของดาวฤกษ์ ๔
เทคโนโลยอี วกาศ -สแี ละอุณหภมู ผิ วิ ของดาวฤกษ์
-ระยะห่างของดาวฤกษ์
-เนบิวลา แหลง่ กาเนิดดาวฤกษ์
-ระบบดาวฤกษ์
-มวลของดาวฤกษ์
-ววิ ฒั นาการของดาวฤกษ์ กาเนิดและววิ ัฒนาการของ
ดาวฤกษ์

-การกาเนิดระบบสุริยะ
-เขตของบรวิ ารดวงอาทิตย์
-ดวงอาทติ ย์

-ทรงกลมฟ้าและลูกโลก
-พิกดั ขอบฟา้ พกิ ดั ศนู ยส์ ูตร พิกัดสรุ ิยวิถี
-การกาหนดเวลาบนโลก

-กลอ้ งโทรทรรศน์
-การขนส่งและการโคจรของดาวเทียม
-ระบบขนส่งอวกาศ
-การใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยีอวกาศ

๑๗๗

ตวั ช้วี ัด/ผลการเรียนรู้
รายวิชาโลกและดาราศาสตร์๓ รหสั วชิ า ว ๓๒๒๖๓

คะแนนทีป่ ระเมิน

ผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวังรายวิชา
้ขอ ี่ท
ราย ้ขอ ่กอนกลางภาคเ ีรยน

สอบกลางภาค
ราย ้ขอหลังกลางภาคเ ีรยน
คุณลักษณะ ่ีทพึงประสงค์

สอบปลายภาค
รวมคะแนน ั้ทงหมด

๑ อธบิ ายการกาเนดิ และการเปลย่ี นแปลงพลงั งาน สสาร ขนาด ๒ ๒ ๒๖
อณุ หภมู ิของเอกภพหลงั เกดิ บิกแบงในช่วงเวลาต่าง ๆ ตาม
ววิ ัฒนาการของเอกภพ ๒๖

๒ อธิบายหลกั ฐานทีส่ นบั สนุนทฤษฎีบิกแบงจากความสัมพันธ์ ๒ ๒ ๒๕
ระหวา่ งความเรว็ กับระยะทางของกาแลก็ ซี รวมทงั้ ข้อมูลการ
ค้นพบไมโครเวฟพ้นื หลังจากอวกาศ ๒๖
๒๕
๓ อธิบายโครงสรา้ งและองค์ประกอบของกาแล็กซีทางช้างเผือก ๒ ๑
และระบุตาแหนง่ ของระบบสรุ ยิ ะพรอ้ มอธบิ ายเชอ่ื มโยงกับ ๑๕
การสงั เกตเห็นทางชา้ งเผอื กของคนบนโลก ๑๔
๑๔
๔ อธิบายกระบวนการเกดิ ดาวฤกษ์ โดยแสดงการเปลีย่ นแปลง ๒ ๒ ๑๔
ความดนั อณุ หภมู ิ ขนาดจากดาวฤกษ์ก่อนเกดิ จนเป็นดาวฤกษ์
๑๔
๕ อธบิ ายกระบวนการสรา้ งพลังงานของดาวฤกษ์และผลทเี่ กดิ ขึ้น ๒ ๑ ๑๔
โดยวเิ คราะห์ปฏิกิรยิ าลกู โซ่โปรตอน-โปรตอน และวฏั จักร
คาร์บอนไนโตรเจน ออกซิเจน

๖ ระบุปัจจยั ที่สง่ ผลตอ่ ความส่องสว่างของดาวฤกษแ์ ละอธบิ าย ๒ ๒
ความสัมพันธ์ระหว่างความสอ่ งสวา่ งกบั โชตมิ าตรของดาวฤกษ์

๗ อธบิ ายความสมั พันธร์ ะหว่างสี อณุ หภมู ิผิวและสเปกตรมั ของ ๒ ๑
ดาวฤกษ์

๘ อธิบายวธิ กี ารหาระยะทางของดาวฤกษด์ ้วยหลักการแพรลั ๒ ๑
แลกซ์ พรอ้ มคานวณหาระยะทางของดาวฤกษ์

๙ อธิบายลาดบั ววิ ัฒนาการทีส่ มั พันธก์ บั มวลต้งั ต้น และวเิ คราะห์ ๑ ๒
การเปลย่ี นแปลงสมบตั บิ างประการของดาวฤกษใ์ นลาดับ
ววิ ัฒนาการ จากแผนภาพเฮิร์ซปรงุ -รสั เซลล์

๑๐ อธบิ ายกระบวนการเกิดระบบสุรยิ ะ การแบ่งเขตบริวารของ ๑ ๒
ดวงอาทติ ย์และลกั ษณะของดาวเคราะหท์ ่เี อื้อต่อการดารงชีวติ

๑๑ อธบิ ายการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทติ ย์ด้วยกฎเคพ ๑ ๒
เลอร์ และกฎความโนม้ ถว่ งของนวิ ตัน พรอ้ มคานวณคาบการ
โคจรของดาวเคราะห์

๑๗๘

๑๒ อธิบายโครงสร้างของดวงอาทิตย์ การเกิดลมสรุ ิยะ พายสุ รุ ยิ ะ ๑ ๒ ๑๔

และวเิ คราะห์ นาเสนอปรากฏการณ์หรือเหตกุ ารณท์ ่เี กยี่ วข้อง

กับผลของลมสุรยิ ะ และพายสุ รุ ยิ ะทม่ี ีตอ่ โลกรวมท้งั ประเทศ

ไทย

๑๓ สรา้ งแบบจาลองทรงกลมฟา้ สงั เกต และเชื่อมโยงจดุ และเส้น ๓ ๒๕

สาคัญของแบบจาลองทรงกลมฟ้ากับท้องฟา้ จริง และอธบิ าย

การระบุพิกดั ของดาวในระบบขอบฟ้า และระบบศูนย์สตู ร

๑๔ สงั เกตทอ้ งฟา้ และอธบิ ายเส้นทางการขน้ึ การตกของดวง ๓ ๒๕

อาทิตย์และดาวฤกษ์

๑๕ อธบิ ายเวลาสรุ ิยคตปิ รากฏ โดยรวบรวมข้อมลู และ ๓ ๒๕

เปรยี บเทียบเวลาขณะทด่ี วงอาทติ ยผ์ า่ นเมริเดยี นของผูส้ งั เกต

ในแต่ละวนั

๑๖ อธิบายเวลาสรุ ยิ คติปานกลาง และการเปรียบเทียบเวลาของแต่ ๓ ๒๕

ละเขตเวลาบนโลก

๑๗ อธบิ ายมุมหา่ งทส่ี ัมพันธ์กับตาแหน่งในวงโคจร และอธิบาย ๒ ๒๔

เชอ่ื มโยงกับตาแหน่งปรากฏของดาวเคราะหท์ ี่สงั เกตได้จาก

โลก

๑๘ สบื คน้ ขอ้ มลู อธบิ ายการสารวจอวกาศ โดยใช้กลอ้ งโทรทรรศน์ ๓ ๓๖

ในช่วงความยาวคลืน่ ต่าง ๆ ดาวเทยี ม ยานอวกาศ สถานี

อวกาศ และนาเสนอแนวคดิ การนาความรูท้ างด้านเทคโนโลยี

อวกาศมาประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวันหรอื ในอนาคต

๑๙ สบื ค้นข้อมลู ออกแบบ และนาเสนอกิจกรรมการสงั เกตดาวบน ๓ ๓

ท้องฟา้ ด้วยตาเปล่าและ/หรือกลอ้ งโทรทรรศน์

๒๐ จติ พิสัย ๑๐ ๑๐

รวม ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๑๐ ๓๐ ๑๐


๑๗๙

โครงสร้างรายวิชาการเขยี นโปรแกรมเบ้ืองต้น ว๓๒๒๘๓
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒

ลาดับ ชอื่ หน่วยการเรยี น สาระสาคญั เวลา
ท่ี (ชั่วโมง)

๑ ภาษาคอมพิวเตอร์ เครอื่ งคอมพิวเตอร์เป็นอปุ กรณ์ทางอเิ ล็กทรอนิกส์ สิง่ ท่คี อมพวิ เตอร์ ๔

และการโปรแกรม เขา้ ใจคือสญั ญาณทางไฟฟ้า แต่ในการเขยี นโปรแกรมเพ่ือให้ ๔

คอมพิวเตอรท์ างานน้ันมภี าษาให้เลอื กใชห้ ลายภาษา นกั ศึกษา ๔

จะต้องเขา้ ใจว่าเหตใุ ดคอมพิวเตอรจ์ งึ สามารถประมวลผลภาษา ๔

โปรแกรมได้ และโปรแกรมทไ่ี ดถ้ ูกสรา้ งขนึ้ ก็มหี ลายประเภทขึ้นอยู่กบั

การประยุกต์มาใชง้ านกับเครอื่ งคอมพิวเตอร์ สาหรับโปรแกรมภาษา

ท่นี ามาใช้ในการศึกษาของหนงั สอื เล่มนี้คอื โปรแกรมเทอรโ์ บซี ซงึ่

นักศกึ ษาจะตอ้ งเข้าใจขนั้ ตอนในการพัฒนาโปรแกรมดว้ ยภาษาซใี ห้

สามารถประมวลผลตามตอ้ งการได้

๒ โครงสรา้ งภาษาซี การเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอรน์ ้ันผเู้ ขยี นโปรแกรมจะต้องทราบ

เบอื้ งต้น หลกั การและรูปแบบของการเขียนโปรแกรมภาษาน้ันๆ ภาษาซีก็

เช่นเดียวกันรปู แบบของภาษานป้ี ระกอบด้วยส่วนต่างๆ ๕ ส่วน ได้แก่

ส่วนท่ีเป็นปรโี ปรเซสเซอร์ไดเรก็ ทีฟ สว่ นกาหนดค่า สว่ นฟังกช์ ั่นหลัก

(main) การสรา้ งฟังกช์ ่นั และสว่ นอธิบายโปรแกรม โดย

ผ้พู ัฒนาโปรแกรมจะต้องทราบว่าแตล่ ะส่วนน้นั มรี ปู แบบการเขยี น

อย่างไร

๓ ประเภทของขอ้ มูล การเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอรน์ น้ั จะต้องมกี ารประมวลผลกับข้อมลู

และตัวดาเนินการ โดยขอ้ มลู จะถกู เกบ็ อยใู่ นหนว่ ยความจาของคอมพิวเตอร์ในรปู แบบ

ของตัวแปร การประกาศตวั แปรตา่ งๆ จะใชห้ นว่ ยความจาไม่เท่ากัน

และมีชว่ งของการเก็บขอ้ มูลไม่เท่ากนั ผ้เู ขียนโปรแกรมจะต้องทราบ

วา่ ขอ้ มลู ท่ีต้องการประมวลผลน้ันเปน็ ขอ้ มูลประเภทใด และในการ

ประมวลผลจะตอ้ งมีการกระทากับตัวแปรตา่ งๆ ตวั ทน่ี ามากระทา

เรียกว่าตวั ดาเนินการ ซึง่ มที ั้งการดาเนินการทางคณติ ศาสตรแ์ ละทาง

ลอจิก ดงั น้ันผเู้ ขยี นโปรแกรมจะต้องทาความเข้าใจกบั ประเภทของ

ข้อมลู และการใช้ตวั ดาเนินการ จงึ สามารถเขียนโปรแกรมใหท้ างาน

ตามที่ตอ้ งการได้

๔ การเลือกทาตาม การเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์มักจะตอ้ งมีการสั่งใหโ้ ปรแกรมเลือก
ทาอย่างใดอย่างหนง่ึ ซงึ่ จะต้องนาคาส่ังการเลอื กทามาใช้ ในการ
เงื่อนไข เขยี นโปรแกรมภาษาซกี ม็ ีคาสง่ั สาหรับเลอื กทาคอื คาสัง่ if ซ่งึ การทา
คาสัง่ นั้นจะต้องมีการตรวจสอบเงอื่ นไขก่อนว่าจะทาสงิ่ ใดต่อไป ถา้
หากมกี ารเลอื กทาหลายทางก็สามารถนาคาสง่ั if นมี้ าซอ้ นกันได้ หรือ
เลอื กใชค้ าสงั่ Switch..Case กไ็ ด้ ดังนัน้ ผ้เู ขียนโปรแกรมจะตอ้ งเข้าใจ

๑๘๐

การใชค้ าสงั่ เลอื กทาน้ี จงึ ทาให้โปรแกรมทาตามเงื่อนไขได้ถูกตอ้ ง

๕ โปรแกรมแบบวนรอบ คอมพิวเตอรม์ ีความสามารถในการทางานซา้ ๆ ได้ดี การทาซ้าจะ ๔

ทาซ้า เรียกว่าลูป ซ่ึงมอี ยู่หลายประเภทโดยการทาลปู นั้นจะตอ้ งมีการ ๔

ตรวจสอบเงอื่ นไขดว้ ยว่าจะให้ทาซ้ากข่ี ้ันตอน เมือ่ ใดต้องการใหห้ ยุด ๔

ทาซ้า ในภาษาซมี คี าสั่งลูปการทาซา้ อยู่สามประเภท ซงึ่ จะต้องทา

ความเขา้ ใจการใช้งานคาสงั่ แตล่ ะคาส่งั กอ่ นจึงสามารถเลือกนามาใช้

ได้

๖ การสร้างฟังก์ช่นั ใน การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรน์ นั้ สามารถสร้างคาใหม่ขึ้นมาได้ และ

ภาษาซี สามารถเรียกใช้ไดเ้ มื่อต้องการโดยคาใหม่ที่สร้างขึ้นจะประกอบด้วย
ฟังก์ชั่นต่างๆ รวมกันอยู่ ถ้าหากคาใหม่ท่ีสร้างขึ้นน้ีไม่มีการคืนค่า
ออกมา การทางานจะทางานเป็นโปรแกรมย่อย ถ้ามีการคืนค่ากลับ
ออกมาจะทางานเป็นฟงั กช์ น่ั ถ้าหากผู้เขียนโปรแกรมทาความเข้าใจ
วธิ ีการสรา้ งคาใหม่หรือการสรา้ งฟงั ก์ช่นั นี้จะทาใหโ้ ปรแกรมทางานได้
มีประสทิ ธภิ าพยง่ิ ขึน้

๗ ตัวแปรชนดิ อาร์เรย์ ตวั แปรประเภทหน่ึงท่ใี ช้ชือ่ ตวั แปรชอ่ื เดียวแต่สามารถเก็บขอ้ มูลเปน็

และสตรงิ กลุ่มได้ เรียกวา่ ตัวแปรแบบอาร์เรย์ ถา้ หากประกาศตัวแปรประเภท

นีข้ ึ้นมาผู้ใช้สามารถเก็บข้อมูลหลายๆ คา่ ตดิ ๆ กันได้ และสามารถ

เรียกข้อมลู แตล่ ะคา่ ขน้ึ มาได้ ตัวแปรแบบอาร์เรยน์ ม้ี ที ัง้ แบบหนึ่งมิติ

และหลายมติ ิ สาหรบั ตัวแปรแบบสตรงิ กค็ อื ตวั แปรทน่ี าตัวอกั ขระมา

ตอ่ กันเปน็ อาร์เรยป์ ระเภทหนงึ่

๘ ตวั แปรโครงสรา้ งและ ถ้าหากต้องการประกาศตวั แปรทเี่ ก็บขอ้ มูลในลักษณะเป็นกลุ่ม โดยที่

ยูเนียน ขอ้ มลู ในกลุ่มน้นั เป็นข้อมูลตา่ งประเภทกนั จะตอ้ งสรา้ งตวั แปร

ประเภทโครงสรา้ ง ถา้ หากผเู้ ขียนโปรแกรมเขา้ ใจการทางานและการ

ใช้งานตัวแปรประเภทโครงสรา้ งนี้จะทาใหโ้ ปรแกรมทเี่ ขียนขึ้น
สามารถเก็บขอ้ มลู เปน็ แบบเรคอร์ดไดอ้ ีกด้วย

๙ พอยน์เตอรใ์ นภาษาซี ในการประกาศตวั แปรสาหรบั เก็บข้อมลู ตวั แปรแต่ละตัวจะมีพื้นที่

หน่วยความจาประจาตวั อยู่ ซึ่งเราสามารถเข้าถึงไดโ้ ดยตรงดว้ ยการ
ใชต้ ัวแปรแบบพอยนเ์ ตอรช์ ไี้ ปท่ีตาแหน่งหนว่ ยความจาน้ัน การใช้
พอยน์เตอรจ์ ะใช้กบั การเขียนอา่ นข้อมลู เป็นจานวนมาก อาร์เรย์
ขนาดใหญ่ หรือการทางานกบั ไฟล์ ซึง่ จะมคี วามรวดเรว็ ในการเข้าถึง
ข้อมลู ท่อี ย่ตู ิดๆ กันไดร้ วดเร็วกว่าการใช้ตวั แปร และเราจะเหน็ การใช้
งานพอยนเ์ ตอรบ์ ่อยมากในการทางานเก่ียวกบั ไฟล์

๑๐ การจัดการไฟล์ ในงานบางประเภทจะตอ้ งนาผลการทางานของโปรแกรมเก็บลงใน

หน่วยความจาสารอง ลกั ษณะของข้อมูลทเี่ ก็บในหน่วยความจา
สารองนีจ้ ะเกบ็ เป็นไฟล์ ซง่ึ ไฟล์ในภาษาซีมอี ยหู่ ลายประเภท แต่ละ
ประเภทมคี าสงั่ ในการอา่ นเขียนไฟลต์ ่างกนั ดังน้ันถา้ หากตอ้ งการ
เขยี นข้อมูลเปน็ ไฟล์จะต้องทาความเข้าใจฟังกช์ น่ั ทีก่ ระทากับไฟลด์ ้วย

๑๘๑

ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ วิชาการเขียนโปรแกรมเบือ้ งตน้ ว๓๒๒๘๓
ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๕ ภาคเรยี นท่ี ๒

คะแนนระหวา่ งภาค:ปลายภาค ๘๐:๒๐ (๔๐ ช่ัวโมง) จานวน ๑ หนว่ ยการเรยี น
คะแนนที่ประเมิน

ตัวช้ีวัด/ผลการเรยี นรรู้ ายวชิ า
ข้อ ี่ท
ราย ้ขอก่อนก่อนกลาง

ภาค
สอบกลางภาค
ราย ้ขอหลังกลางภาค
ุคณลักษณะ ่ีทพึงประสง ์ค
สอบปลายภาค
รวมคะแนน ั่ทงหมด

๑ ภาษาคอมพิวเตอรแ์ ละการโปรแกรม ๕๒
๒ โครงสรา้ งภาษาซีเบือ้ งต้น
๓ ประเภทของขอ้ มูลและตัวดาเนนิ การ ๕๒
๔ โปรแกรมแบบวนรอบทาซ้า
๕ การสร้างฟงั กช์ นั่ ในภาษาซี ๕๒
๖ การสร้างฟังกช์ ัน่ ในภาษาซี
๗ ตัวแปรชนิดอารเ์ รย์ และสตรงิ ๕๕ ๒
๘ ตวั แปรโครงสร้างและยูเนียน
๙ พอยน์เตอร์ ในภาษาซี ๕ ๕๕ ๒
๑๐ การจัดการไฟล์ ในภาษาซี
๕๕ ๒
รวม
๕๕ ๒

๕๒

๕๒



๒๕ ๒๐ ๒๕ ๑๐ ๒๐ ๑๐๐

หมายเหตุ คะแนนคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๑๐ คะแนน ประกอบดว้ ย
ตรงต่อเวลา, ระเบียบวนิ ัย, ความรบั ผดิ ชอบ, ความขยนั มนั่ เพยี ร, เสียสละอดทน

๑๘๒

โครงสร้างรายวชิ าฟิสิกส์๕ รหสั วชิ า ว ๓๓๒๐๔
๔ ช่วั โมง/สัปดาห์ ๘๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน ๒.๐ หน่วยกติ

หนว่ ยการเรยี นรู้ หน่วยยอ่ ยการเรียนรู้ จานวนชั่วโมง
( ๓๔ )
๑. ไฟฟ้าและแม่เหล็ก ๑. ไฟฟา้ และแมเ่ หล็ก

๑.๑ แม่เหล็กและสนามแมเ่ หลก็ ๔

๑.๒ กระแสไฟฟ้าทาใหเ้ กิดดสนามแม่เหล็ก ๒

๑.๓ แรงกระทาตอ่ ลวดตวั นาทมี่ กี ระแสไฟฟา้ ผา่ นและอย่ใู น ๒
สนามแม่เหลก็ ๒

๑.๔ แรงระหว่างลวดตวั นาทัง้ สองเส้นที่ขนานกันและมี ๔
กระแสไฟฟ้าผา่ น ๒

๑.๕ แรงกระทาตอ่ ลวดตวั นาทีม่ กี ระแสไฟฟ้าผ่านและอยู่ใน ๔
สนามแมเ่ หลก็ ๔

๑.๖ การประยกุ ตผ์ ลของสนามแมเ่ หล็กต่อลวดตวั นาทม่ี ี
กระแสไฟฟา้ ผ่าน

๑.๗ กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนาและแรงเคล่อื นไฟฟา้ เหนยี่ วนา

๑.๘ แรงเคลอ่ื นไฟฟา้ เหนย่ี วนาในมอเตอร์และเครือ่ งกาเนิด
ไฟฟา้

๑.๙ หมอ้ แปลง

๑.๑๐ ค่าของปรมิ าณที่เกย่ี วขอ้ งกับไฟฟา้ กระแสสลับ ๔

๑.๑๑ การนาความรู้ทางแม่เหลก็ ไฟฟ้าไปใชป้ ระโยชน์ ๒
(๘)
๒. คลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟา้ ๒. คลื่นแม่เหล็กไฟฟา้ ๒

๒.๑ ทฤษฎคี ลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการทดลอง
ของเฮิรตซ์

๒.๒ การแผ่คลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ

๒.๓ สเปกตรัมคล่นื แม่เหลก็ ไฟฟ้า ๒

๒.๔ โพลาไรเซชนั ของคลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า ๒
๓. สภาพยืดหย่นุ ๓.สภาพยดื หยุ่น (๖)

๓.๑ สภาพยดื หยุ่น ๖

หนว่ ยการเรยี นรู้ หนว่ ยย่อยการเรยี นรู้ ๑๘๓

๔. ของไหล ๔. ของไหล จานวนชัว่ โมง
( ๒๖ )
๔.๑ ความหนาแนน่ ๔

๔.๒ ความดันในของเหลว ๔

๔.๓ กฎของพาสคาล ๒

๔.๔ แรงพยุงและหลกั ของอารค์ มิ ดี สิ ๖

๔.๕ ความตงึ ผวิ ๒ ชั่วโมง
๒ ชว่ั โมง
๔.๖ ความหนืด ๒ ชว่ั โมง
๓๔ ชว่ั โมง
๔.๗ พลศาสตร์ของของไหล ๘ ชัว่ โมง
๖ ช่ัวโมง
หมายเหตุ ๒๖ ชัว่ โมง

๑. ปฐมนิเทศ และทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
๒. สอบกลางภาคเรียน

๓. สอบปลายภาคเรียน
๔. ไฟฟา้ และแม่เหล็ก
๕. คลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟ้า
๖. สภาพยดื หยุ่น
๗. ของไหล

รวมเวลาทัง้ หมด ๘๐ ชัว่ โมง

๑๘๔

ผลการเรยี นรู้ รายวชิ าฟิสิกส์๕ รหสั วชิ า ว ๓๓๒๐๔
คะแนนท่ีประเมิน

ข้อที่ ผลการเรียนรู้
คะแนน ่กอนกลางภาค
คะแนนสอบกลางภาค
คะแนนหลังกลางภาค
ุคณลักษณะท่ีพึงประสง ์ค
คะแนนสอบปลายภาค
รวมคะแนนท้ังหมด

๑ สังเกตและอธิบายเสน้ สนามแม่เหล็ก อธบิ ายและ ๔ ๒ - - - ๖

คานวณฟลักซแ์ มเ่ หลก็ ในบรเิ วณทีก่ าหนด รวมท้ัง

สงั เกต และอธิบายสนามแม่เหล็กท่เี กดิ จาก

กระแสไฟฟ้าในลวดตัวนาเสน้ ตรง และ โซเลนอยด์

๒ อธิบายและคานวณแรงแมเ่ หลก็ ทีก่ ระทาตอ่ อนุภาคที่ ๒ ๓ - - - ๕

มีประจไุ ฟฟ้าเคลอ่ื นที่ในสนามแมเ่ หลก็ แรงแมเ่ หล็กท่ี

กระทาตอ่ เสน้ ลวดทมี่ กี ระแสไฟฟ้าผา่ นและวางใน

สนามแม่เหล็ก รัศมีความโค้งของการเคล่ือนทีเ่ ม่ือ

ประจุเคลือ่ นท่ีตัง้ ฉากกบั สนามแม่เหลก็ รวมทงั้ อธบิ าย

แรงระหว่างเสน้ ลวดตวั นาคูข่ นานทีม่ กี ระแสไฟฟา้ ผา่ น

๓ อธิบายหลกั การทางานของ แกลแวนอมเิ ตอรแ์ ละ ๒ ๓ - - - ๕

มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง รวมท้งั คานวณปรมิ าณตา่ ง

ๆ ที่เก่ยี วขอ้ ง

๔ สังเกตและอธบิ ายการเกดิ อีเอม็ เอฟเหนยี่ วนา กฎการ ๒ ๔ - - - ๖

เหน่ยี วนาของฟาราเดย์ และคานวณปริมาณต่าง ๆ ที่

เกีย่ วข้อง รวมทง้ั นาความรู้เรอ่ื งอเี อ็มเอฟเหนย่ี วนาไป

อธบิ ายการทางานของเครื่องใชไ้ ฟฟ้า

๕ อธบิ ายและคานวณความต่างศักย์อาร์เอม็ เอส และ ๓ ๒ - - - ๕

กระแสไฟฟ้าอารเ์ อ็มเอส

๖ อธิบายหลกั การทางานและประโยชนข์ องเครื่องกาเนิด ๓ ๒ - - - ๕

ไฟฟ้ากระแสสลับ ๓ เฟส การแปลงอีเอ็มเอฟของหมอ้

แปลง และคานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกย่ี วขอ้ ง

๗ อธบิ ายการเกดิ และลักษณะเฉพาะของ คล่ืน ๒๒ - - -๔

แม่เหล็กไฟฟ้า แสงไม่โพลาไรส์ แสงโพลาไรสเ์ ชงิ เส้น

และแผน่ โพลารอยด์ รวมทัง้ อธบิ ายการนาคล่นื

แมเ่ หล็กไฟฟา้ ในช่วงความถตี่ ่าง ๆ ไปประยุกตใ์ ช้และ

หลกั การทางานของอปุ กรณ์ท่เี กยี่ วข้อง

๑๘๕

คะแนนที่ประเมิน

ข้อที่ ผลการเรยี นรู้ คะแนน ่กอนกลางภาค
คะแนนสอบกลางภาค
คะแนนหลังกลางภาค
ุคณลักษณะท่ีพึงประสง ์ค
คะแนนสอบปลายภาค
รวมคะแนนท้ังหมด

๘ สืบค้นและอธบิ ายการสอื่ สารโดยอาศยั คลื่น ๒๒ - - - ๔

แม่เหล็กไฟฟ้าในการสง่ ผ่าน สารสนเทศ และ

เปรยี บเทียบการสอื่ สาร ด้วยสญั ญาณแอนะลอ็ กกบั

สัญญาณดจิ ิทัล

๙ อธิบายสภาพยืดหยนุ่ และลักษณะการยืด และหดตวั - - ๔ - ๖ ๑๐

ของวสั ดุท่ีเป็นแทง่ เม่ือถกู กระทาด้วยแรงคา่ ต่าง ๆ

รวมทง้ั ทดลอง อธิบายและคานวณความเค้นตามยาว

ความเครียดตามยาว และมอดลุ ัสของยงั และนา

ความรู้เร่อื งสภาพยืดหยุ่น ไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั

๑๐ อธิบายและคานวณความดันเกจ ความดนั สัมบูรณ์ - - ๔ - ๖ ๑๐

และความดันบรรยากาศ รวมทง้ั อธบิ ายหลักการ

ทางานของแมนอมเิ ตอร์ บารอมิเตอร์ และเครอื่ ง

อัดไฮดรอลิก

๑๑ ทดลอง อธิบายและคานวณขนาดแรงพยงุ จากของ - - ๔ - ๖ ๑๐
ไหล

๑๒ ทดลอง อธิบายและคานวณความตึงผวิ ของของเหลว - - ๔ - ๖ ๑๐
รวมท้งั สงั เกตและอธิบาย แรงหนืดของของเหลว

๑๓ อธบิ ายสมบตั ิของของไหลอุดมคติ สมการ ความ

ต่อเนอ่ื ง และสมการแบรน์ ูลลี รวมทั้งคานวณปรมิ าณ

ตา่ ง ๆ ท่เี กย่ี วขอ้ ง และนาความรู้เกีย่ วกบั สมการ - - ๔ - ๖ ๑๐

ความ ต่อเน่อื งและสมการแบรน์ ลู ลไี ปอธิบาย

หลักการทางานของอปุ กรณต์ า่ ง ๆ

๑๔ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ - - - ๑๐ - ๑๐

รวม ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๑๐ ๓๐ ๑๐๐

๑๘๖

โครงสรา้ งรายวชิ าเคมี๕ รหสั วิชา ว๓๓๒๒๔
๔ ชวั่ โมง/สัปดาห์ ๘๐ ชั่วโมง/ภาคเรยี น ๒.๐ หน่วยกติ

หนว่ ยการเรยี นรู้ หน่วยย่อยการเรยี นรู้ จานวนช่ัวโมง
๔๐
๑. เคมีไฟฟ้า ๑. ปฏกิ ริ ยิ ารีดอกซ์ ๔๐
( ๔๐ ช่วั โมง ) ๒. การดุลสมการรีดอกซ์
๓. เซลล์เคมีไฟฟ้า(เซลลก์ ลั วานกิ ) ๘๐
๒. เคมอี นิ ทรยี ์ ๔. เซลล์เคมไี ฟฟา้ (เซลล์อิเลก็ โทรลิติก)
( ๔๐ ชัว่ โมง ) ๕. ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีท่เี ก่ยี วขอ้ งกับ
เซลลไ์ ฟฟา้ เคมี

๑. พันธะของคารบ์ อน
๒. หมูฟ่ งั กช์ นั
๓. สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
๔. สารประกอบอนิ ทรีย์ทม่ี ธี าตอุ อกซิเจนเป็น
องคป์ ระกอบ
๕. สารประกอบอินทรียท์ ี่ธาตุไนโตรเจนเป็น
องคป์ ระกอบ
๖. สารประกอบอินทรีย์ทมี่ ีธาตอุ อกซิเจนและ
ไนโตรเจนเปน็ องค์ประกอบ

รวม

๑๘๗

ตวั ชวี้ ัด/ผลการเรียนรู้ รายวชิ าเคมี๕ รหสั วิชา ว๓๓๒๒๔
คะแนนท่ีประเมิน

ข้อท่ี ตัวชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ ราย ้ขอ ่กอนกลางภาค
สอบกลางภาค

ราย ้ขอหลังกลางภาค
สอบปลายภาค

รวมคะแนนท้ังหมด

๑ คานวณเลขออกซเิ ดชนั และระบุปฏิกิริยาทีเ่ ปน็ ปฏิกิริยา ๒ ๒ ๔
รดี อกซ์ ๔ ๘

๒ ทดลอง เปรียบเทียบ และวเิ คราะห์การเปลย่ี นแปลงเลข ๔ ๔ ๘
ออกซเิ ดชนั และระบุตวั รดี วิ ซ์และตวั ออกซิไดส์ รวมท้ัง
เขียนครง่ึ ปฏิกริ ยิ าออกซิเดชนั และครึง่ ปฏกิ ริ ิยารดี ักชนั ๒ ๔
ของปฏิกิริยารดี อกซ์ พร้อมทง้ั ดลุ สมการรีดอกซด์ ้วยการ ๑ ๓
ใช้เลขออกซเิ ดชนั และวธิ คี ร่งึ ปฏกิ ิรยิ า ๑ ๓
๓ ๔๙
๓ ระบอุ งคป์ ระกอบของเซลลเ์ คมไี ฟฟ้า และเขยี นสมการ ๔
เคมขี องปฏกิ ิริยาทีแ่ อโนดและแคโทด ปฏิกริ ิยารวมและ ๓ ๔๙
แผนภาพเซลล์ และคานวณค่าศักยไ์ ฟฟา้ มาตรฐานของ
เซลล์ และระบปุ ระเภทของเซลลเ์ คมีไฟฟ้า ขว้ั ไฟฟา้
และปฏิกริ ยิ าเคมที ่ีเกดิ ขึ้น

๔ อธิบายหลักการทางานและเขียนสมการแสดงปฏิกิรยิ า ๒
ของเซลลป์ ฐมภมู ิและเซลล์ทตุ ิยภมู ิ

๕ ทดลองชุบโลหะและแยกสารเคมดี ว้ ยกระแสไฟฟ้า และ ๒
อธบิ ายหลกั การทางเคมีไฟฟ้าทีใ่ ชใ้ นการชุบโลหะ
การแยกสารเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า การทาโลหะ
ใหบ้ รสิ ทุ ธ์ิ และการป้องกันการกัดกรอ่ นของโลหะ

๖ สืบคน้ ขอ้ มลู และนาเสนอตวั อย่างความก้าวหนา้ ทาง ๒
เทคโนโลยที ี่เกย่ี วขอ้ งกบั เซลล์เคมีไฟฟา้ ในชวี ิตประจาวนั

๗ สบื ค้นข้อมูลและนาเสนอตวั อยา่ งสารประกอบอนิ ทรยี ์ท่มี ี ๒
พนั ธะเดี่ยว พนั ธะคู่ หรือพนั ธะสาม ท่พี บใน
ชีวิตประจาวัน และเขียนสตู รโครงสรา้ งลิวอสิ
สูตรโครงสรา้ งแบบยอ่ และสตู รโครงสร้างแบบเส้น
ของสารประกอบอินทรีย์

๘ วิเคราะหโ์ ครงสรา้ งและระบุประเภทของสารประกอบ ๒
อินทรีย์จากหม่ฟู งั ก์ชัน

๑๘๘

คะแนนท่ปี ระเมนิ

ข้อที่ ตัวช้ีวัด/ผลการรยี นรู้ ราย ้ขอ ่กอนกลางภาค
สอบกลางภาค

ราย ้ขอหลังกลางภาค
สอบปลายภาค

รวมคะแนนท้ังหมด

๙ เขียนสูตรโครงสรา้ งและเรยี กชอื่ สารประกอบอินทรยี ์ ๓๔๗

ประเภทต่างๆ ที่มหี มู่ฟังกช์ ันไม่เกนิ ๑ หมู่ ตามระบบ

IUPAC

๑๐ เขียนไอโซเมอร์โครงสรา้ งของสารประกอบอนิ ทรยี ์ ๒๒๔

ประเภทตา่ งๆ

๑๑ วเิ คราะห์ เปรียบเทียบจุดเดอื ดและการละลายน้าของ ๔๒๖

สารประกอบอินทรียท์ มี่ หี มูฟ่ งั กช์ นั ขนาดโมเลกุลหรือ

โครงสร้างต่างกนั

๑๒ ระบปุ ระเภทของสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนและเขียน ๒๔๖

ผลติ ภัณฑ์จากปฏิกิริยาการเผาไหม้ ปฏกิ ริ ยิ ากับโบรมีน

หรือปฏกิ ิรยิ ากบั โพแทสเซียมเปอรแ์ มงกาเนต

๑๓ เขยี นสมการเคมีและอธิบายการเกดิ ปฏิกริ ิยา ๔๔๘

เอสเทอรฟิ ิเคชนั ปฏกิ ริ ิยาการสงั เคราะห์เอไมด์

ปฏกิ ริ ยิ าไฮโดรลซิ ิสและปฏิกริ ยิ าสะปอนนิฟเิ คชนั

๑๔ ทดสอบปฏิกิรยิ าเอาเทอริฟิเคชนั ปฏิกริ ิยาไฮโดรลิซสิ ๓๒๕

และปฏิกิรยิ าสะปอนฟนิ เิ คชัน

๑๕ สืบค้นข้อมูลและนาเสนอตวั อยา่ งการนาสารประกอบ ๒๒๔

อนิ ทรีย์ไปใช้ประโยชนใ์ นชวี ิตประจาวนั และอุตสาหกรรม

๑๖ คุณลกั ษณะอันพึ่งประสงค์ ๑๐

รวม ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๓๐ ๑๐



๑๘๙

โครงสรา้ งรายวชิ าชีววิทยา๕ รหัสวชิ า ว๓๓๒๔๔
๓ ชัว่ โมง/สปั ดาห์ ๖๐ ชัว่ โมง/ภาคเรยี น ๑.๕ หนว่ ยกิต

หนว่ ยการเรยี นรู้ หน่วยยอ่ ยการเรยี นรู้ จานวนช่วั โมง
๑ความหลากหลายทาง . ๑.๑ ความหลากหลายของสิง่ มีชวี ติ ๔
๑.๒ การศึกษาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ๔
ชีวภาพ ๑.๓ กาเนิดของชวี ิต ๓
(๒๗ ชัว่ โมง) ๑.๔ อาณาจักรสง่ิ มีชีวติ ๑๐
๑.๕ ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย ๓
๒. ประชากร ๑.๖ การสญู เสยี ความหลากหลายทางชีวภาพ ๓
(๑๗ ช่ัวโมง) ๒.๑ ความหนาแนน่ และการแพร่กระจายของประชากร ๔
๒.๒ ขนาดของประชากร ๓
๓. มนุษย์กับความยั่งยืน ๒.๓ รูปแบบการเพ่มิ ของประชากร ๔
ของสง่ิ แวดลอ้ ม ๒.๔ การรอดชีวติ ของประชากร ๓
(๑๖ ชวั่ โมง) ๒.๕ ประชากรมนษุ ย์ ๓
๓.๑ ทรัพยากรธรรมชาติ การใชป้ ระโยชน์ ปัญหา และ ๘

การจดั การ ๔
๓.๒ หลักการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ ๔
๓.๓ ชนิดพันธ์ุต่างถนิ่ ทีส่ ง่ กระทบต่อสภาพแวดลอ้ ม ๖๐

รวม

ราย ้ขอ ่กอนกลางภาค ๑๙๐
สอบกลางภาค
รายข้อหลังกลางภาค ตัวชีว้ ัด/ผลการเรยี นรู้
สอบปลายภาครายวิชาชวี วิทยา๕ รหสั วิชา ว๓๓๒๔๔
รวมคะแนนท้ังหมด
คะแนนท่ปี ระเมนิ

ขอ้ ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้
ท่ี

๑ สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายเกี่ยวกับความหมายและ ๒ ๓ - ๒ ๗
องค์ประกอบของความหลากหลายทางชีวภาพ

๒ สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายศึกษาความหลากหลาย ๒ ๓ - ๒ ๗
ของสง่ิ มชี ีวิต และการระบุชนดิ

๓ สืบค้นข้อมูล อภิปราย อธิบายและสรุปเก่ียวกับการกาเนิด ๓ ๒ - ๑ ๖
ของชวี ิต กาเนดิ ของเซลลโ์ พรคารโิ อตและเซลล์ยูคารโิ อต

๔ สืบค้นข้อมูล ทดลอง อภิปราย อธิบาย และสรุปเกณฑ์ท่ีใช้ ๒ ๓ - ๑ ๖
ในการจัดจาแนกส่ิงมีชีวิตออกเป็นโดเมนและ อาณาจักร
ลักษณะท่ีเหมือนและแตกต่างกันของส่ิงมีชีวิตในอาณาจักร
ฟงั ไจ และอาณาจกั รสตั ว์

๕ สบื ค้นข้อมลู อภิปราย อธิบายและนาเสนอคุณค่า ของความ ๓ ๒ - ๑ ๖
หลากหลายทางชวี ภาพกับการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ท่ีมีผล
ต่อสังคมและส่งิ แวดล้อม

๖ สืบค้นข้อมูล อภิปราย อธิบาย และนาเสนอสถานการณ์ ๓ ๓ - ๒ ๘
ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทยและผลกระทบ
จากการสญู เสียความหลากหลายทางชวี ภาพ

๗ ออกแบบสถานการณ์จาลองที่แสดงถึงการเปล่ียนแปลง ๓ ๒ - ๑ ๖
ปจั จัยต่างๆของสงิ่ แวดล้อมที่มผี ลตอ่ การอยู่รอดของสงิ่ มีชีวติ

๘ วิเคราะห์ อภิปราย และสรุปได้ว่าการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิต ๒ ๒ - ๒ ๖
สัมพนั ธก์ ับความหลากหลายของส่ิงมชี ีวิต

๑๙๑

๙ สืบค้นข้อมูล อภิปราย แบะอธิบายเก่ียวกับความหมายของ - - ๔ ๓ ๗
ประชากร ความหนาแน่นของประชากร อัตราการ

เปล่ียนแปลงขนาดของประชากร และปัจจัยสาคัญท่ีมีผลต่อ
การเปลี่ยนแปลงประชากร

๑๐ สืบค้นข้อมูล อภิปราย และวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับเร่ือง - - ๓ ๔ ๗
ประชากรมนุษย์ การเติบโตและโครงสรา้ งอายขุ องประชากร

๑๑ สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง - - ๔ ๔ ๘
มนษุ ยก์ บั การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ

๑๒ อ ภิ ป ร า ย อ ธิ บ า ย แ ล ะ ส รุ ป แ น ว ท า ง ก า ร จั ด ก า ร - - ๕ ๔ ๙
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รวมทั้งการอนุรักษ์และ
พัฒนาท่ียั่งยืน พร้อมท้ังเสนอแนวทางในการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ

๑๓ สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอภิปรายเก่ียวกับชนิดพันธ์ต่าง - - ๔ ๓ ๗
ถ่นิ ท่สี ง่ ผลกระทบตอ่ สภาพแวดล้อม

๑๔ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ - - - - ๑๐
รวม ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๓๐ ๑๐๐

๑๙๒

โครงสรา้ งรายวิชาวทิ ยาศาสตร์กายภาพ รหัสวิชา ว ๓๓๒๖๔
๒ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรยี น ๑.๐ หน่วยกิต

หนว่ ยการเรยี นรู้ หน่วยย่อยการเรียนรู้ จานวนช่วั โมง
๑. อะตอมและสมบัติของ
๑.๑ แบบจาลองอะตอม ๒
ธาตุ ๑.๒ อนุภาคในอะตอมและไอโซโทป ๒
(๑๒ ชั่วโมง) ๑.๓ การจดั เรียนอเิ ลคตรอนในอะตอม ๒
๑.๔ ตารางธาตุและสมบัติของธาตหุ มู่หลัก ๔
๒. สูตรเคมี ๑.๖ ธาตกุ ัมมันตรงั สี ๒
(๑๐ ชัว่ โมง)
๒.๑ มวลอะตอม ๒
๓. ปริมาณสมั พนั ธ์ ๒.๒ โมล ๔
(๑๒ ชว่ั โมง) ๒.๓ สตู รเคมี ๔

๔. พันธะเคมี ๓.๑ ปฏิกริ ิยาเคมี ๔
(๖ ชว่ั โมง) ๓.๒ สมการเคมี ๔
๓.๓ การคานวณปรมิ าณสารในปฏิกริ ิยาเคมี ๔

๔.๑ พันธะไอออนิก ๒
๔.๒ พนั ธะโคเวเลนต์ ๒
๔.๓ พันธะโลหะ ๒

รวม ๔๐

๑๙๓

ตวั ช้วี ัด/ผลการเรียนรู้
รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์กายภาพ รหัสวิชา ว๓๓๒๖๔

คะแนนทป่ี ระเมนิ

ขอ้ ตัวชวี้ ัด/ผลการเรยี นรู้ ราย ้ขอ ่กอน
ท่ี กสลอาบงกลางภาค
ราย ้ขอห ัลงกลาง
สภาอคบปลายภาค
รวมคะแนน

๑. ระบุว่าสารเป็นธาตุหรือสารประกอบ และอยู่ในรูปอะตอม ๔ ๓ ๗
โมเลกลุ หรือไอออนจากสตู รเคมี

๒ เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของแบบจาลอง ๔ ๓ ๗
อะตอมของโบร์กับแบบจาลองอะตอม แบบกลมุ่ หมอก

๓ ระบุจานวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตอนของอะตอม และ ๔ ๓ ๗

ไอออนท่ีเกิดจากอะตอมเดียวเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ

และระบุการเปน็ ไอโซโทป

๔ ระบุหมู่และคาบของธาตุ และระบุว่าธาตุเป็นโลหะ อโลหะ ก่ึง ๔ ๓ ๗

โลหะ และกลุ่มธาตุเรพรีเซนเททีฟหรือกลุ่มธาตุแทรนซิชัน จาก

ตารางธาตุ

๕ ระบุว่าพันธะโคเวเลนซ์เป็นพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะสาม ๔ ๓ ๒๙

และระบุจานวนคู่อิเล็กตรอน ระหว่างจานวนคู่ร่วมพันธะ จาก

สตู รโครงสรา้ ง

๖ ระบุสภาพขั้วของสารท่ีโมเลกุลประกอบด้วยสองอะตอม และ ๕ ๔ ๔ ๑๓

ระบสุ ารทเ่ี กิดพนั ธะไฮโดรเจนไดจ้ ากสตู รโครงสร้าง

๗ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจุดเดือดของสารโคเวเลนซ์กับแรง ๔ ๖ ๑๐
ดงึ ดดู ระหว่างโมเลกุลตามสภาพ ขั้วหรือการเกดิ พนั ธะไฮโดรเจน

๘ ระบุว่าสารเกิดการละลายแบบแตกตัวหรือไม่แตกตัว พร้อมให้ ๔ ๖ ๑๐
เหตุผลและระบุว่าสารละลายที่ได้ เป็นสารละลายอิเล็กโทรไลต์ ๔ ๖ ๑๐
หรือนอนอิเลก็ โทรไลต์

๙ ระบุสมบัติความเป็นกรด – เบสจากโครงสร้างของสารประกอบ
อนิ ทรยี ์

๑๐ อธบิ ายสมบตั กิ ารละลายในตวั ทาละลายชนดิ ตา่ งๆของสาร ๔ ๖ ๑๐

๑๑ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ - - - - ๑๐
รวม ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๓๐ ๑๐๐

๑๙๔

โครงสร้างรายวชิ าการสรา้ งและตดั ต่อภาพยนตร์ ว๓๓๒๘๔
ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ภาคเรียนที่ ๑

ท่ี ชือ่ หน่วยการเรยี น สาระสาคญั เวลา
(ชว่ั โมง)
๑ รูจ้ ักกบั -ความหมายของภาพยนตร์

ภาพยนตร์ -ประวัติและความเป็นมาเกย่ี วกับภาพยนตร์ ๔

-ความสาคัญของภาพยนตร์กับชีวิตประจาวนั ๔

๒ หลักการเกิด -หลกั การเกิดภาพเคลอ่ื นไหว ๔

ภาพเคลือ่ นไหว -กลอ้ งถ่ายภาพดิจิตอล ๔

-เฟรมเรท ขนาดเฟรม สัดสว่ นภาพ ๔

๓ รูปแบบไฟล์ -ปรากฏการณล์ ้อรถม้า ๔
-รปู แบบไฟล์ภาพนิ่ง

ภาพยนตร์ -รูปแบบไฟลภ์ าพเคลอื่ นไหว

-รูปแบบไฟลเ์ สยี ง

-รูปแบบไฟล์ Flash , Ai

-การบบี อัดไฟล์ภาพยนตร์

๔ รจู้ กั กบั -การเข้าส่โู ปรแกรม Adobe Premiere Pro

โปรแกรมAdobe -หนา้ ตา่ งโปรแกรมและสว่ นประกอบต่างๆ

Premiere Pro

๕ การนาเขา้ ไฟล์ -การ Import Media ไฟลข์ ้อมลู ดว้ ยวธิ ตี า่ งๆ

๖ การใช้เครอื่ งมอื -การตดั ต่อ Clip Video

Adobe -การตัดต่อ Audio

Premiere Pro -การปรับ Speed Video

-การเลน่ Reverse Video

-การ Record Audio

-การซอ้ นภาพ

-การใชง้ านไฟล์ Flash (Animation) และ Ai (Logo)

๗ การใชเ้ ทคนิค -การใช้ Effect Video

พเิ ศษ -การใช้ Effect Audio

-การใช้ Transition Video

-การใช้ Transition Audio

๘ การส่งออก -การ Export Media ในรปู แบบ MP๔

ช้ินงาน -การ Export Media ในรูปแบบ MP๓

๙ การเขยี นสคริป -หลักการสร้างภาพยนตรส์ ้ัน ๑๙๕
ภาพยนตร์ -การทา Story Board ๔
-การเขียน Script ๔

๑๐ การถ่ายภาพและ -กลอ้ งถ่ายภาพดจิ ิตอล
เทคนิคมุมกลอ้ ง -การเคลอื่ นที่ของกล้อง
-ทฤษฎกี ฎสามส่วน
-ขนาดภาพ
-มมุ กล้อง

๑๙๖

ผลการเรยี นรู้ รายวชิ าการสร้างและตดั ตอ่ ภาพยนตร์ ว๓๓๒๘๔
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ ภาคเรียนท่ี ๑

คะแนนระหวา่ งภาค:ปลายภาค ๘๐:๒๐ (๔๐ ชัว่ โมง) จานวน ๑.๐ หนว่ ยกิต
คะแนนที่ประเมนิ

ตัวชีว้ ัด/ผลการเรยี นรู้รายวิชา
ข้อ ่ีท
วัดผลก่อนกลางภาค
ัวดผลกลางภาค
ัวดผลหลังกลางฯ
ุคภาณคลักษณะ ฯ
วัดผลปลายภาค

รวม

๑ อธบิ ายความหมายและความสาคัญของภาพยนตร์ได้ ๕๕ ๑๐ ๒๐

๒ อธบิ ายหลักการเกดิ ภาพเคลอื่ นไหว และรูปแบบไฟล์ ๕๕ ๑๐
ภาพยนตรไ์ ด้

๓ สามารถวางแผนและเขยี น สคลิปภาพยนตรไ์ ด้ ๕๕ ๑๐

๔ อธิบายการส่วนประกอบของโปรแกรม Adobe ๕๕ ๑๐
Premiere Pro ได้

๕ มคี วามรูค้ วามเข้าใจในการใชเ้ คร่ืองมอื ต่างๆในโปรแกรม ๕ ๕
Adobe Premiere Pro ได้

๖ สามารถตัดต่อภาพและเสียงจากโปรแกรมตดั ต่อ ๕ ๑๐ ๑๕
ภาพยนตรไ์ ด้

๗ สามารถสง่ ออกแฟ้มภาพยนตร์ และเผยแพรบ่ นเครือขา่ ย ๕ ๕
อนิ เตอร์เนต็ ได้

๘ ความรคู้ วามเข้าใจในเทคนิคการถ่ายภาพและมุมกลอ้ งใน ๕ ๕
รปู แบบตา่ ง ๆ ได้

๙ ปฎิบตั งิ านสรา้ งภาพยนตรไ์ ด้ ๕๕

๑๐ สามารถนาความรู้ที่ได้รับมาประยุกตใ์ ช้ในงานดา้ นตา่ งๆได้ ๕ ๕

รวม ๒๕ ๒๐ ๒๕ ๑๐ ๒๐ ๑๐๐

หมายเหตุ คะแนนคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๑๐ คะแนน ประกอบดว้ ย
ตรงต่อเวลา, ระเบียบวนิ ัย, ความรบั ผิดชอบ, ความขยันมั่นเพียร, ทางานเป็นทมี

๑๙๗

โครงสร้างรายวชิ าฟสิ กิ ส์๖ รหสั วิชา รหัสวิชา ว ๓๓๒๐๕
๔ ชั่วโมง/สปั ดาห์ ๘๐ ช่ัวโมง/ภาคเรยี น ๒.๐ หนว่ ยกติ

หนว่ ยการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นร/ู้ หนว่ ยย่อยการเรียนรู้ จานวนชวั่ โมง

๑. ความรอ้ น ๑. ความรอ้ น ( ๒๒ )

๒. ฟิสิกสอ์ ะตอม ๑.๑ ความรอ้ น ๖

๑.๒ แก๊สอดุ มคติ ๖
๑.๓ ทฤษฎจี ลนข์ องแก๊ส ๔

๑.๔ พลังงานภายในระบบ ๔
๑.๕ การประยุกต์ ๒
๒. ฟิสิกสอ์ ะตอม ( ๒๘ )
๒.๑ โครงสรา้ งของสสาร และการค้นพบอเิ ลก็ ตรอน ๒
๒.๒ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทรกิ ๘

๓. ฟสิ กิ ส์นิวเคลยี ร์ ๒.๓ ปรากฏการณ์คอมปต์ ัน ๒
๒.๔ รงั สีเอกซ์ ๒
๒.๕ ทวภิ าคของคล่นื และอนุภาค ๒

๒.๖ แบบจาลองอะตอมไฮโดรเจนตามทฤษฎีอะตอมของโบว์ ๒

๒.๗ กลศาสตร์ควอนตมั ( ๒๔ )

๒.๘ แสงเลเซอร์ ๘
๓. ฟิสิกส์นิวเคลยี ร์

๓.๑ การคน้ พบกัมมนั ตภาพรงั สแี ละการเปลีย่ นสภาพนิวเคลยี ร์

๓.๒ เสถียรภาพของนิวเคลยี ส
๓.๒.๑ แรงนิวเคลียร์
๓.๒.๒ นิวเคลียรฟ์ ชิ ช่ัน

๓.๓ ไอโซโทป และการใช้ประโยชน์ ๘

หมายเหตุ ๑ ชว่ั โมง
๑. ปฐมนิเทศ และทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น ๒ ช่วั โมง
๒. สอบกลางภาคเรยี น ๒ ชัว่ โมง
๓. สอบปลายภาคเรียน ๒๒ ชั่วโมง
๔. ความร้อน ๒๘ ช่วั โมง
๕. ฟิสิกสอ์ ะตอม ๒๔ ชวั่ โมง
๖. ฟิสิกสน์ ิวเคลยี ร์
รวมเวลาท้งั หมด ๘๐ ช่วั โมง

๑๙๘

ผลการเรียนรู้ รายวิชาฟิสกิ ส์๖ รหสั วชิ า รหัสวิชา ว ๓๓๒๐๕
คะแนนทีป่ ระเมนิ

ข้อที่ ผลการเรียนรู้
คะแนน ่กอนกลางภาค
คะแนนสอบกลางภาค
คะแนนหลังกลางภาค
ุคณลักษณะท่ีพึงประสง ์ค
คะแนนสอบปลายภาค
รวมคะแนนท้ังหมด

๑ อธิบายและคานวณความรอ้ นที่ทาให้ สสารเปล่ยี น

อณุ หภมู ิ ความรอ้ นท่ีทาให้ สสารเปลี่ยนสถานะ และ ๓ ๒ - -- ๕
ความร้อนทเี่ กิด จากการถา่ ยโอนตามกฎการอนรุ กั ษ์

พลงั งาน

๒ อธบิ ายกฎของแก๊สอุดมคติและคานวณ ปรมิ าณต่าง ๆ ๓ ๓ - -- ๖
ท่ีเกีย่ วข้อง

๓ อธิบายแบบจาลองของแก๊สอดุ มคติ ทฤษฎจี ลน์ ของ

แก๊ส และอัตราเรว็ อารเ์ อม็ เอสของ โมเลกุลของแกส๊ ๓ ๓ - - - ๖

รวมทง้ั คานวณปริมาณ ต่าง ๆ ทีเ่ ก่ยี วข้อง

๔ อธิบายและคานวณงานทที่ าโดยแก๊สใน ภาชนะปิด

โดยความดนั คงตัว และอธบิ าย ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง

ความรอ้ น พลงั งาน ภายในระบบ และงาน รวมทั้ง ๓๓ - - - ๖
คานวณ ปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่เี กยี่ วขอ้ ง และนาความรู้

เรอ่ื งพลังงานภายในระบบไปอธบิ าย หลักการทางาน

ของเคร่อื งใช้ในชีวิต ประจาวัน

๕ อธิบายสมมติฐานของพลังค์ ทฤษฎี อะตอมของโบร์

และการเกิดเส้น สเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน ๓ ๓ - - - ๖

รวมท้ัง คานวณปริมาณต่าง ๆ ท่เี กย่ี วข้อง

๖ อธบิ ายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกและ คานวณ

พลงั งานโฟตอน พลังงานจลน์ของ โฟโตอเิ ลก็ ตรอน ๓ ๓ - - - ๖

และฟังกช์ ันงานของโลหะ

๗ อธิบายทวิภาวะของคลื่นและอนภุ าค รวมท้งั อธบิ าย ๒๓ - -- ๕
และคานวณความยาวคล่นื เดอบรอยล์

๘ อธบิ ายกมั มนั ตภาพรังสีและความ แตกต่างของรงั สี - - ๔ - ๓ ๑๐
แอลฟา บตี าและแกมมา

๙ อธิบายและคานวณ กมั มันตภาพของ นวิ เคลยี ส

กมั มันตรงั สี รวมทัง้ ทดลอง อธบิ าย และคานวณจาน ๔ ๓๗
วนนวิ เคลียส กัมมันตภาพรังสีทเ่ี หลือจากการสลาย

และคร่งึ ชีวติ


Click to View FlipBook Version