The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กฤติยา พลหาญ, 2022-05-15 11:50:54

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม

คำนำ

กระทรวงศกึ ษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชีว้ ัด กล่มุ สาระการเรยี นรู้
คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมศิ าสตร์ในกลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม ตามคาสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และ
คาสงั่ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้
เปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้วี ดั กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ โดยให้
โรงเรยี นใชห้ ลกั สูตรในปีการศึกษา ๒๕๖๑ โดยให้สอนในชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ และ ๔ ในปีการศกึ ษา
๒๕๖๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ใหใ้ ช้ในชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑, ๒, ๔ และ ๕ และปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ให้
ใชใ้ นทุกชั้นปี โดยกาหนดให้เปน็ หลกั สตู รแกนกลางของประเทศ กาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการ
เรยี นรเู้ ปน็ เป้าหมาย และกรอบทศิ ทางในการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนให้มีพฒั นาการเตม็ ตามศักยภาพ
ส่งเสรมิ ทกั ษะวิชาการ ทักษะอาชีพ และทักษะชีวิต มคี ณุ ภาพและมที ักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ ๒๑

เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกับนโยบายและเป้าหมาย ของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
โรงเรยี นเสลภูมพิ ทิ ยาคม จึงได้ทาหลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ในกล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมศิ าสตรใ์ นกลุม่ สาระการเรยี นร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพื่อ
นาไปใชป้ ระโยชนแ์ ละเปน็ กรอบในการวางแผนและพฒั นาหลักสูตรของสถานศกึ ษา และออกแบบการ
จดั การเรียนการสอน โดยมเี ปา้ หมายในการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน ใหม้ ีกระบวนการนาหลักสตู รไปสู่การ
ปฏบิ ัติ โดยมกี ารกาหนดวิสยั ทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ัด โครงสรา้ งเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวดั และประเมินผล ใหม้ ีความ
สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรู้ เปิดโอกาสให้โรงเรยี นสามารถกาหนดทศิ ทางในการจดั ทาหลักสูตร
การเรยี นการสอน ในแตล่ ะระดบั ตามความพรอ้ มและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลางเปน็ แนวทางที่
ชดั เจน เพ่ือตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มีความพร้อมในการก้าวสู่สงั คมคุณภาพ มีความร้อู ย่าง
แทจ้ รงิ และมีทกั ษะในศตวรรษที่ ๒๑

มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ช้ีวดั ทก่ี าหนดไวใ้ นเอกสารน้ี ชว่ ยทาใหห้ น่วยงานท่ีเกย่ี วขอ้ งในทกุ
ระดบั เห็นผลคาดหวังทีต่ ้องการพัฒนาการเรยี นรขู้ องผ้เู รยี นที่ชดั เจนตลอดแนว ซงึ่ จะสามารถชว่ ยให้
หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ งในระดับท้องถิ่น และสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลกั สูตรไดอ้ ย่างม่ันใจ ทาให้การ
จดั ทาหลกั สูตรในระดบั สถานศกึ ษามีคณุ ภาพและมีความเปน็ เอกภาพย่งิ ข้นึ อกี ทั้งยงั ช่วยใหเ้ กิดความ
ชัดเจนเร่ืองการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ชว่ ยแก้ปญั หาการเทยี บโอนระหว่างสถานศกึ ษา

ดังนนั้ กลุ่มสาระการเรยี นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จงึ ได้พัฒนาเอกสารประกอบหลักสูตร
ในทุกระดับ เพื่อให้ครไู ด้นาไปใช้ในการออกแบบการเรยี นรู้ และจดั การเรียนการสอน ใหเ้ กดิ คณุ ภาพ
ตามมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชว้ี ดั ท่กี าหนดไว้ในหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ท่ีสอดคล้อง
กับจดุ เน้นของโรงเรยี น รวมทงั้ เป็นกรอบทิศทางในการจดั การศกึ ษาทุกรูปแบบ

กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สำรบัญ หนำ้
เร่ือง

คานา ๑
วิสัยทศั น์ พันธกจิ คา่ นยิ ม ๒
คุณลกั ษณะอันพงึ่ ประสงค์ ๓
โครงสรา้ งเวลาเรียนตามหลักสตู รแกนกลาง ๙
โครงสร้างเวลาของโรงเรยี น ๒๗
โครงสร้างหลกั สูตรของโรงเรยี น ๙๑
คาอธบิ ายรายวิชา ๑๒๐
โครงการสอน ๒๐๗
ตัวช้วี ดั /ผลการเรยี นรู้ ๒๐๘
เกณฑ์การจบการศกึ ษา ๒๒๐
ประกาศระเบยี บโรงเรยี น
คาสั่งคณะกรรมการการจัดทาและพัฒนาหลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้



วิสัยทัศน์ พันธกิจ และคา่ นยิ ม (VISION, MISSION AND VALUES)

วสิ ยั ทศั น์ (Vision) ของโรงเรียนคอื “ภายในปี ๒๕๖๒ โรงเรยี นเสลภมู ิพิทยาคมเป็นโรงเรยี นท่ี
มีคุณภาพมาตรฐานระดบั สากล บนพ้ืนฐานความเปน็ ไทย และเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม”

พันธกจิ (Mission)
๑) พฒั นาระบบการเรยี นการสอนให้มีคุณภาพเทียบเคยี งมาตรฐานสากล ควบค่กู ับ
กระบวนการสง่ิ แวดลอ้ มศึกษา
๒) พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลกั ษณะตามท่กี าหนดไว้ในอตั ลักษณข์ องโรงเรียนบนพื้นฐานความเป็นไทย
๓) พฒั นาระบบการบริหารจดั การให้มคี ุณภาพ โดยใช้เทคโนโลยีสนับสนุน
๔) นอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในการบริหารจดั การ การ
ปฏิบตั ิงาน และการจัดการเรยี นการสอน
๕) สร้างความเข้มแข็งในการจดั การทรัพยากรและสิ่งแวดลอ้ ม เพ่ือการพัฒนาทยี่ ัง่ ยืน
๖) พฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานวชิ าชพี และเกณฑ์คณุ ภาพ
โรงเรียนมาตรฐานสากล

คา่ นิยม (VALUES)
มงุ่ ม่ันทางานร่วมกนั อย่างมคี ณุ ภาพดว้ ยความเป็นพี่เป็นนอ้ ง (Respect for seniority)

คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ มุง่ พัฒนาผูเ้ รยี นใหม้ ีคณุ ลักษณะอนั พงึ
ประสงค์ เพ่ือใหส้ ามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทย และพลโลก รวมทั้งใหม้ ี
การวดั ผลและประเมินผล เพ่อื ตดั สินผลการเรยี นในรายวชิ าต่างๆของแตล่ ะภาคเรียน ในแต่ละปีการศึกษา และใช้
เปน็ เกณฑ์ประเมนิ ในการจบหลกั สูตร ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑-๓) และระดับช้ันมธั ยมศึกษา
ตอนปลาย(ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔-๖) ดงั น้ี

๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซอื่ สัตย์สจุ รติ
๓. มีวนิ ัย
๔. ใฝ่เรยี นรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งม่นั ในการทางาน
๗. รักความเปน็ ไทย
๘. มีจิตสาธารณะ



โครงสร้างเวลาเรียน(ช่ัวโมง) / หนว่ ยการเรยี น
หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ ๒๕๖๐)

กลุ่มสาระการเรยี นร/ู้ เวลาเรียน/ หนว่ ยกติ
กิจกรรม
มัธยมศึกษาตอนต้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม. ๔ – ๖ (๓ปี)
วิทยาศาสตร์
สงั คมศึกษา ศาสนาฯ ๑๒๐ ๓.๐ ๑๒๐ ๓.๐ ๑๒๐ ๓.๐ ๒๔๐ ๖.๐
สุขศกึ ษาและพลศึกษา
ศลิ ปะ ๑๒๐ ๓.๐ ๑๒๐ ๓.๐ ๑๒๐ ๓.๐ ๒๔๐ ๖.๐

การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๑๖๐ ๔.๐ ๑๖๐ ๔.๐ ๑๖๐ ๔.๐ ๒๘๐ ๗.๐

ภาษาต่างประเทศ ๑๖๐ ๔.๐ ๑๖๐ ๔.๐ ๑๖๐ ๔.๐ ๓๒๐ ๘.๐
รวม
๘๐ ๒.๐ ๘๐ ๒.๐ ๘๐ ๒.๐ ๑๒๐ ๓.๐

๘๐ ๒.๐ ๘๐ ๒.๐ ๘๐ ๒.๐ ๑๒๐ ๓.๐

๔๐ ๑.๐ ๔๐ ๑.๐ ๔๐ ๑.๐ ๘๐ ๒.๐

๑๒๐ ๓.๐ ๑๒๐ ๓.๐ ๑๒๐ ๓.๐ ๒๔๐ ๖.๐

๘๘๐ ๒๒ ๘๘๐ ๒๒ ๘๘๐ ๒๒ ๑๖๔๐ ๔๑.๐

กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ๑๒๐ - ๑๒๐ - ๑๒๐ - ๓๖๐ -

รายวชิ า/กิจกรรม(เพมิ่ เตมิ ) ๔๐๐ ๙.๐ ๔๐๐ ๙.๐ ๔๐๐ ๙.๐ ๒๒๐๐ ๕๒.๐

รวม ๓๑ ๓๑ ๓๑ ๙๓

รวม ๓ ปี = ๙๓ หน่วย ๓ ปี = ๙๓ หนว่ ย

หมายเหตุ กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกไวใ้ นกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน
โดยแต่ละปี ภาคเรยี นท่ี ๑ จานวน ๑๐ ชว่ั โมง และภาคเรยี นที่ ๒ จานวน ๑๐ ชว่ั โมง

๑. ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ตอ้ งไดช้ ว่ั โมงกจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน์
ตลอด ๓ ปี ๔๕ ชั่วโมง

๒. ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ต้องไดช้ ัว่ โมงกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์
ตลอด ๓ ปี ๖๐ ชว่ั โมง



โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรยี นเสลภมู พิ ทิ ยาคม อาเภอเสลภูมิ จงั หวดั รอ้ ยเอด็
ชน้ั มัธยมศึกษาตอนต้น ( ม.๑ - ๓ )

(หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑) (ฉบับปรับปรงุ ๒๕๖๐)

ชั้น ม.๑ ชัน้ ม.๒ ชั้น ม.๓

ท่ี กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชวั่ โมง / ภาค ชวั่ โมง / ภาค ชว่ั โมง / ภาค

๑ ภาษาไทย พื้นฐาน เพม่ิ เติม พนื้ ฐาน เพ่มิ เตมิ พนื้ ฐาน เพ่มิ เตมิ
๒ คณิตศาสตร์
๓ วิทยาศาสตร์ ๖๐ ๖๐ ๖๐
๔ สงั คมศกึ ษา ศาสนา ฯ
๕ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๖๐ ๖๐ ๖๐
๖ ศลิ ปะ
๗ การงานอาชพี ฯ ๘๐ ๘๐ ๘๐
๘ ภาษาต่างประเทศ
๘๐ ๑๘๐ ๘๐ ๑๘๐ ๘๐ ๑๘๐
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น ๔๐ ๔๐ ๔๐
แนะแนว
กจิ กรรมเครอ่ื งแบบ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ชมุ นมุ /ชมรม
โฮมรูม ๒๐ ๒๐ ๒๐

รวม ๖๐ ๖๐ ๖๐
รวม
รวม ๒๐ - ๒๐ - ๒๐ -
๒๐ - ๒๐ - ๒๐ -
๒๐ - ๒๐ - ๒๐ -
๒๐ - ๒๐ - ๒๐ -
๕๒๐ ๑๘๐ ๕๒๐ ๑๘๐ ๕๒๐ ๑๘๐

๗๐๐ ๗๐๐ ๗๐๐
๑๕.๕ หน่วย ๑๕.๕ หน่วย ๑๕.๕ หน่วย

หมายเหตุ กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกไว้ในกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น
โดยแตล่ ะปี ภาคเรียนท่ี ๑ จานวน ๑๐ ช่ัวโมง และภาคเรยี นที่ ๒ จานวน ๕ ช่ัวโมง



โครงสร้างหลกั สูตรโรงเรียนเสลภมู พิ ิทยาคม อาเภอเสลภูมิ จังหวัดรอ้ ยเอ็ด
ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ( ม.๑ - ๓ ) ห้องเรยี นความสามารถพเิ ศษ(Gifted)

ชนั้ ม.๑ ชัน้ ม.๒ ชนั้ ม.๓

ท่ี กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ช่ัวโมง / ภาค ช่วั โมง / ภาค ชวั่ โมง / ภาค

๑ ภาษาไทย พื้นฐาน เพ่มิ เตมิ พ้นื ฐาน เพิม่ เติม พ้นื ฐาน เพ่มิ เตมิ
๒ คณติ ศาสตร์
๓ วิทยาศาสตร์ ๖๐ ๖๐ ๖๐
๔ สงั คมศกึ ษา ศาสนา ฯ
๕ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๖๐ ๖๐ ๖๐
๖ ศิลปะ
๗ การงานอาชีพ ฯ ๘๐ ๘๐ ๘๐
๘ ภาษาตา่ งประเทศ
๘๐ ๓๐๐ ๘๐ ๓๐๐ ๘๐ ๓๐๐
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ๔๐ ๔๐ ๔๐
แนะแนว
กิจกรรมเครอ่ื งแบบ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ชมุ นมุ /ชมรม
โฮมรูม ๒๐ ๒๐ ๒๐

รวม ๖๐ ๖๐ ๖๐
รวม
รวม ๒๐ - ๒๐ - ๒๐ -
๒๐ - ๒๐ - ๒๐ -
๒๐ - ๒๐ - ๒๐ -
๒๐ - ๒๐ - ๒๐ -
๕๒๐ ๓๐๐ ๕๒๐ ๓๐๐ ๕๒๐ ๓๐๐

๘๒๐ ๘๒๐ ๘๒๐
๑๘.๕ หน่วย ๑๘.๕ หน่วย ๑๘.๕ หน่วย

หมายเหตุ กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกไว้ในกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น
โดยแตล่ ะปี ภาคเรียนที่ ๑ จานวน ๑๐ ชวั่ โมง และภาคเรยี นที่ ๒ จานวน ๕ ชัว่ โมง



โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรยี นเสลภูมิพทิ ยาคม อาเภอเสลภูมิ จังหวดั ร้อยเอด็
ช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ( ม.๔ )

(หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑) (ฉบับปรับปรงุ ๒๕๖๐)

ชนั้ ม.๔ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ม.๔ ภาคเรยี นท่ี ๒
ชว่ั โมง / ภาค
ที่ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ชั่วโมง / ภาค
พน้ื ฐาน เพ่มิ เตมิ
๑ ภาษาไทย พ้ืนฐาน เพ่ิมเตมิ ๔๐
๒ คณิตศาสตร์ ๔๐
๓ วิทยาศาสตร์ ๔๐ -

๔ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๔๐
๕ สขุ ศึกษาและพลศึกษา
๖ ศิลปะ ๒๘๐
๗ การงานอาชพี และเทคโนโลยี
๘ ภาษาต่างประเทศ ๔๐ ๑๔๐ ๔๐ ๔๐๐
๒๐ ๒๐
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น
แนะแนว ๒๐ ๒๐
กจิ กรรมเคร่อื งแบบ
ชุมนมุ / ชมรม - -
โฮมรมู
๔๐ ๔๐
รวม
รวม ๒๐ - ๒๐ -
๒๐ - ๒๐ -
๒๐ - ๒๐ -
๒๐ - ๒๐ -
๕๖๐ ๑๔๐ ๓๐๐ ๔๐๐

๗๐๐ ๗๐๐

หมายเหตุ กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกไวใ้ นกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น
โดยแตล่ ะปี ภาคเรียนที่ ๑ จานวน ๑๐ ชว่ั โมง และภาคเรียนที่ ๒ จานวน ๑๐ ชวั่ โมง



โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรยี นเสลภูมพิ ิทยาคม อาเภอเสลภมู ิ จงั หวดั ร้อยเอ็ด
ช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.๕-๖)

(หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑) (ฉบับปรบั ปรุง ๒๕๖๐)

ท่ี สาระการเรียนรู้ ชัน้ ม.๕ ชนั้ ม.๖
ชวั่ โมง/ภาค ชั่วโมง/ภาค
๑ ภาษาไทย พื้นฐาน เพ่มิ เติม พื้นฐาน เพิ่มเตมิ
๒ คณติ ศาสตร์ ๔๐ ๔๐
๓ วทิ ยาศาสตร์ ๔๐ ๔๐
๔ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม - -
๔๐ ๔๐
ประวัติศาสตร์ ๒๐ ๔๐๐ ๒๐ ๔๐๐
๕ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๒๐ ๒๐
๖ ศลิ ปะ ๒๐ ๒๐
๗ การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ๒๐ ๒๐
๘ ภาษาต่างประเทศ ๔๐ ๔๐

กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ๒๐ - ๒๐ -
แนะแนว ๒๐ - ๒๐ -
กิจกรรมเครือ่ งแบบ ๒๐ - ๒๐ -
ชุมนุม / ชมรม ๒๐ - ๒๐ -
โฮมรูม ๓๐๐ ๔๐๐ ๓๐๐ ๔๐๐

รวม ๗๐๐ ๗๐๐
รวม

หมายเหตุ กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกไวใ้ นกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น
โดยแตล่ ะปี ภาคเรยี นท่ี ๑ จานวน ๑๐ ชว่ั โมง และภาคเรยี นท่ี ๒ จานวน ๑๐ ชั่วโมง



โครงสรา้ งหลกั สตู รโรงเรียนเสลภูมิพทิ ยาคม อาเภอเสลภมู ิ จงั หวดั รอ้ ยเอด็
ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ( ม.๔ ห้องเรียนความสามารถพิเศษ(Gifted))
(หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑) (ฉบับปรบั ปรุง ๒๕๖๐)

ชนั้ ม.๔ ภาคเรียนท่ี ๑ ชนั้ ม.๔ ภาคเรียนท่ี ๒

ท่ี กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชว่ั โมง / ภาค ช่ัวโมง / ภาค

๑ ภาษาไทย พื้นฐาน เพิ่มเตมิ พ้ืนฐาน เพม่ิ เตมิ
๒ คณิตศาสตร์
๓ วิทยาศาสตร์ ๔๐ ๔๐
๔ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
๕ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๔๐
๖ ศิลปะ
๗ การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ๒๘๐ -
๘ ภาษาตา่ งประเทศ
๔๐ ๒๖๐ ๔๐ ๕๔๐
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๒๐ ๒๐
แนะแนว
กจิ กรรมเครอ่ื งแบบ ๒๐ ๒๐
ชมุ นมุ / ชมรม
โฮมรูม - -

รวม ๔๐ ๔๐
รวม
รวม ๒๐ - ๒๐ -
๒๐ - ๒๐ -
๒๐ - ๒๐ -
๒๐ - ๒๐ -
๕๖๐ ๒๖๐ ๒๘๐ ๕๔๐

๘๒๐ ๘๒๐
๑๘.๕ หน่วย ๑๘.๕ หน่วย

หมายเหตุ กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกไว้ในกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน
โดยแตล่ ะปี ภาคเรยี นที่ ๑ จานวน ๑๐ ชัว่ โมง และภาคเรยี นที่ ๒ จานวน ๑๐ ช่ัวโมง



โครงสรา้ งหลักสูตรโรงเรยี นเสลภมู ิพทิ ยาคม อาเภอเสลภูมิ จังหวดั รอ้ ยเอ็ด
ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.๕-๖) ห้องเรยี นความสามารถพเิ ศษ(Gifted)

(หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑) (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐)

ท่ี สาระการเรยี นรู้ ช้นั ม.๕ ช้นั ม.๖
ช่วั โมง/ภาค ชว่ั โมง/ภาค
๑ ภาษาไทย พืน้ ฐาน เพิม่ เตมิ พนื้ ฐาน เพ่มิ เตมิ
๒ คณติ ศาสตร์ ๔๐ ๔๐
๓ วิทยาศาสตร์ ๔๐ ๔๐
๔ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม - -
๔๐ ๔๐
ประวตั ศิ าสตร์ ๒๐ ๕๐๐ ๒๐ ๕๐๐
๕ สุขศึกษาและพลศึกษา ๒๐ ๒๐
๖ ศิลปะ ๒๐ ๒๐
๗ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๒๐ ๒๐
๘ ภาษาต่างประเทศ ๔๐ ๔๐

กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน ๒๐ - ๒๐ -
แนะแนว ๒๐ - ๒๐ -
กจิ กรรมเคร่ืองแบบ ๒๐ - ๒๐ -
ชุมนมุ / ชมรม ๒๐ - ๒๐ -
โฮมรมู ๓๒๐ ๕๐๐ ๓๒๐ ๕๐๐

รวม ๘๒๐ ๘๒๐
รวม ๑๘.๕ หน่วย ๑๘.๕ หน่วย
รวม

หมายเหตุ กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกไวใ้ นกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น
โดยแต่ละปี ภาคเรียนท่ี ๑ จานวน ๑๐ ชัว่ โมง และภาคเรยี นที่ ๒ จานวน ๑๐ ช่วั โมง



โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรยี นเสลภมู พิ ิทยาคม อาเภอเสลภมู ิ จังหวัดร้อยเอ็ด

ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑

ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒

รหสั วชิ า รายวชิ า นก. ชม. รหสั วชิ า รายวชิ า นก. ชม.
๑๐.๐ ๔๐๐
ท๒๑๑๐๑ รายวชิ าพื้นฐาน ๑๒.๐ ๔๘๐ รายวชิ าพื้นฐาน ๑.๕ ๖๐
ค๒๑๑๐๑ ๑.๕ ๖๐
ว๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐
ว๒๑๑๘๑ ๑.๕ ๖๐
ส๒๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ค๒๑๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๐.๕ ๒๐
ส๒๑๑๐๒ ๐.๕ ๒๐
พ๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ว๒๑๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ๐.๕ ๒๐
พ๒๑๑๐๒ ๑.๐ ๔๐
ศ๒๑๑๐๑ วทิ ยาการคานวณ ๑.๐ ๔๐ ส๒๑๑๐๓ สังคมศกึ ษา ฯ ๑.๕ ๖๐
ง๒๑๑๐๑
อ๒๑๑๐๑ สังคมศกึ ษา ฯ ๑.๕ ๖๐ ส๒๑๑๐๔ ประวตั ศิ าสตร์ ๕.๕ ๒๒๐
๑.๕ ๖๐
ค๒๑๒๐๑ ประวตั ศิ าสตร์ ๐.๕ ๒๐ พ๒๑๑๐๓ สุขศกึ ษา ๑.๐ ๔๐
ส๒๑๒๔๑ ๐.๕ ๒๐
อ๒๑๒๐๑ สุขศกึ ษา ๐.๕ ๒๐ พ๒๑๑๐๔ พลศึกษา ๐.๕ ๒๐
พ๒๑๒๐๑ ๐.๕ ๒๐
ง๒๑๒๘๑ พลศึกษา ๐.๕ ๒๐ ศ๒๑๑๐๒ ศิลปะ ๑.๐ ๔๐
๐.๕ ๒๐
ศิลปะ ๑.๐ ๔๐ อ๒๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ

การงานอาชีพฯ ๑.๐ ๔๐

ภาษาอังกฤษ ๑.๕ ๖๐ รายวิชาเพ่มิ เตมิ

ค๒๑๒๐๒ คณิตศาสตร์

รายวชิ าเพิ่มเตมิ ๓.๕ ๑๔๐ ว๒๑๒๘๑ วทิ ยาการคานวณ

คณติ ศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ส๒๑๒๔๒ หน้าท่ีพลเมือง

หน้าทพี่ ลเมอื ง ๐.๕ ๒๐ อ๒๑๒๐๒ อังกฤษเพอื่ การสือ่ สาร

องั กฤษเพื่อการสอื่ สาร ๐.๕ ๒๐ พ๒๑๒๐๒ พลศึกษา ๒

พลศกึ ษา ๑ ๐.๕ ๒๐ ง๒๑๒๐๑ การงานอาชีพฯ

การออม ๐.๕ ๒๐ ง๒๑๒๘๑ การออม

กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน - ๘๐ กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน - ๘๐
กิจกรรมแนะแนว - ๒๐
ก๒๑๙๐๑ ชมุ นุม - ๒๐ ก๒๑๙๐๒ กจิ กรรมแนะแนว - ๒๐
กจิ กรรมเคร่อื งแบบ - ๒๐
โฮมรูม - ๒๐ ชุมนุม - ๒๐
กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมฯ - (๕)
- ๒๐ กจิ กรรมเคร่ืองแบบ

- ๒๐ โฮมรมู

- (๑๐) กิจกรรมเพอื่ สังคมฯ

รวมเวลาทง้ั สิน้ ๑๕.๕ ๗๐๐ รวมเวลาทง้ั สนิ้ ๑๕.๕ ๗๐๐

หมายเหตุ กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกไว้ในกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี นโดย
ภาคเรียนท่ี ๑ จานวน ๑๐ ช่ัวโมง และภาคเรียนที่ ๒ จานวน ๕ ช่ัวโมง

๑๐

โครงสรา้ งหลกั สตู รโรงเรียนเสลภูมพิ ทิ ยาคม อาเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๒

ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๒

รหสั วชิ า รายวชิ า นก. ชม. รหสั วชิ า รายวชิ า นก. ชม.
๑๐.๐ ๔๐๐
ท๒๒๑๐๑ รายวิชาพื้นฐาน ๑๒.๐ ๔๘๐ รายวิชาพ้นื ฐาน ๑.๕ ๖๐
ค๒๒๑๐๑ ๑.๕ ๖๐
ว๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐
ว๒๒๑๘๒ ๑.๕ ๖๐
ส๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ค๒๒๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๐.๕ ๒๐
ส๒๒๑๐๒ ๐.๕ ๒๐
พ๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ว๒๒๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ๐.๕ ๒๐
พ๒๒๑๐๒ ๑.๐ ๔๐
ศ๒๒๑๐๑ วทิ ยาการคานวณ ๑.๐ ๔๐ ส๒๒๑๐๓ สงั คมศกึ ษา ฯ ๑.๕ ๖๐
ง๒๒๑๐๑
อ๒๒๑๐๑ สังคมศึกษา ฯ ๑.๕ ๖๐ ส๒๒๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์ ๕.๕ ๒๒๐
๑.๕ ๖๐
ค๒๒๒๐๓ ประวัติศาสตร์ ๐.๕ ๒๐ พ๒๒๑๐๓ สุขศกึ ษา ๑.๐ ๔๐
ส๒๒๒๔๓ ๐.๕ ๒๐
อ๒๒๒๐๓ สขุ ศกึ ษา ๐.๕ ๒๐ พ๒๒๑๐๔ พลศกึ ษา ๑.๐ ๔๐
I ๒๒๒๐๑ ๐.๕ ๒๐
พลศกึ ษา ๐.๕ ๒๐ ศ๒๒๑๐๒ ศิลปะ ๑.๐ ๔๐

ศิลปะ ๑.๐ ๔๐ อ๒๒๑๐๒ ภาษาองั กฤษ - ๘๐
- ๒๐
การงานอาชพี ฯ ๑.๐ ๔๐ - ๒๐
- ๒๐
ภาษาองั กฤษ ๑.๕ ๖๐ รายวิชาเพิม่ เติม - ๒๐
- (๕)
ค๒๒๒๐๔ คณติ ศาสตร์

รายวชิ าเพิ่มเติม ๓.๕ ๑๔๐ ว๒๒๒๘๑ วิทยาการคานวณ

คณิตศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ส๒๒๒๔๔ หนา้ ท่พี ลเมือง

หน้าทพ่ี ลเมือง ๐.๕ ๒๐ ง๒๒๒๐๑ การงานอาชีพฯ

องั กฤษเพอื่ การสือ่ สาร ๐.๕ ๒๐ อ๒๑๒๐๔ อังกฤษเพือ่ การสอ่ื สาร

IS๑ ๑.๐ ๔๐ I ๒๒๒๐๒ IS๒

กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น - ๘๐ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น
กิจกรรมแนะแนว
ก๒๒๙๐๑ ชุมนุม - ๒๐ ก๒๒๙๐๒ กิจกรรมแนะแนว
กจิ กรรมเคร่ืองแบบ
โฮมรูม - ๒๐ ชุมนมุ
กิจกรรมเพอ่ื สงั คมฯ
- ๒๐ กจิ กรรมเครื่องแบบ

- ๒๐ โฮมรูม

- (๑๐) กิจกรรมเพอ่ื สังคมฯ

รวมเวลาท้ังสิน้ ๑๕.๕ ๗๐๐ รวมเวลาทงั้ สนิ้ ๑๕.๕ ๗๐๐

หมายเหตุ กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกไวใ้ นกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี นโดย
ภาคเรียนท่ี ๑ จานวน ๑๐ ช่วั โมง และภาคเรยี นท่ี ๒ จานวน ๕ ชัว่ โมง

๑๑

โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรยี นเสลภมู พิ ิทยาคม อาเภอเสลภูมิ จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด

ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓

ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๒

รหสั วิชา รายวิชา นก. ชม. รหสั วชิ า รายวชิ า นก. ชม.
๑๐.๐ ๔๐๐
ท๒๓๑๐๑ รายวิชาพน้ื ฐาน ๑๒.๐ ๔๘๐ รายวชิ าพนื้ ฐาน ๑.๕ ๖๐
ค๒๓๑๐๑ ๑.๕ ๖๐
ว๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐
ว๒๓๑๘๓ ๑.๕ ๖๐
ส๒๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ค๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๐.๕ ๒๐
ส๒๓๑๐๒ ๐.๕ ๒๐
พ๒๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ว๒๓๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๐.๕ ๒๐
พ๒๓๑๐๒ ๑.๐ ๔๐
ศ๒๓๑๐๑ วิทยาการคานวณ ๑.๐ ๔๐ ส๒๓๑๐๓ สังคมศึกษา ฯ ๑.๕ ๖๐
ง๒๓๑๐๑
อ๒๓๑๐๑ สังคมศกึ ษา ฯ ๑.๕ ๖๐ ส๒๓๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๕.๕ ๒๒๐
๑.๐ ๔๐
ท๒๓๒๐๑ ประวัตศิ าสตร์ ๐.๕ ๒๐ พ๒๓๑๐๓ สขุ ศึกษา ๑.๕ ๖๐
ค๒๓๒๐๕ ๑.๐ ๔๐
ส๒๓๒๔๕ สขุ ศกึ ษา ๐.๕ ๒๐ พ๒๓๑๐๔ พลศกึ ษา ๐.๕ ๒๐
อ๒๓๒๐๕ ๑.๐ ๔๐
พลศึกษา ๐.๕ ๒๐ ศ๒๓๑๐๒ ศิลปะ ๐.๕ ๒๐

ศลิ ปะ ๑.๐ ๔๐ อ๒๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ

การงานอาชพี ฯ ๑.๐ ๔๐

ภาษาองั กฤษ ๑.๕ ๖๐ รายวิชาเพ่มิ เติม

ท๒๓๒๐๒ ภาษาไทย ๒

รายวชิ าเพมิ่ เติม ๓.๕ ๑๔๐ ค๒๓๒๐๖ คณติ ศาสตร์

ภาษาไทย ๑ ๑.๐ ๔๐ ว๒๓๒๘๑ วทิ ยาการคานวณ

คณติ ศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ส๒๓๒๔๖ หนา้ ที่พลเมือง

หนา้ ท่พี ลเมอื ง ๐.๕ ๒๐ ง๒๓๒๐๑ การงานอาชพี ฯ

องั กฤษเพ่ือการสือ่ สาร ๐.๕ ๒๐ อ๒๑๒๐๔ องั กฤษเพอื่ การสอ่ื สาร

กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น - ๘๐ กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น - ๘๐
กิจกรรมแนะแนว - ๒๐
ก๒๓๙๐๑ ชุมนมุ - ๒๐ ก๒๓๙๐๒ กจิ กรรมแนะแนว - ๒๐
กิจกรรมเครอื่ งแบบ - ๒๐
โฮมรูม - ๒๐ ชมุ นุม - ๒๐
กจิ กรรมเพื่อสงั คมฯ - (๕)
- ๒๐ กิจกรรมเครื่องแบบ

- ๒๐ โฮมรูม

- (๑๐) กิจกรรมเพอื่ สังคมฯ

I ๒๓๒๐๓ IS๓

รวมเวลาทั้งสน้ิ ๑๕.๕ ๗๐๐ รวมเวลาท้งั สิ้น ๑๕.๕ ๗๐๐

หมายเหตุ ๑. กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ จัดแทรกไว้ในกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนโดย
ภาคเรยี นท่ี ๑ จานวน ๑๐ ชั่วโมง และภาคเรียนที่ ๒ จานวน ๕ ช่วั โมง

๒. วิชา I ๒๓๒๐๓ จดั แทรกไว้ในกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนภาคเรียนที่ ๒ ในกจิ กรรมเพื่อสังคมฯ

๑๒

โครงสรา้ งหลกั สตู รโรงเรยี นเสลภูมิพทิ ยาคม อาเภอเสลภมู ิ จังหวดั ร้อยเอด็

ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ ห้องเรยี นความสารถพเิ ศษ(Gifted)

ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒

รหสั วชิ า รายวชิ า นก. ชม. รหัสวิชา รายวิชา นก. ชม.
๑๐.๐ ๔๐๐
ท๒๑๑๐๑ รายวิชาพน้ื ฐาน ๑๒.๐ ๔๘๐ รายวชิ าพ้นื ฐาน ๑.๕ ๖๐
ค๒๑๑๐๑ ๑.๕ ๖๐
ว๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐
ว๒๑๑๘๑ ๑.๕ ๖๐
ส๒๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ค๒๑๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๐.๕ ๒๐
ส๒๑๑๐๒ ๐.๕ ๒๐
พ๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ว๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๐.๕ ๒๐
พ๒๑๑๐๒ ๑.๐ ๔๐
ศ๒๑๑๐๑ วทิ ยาการคานวณ ๑.๐ ๔๐ ส๒๑๑๐๓ สงั คมศึกษา ฯ ๑.๕ ๖๐
ง๒๑๑๐๑
อ๒๑๑๐๑ สังคมศกึ ษา ฯ ๑.๕ ๖๐ ส๒๑๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์ ๘.๕ ๓๔๐
๑.๕ ๖๐
ค๒๑๒๐๑ ประวัตศิ าสตร์ ๐.๕ ๒๐ พ๒๑๑๐๓ สุขศึกษา ๑.๐ ๔๐
ส๒๑๒๔๑ ๐.๕ ๒๐
อ๒๑๒๐๑ สขุ ศึกษา ๐.๕ ๒๐ พ๒๑๑๐๔ พลศึกษา ๐.๕ ๒๐
พ๒๑๒๐๑ ๐.๕ ๒๐
ง๒๑๒๘๑ พลศึกษา ๐.๕ ๒๐ ศ๒๑๑๐๒ ศิลปะ ๑.๐ ๔๐
ว๒๑๒๐๑* ๐.๕ ๒๐
ค๒๑๒๐๗* ศลิ ปะ ๑.๐ ๔๐ อ๒๑๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๑.๐ ๔๐
อ๒๑๒๐๗* ๑.๐ ๔๐
การงานอาชีพฯ ๑.๐ ๔๐ ๑.๐ ๔๐

ภาษาอังกฤษ ๑.๕ ๖๐ รายวิชาเพม่ิ เติม

ค๒๑๒๐๒ คณิตศาสตร์

รายวิชาเพ่ิมเตมิ ๖.๕ ๒๖๐ ว๒๑๒๘๑ วทิ ยาการคานวณ

คณิตศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ส๒๑๒๔๒ หนา้ ที่พลเมอื ง

หนา้ ท่ีพลเมอื ง ๐.๕ ๒๐ อ๒๑๒๐๒ อังกฤษเพ่อื การสอ่ื สาร

อังกฤษเพอ่ื การสือ่ สาร ๐.๕ ๒๐ พ๒๑๒๐๒ พลศึกษา ๒

พลศึกษา ๑ ๐.๕ ๒๐ ง๒๑๒๐๑ การงานอาชีพฯ

การออม ๐.๕ ๒๐ ง๒๑๒๘๒ การออม

วิทยาศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ ว๒๑๒๐๒* วทิ ยาศาสตร์

คณิตศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ ค๒๑๒๐๘* คณิตศาสตร์

ภาษาอังกฤษ ๑.๐ ๔๐ อ๒๑๒๐๘* ภาษาองั กฤษ

กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน - ๘๐ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน - ๘๐
- ๒๐
ก๒๓๙๐๑ กิจกรรมแนะแนว - ๒๐ ก๒๓๙๐๒ กจิ กรรมแนะแนว - ๒๐
- ๒๐
ชมุ นมุ - ๒๐ ชุมนุม - ๒๐
- (๕)
กจิ กรรมเครือ่ งแบบ - ๒๐ กิจกรรมเครอ่ื งแบบ ๑๘.๕ ๘๒๐

โฮมรูม - ๒๐ โฮมรมู

กิจกรรมเพื่อสงั คมฯ - (๑๐) กิจกรรมเพื่อสังคมฯ

รวมเวลาทั้งส้ิน ๑๘.๕ ๘๒๐ รวมเวลาท้งั สนิ้

หมายเหตุ ๑. กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกไวใ้ นกิจกรรมพฒั นาผ้เู รียนโดย

ภาคเรยี นที่ ๑ จานวน ๑๐ ชัว่ โมง และภาคเรยี นท่ี ๒ จานวน ๕ ช่ัวโมง

๒. วชิ าเพมิ่ เติม * จดั การเรยี นในวันเสารท์ ุกสปั ดาห์

๑๓

โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม อาเภอเสลภมู ิ จังหวัดรอ้ ยเอ็ด

ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ ห้องเรียนความสามารถพิเศษ(Gifted)

ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๒

รหสั วชิ า รายวิชา นก. ชม. รหัสวชิ า รายวิชา นก. ชม.
๑๐.๐ ๔๐๐
รายวชิ าพนื้ ฐาน ๑๒.๐ ๔๘๐ รายวชิ าพนื้ ฐาน ๑.๕ ๖๐
๑.๕ ๖๐
ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐
๑.๕ ๖๐
ค๒๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ค๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ว๒๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ว๒๒๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๐.๕ ๒๐
๑.๐ ๔๐
ว๒๒๑๘๒ วทิ ยาการคานวณ ๑.๐ ๔๐ ส๒๒๑๐๓ สังคมศกึ ษา ฯ ๑.๕ ๖๐

ส๒๒๑๐๑ สงั คมศึกษา ฯ ๑.๕ ๖๐ ส๒๒๑๐๔ ประวัตศิ าสตร์ ๘.๕ ๓๔๐
๑.๕ ๖๐
ส๒๒๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๐.๕ ๒๐ พ๒๒๑๐๓ สุขศกึ ษา ๑.๐ ๔๐
๐.๕ ๒๐
พ๒๒๑๐๑ สขุ ศึกษา ๐.๕ ๒๐ พ๒๒๑๐๔ พลศกึ ษา ๑.๐ ๔๐
๐.๕ ๒๐
พ๒๒๑๐๒ พลศึกษา ๐.๕ ๒๐ ศ๒๒๑๐๒ ศิลปะ ๑.๐ ๔๐
๑.๐ ๔๐
ศ๒๒๑๐๑ ศิลปะ ๑.๐ ๔๐ อ๒๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๑.๐ ๔๐
๑.๐ ๔๐
ง๒๒๑๐๑ การงานอาชพี ฯ ๑.๐ ๔๐

อ๒๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑.๕ ๖๐ รายวชิ าเพมิ่ เติม

ค๒๒๒๐๔ คณติ ศาสตร์

รายวชิ าเพิ่มเติม ๖.๕ ๒๖๐ ว๒๒๒๘๑ วทิ ยาการคานวณ

ค๒๒๒๐๓ คณิตศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ส๒๒๒๔๔ หนา้ ท่พี ลเมือง

ส๒๒๒๔๓ หน้าท่ีพลเมือง ๐.๕ ๒๐ ง๒๒๒๐๑ การงานอาชพี ฯ

อ๒๒๒๐๓ อังกฤษเพ่อื การสือ่ สาร ๐.๕ ๒๐ อ๒๑๒๐๔ องั กฤษเพื่อการสื่อสาร

I ๒๒๒๐๑ IS๑ ๑.๐ ๔๐ I ๒๒๒๐๒ IS๒

ว๒๒๒๐๓* วิทยาศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ ว๒๒๒๐๔* วทิ ยาศาสตร์

ค๒๒๒๐๙* คณิตศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ ค๒๒๒๑๐* คณติ ศาสตร์

อ๒๒๒๐๙* ภาษาอังกฤษ๓ ๑.๐ ๔๐ อ๒๒๒๑๐* ภาษาอังกฤษ๔

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - ๘๐ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น - ๘๐
- ๒๐
ก๒๒๙๐๑ กิจกรรมแนะแนว - ๒๐ ก๒๒๙๐๒ กิจกรรมแนะแนว - ๒๐
- ๒๐
ชมุ นุม - ๒๐ ชมุ นุม - ๒๐
- (๕)
กจิ กรรมเคร่ืองแบบ - ๒๐ กิจกรรมเครอ่ื งแบบ ๑๘.๕ ๘๒๐

โฮมรูม - ๒๐ โฮมรมู

กจิ กรรมเพอ่ื สังคมฯ - (๑๐) กจิ กรรมเพื่อสงั คมฯ

รวมเวลาทั้งส้ิน ๑๘.๕ ๘๒๐ รวมเวลาทง้ั สน้ิ

หมายเหตุ ๑. กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกไวใ้ นกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียนโดย

ภาคเรยี นที่ ๑ จานวน ๑๐ ช่วั โมง และภาคเรยี นท่ี ๒ จานวน ๕ ชวั่ โมง

๒.วิชาเพิ่มเตมิ * จัดการเรียนในวนั เสาร์ทุกสปั ดาห์

๑๔

โครงสรา้ งหลกั สตู รโรงเรยี นเสลภูมพิ ิทยาคม อาเภอเสลภมู ิ จงั หวัดร้อยเอด็

ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ หอ้ งเรยี นความสามารถพเิ ศษ(Gifted)

ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๒

รหัสวิชา รายวชิ า นก. ชม. รหัสวชิ า รายวชิ า นก. ชม.
๑๐.๐ ๔๐๐
รายวิชาพน้ื ฐาน ๑๒.๐ ๔๘๐ รายวชิ าพื้นฐาน ๑.๕ ๖๐
๑.๕ ๖๐
ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐ ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ ๖๐
๑.๕ ๖๐
ค๒๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ค๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ว๒๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ว๒๓๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ๐.๕ ๒๐
๑.๐ ๔๐
ว๒๓๑๘๓ วทิ ยาการคานวณ ๑.๐ ๔๐ ส๒๓๑๐๓ สังคมศึกษา ฯ ๑.๕ ๖๐

ส๒๓๑๐๑ สังคมศกึ ษา ฯ ๑.๕ ๖๐ ส๒๓๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์ ๘.๕ ๓๔๐
๑.๐ ๔๐
ส๒๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๐.๕ ๒๐ พ๒๓๑๐๓ สุขศกึ ษา ๑.๕ ๖๐
๑.๐ ๔๐
พ๒๓๑๐๑ สุขศึกษา ๐.๕ ๒๐ พ๒๓๑๐๔ พลศกึ ษา ๐.๕ ๒๐
๑.๐ ๔๐
พ๒๓๑๐๒ พลศึกษา ๐.๕ ๒๐ ศ๒๓๑๐๒ ศิลปะ ๐.๕ ๒๐
๑.๐ ๔๐
ศ๒๓๑๐๑ ศิลปะ ๑.๐ ๔๐ อ๒๓๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๑.๐ ๔๐
๑.๐ ๔๐
ง๒๓๑๐๑ การงานอาชีพฯ ๑.๐ ๔๐

อ๒๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑.๕ ๖๐ รายวชิ าเพ่ิมเตมิ

ท๒๓๒๐๒ ภาษาไทย ๒

รายวชิ าเพ่ิมเติม ๖.๕ ๒๖๐ ค๒๓๒๐๖ คณติ ศาสตร์

ท๒๓๒๐๑ ภาษาไทย ๑ ๑.๐ ๔๐ ว๒๓๒๘๑ วิทยาการคานวณ

ค๒๓๒๐๕ คณติ ศาสตร์ ๑.๕ ๖๐ ส๒๓๒๔๖ หน้าทีพ่ ลเมือง

ส๒๓๒๔๕ หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง ๐.๕ ๒๐ ง๒๓๒๐๑ การงานอาชีพฯ

อ๒๓๒๐๕ องั กฤษเพื่อการสอื่ สาร ๐.๕ ๒๐ อ๒๑๒๐๔ อังกฤษเพอื่ การสื่อสาร

ว๒๓๒๐๕* วิทยาศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ ว๒๓๒๐๖* วทิ ยาศาสตร์

ค๒๓๒๑๑* คณิตศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ ค๒๓๒๑๒* คณติ ศาสตร์

อ๒๓๒๑๑* ภาษาอังกฤษ๕ ๑.๐ ๔๐ อ๒๓๒๑๒* ภาษาองั กฤษ๖

กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น - ๘๐ กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน - ๘๐
- ๒๐
ก๒๓๙๐๑ กิจกรรมแนะแนว - ๒๐ ก๒๓๙๐๒ กจิ กรรมแนะแนว - ๒๐
- ๒๐
ชุมนมุ - ๒๐ ชมุ นมุ - ๒๐
- (๕)
กิจกรรมเคร่ืองแบบ - ๒๐ กิจกรรมเครื่องแบบ
๑๘.๕ ๘๒๐
โฮมรมู - ๒๐ โฮมรูม

กิจกรรมเพอ่ื สงั คมฯ - (๑๐) กิจกรรมเพอ่ื สงั คมฯ

I ๒๓๒๐๓ IS๓

รวมเวลาทั้งส้นิ ๑๘.๕ ๘๒๐ รวมเวลาทง้ั ส้ิน

หมายเหตุ ๑. กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ จัดแทรกไว้ในกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนโดย

ภาคเรยี นท่ี ๑ จานวน ๑๐ ชว่ั โมง และภาคเรียนท่ี ๒ จานวน ๕ ช่วั โมง

๒. วชิ าเพม่ิ เตมิ * จดั การเรยี นในวนั เสาร์ทกุ สปั ดาห์

๓. วชิ า I ๒๓๒๐๓ จดั แทรกไว้ในกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นภาคเรยี นที่ ๒ ในกิจกรรมเพอ่ื สงั คมฯ

๑๕

โครงสรา้ งหลกั สตู รโรงเรียนเสลภมู ิพทิ ยาคม อาเภอเสลภูมิ จงั หวดั ร้อยเอด็

ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๔ (ภาษาอังกฤษ-ญปี่ ุ่น)

ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๒

รหสั วิชา รายวิชา นก. ชม. รหสั วชิ า รายวชิ า นก. ชม.
๕.๐ ๒๐๐
ท๓๑๑๐๑ รายวชิ าพ้นื ฐาน ๑๒.๐ ๔๘๐ รายวชิ าพนื้ ฐาน ๑.๐ ๔๐
ค๓๑๑๐๑ ๑.๐ ๔๐
ว๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐ ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐
ว๓๑๑๐๒ ๐.๕ ๒๐
ว๓๑๑๐๓ คณิตศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ ค๓๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๐.๕ ๒๐
ว๓๑๑๐๔ ๑.๐ ๔๐
ว๓๑๑๘๑ ฟิสกิ ส์ ๒.๐ ๘๐ ส๓๑๑๐๒ สงั คมศกึ ษา ฯ
ส๓๑๑๐๑ ๑๐.๕ ๔๒๐
พ๓๑๑๐๑ เคมี ๑.๕ ๖๐ พ๓๑๑๐๒ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๑.๐ ๔๐
ศ๓๑๑๐๑ ๑.๐ ๔๐
อ๓๑๑๐๑ ชวี ะ ๑.๕ ๖๐ ศ๓๑๑๐๒ ศลิ ปะ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ส๓๑๒๔๑ โลกและดาราศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ อ๓๑๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๑.๐ ๔๐
ง๓๑๒๐๑ ๒.๐ ๘๐
ญ๓๑๒๐๑ วิทยาการคานวณ ๑.๐ ๔๐ ๐.๕ ๒๐
ญ๓๑๒๐๗ ๐.๕ ๒๐
จ๓๑๒๐๑ สงั คมศึกษา ฯ ๑.๐ ๔๐ รายวชิ าเพ่ิมเตมิ ๒.๐ ๘๐
๑.๕ ๖๐
สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๐.๕ ๒๐ ว๓๑๒๖๑ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ

ศิลปะ ๐.๕ ๒๐ ว๓๑๒๘๑ วทิ ยาการคานวณ

ภาษาองั กฤษ ๑.๐ ๔๐ ส๓๑๒๔๒ หนา้ ที่พลเมอื ง

ง๓๑๒๐๒ การงานอาชพี ฯ

รายวชิ าเพมิ่ เติม ๓.๕ ๑๔๐ ง๓๑๒๘๑ การขาย

หนา้ ท่พี ลเมอื ง ๐.๕ ๒๐ อ๓๑๒๐๑ อังกฤษฟงั พดู อ่านเขยี น

การงานอาชพี ฯ ๐.๕ ๒๐ อ๓๑๒๐๖ อังกฤษเพื่อการส่อื สาร

ภาษาญปี่ นุ่ เพม่ิ เตมิ ๑ ๑.๐ ๔๐ จ๓๑๒๐๒ ภาษาจีน

ภาษาญปี่ นุ่ พื้นฐาน ๑ ๑.๐ ๔๐ ญ๓๑๒๐๒ ภาษาญีป่ นุ่ เพม่ิ เติม ๒

ภาษาจนี ๐.๕ ๒๐ ญ๓๑๒๑๑ ภาษาญ่ปี ุ่นพ้นื ฐาน ๒

กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน - ๘๐ กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น - ๘๐
กจิ กรรมแนะแนว - ๒๐
ก๓๑๙๐๑ ชุมนุม - ๒๐ ก๓๑๙๐๒ กิจกรรมแนะแนว - ๒๐
กจิ กรรมเครือ่ งแบบ - ๒๐
โฮมรมู - ๒๐ ชมุ นมุ - ๒๐

- ๒๐ กจิ กรรมเครื่องแบบ

- ๒๐ โฮมรมู

รวมเวลาท้งั สน้ิ ๑๕.๕ ๗๐๐ รวมเวลาท้งั สนิ้ ๑๕.๕ ๗๐๐

หมายเหตุ กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกไว้ในกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนโดย
ภาคเรยี นที่ ๑ จานวน ๑๐ ชั่วโมง และภาคเรยี นท่ี ๒ จานวน ๑๐ ชว่ั โมง

๑๖

โครงสร้างหลักสูตรโรงเรยี นเสลภมู ิพิทยาคม อาเภอเสลภมู ิ จงั หวดั ร้อยเอด็

ระดับช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๕ (ภาษาอังกฤษ-ญป่ี นุ่ )

ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๒

รหัสวิชา รายวชิ า นก. ชม. รหัสวิชา รายวิชา นก. ชม.
๖.๐ ๒๔๐
ท๓๒๑๐๑ รายวิชาพื้นฐาน ๖.๐ ๒๔๐ รายวชิ าพ้นื ฐาน ๑.๐ ๔๐
ค๓๒๑๐๑ ๑.๐ ๔๐
ส๓๒๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐ ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐
ส๓๒๑๐๒ ๐.๕ ๒๐
พ๓๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ ค๓๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๐.๕ ๒๐
ศ๓๒๑๐๑ ๐.๕ ๒๐
ง๓๒๑๐๑ สังคมศึกษา ฯ ๑.๐ ๔๐ ส๓๒๑๐๓ สงั คมศึกษา ฯ ๐.๕ ๒๐
อ๓๒๑๐๑ ๑.๐ ๔๐
ประวตั ิศาสตร์ ๐.๕ ๒๐ ส๓๒๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์

สุขศึกษาและพลศึกษา ๐.๕ ๒๐ พ๓๒๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา

ศิลปะ ๐.๕ ๒๐ ศ๓๒๑๐๒ ศิลปะ

การงานอาชพี ฯ ๐.๕ ๒๐ ง๓๒๑๐๒ การงานอาชีพฯ

ภาษาอังกฤษ ๑.๐ ๔๐ อ๓๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ

รายวิชาเพิม่ เติม ๙.๕ ๓๘๐ รายวชิ าเพิม่ เติม ๙.๕ ๓๘๐
วทิ ยาศาสตร์กายภาพ ๑.๐ ๔๐
ว๓๒๒๖๒ วทิ ยาการคานวณ ๑.๐ ๔๐ ว๓๒๒๖๓ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ ๑.๐ ๔๐
ว๓๒๒๘๒ การขบั ร้องประสานเสียง ๑ ๐.๕ ๒๐
ศ๓๒๒๐๑ งานประดิษฐ์ ๑ ๑.๐ ๔๐ ว๓๒๒๘๓ วิทยาการคานวณ ๑.๐ ๔๐
ง๓๒๒๔๔ อังกฤษเชงิ วเิ คราะห์ ๒.๐ ๘๐
อ๓๒๒๐๒ อังกฤษ เพ่ือการส่อื สาร ๐.๕ ๒๐ ศ๓๒๒๐๒ การขบั รอ้ งประสานเสียง ๒ ๐.๕ ๒๐
อ๓๒๒๐๘ ภาษาญีป่ ุน่ พน้ื ฐาน ๓ ๒.๐ ๘๐
ญ๓๒๒๐๓ ภาษาจีน ๑.๐ ๔๐ ง๓๒๒๔๕ งานประดษิ ฐ์ ๒ ๐.๕ ๒๐
จ๓๒๒๐๓ IS๑ ๑.๐ ๔๐
I ๓๒๒๐๑ ๒.๐ ๘๐ อ๓๒๒๐๓ องั กฤษเพอ่ื การศึกษาตอ่

๐.๕ ๒๐ อ๓๒๒๐๙ องั กฤษ เพ่อื การสือ่ สาร

๒.๐ ๘๐ ญ๓๒๒๐๔ ภาษาญีป่ นุ่ พื้นฐาน ๔

๐.๕ ๒๐ จ๓๒๒๐๔ ภาษาจนี

๑.๐ ๔๐ I ๓๒๒๐๒ IS๒

กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น - ๘๐ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน - ๘๐
กจิ กรรมแนะแนว - ๒๐
ก๓๒๙๐๑ ชมุ นุม - ๒๐ ก๓๒๙๐๒ กิจกรรมแนะแนว - ๒๐
กิจกรรมเคร่อื งแบบ - ๒๐
โฮมรมู - ๒๐ ชมุ นุม - ๒๐

- ๒๐ กิจกรรมเคร่อื งแบบ

- ๒๐ โฮมรูม

รวมเวลาทั้งสิ้น ๑๕.๕ ๗๐๐ รวมเวลาทัง้ สน้ิ ๑๕.๕ ๗๐๐

หมายเหตุ กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกไวใ้ นกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนโดย
ภาคเรียนท่ี ๑ จานวน ๑๐ ชัว่ โมง และภาคเรียนที่ ๒ จานวน ๑๐ ช่ัวโมง

๑๗

โครงสร้างหลักสตู รโรงเรยี นเสลภูมพิ ิทยาคม อาเภอเสลภมู ิ จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด

ระดับช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๖ (ภาษาอังกฤษ-ญี่ปุ่น)

ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๒

รหสั วิชา รายวิชา นก. ชม. รหสั วิชา รายวชิ า นก. ชม.
๖.๐ ๒๔๐
ท๓๓๑๐๑ รายวชิ าพื้นฐาน ๖.๐ ๒๔๐ รายวชิ าพื้นฐาน ๑.๐ ๔๐
ค๓๓๑๐๑ ๑.๐ ๔๐
ส๓๓๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐ ท๓๓๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐
ส๓๓๑๐๒ ๐.๕ ๒๐
พ๓๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ ค๓๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๐.๕ ๒๐
ศ๓๓๑๐๑ ๐.๕ ๒๐
ง๓๓๑๐๑ สังคมศกึ ษา ฯ ๑.๐ ๔๐ ส๓๓๑๐๓ สังคมศกึ ษา ฯ ๐.๕ ๒๐
อ๓๓๑๐๑ ๑.๐ ๔๐
ประวตั ศิ าสตร์ ๐.๕ ๒๐ ส๓๓๑๐๔ ประวัติศาสตร์

สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๐.๕ ๒๐ พ๓๓๑๐๒ สขุ ศึกษาและพลศึกษา

ศลิ ปะ ๐.๕ ๒๐ ศ๓๓๑๐๒ ศลิ ปะ

การงานอาชีพฯ ๐.๕ ๒๐ ง๓๓๑๐๒ การงานอาชีพฯ

ภาษาองั กฤษ ๑.๐ ๔๐ อ๓๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ

รายวิชาเพ่ิมเติม ๙.๕ ๓๘๐ รายวิชาเพม่ิ เติม ๙.๕ ๓๘๐
วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ ๑.๐ ๔๐
ว๓๓๒๖๔ วิทยาการคานวณ ๑.๐ ๔๐ ว๓๓๒๖๕ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ ๑.๐ ๔๐
ว๓๓๒๘๔ หน้าที่พลเมอื ง ๐.๕ ๒๐
ส๓๓๒๔๕ ธรุ กจิ ทวั่ ไป ๑.๐ ๔๐ ว๓๓๒๘๕ วิทยาการคานวณ ๑.๐ ๔๐
ง๓๓๒๘๑ พลศกึ ษา๕ ๑.๐ ๔๐
พ๓๓๒๐๕ อังกฤษเพ่อื การทอ่ งเทีย่ ว ๐.๕ ๒๐ ส๓๓๒๔๖ หนา้ ทีพ่ ลเมือง ๒.๐ ๘๐
อ๓๓๒๐๔ องั กฤษ เพอ่ื การสอ่ื สาร ๐.๕ ๒๐
อ๓๓๒๑๐ ภาษาญป่ี ุ่นเพิม่ เตมิ ๕ ๑.๐ ๔๐ ง๓๓๒๘๒ การตลาด ๒.๐ ๘๐
ญ๓๓๒๐๕ ภาษาจนี ๐.๕ ๒๐
จ๓๓๒๐๕ ๑.๐ ๔๐ พ๓๓๒๐๖ พลศึกษา๖

๒.๐ ๘๐ อ๓๓๒๐๕ อังกฤษเพื่อชีวิต

๐.๕ ๒๐ อ๓๓๒๑๑ อังกฤษ เพอ่ื การสือ่ สาร

๒.๐ ๘๐ ญ๓๓๒๐๖ ภาษาญ่ปี นุ่ เพม่ิ เตมิ ๖

๐.๕ ๒๐ จ๓๓๒๐๖ ภาษาจนี

ก๓๓๙๐๑ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น - ๘๐ ก๓๓๙๐๒ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - ๘๐
กิจกรรมแนะแนว - ๒๐ I ๓๓๒๐๓ กจิ กรรมแนะแนว - ๒๐
ชุมนุม - ๒๐ ชุมนมุ - ๒๐
กจิ กรรมเครื่องแบบ - ๒๐ กิจกรรมเครอ่ื งแบบ - ๒๐
โฮมรมู - ๒๐ โฮมรมู - ๒๐
IS๓
รวมเวลาท้งั สน้ิ ๑๕.๕ ๗๐๐ รวมเวลาทง้ั สนิ้ ๑๕.๕ ๗๐๐

หมายเหตุ ๑. กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกไวใ้ นกิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี นโดย
ภาคเรยี นท่ี ๑ จานวน ๑๐ ชัว่ โมง และภาคเรยี นท่ี ๒ จานวน ๑๐ ช่วั โมง
๒. วชิ า I ๓๓๒๐๓ จัดแทรกไวใ้ นกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน ภาคเรียนที่ ๒ ในกิจกรรมเพือ่ สงั คมฯ

๑๘

โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรยี นเสลภูมพิ ทิ ยาคม อาเภอเสลภูมิ จงั หวดั รอ้ ยเอด็

ระดับช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๔ (ภาษาไทย-สังคม)

ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๒

รหสั วชิ า รายวิชา นก. ชม. รหัสวิชา รายวิชา นก. ชม.
๕.๐ ๒๐๐
ท๓๑๑๐๑ รายวชิ าพ้ืนฐาน ๑๒.๐ ๔๘๐ รายวชิ าพ้นื ฐาน ๑.๐ ๔๐
ค๓๑๑๐๑ ๑.๐ ๔๐
ว๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐ ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐
ว๓๑๑๐๒ ๐.๕ ๒๐
ว๓๑๑๐๓ คณิตศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ ค๓๑๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๐.๕ ๒๐
ว๓๑๑๐๔ ๑.๐ ๔๐
ว๓๑๑๘๑ ฟิสกิ ส์ ๒.๐ ๘๐ ส๓๑๑๐๒ สงั คมศกึ ษา ฯ
ส๓๑๑๐๑ ๑๐.๕ ๔๒๐
พ๓๑๑๐๑ เคมี ๑.๕ ๖๐ พ๓๑๑๐๒ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๒.๐ ๘๐
ศ๓๑๑๐๑ ๐.๕ ๒๐
อ๓๑๑๐๑ ชีวะ ๑.๕ ๖๐ ศ๓๑๑๐๒ ศิลปะ ๑.๐ ๔๐
๑.๐ ๔๐
ส๓๑๒๐๑ โลกและดาราศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ อ๓๑๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๒.๐ ๘๐
ส๓๑๒๔๑ ๐.๕ ๒๐
ง๓๑๒๐๑ วิทยาการคานวณ ๑.๐ ๔๐ ๐.๕ ๒๐
พ๓๑๒๐๑ ๑.๐ ๔๐
จ๓๑๒๐๑ สังคมศึกษา ฯ ๑.๐ ๔๐ รายวชิ าเพ่ิมเติม ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๐.๕ ๒๐ ท๓๑๒๐๑ รอ้ ยแก้วรอ้ ยกรอง ๑.๐ ๔๐

ศลิ ปะ ๐.๕ ๒๐ ท๓๑๒๑๑ การใชห้ อ้ งสมุด

ภาษาอังกฤษ ๑.๐ ๔๐ ว๓๑๒๖๑ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ

ว๓๑๒๘๑ วิทยาการคานวณ

รายวชิ าเพม่ิ เตมิ ๓.๕ ๑๔๐ ส๓๑๒๐๒ สังคมและวัฒนธรรมไทย

ท้องถน่ิ ของเรา ๑.๐ ๔๐ ส๓๑๒๔๒ หนา้ ท่พี ลเมอื ง

หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง ๐.๕ ๒๐ ง๓๑๒๐๒ การงานอาชพี ฯ

การงานอาชพี ฯ ๐.๕ ๒๐ ง๓๑๒๘๑ การขาย

พลศึกษา๑ ๑.๐ ๔๐ อ๓๑๒๐๖ องั กฤษเพือ่ การส่อื สาร

ภาษาจนี ๐.๕ ๒๐ จ๓๑๒๐๒ ภาษาจนี

ญ๓๑๒๐๗ ภาษาญีป่ นุ่ พ้ืนฐาน ๑

กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น - ๘๐ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน - ๘๐
กจิ กรรมแนะแนว - ๒๐
ก๓๑๙๐๑ ชมุ นุม - ๒๐ ก๓๑๙๐๒ กจิ กรรมแนะแนว - ๒๐
กิจกรรมเครอื่ งแบบ - ๒๐
โฮมรมู - ๒๐ ชมุ นมุ - ๒๐

- ๒๐ กิจกรรมเครอื่ งแบบ

- ๒๐ โฮมรูม

รวมเวลาทั้งส้ิน ๑๕.๕ ๗๐๐ รวมเวลาทั้งสิ้น ๑๕.๕ ๗๐๐

หมายเหตุ กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกไว้ในกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี นโดย
ภาคเรยี นที่ ๑ จานวน ๑๐ ชว่ั โมง และภาคเรียนที่ ๒ จานวน ๑๐ ช่ัวโมง

๑๙

โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรยี นเสลภูมิพทิ ยาคม อาเภอเสลภมู ิ จงั หวัดร้อยเอด็

ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๕ (ภาษาไทย-สงั คม)

ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๒

รหสั วชิ า รายวิชา นก. ชม. รหสั วิชา รายวิชา นก. ชม.
๖.๐ ๒๔๐
ท๓๒๑๐๑ รายวชิ าพน้ื ฐาน ๖.๐ ๒๔๐ รายวิชาพืน้ ฐาน ๑.๐ ๔๐
ค๓๒๑๐๑ ๑.๐ ๔๐
ส๓๒๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐ ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐
ส๓๒๑๐๒ ๐.๕ ๒๐
พ๓๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ ค๓๒๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๐.๕ ๒๐
ศ๓๒๑๐๑ ๐.๕ ๒๐
ง๓๒๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ฯ ๑.๐ ๔๐ ส๓๒๑๐๓ สงั คมศกึ ษา ฯ ๐.๕ ๒๐
อ๓๒๑๐๑ ๑.๐ ๔๐
ประวัติศาสตร์ ๐.๕ ๒๐ ส๓๒๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์

สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๐.๕ ๒๐ พ๓๒๑๐๒ สขุ ศึกษาและพลศึกษา

ศลิ ปะ ๐.๕ ๒๐ ศ๓๒๑๐๒ ศลิ ปะ

การงานอาชีพฯ ๐.๕ ๒๐ ง๓๒๑๐๒ การงานอาชพี ฯ

ภาษาองั กฤษ ๑.๐ ๔๐ อ๓๒๑๐๒ ภาษาองั กฤษ

รายวิชาเพม่ิ เตมิ ๙.๕ ๓๘๐ รายวิชาเพม่ิ เตมิ ๙.๕ ๓๘๐

ท๓๒๒๐๒ การพูด ๒.๐ ๘๐ ท๓๒๒๐๓ วรรณกรรมปจั จบุ ัน ๒.๐ ๘๐

ว๓๒๒๖๒ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ ๑.๐ ๔๐ ว๓๒๒๖๓ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ ๑.๐ ๔๐

ว๓๒๒๘๒ วทิ ยาการคานวณ ๑.๐ ๔๐ ว๓๒๒๘๓ วทิ ยาการคานวณ ๑.๐ ๔๐

ส๓๒๒๐๓ การปกครองยุคประชาฯ ๑.๐ ๔๐ ส๓๒๒๐๔ การปกครองท้องถ่นิ ไทย ๑.๐ ๔๐

ศ๓๒๒๐๑ การขับร้องประสานเสยี ง๑ ๐.๕ ๒๐ ศ๓๒๒๐๒ การขับร้องประสานเสียง๒ ๐.๕ ๒๐

ง๓๒๒๖๔ งานช่าง ๑ ๑.๐ ๔๐ ง๓๒๒๖๕ งานช่าง ๒ ๑.๐ ๔๐

อ๓๒๒๐๘ องั กฤษ เพอื่ การส่ือสาร ๐.๕ ๒๐ อ๓๒๒๐๙ อังกฤษ เพ่ือการส่ือสาร ๐.๕ ๒๐

จ๓๒๒๐๓ ภาษาจนี ๐.๕ ๒๐ จ๓๒๒๐๔ ภาษาจีน ๐.๕ ๒๐

ญ๓๒๒๐๙ ภาษาญี่ปุน่ เพ่ิมเตมิ ๓ ๑.๐ ๔๐ ญ๓๒๒๑๐ ภาษาญป่ี ุ่นเพ่มิ เตมิ ๔ ๑.๐ ๔๐

I ๓๒๒๐๑ IS๑ ๑.๐ ๔๐ I ๓๒๒๐๒ IS๒ ๑.๐ ๔๐

กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน - ๘๐ กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น - ๘๐
กจิ กรรมแนะแนว - ๒๐
ก๓๒๙๐๑ ชุมนุม - ๒๐ ก๓๒๙๐๒ กจิ กรรมแนะแนว - ๒๐
กิจกรรมเครอื่ งแบบ - ๒๐
โฮมรูม - ๒๐ ชุมนมุ - ๒๐

- ๒๐ กจิ กรรมเครอื่ งแบบ

- ๒๐ โฮมรูม

รวมเวลาทั้งสน้ิ ๑๕.๕ ๗๐๐ รวมเวลาทัง้ สิน้ ๑๕.๕ ๗๐๐

หมายเหตุ กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกไว้ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดย
ภาคเรยี นท่ี ๑ จานวน ๑๐ ช่ัวโมง และภาคเรียนท่ี ๒ จานวน ๑๐ ชว่ั โมง

๒๐

โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นเสลภมู ิพิทยาคม อาเภอเสลภมู ิ จงั หวดั ร้อยเอด็

ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๖ (ภาษาไทย-สังคม)

ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๒

รหัสวิชา รายวิชา นก. ชม. รหัสวิชา รายวชิ า นก. ชม.
๒๔๐
รายวชิ าพ้นื ฐาน ๖.๐ ๒๔๐ รายวิชาพ้ืนฐาน ๖.๐ ๔๐
๔๐
ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐ ท๓๓๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐
๒๐
ค๓๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ ค๓๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๑.๐ ๒๐
๒๐
ส๓๓๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ฯ ๑.๐ ๔๐ ส๓๓๑๐๓ สังคมศกึ ษา ฯ ๑.๐ ๒๐
๔๐
ส๓๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๐.๕ ๒๐ ส๓๓๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์ ๐.๕

พ๓๓๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๐.๕ ๒๐ พ๓๓๑๐๒ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๐.๕

ศ๓๓๑๐๑ ศลิ ปะ ๐.๕ ๒๐ ศ๓๓๑๐๒ ศิลปะ ๐.๕

ง๓๓๑๐๑ การงานอาชพี ฯ ๐.๕ ๒๐ ง๓๓๑๐๒ การงานอาชีพฯ ๐.๕

อ๓๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑.๐ ๔๐ อ๓๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๑.๐

ท๓๓๒๐๔ รายวชิ าเพิ่มเตมิ ๙.๕ ๓๘๐ รายวิชาเพ่ิมเติม ๙.๕ ๓๘๐
ว๓๓๒๖๔ หลกั ภาษาไทย ๒.๐ ๘๐ ท๓๓๒๐๕ วรรณคดี ๒.๐ ๘๐
ว๓๓๒๘๔ วิทยาศาสตร์กายภาพ ๑.๐ ๔๐ ว๓๓๒๖๕ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ ๑.๐ ๔๐
ส๓๓๒๐๕ วทิ ยาการคานวณ ๑.๐ ๔๐ ว๓๓๒๘๕ วิทยาการคานวณ ๑.๐ ๔๐
ส๓๓๒๔๕ การปกครองของไทย ๑.๐ ๔๐ ส๓๓๒๐๖ การเงินและการคลงั ๑.๐ ๔๐
พ๓๓๒๐๕ หน้าที่พลเมือง ๐.๕ ๒๐ ส๓๓๒๔๖ หนา้ ท่ีพลเมอื ง ๐.๕ ๒๐
ง๓๓๒๘๑ พลศกึ ษา๕ ๑.๐ ๔๐ พ๓๓๒๐๖ พลศกึ ษา๖ ๑.๐ ๔๐
อ๓๓๒๑๐ ธุรกจิ ทว่ั ไป ๑.๕ ๖๐ ง๓๓๒๘๒ การตลาด ๑.๕ ๖๐
ญ๓๓๒๐๑ องั กฤษ เพ่อื การส่ือสาร ๐.๕ ๒๐ อ๓๓๒๑๑ อังกฤษ เพอ่ื การส่อื สาร ๐.๕ ๒๐
จ๓๓๒๐๕ ๐.๕ ๒๐ ญ๓๓๒๐๒ ๐.๕ ๒๐
ภาษาญปี่ ุ่นเพ่อื การสอ่ื สาร ๑ ๐.๕ ๒๐ จ๓๓๒๐๖ ภาษาญี่ปุ่นเพอ่ื การสอื่ สาร ๒ ๐.๕ ๒๐

ภาษาจนี ภาษาจีน

ก๓๓๙๐๑ กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น - ๘๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - ๘๐
กิจกรรมแนะแนว - ๒๐ ก๓๓๙๐๒ กิจกรรมแนะแนว - ๒๐
ชุมนุม - ๒๐ ชุมนมุ - ๒๐
กจิ กรรมเครอ่ื งแบบ - ๒๐ กจิ กรรมเครือ่ งแบบ - ๒๐
โฮมรูม - ๒๐ โฮมรมู - ๒๐
IS๓
รวมเวลาทง้ั สน้ิ I ๓๓๒๐๓ รวมเวลาทง้ั สน้ิ ๑๕.๕ ๗๐๐
๑๕.๕ ๗๐๐

หมายเหตุ ๑. กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณะประโยชน์ จัดแทรกไวใ้ นกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี นโดย
ภาคเรยี นที่ ๑ จานวน ๑๐ ช่ัวโมง และภาคเรียนท่ี ๒ จานวน ๑๐ ชว่ั โมง
๒. วชิ า I ๓๓๒๐๓ จัดแทรกไวใ้ นกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน ภาคเรยี นท่ี ๒ ในกิจกรรมเพ่ือสังคมฯ

๒๑

โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรียนเสลภูมิพทิ ยาคม อาเภอเสลภมู ิ จงั หวัดร้อยเอ็ด

ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๔ (วทิ ย-์ คณติ )

ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒

รหสั วิชา รายวิชา นก. ชม. รหัสวชิ า รายวิชา นก. ชม.
๕.๐ ๒๐๐
ท๓๑๑๐๑ รายวิชาพน้ื ฐาน ๑๒.๐ ๔๘๐ รายวิชาพ้ืนฐาน ๑.๐ ๔๐
ค๓๑๑๐๑ ๑.๐ ๔๐
ว๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐ ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐
ว๓๑๑๐๒ ๐.๕ ๒๐
ว๓๑๑๐๓ คณติ ศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ ค๓๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๐.๕ ๒๐
ว๓๑๑๐๔ ๑.๐ ๔๐
ว๓๑๑๘๑ ฟสิ กิ ส์ ๒.๐ ๘๐ ส๓๑๑๐๒ สังคมศกึ ษา ฯ
ส๓๑๑๐๑ ๑๐.๕ ๔๒๐
พ๓๑๑๐๑ เคมี ๑.๕ ๖๐ พ๓๑๑๐๒ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๐.๕ ๒๐
ศ๓๑๑๐๑ ๑.๕ ๖๐
อ๓๑๑๐๑ ชีวะ ๑.๕ ๖๐ ศ๓๑๑๐๒ ศลิ ปะ ๒.๐ ๘๐
๒.๐ ๘๐
ค๓๑๒๐๑ โลกและดาราศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ อ๓๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๑.๕ ๖๐
ส๓๑๒๔๑ ๑.๐ ๔๐
ง๓๑๒๐๑ วทิ ยาการคานวณ ๑.๐ ๔๐ ๐.๕ ๒๐
อ๓๑๒๑๓ ๐.๕ ๒๐
จ๓๑๒๐๑ สังคมศกึ ษา ฯ ๑.๐ ๔๐ รายวชิ าเพ่มิ เติม ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๐.๕ ๒๐ ท๓๑๒๑๑ การใช้หอ้ งสมุด

ศิลปะ ๐.๕ ๒๐ ค๓๑๒๐๒ คณิตศาสตร์

ภาษาองั กฤษ ๑.๐ ๔๐ ว๓๑๒๐๑ ฟิสกิ ส์

ว๓๑๒๒๑ เคมี

รายวิชาเพ่ิมเติม ๓.๕ ๑๔๐ ว๓๑๒๔๑ ชีวะ

คณิตศาสตร์๑ ๑.๕ ๖๐ ว๓๑๒๘๑ วิทยาการคานวณ

หน้าทีพ่ ลเมอื ง ๐.๕ ๒๐ ง๓๑๒๐๒ การงานอาชีพฯ

การงานอาชีพฯ ๐.๕ ๒๐ อ๓๑๒๐๖ องั กฤษเพอ่ื การส่อื สาร

อังกฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร ๐.๕ ๒๐ ส๓๑๒๔๒ หนา้ ท่ีพลเมอื ง

ภาษาจีน ๐.๕ ๒๐ จ๓๑๒๐๒ ภาษาจนี

กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น - ๘๐ กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น - ๘๐
กจิ กรรมแนะแนว - ๒๐
ก๓๑๙๐๑ ชมุ นุม - ๒๐ ก๓๑๙๐๒ กจิ กรรมแนะแนว - ๒๐
กจิ กรรมเครือ่ งแบบ - ๒๐
โฮมรูม - ๒๐ ชมุ นุม - ๒๐

- ๒๐ กจิ กรรมเครอ่ื งแบบ

- ๒๐ โฮมรูม

รวมเวลาทัง้ สิ้น ๑๕.๕ ๗๐๐ รวมเวลาทง้ั สนิ้ ๑๕.๕ ๗๐๐

หมายเหตุ กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกไว้ในกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนโดย
ภาคเรยี นที่ ๑ จานวน ๑๐ ชว่ั โมง และภาคเรียนท่ี ๒ จานวน ๑๐ ช่วั โมง

๒๒

โครงสร้างหลักสตู รโรงเรยี นเสลภมู พิ ทิ ยาคม อาเภอเสลภมู ิ จงั หวดั ร้อยเอ็ด

ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๕ (วทิ ย-์ คณิต)

ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒

รหสั วิชา รายวชิ า นก. ชม. รหัสวิชา รายวชิ า นก. ชม.
๖.๐ ๒๔๐
ท๓๒๑๐๑ รายวชิ าพน้ื ฐาน ๖.๐ ๒๔๐ รายวชิ าพนื้ ฐาน ๑.๐ ๔๐
ค๓๒๑๐๑ ๑.๐ ๔๐
ส๓๒๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐ ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐
ส๓๒๑๐๒ ๐.๕ ๒๐
พ๓๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ ค๓๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๐.๕ ๒๐
ศ๓๒๑๐๑ ๐.๕ ๒๐
ง๓๒๑๐๑ สังคมศกึ ษา ฯ ๑.๐ ๔๐ ส๓๒๑๐๓ สงั คมศึกษา ฯ ๐.๕ ๒๐
อ๓๒๑๐๑ ๑.๐ ๔๐
ประวัติศาสตร์ ๐.๕ ๒๐ ส๓๒๑๐๔ ประวตั ศิ าสตร์
๙.๕ ๓๘๐
สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๐.๕ ๒๐ พ๓๒๑๐๒ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๑.๕ ๖๐
๒.๐ ๘๐
ศลิ ปะ ๐.๕ ๒๐ ศ๓๒๑๐๒ ศิลปะ ๑.๕ ๖๐
๑.๕ ๖๐
การงานอาชีพฯ ๐.๕ ๒๐ ง๓๒๑๐๒ การงานอาชพี ฯ ๑.๐ ๔๐
๑.๐ ๔๐
ภาษาอังกฤษ ๑.๐ ๔๐ อ๓๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
รายวชิ าเพิ่มเตมิ ๙.๕ ๓๘๐ รายวิชาเพม่ิ เติม
คณิตศาสตร์ - ๘๐
ค๓๒๒๐๓ ฟสิ กิ ส์ ๑.๕ ๖๐ ค๓๒๒๐๔ คณิตศาสตร์ - ๒๐
ว๓๒๒๐๒ เคมี - ๒๐
ว๓๒๒๒๒ ชีวะ ๒.๐ ๘๐ ว๓๒๒๐๓ ฟิสิกส์ - ๒๐
ว๓๒๒๔๒ วทิ ยาการคานวณ - ๒๐
ว๓๒๒๘๒ IS๑ ๑.๕ ๖๐ ว๓๒๒๒๓ เคมี
I ๓๒๒๐๑ อังกฤษ เพื่อการส่ือสาร
อ๓๒๒๐๘ ภาษาจนี ๑.๕ ๖๐ ว๓๒๒๔๓ ชวี ะ
จ๓๒๒๐๓
๑.๐ ๔๐ ว๓๒๒๘๓ วทิ ยาการคานวณ

๑.๐ ๔๐ I ๓๒๒๐๒ IS๒

๐.๕ ๒๐ อ๓๒๒๐๙ อังกฤษ เพ่อื การสอื่ สาร

๐.๕ ๒๐ จ๓๒๒๐๔ ภาษาจีน

กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน - ๘๐ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน
กจิ กรรมแนะแนว
ก๓๒๙๐๑ ชุมนุม - ๒๐ ก๓๒๙๐๒ กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมเครือ่ งแบบ
โฮมรมู - ๒๐ ชุมนมุ

- ๒๐ กิจกรรมเคร่อื งแบบ

- ๒๐ โฮมรมู

รวมเวลาท้ังส้นิ ๑๕.๕ ๗๐๐ รวมเวลาท้ังส้ิน ๑๕.๕ ๗๐๐

หมายเหตุ กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกไว้ในกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนโดย

ภาคเรยี นที่ ๑ จานวน ๑๐ ชว่ั โมง และภาคเรยี นที่ ๒ จานวน ๑๐ ชัว่ โมง

๒๓

โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนเสลภูมพิ ิทยาคม อาเภอเสลภมู ิ จังหวดั รอ้ ยเอด็

ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ (วิทย-์ คณิต)

ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒

รหสั วชิ า รายวิชา นก. ชม. รหัสวชิ า รายวชิ า นก. ชม.
๖.๐ ๒๔๐
ท๓๓๑๐๑ รายวชิ าพ้ืนฐาน ๖.๐ ๒๔๐ รายวชิ าพ้นื ฐาน ๑.๐ ๔๐
ค๓๓๑๐๑ ๑.๐ ๔๐
ส๓๓๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐ ท๓๓๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐
ส๓๓๑๐๒ ๐.๕ ๒๐
พ๓๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ ค๓๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๐.๕ ๒๐
ศ๓๓๑๐๑ ๐.๕ ๒๐
ง๓๓๑๐๑ สังคมศึกษา ฯ ๑.๐ ๔๐ ส๓๓๑๐๓ สงั คมศึกษา ฯ ๐.๕ ๒๐
อ๓๓๑๐๑ ๑.๐ ๔๐
ประวตั ศิ าสตร์ ๐.๕ ๒๐ ส๓๓๑๐๔ ประวัตศิ าสตร์

สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๐.๕ ๒๐ พ๓๓๑๐๒ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา

ศิลปะ ๐.๕ ๒๐ ศ๓๓๑๐๒ ศิลปะ

การงานอาชพี ฯ ๐.๕ ๒๐ ง๓๓๑๐๒ การงานอาชพี ฯ

ภาษาอังกฤษ ๑.๐ ๔๐ อ๓๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ

ค๓๓๒๐๕ รายวิชาเพิม่ เตมิ ๙.๕ ๓๘๐ รายวชิ าเพ่มิ เติม ๙.๕ ๓๘๐
ว๓๓๒๐๔ คณติ ศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ ค๓๓๒๐๖ คณติ ศาสตร์ ๑.๐ ๔๐
ว๓๓๒๒๔ ฟสิ ิกส์ ๒.๐ ๘๐ ว๓๓๒๐๕ ฟสิ ิกส์ ๒.๐ ๘๐
ว๓๓๒๔๔ เคมี ๒.๐ ๘๐ ว๓๓๒๒๕ เคมี ๒.๐ ๘๐
ว๓๓๒๘๔ ชีวะ ๑.๕ ๖๐ ว๓๓๒๔๕ ชวี ะ ๑.๕ ๖๐
ส๓๓๒๔๕ วทิ ยาการคานวณ ๑.๐ ๔๐ ว๓๓๒๘๕ วิทยาการคานวณ ๑.๐ ๔๐
อ๓๓๒๑๐ หน้าท่พี ลเมือง ๐.๕ ๒๐ ส๓๓๒๔๖ หนา้ ท่ีพลเมือง ๐.๕ ๒๐
ญ๓๓๒๐๑ องั กฤษ เพอ่ื การสอ่ื สาร ๐.๕ ๒๐ อ๓๓๒๑๑ องั กฤษ เพ่ือการสอ่ื สาร ๐.๕ ๒๐
จ๓๓๒๐๕ ๐.๕ ๒๐ ญ๓๓๒๐๒ ๐.๕ ๒๐
ภาษาญี่ปนุ่ เพอื่ การสอื่ สาร ๑ ๐.๕ ๒๐ จ๓๓๒๐๖ ภาษาญี่ปุน่ เพื่อการสื่อสาร ๒ ๐.๕ ๒๐

ภาษาจีน ภาษาจนี

ก๓๓๙๐๑ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น - ๖๐ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน - ๖๐
กิจกรรมแนะแนว - ๒๐ ก๓๓๙๐๒ กจิ กรรมแนะแนว - ๒๐
ชมุ นมุ - ๒๐ ชุมนมุ - ๒๐
กจิ กรรมเคร่อื งแบบ - ๒๐ กิจกรรมเครื่องแบบ - ๒๐
โฮมรูม - ๒๐ โฮมรูม - ๒๐
IS๓
รวมเวลาทัง้ สิ้น I ๓๓๒๐๓ รวมเวลาทง้ั ส้นิ ๑๕.๕ ๗๐๐
๑๕.๕ ๗๐๐

หมายเหตุ ๑. กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกไวใ้ นกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นโดย
ภาคเรยี นที่ ๑ จานวน ๑๐ ชัว่ โมง และภาคเรยี นที่ ๒ จานวน ๑๐ ชัว่ โมง

๒. วิชา I ๓๓๒๐๓ จัดแทรกไวใ้ นกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ภาคเรียนที่ ๒ ในกจิ กรรมเพื่อสังคมฯ

๒๔

โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรยี นเสลภูมิพิทยาคม อาเภอเสลภมู ิ จังหวัดรอ้ ยเอด็

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๔ (วทิ ย-์ คณติ ) ห้องเรียนความสามารถพิเศษ (Gifted)

ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒

รหสั วชิ า รายวชิ า นก. ชม. รหัสวิชา รายวิชา นก. ชม.

รายวชิ าพน้ื ฐาน ๑๒.๐ ๔๘๐ รายวชิ าพื้นฐาน ๕.๐ ๒๐๐

ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐ ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐

ค๓๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ ค๓๑๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๑.๐ ๔๐

ว๓๑๑๐๑ ฟสิ กิ ส์ ๒.๐ ๘๐ ส๓๑๑๐๒ สังคมศึกษา ฯ ๑.๐ ๔๐

ว๓๑๑๐๒ เคมี ๑.๕ ๖๐ พ๓๑๑๐๒ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๐.๕ ๒๐

ว๓๑๑๐๓ ชีวะ ๑.๕ ๖๐ ศ๓๑๑๐๒ ศลิ ปะ ๐.๕ ๒๐

ว๓๑๑๐๔ โลกและดาราศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ อ๓๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๑.๐ ๔๐

ว๓๑๑๘๑ วิทยาการคานวณ ๑.๐ ๔๐

ส๓๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ฯ ๑.๐ ๔๐ รายวชิ าเพม่ิ เติม ๑๓.๕ ๕๔๐

พ๓๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๐.๕ ๒๐ ค๓๑๒๐๒ คณิตศาสตร์ ๑.๕ ๖๐

ศ๓๑๑๐๑ ศิลปะ ๐.๕ ๒๐ ว๓๑๒๐๑ ฟสิ ิกส์ ๒.๐ ๘๐

อ๓๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑.๐ ๔๐ ว๓๑๒๒๑ เคมี ๒.๐ ๘๐

ว๓๑๒๔๑ ชวี ะ ๑.๕ ๖๐

รายวิชาเพ่มิ เตมิ ๖.๕ ๒๖๐ ว๓๑๒๘๑ วทิ ยาการคานวณ ๑.๐ ๔๐

ค๓๑๒๐๑ คณิตศาสตร์๑ ๑.๕ ๖๐ ส๓๑๒๔๒ หนา้ ท่พี ลเมอื ง ๐.๕ ๒๐

ส๓๑๒๔๑ หน้าที่พลเมือง ๐.๕ ๒๐ ง๓๑๒๐๒ การงานอาชพี ฯ ๐.๕ ๒๐

ง๓๑๒๐๑ การงานอาชีพฯ ๐.๕ ๒๐ อ๓๑๒๐๖ องั กฤษเพ่อื การส่อื สาร ๑.๐ ๔๐

อ๓๑๒๑๓ อังกฤษเพอ่ื การสื่อสาร ๐.๕ ๒๐ จ๓๑๒๐๒ ภาษาจีน ๐.๕ ๒๐

จ๓๑๒๐๑ ภาษาจนี ๐.๕ ๒๐ ค๓๑๒๐๘* คณติ ศาสตร์ ๑.๐ ๔๐

ค๓๑๒๐๗* คณติ ศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ ว๓๑๒๐๗* ฟสิ กิ ส์ ๑.๐ ๔๐

ว๓๑๒๐๖* ฟสิ กิ ส์ ๑.๐ ๔๐ ว๓๑๒๒๗* เคมี ๐.๕ ๒๐

ว๓๑๒๒๖* เคมี ๐.๕ ๒๐ ว๓๑๒๔๗* ชีวะ ๐.๕ ๒๐

ว๓๑๒๔๖* ชีวะ ๐.๕ ๒๐

กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน - ๘๐ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น - ๘๐
- ๒๐
ก๓๑๙๐๑ กิจกรรมแนะแนว - ๒๐ ก๓๑๙๐๒ กิจกรรมแนะแนว - ๒๐
- ๒๐
ชมุ นมุ - ๒๐ ชุมนุม - ๒๐
๑๘.๕ ๘๒๐
กิจกรรมเครอ่ื งแบบ - ๒๐ กจิ กรรมเคร่ืองแบบ

โฮมรมู - ๒๐ โฮมรูม

รวมเวลาทั้งส้นิ ๑๘.๕ ๘๒๐ รวมเวลาทง้ั ส้ิน

หมายเหตุ ๑. กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกไว้ในกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียนโดย

ภาคเรยี นที่ ๑ จานวน ๑๐ ช่ัวโมง และภาคเรยี นท่ี ๒ จานวน ๑๐ ชวั่ โมง

๒.วิชาเพ่ิมเติม * จัดการเรยี นในวันเสารท์ กุ สปั ดาห์

๒๕

โครงสรา้ งหลักสูตรโรงเรยี นเสลภูมพิ ทิ ยาคม อาเภอเสลภมู ิ จงั หวดั รอ้ ยเอด็

ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๕ (วิทย-์ คณิต) ห้องเรียนความสามารถพิเศษ (Gifted)

ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒

รหัสวิชา รายวิชา นก. ชม. รหัสวชิ า รายวิชา นก. ชม.
๒๔๐
ท๓๒๑๐๑ รายวิชาพืน้ ฐาน ๖.๐ ๒๔๐ รายวชิ าพื้นฐาน ๖.๐ ๔๐
ค๓๒๑๐๑ ๔๐
ส๓๒๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐ ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐
ส๓๒๑๐๒ ๒๐
พ๓๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ ค๓๒๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๑.๐ ๒๐
ศ๓๒๑๐๑ ๒๐
ง๓๒๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ฯ ๑.๐ ๔๐ ส๓๒๑๐๓ สงั คมศกึ ษา ฯ ๑.๐ ๒๐
อ๓๒๑๐๑ ๔๐
ประวัตศิ าสตร์ ๐.๕ ๒๐ ส๓๒๑๐๔ ประวตั ศิ าสตร์ ๐.๕

สุขศึกษาและพลศึกษา ๐.๕ ๒๐ พ๓๒๑๐๒ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๐.๕

ศลิ ปะ ๐.๕ ๒๐ ศ๓๒๑๐๒ ศิลปะ ๐.๕

การงานอาชพี ฯ ๐.๕ ๒๐ ง๓๒๑๐๒ การงานอาชพี ฯ ๐.๕

ภาษาอังกฤษ ๑.๐ ๔๐ อ๓๒๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๑.๐

รายวิชาเพิ่มเตมิ ๑๒.๕ ๕๐๐ รายวิชาเพมิ่ เตมิ ๑๒.๕ ๕๐๐
ค๓๒๒๐๓ คณิตศาสตร์ ๑.๕ ๖๐
ว๓๒๒๐๒ ฟสิ ิกส์ ๑.๕ ๖๐ ค๓๒๒๐๔ คณติ ศาสตร์ ๒.๐ ๘๐
ว๓๒๒๒๒ เคมี ๑.๕ ๖๐
ว๓๒๒๔๒ ชีวะ ๒.๐ ๘๐ ว๓๒๒๐๓ ฟิสกิ ส์ ๑.๕ ๖๐
ว๓๒๒๘๒ วทิ ยาการคานวณ ๑.๐ ๔๐
อ๓๒๒๐๗ องั กฤษ เพือ่ การส่อื สาร ๑.๕ ๖๐ ว๓๒๒๒๓ เคมี ๐.๕ ๒๐
I ๓๒๒๐๑ IS๑ ๑.๐ ๔๐
จ๓๒๒๐๓ ภาษาจนี ๑.๕ ๖๐ ว๓๒๒๔๓ ชีวะ ๐.๕ ๒๐
ค๓๒๒๐๙* คณิตศาสตร์ ๑.๐ ๔๐
ว๓๒๒๐๘* ฟิสิกส์ ๑.๐ ๔๐ ว๓๒๒๘๓ วิทยาการคานวณ ๑.๐ ๔๐
ว๓๒๒๒๘* เคมี ๐.๕ ๒๐
ว๓๒๒๔๘* ชวี ะ ๐.๕ ๒๐ อ๓๒๒๐๘ อังกฤษ เพื่อการสอื่ สาร ๐.๕ ๒๐

๑.๐ ๔๐ I ๓๒๒๐๒ IS๒

๐.๕ ๒๐ จ๓๒๒๐๔ ภาษาจนี

๑.๐ ๔๐ ค๓๒๒๑๐* คณติ ศาสตร์

๑.๐ ๔๐ ว๓๒๒๐๙* ฟสิ ิกส์

๐.๕ ๒๐ ว๓๒๒๒๙* เคมี

๐.๕ ๒๐ ว๓๒๒๔๙* ชวี ะ

กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น - ๘๐ กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน - ๘๐
- ๒๐
ก๓๒๙๐๑ กิจกรรมแนะแนว - ๒๐ ก๓๒๙๐๒ กิจกรรมแนะแนว - ๒๐
- ๒๐
ชมุ นุม - ๒๐ ชมุ นมุ - ๒๐
๑๘.๕ ๘๒๐
กิจกรรมเคร่อื งแบบ - ๒๐ กิจกรรมเครือ่ งแบบ

โฮมรมู - ๒๐ โฮมรูม

รวมเวลาท้ังสนิ้ ๑๘.๕ ๘๒๐ รวมเวลาทั้งสนิ้

หมายเหตุ ๑. กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกไว้ในกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนโดย

ภาคเรียนที่ ๑ จานวน ๑๐ ชว่ั โมง และภาคเรยี นที่ ๒ จานวน ๑๐ ช่วั โมง

๒.วชิ าเพมิ่ เตมิ * จดั การเรยี นในวนั เสารท์ กุ สปั ดาห์

๒๖

โครงสร้างหลักสตู รโรงเรยี นเสลภูมพิ ทิ ยาคม อาเภอเสลภูมิ จังหวัดรอ้ ยเอด็

ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๖ (วิทย-์ คณติ ) หอ้ งเรียนความสามารถพิเศษ(Gifted)

ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒

รหสั วิชา รายวิชา นก. ชม. รหสั วชิ า รายวชิ า นก. ชม.
๖.๐ ๒๔๐
รายวิชาพน้ื ฐาน ๖.๐ ๒๔๐ รายวชิ าพนื้ ฐาน ๑.๐ ๔๐
๑.๐ ๔๐
ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐ ท๓๓๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐ ๔๐
๐.๕ ๒๐
ค๓๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ ค๓๓๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ส๓๓๑๐๑ สังคมศกึ ษา ฯ ๑.๐ ๔๐ ส๓๓๑๐๓ สังคมศกึ ษา ฯ ๐.๕ ๒๐
๑.๐ ๔๐
ส๓๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๐.๕ ๒๐ ส๓๓๑๐๔ ประวัตศิ าสตร์ ๑๒.๕ ๕๐๐
๑.๐ ๔๐
พ๓๓๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๐.๕ ๒๐ พ๓๓๑๐๒ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๒.๐ ๘๐
๒.๐ ๘๐
ศ๓๓๑๐๑ ศิลปะ ๐.๕ ๒๐ ศ๓๓๑๐๒ ศลิ ปะ ๑.๕ ๖๐
๑.๐ ๔๐
ง๓๓๑๐๑ การงานอาชพี ฯ ๐.๕ ๒๐ ง๓๓๑๐๒ การงานอาชพี ฯ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
อ๓๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑.๐ ๔๐ อ๓๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
รายวิชาเพ่มิ เติม ๑๒.๕ ๕๐๐ รายวิชาเพิ่มเติม ๑.๐ ๔๐
๑.๐ ๔๐
ค๓๓๒๐๕ คณติ ศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ ค๓๓๒๐๖ คณติ ศาสตร์ ๐.๕ ๒๐
๐.๕ ๒๐
ว๓๓๒๐๔ ฟิสกิ ส์ ๒.๐ ๘๐ ว๓๓๒๐๕ ฟสิ ิกส์

ว๓๓๒๒๔ เคมี ๒.๐ ๘๐ ว๓๓๒๒๕ เคมี

ว๓๓๒๔๔ ชีวะ ๑.๕ ๖๐ ว๓๓๒๔๕ ชีวะ

ว๓๓๒๘๔ วทิ ยาการคานวณ ๑.๐ ๔๐ ว๓๓๒๘๕ วิทยาการคานวณ

อ๓๓๒๐๙ อังกฤษ เพ่ือการสอื่ สาร ๐.๕ ๒๐ อ๓๓๒๑๐ องั กฤษ เพ่อื การสื่อสาร

ส๓๓๒๔๕ หน้าท่พี ลเมอื ง ๐.๕ ๒๐ ส๓๓๒๔๖ หน้าทีพ่ ลเมือง

ญ๓๓๒๐๑ ภาษาญป่ี ุ่นเพอ่ื การส่ือสาร ๑ ๐.๕ ๒๐ ญ๓๓๒๐๒ ภาษาญีป่ ุ่นเพื่อการสื่อสาร ๒

จ๓๓๒๐๕ ภาษาจีน ๐.๕ ๒๐ จ๓๓๒๐๖ ภาษาจนี

ค๓๒๒๑๑* คณิตศาสตร์ ๑.๐ ๔๐ ค๓๒๒๑๒* คณติ ศาสตร์

ว๓๒๒๑๐* ฟสิ ิกส์ ๑.๐ ๔๐ ว๓๒๒๑๑* ฟิสกิ ส์

ว๓๒๒๓๐* เคมี ๐.๕ ๒๐ ว๓๒๒๓๑* เคมี

ว๓๒๒๕๐* ชีวะ ๐.๕ ๒๐ ว๓๒๒๕๑* ชวี ะ

กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น - ๘๐ กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น - ๘๐
- ๒๐
ก๓๓๙๐๑ กิจกรรมแนะแนว - ๒๐ ก๓๓๙๐๒ กจิ กรรมแนะแนว - ๒๐
- ๒๐
ชุมนมุ - ๒๐ ชุมนมุ - ๒๐
๑๘.๕ ๘๒๐
กจิ กรรมเครอ่ื งแบบ - ๒๐ กิจกรรมเครือ่ งแบบ

โฮมรมู - ๒๐ โฮมรูม

รวมเวลาท้งั สนิ้ ๑๘.๕ ๘๒๐ รวมเวลาทง้ั สิ้น

หมายเหตุ ๑. กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกไวใ้ นกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นโดย

ภาคเรียนที่ ๑ จานวน ๑๐ ชั่วโมง และภาคเรยี นที่ ๒ จานวน ๑๐ ชั่วโมง

๒. วชิ า I ๓๓๒๐๓ จัดแทรกไว้ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ภาคเรียนท่ี ๒ ในกจิ กรรมเพื่อสังคมฯ

๒๗

คาอธิบายรายวชิ า
กล่มุ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละ

เทคโนโลยี

๒๘

กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

วิชาพ้นื ฐาน ๓ ชว่ั โมง / สปั ดาห์ ๑.๕ หนํวยกติ
๓ ชั่วโมง / สปั ดาห์ ๑.๕ หนวํ ยกติ
ว๒๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์
ว๒๑๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ๒ ชั่วโมง / สปั ดาห์ ๑.๐ หนํวยกติ
๓ ชว่ั โมง / สปั ดาห์ ๑.๕ หนวํ ยกติ
ว๒๑๑๘๑ วิทยาการคานวณและการออกแบบ ๓ ชั่วโมง / สัปดาห์ ๑.๕ หนวํ ยกติ
ว๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์
ว๒๒๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๒ ชว่ั โมง / สปั ดาห์ ๑.๐ หนวํ ยกติ
๓ ชว่ั โมง / สปั ดาห์ ๑.๕ หนวํ ยกติ
ว๒๒๑๘๒ วิทยาการคานวณและการออกแบบ
ว๒๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ ชั่วโมง / สัปดาห์ ๑.๕ หนวํ ยกติ
ว๒๓๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ๒ ชั่วโมง / สปั ดาห์ ๑.๐ หนํวยกติ
ว๒๓๑๘๓ วิทยาการคานวณและการออกแบบ

วชิ าเพ่ิมเตมิ ๒ ชั่วโมง / สปั ดาห์ ๑.๐ หนํวยกติ
ว๒๑๒๘๑ คอมพิวเตอร์๑
๒ ชว่ั โมง / สัปดาห์ ๑.๐ หนํวยกติ
ว๒๒๒๘๑ คอมพิวเตอร์๒ ๒ ชว่ั โมง / สัปดาห์ ๑.๐ หนํวยกติ
ว๒๓๒๘๑ คอมพิวเตอร์๓

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

วิชาพนื้ ฐาน ๔ ชว่ั โมง / สัปดาห์ ๒.๐ หนํวยกติ
ว๓๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ฟิสิกส์ (ไมํเนน๎ วิทย์)
๓ ชั่วโมง / สัปดาห์ ๑.๕ หนํวยกติ
ว๓๑๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์เคมี (ไมํเนน๎ วิทย์) ๓ ชว่ั โมง / สปั ดาห์ ๑.๕ หนํวยกติ
ว๓๓๑๐๓ วทิ ยาศาสตรช์ ีววิทยา (ไมเํ น๎นวทิ ย์)
๒ ชว่ั โมง / สปั ดาห์ ๑.๐ หนวํ ยกติ
ว๓๓๑๐๔ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ๒ ชวั่ โมง / สัปดาห์ ๑.๐ หนวํ ยกติ
ว๓๑๑๘๑ เทคโนโลยี ๔ ชั่วโมง / สปั ดาห์ ๒.๐ หนวํ ยกติ
ว๓๑๑๐๑ ฟิสิกส์ ๑* (เน๎นวิทย์)
๓ ชั่วโมง / สัปดาห์ ๑.๕ หนํวยกติ
ว๓๑๑๐๒ เคมี ๑* (เน๎นวทิ ย)์ ๓ ช่วั โมง / สปั ดาห์ ๑.๕ หนวํ ยกติ
ว๓๓๑๐๓ ชีววทิ ยา ๑* (เนน๎ วิทย์)

วชิ าเพิ่มเติม ๔ ช่วั โมง / สปั ดาห์ ๒.๐ หนํวยกติ
ว๓๑๒๐๑ ฟสิ กิ ส์ ๒ ๔ ชว่ั โมง / สัปดาห์ ๒.๐ หนวํ ยกิต
ว๓๒๒๐๒ ฟิสิกส์ ๓ ๔ ชว่ั โมง / สปั ดาห์ ๒.๐ หนํวยกิต
ว๓๒๒๐๓ ฟิสกิ ส์ ๕ ๔ ชัว่ โมง / สัปดาห์ ๒.๐ หนวํ ยกติ
ว๓๓๒๐๔ ฟสิ ิกส์ ๕

๒๙

ว๓๓๒๐๕ ฟิสกิ ส์ ๖ ๔ ชั่วโมง / สปั ดาห์ ๒.๐ หนวํ ยกติ

ว๓๑๒๒๑ เคมี ๒ ๔ ชั่วโมง / สปั ดาห์ ๒.๐ หนํวยกิต
๑.๕ หนํวยกติ
ว๓๒๒๒๒ เคมี ๓ ๓ ชว่ั โมง / สปั ดาห์
๑.๕ หนํวยกิต
ว๓๒๒๒๓ เคมี ๔ ๓ ชัว่ โมง / สปั ดาห์ ๒.๐ หนวํ ยกติ

ว๓๓๒๒๔ เคมี ๕ ๔ ชั่วโมง / สปั ดาห์ ๒.๐ หนํวยกติ
๑.๕ หนวํ ยกติ
ว๓๓๒๒๕ เคมี ๖ ๔ ชั่วโมง / สัปดาห์ ๑.๕ หนวํ ยกติ

ว๓๓๒๔๑ ชวี วทิ ยา ๒ ๓ ชว่ั โมง / สัปดาห์ ๑.๕ หนวํ ยกติ
๑.๕ หนํวยกติ
ว๓๓๒๔๒ ชวี วทิ ยา ๓ ๓ ชั่วโมง / สปั ดาห์
๑.๕ หนวํ ยกิต
ว๓๓๒๔๓ ชีววทิ ยา ๔ ๓ ชว่ั โมง / สปั ดาห์ ๑.๐ หนวํ ยกิต
๑.๐ หนวํ ยกิต
ว๓๓๒๔๔ ชีววิทยา ๕ ๓ ชั่วโมง / สปั ดาห์
๑.๐ หนํวยกิต
ว๓๓๒๔๕ ชวี วิทยา ๖ ๓ ชั่วโมง / สปั ดาห์ ๑.๐ หนํวยกิต

ว๓๑๒๖๑ โลกและดาราศาสตร์ ๑ ๒ ช่วั โมง / สัปดาห์ ๑.๐ หนํวยกิต
๑.๐ หนํวยกติ
ว๓๒๒๖๒ โลกและดาราศาสตร์ ๒ ๒ ชว่ั โมง / สปั ดาห์ ๑.๐ หนวํ ยกติ

ว๓๒๒๖๓ โลกและดาราศาสตร์ ๓ ๒ ชว่ั โมง / สัปดาห์ ๑.๐ หนวํ ยกติ
๑.๐ หนํวยกติ
ว๓๓๒๖๔ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ ๒ ชว่ั โมง / สปั ดาห์
๑.๐ หนํวยกติ
ว๓๓๒๖๕ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ๒ ชั่วโมง / สัปดาห์

ว๓๑๒๘๑ การเขียนโปรแกรมดว๎ ยภาษา PHP ๒ ชั่วโมง / สัปดาห์

ว๓๒๒๘๒ การสร๎างAnimationด๎วยโปรแกรมFlash ๒ ช่ัวโมง / สัปดาห์

ว๓๒๒๘๓ การเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอรเ์ บื้องต๎น ๒ ชั่วโมง / สปั ดาห์

ว๓๓๒๘๔ การสร๎างและตัดตํอภาพยนตร์ ๒ ชัว่ โมง / สปั ดาห์

ว๓๓๒๘๕ โครงงานคอมพวิ เตอร์ ๒ ชว่ั โมง / สปั ดาห์

****************
หมายเหตุ * รายวิชาพนื้ ฐานสาหรับแผนการเรยี นวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ใช๎ผลการเรียนรู๎เทยี บเคยี ง
ตวั ช้ีวัดในสาระกายภาพและชีวภาพกับ ผลการเรยี นร๎ใู นสาระฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยาของกลมํุ สาระการเรียนร๎ู

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑

๓๐

คาอธบิ ายรายวิชา

รหัสวชิ า ว ๒๑๑๐๑ วิชาวทิ ยาศาสตร์ ๑ กลํุมสาระการเรียนรวู๎ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ เวลา ๖๐ ชว่ั โมง จานวน ๑.๕ หนวํ ยกติ

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาวิเคราะห์สมบัติทางกายภาพบางประการของธาตุ โลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะ จากการสังเกตและ

การทดสอบ การเปรียบเทียบจุดเดือด จุดหลอมเหลว ความหนาแนํนของสารบริสุทธิ์และสารผสม อธิบาย

เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหวํางอะตอม ธาตุ และสารประกอบโดยใช๎แบบจาลองท่ีประกอบด๎วยโปรตอน

นิวตรอน และอเิ ล็กตรอน เปรยี บเทียบการจัดเรยี งอนภุ าค แรงยดึ เหน่ียวระหวํางอนุภาคและการเคล่ือนที่ของ

สารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๏ส เปรียบเทยี บรปู ราํ งและหน๎าท่ีโครงสร๎างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์

การใชก๎ ล๎องจลุ ทรรศน์แบบใชแ๎ สงในการศึกษาเซลล์และโครงสร๎างตํางๆภายในเซลล์ อธิบายการจัดระบบของ

สง่ิ มชี ีวิต กระบวนการแพรํ และออสโมซิส ระบุปจั จยั ความสาคญั ที่จาเปน็ ในการสงั เคราะห์ด๎วยแสงท่ีตระหนัก

ถงึ คุณคาํ ของพืชทม่ี ตี อํ ส่งิ มีชวี ิตโดยการรํวมกันปลูกและดูแลต๎นไม๎ ศึกษาโครงสร๎างของดอก การปฏิสนธิ การ

สบื พนั ธ์ุแบบอาศัยเพศและไมอํ าศัยเพศของพืชดอก ตระหนักถึงความสาคัญของสัตว์ท่ีชํวยในการถํายละออง

เรณูของพืช ความสาคัญของธาตุอาหารการใช๎ปุ๋ยที่เหมาะสม ที่มีผลตํอการเจริญเติบโต และเลือกวิธีการ

ขยายพันธ์ุพืชให๎เหมาะสมกับความต๎องการของมนุษย์ การใช๎เทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธ์ุ และนา

ความรู๎ไปใชใ๎ นชวี ิตประจาวัน

โดยใช๎กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความร๎ู การสารวจตรวจสอบ การสืบค๎นข๎อมูล

บันทึก จัดกลุํมข๎อมูล และการอภิปรายเพื่อให๎เกิดความรู๎ ความคิด ความเข๎าใจ สามารถนาเสนอสื่อสารสิ่งที่

เรียนร๎ู มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณคําของการนาความร๎ูไปใช๎ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิต

วิทยาศาสตร์ คุณธรรม จริยธรรม และคํานยิ มทเี่ หมาะสม

ตวั ชี้วัด

ว ๑.๒ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ ม.๑/๘ ม.๑/๙ ม.๑/๑๐ ม.๑/๑๑
ม.๑/๑๒ ม.๑/๑๓ ม.๑/๑๔ ม.๑/๑๕ ม.๑/๑๖ ม.๑/๑๗ ม.๑/๑๘

ว ๒.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ ม.๑/๘ ม.๑/๙ ม.๑/๑๐
ว ๔.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔
รวมท้ังหมด ๒๖ ตวั ชวี้ ดั

๓๑

คาอธบิ ายรายวชิ า

รหัสวชิ า ว ๒๑๑๐๒ วิชาวทิ ยาศาสตร์ ๒ กลํมุ สาระการเรยี นรู๎วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ เวลา ๖๐ ชัว่ โมง จานวน ๑.๕ หนวํ ยกติ

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาวิเคราะห์ความหมาย และคานวณปริมาณความร๎อนที่ทาให๎สสารเปลี่ยนอุณหภูมิและเปล่ียน

สถานะ การใช๎เทอร์มอมิเตอรใ์ นการวัดอุณหภูมิ อธิบายการขยายตวั หรอื หดตัวของสาร การถํายโอนความร๎อน

โดยการนาความร๎อน การพาความร๎อน และการแผํรังสีความร๎อน เพ่ือเลือกใช๎และสร๎างอุปกรณ์ในการ

แก๎ปัญหาในชีวิตประจาวัน อธิบายการแบํงช้ันบรรยากาศและปัจจัยท่ีมีผลตํอการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบ

ของลมฟ้าอากาศเพ่ือเปรียบเทียบกระบวนการเกิดฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร๎อน การพยากรณ์อากาศ

ผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศโลกทม่ี ีผลตํอสงิ่ มชี ีวิตและส่งิ แวดล๎อม

โดยใช๎กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความร๎ู การสารวจตรวจสอบ การสืบค๎นข๎อมูล

บันทึก จัดกลุํมข๎อมูล และการอภิปรายเพื่อให๎เกิดความร๎ู ความคิด ความเข๎าใจ สามารถนาเสนอสื่อสารสิ่งที่

เรียนร๎ู มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณคําของการนาความร๎ูไปใช๎ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิต

วทิ ยาศาสตร์ คุณธรรม จรยิ ธรรม และคํานยิ มที่เหมาะสม

ตวั ชี้วัด
ว ๒.๓ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗
ว ๓.๒ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗

รวมทง้ั หมด ๑๕ ตัวช้ีวดั

๓๒

คาอธบิ ายรายวิชา

รหสั วิชา ว๒๑๑๘๑ วิชาวิทยาการคานวณและการออกแบบ๑ กลมํุ สาระการเรยี นรว๎ู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จานวน ๑.๐ หนํวยกติ

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศกึ ษา อธบิ ายความหมายของเทคโนโลยี วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่สํงผลตํอการเปลี่ยนแปลงของ

เทคโนโลยี การทางานของระบบทางเทคโนโลยี ประยุกต์ใช๎ความรู๎ ทักษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะห์

เปรียบเทียบและเลือกข๎อมูลที่จาเป็นเพื่อออกแบบวิธีการแก๎ปัญหาในชีวิตประจาวันในด๎านการเกษตรและ

อาหาร และสร๎างช้ินงานหรือพัฒนาวิธีการโดยใช๎กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมท้ังเลือกใช๎วัสดุ

อปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื ในการแก๎ปญั หาได๎อยํางถกู ตอ๎ ง เหมาะสม และปลอดภัย

ฝกทักษะในการแกปญหาโดยใชขั้นตอนการแกปญหาอยางงาย การแสดงข้ันตอนการแกปญหา

โดยการเขยี น บอกเลา วาดภาพ หรือใชสญั ลกั ษณ การเขียนโปรแกรมอยางงายโดยใชซอฟตแวรหรือส่ือ การ

ใชงานอุปกรณเทคโนโลยีเบอ้ื งตน การใชงานซอฟตแวรเบื้องตน การสราง จัดเก็บ และเรียกใชไฟลตามวัตถุ

ประสงค การใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภยั ขอปฏิบัติในการใชงานและการดูแลรักษาอุปกรณ การ

ใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางเหมาะสม ออกแบบและเขียนโปรแกรมอยํางงําย เพื่อแก๎ปัญหาทาง

คณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ รวบรวมข๎อมูลปฐมภมู ปิ ระมวลผล ประเมนิ ผล นาเสนอข๎อมูล และสารสนเทศ

ตามวัตถุประสงค์ โดยใช๎ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย ใช๎เทคโนโลยีสารสนเทศอยําง

ปลอดภยั ใช๎ส่ือและแหลํงข๎อมลู ตามข๎อกาหนดและขอ๎ ตกลง

ตัวชว้ี ัด
ว ๔.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕
ว ๔.๒ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔

รวมท้งั หมด ๙ ตัวช้ีวัด

๓๓

คาอธิบายรายวชิ า

รหสั วชิ า ว๒๑๒๘๑ วิชา คอมพิวเตอร์ ๑ กลมํุ สาระการเรยี นร๎วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑
เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จานวน ๑.๐ หนวํ ยกิต

ศึกษาแนวคดิ เชงิ นามธรรม การคัดเลือกคณุ ลกั ษณะที่จาเป็นตํอการแก๎ปัญหา ข้ันตอนการแก๎ปัญหา

การเขียนรหัสจาลองและผังงาน การเขียนออกแบบและเขียนโปรแกรมอยํางงําย ที่มีการใช๎งานตัวแปร
เง่ือนไข และการวนซ้า เพื่อแก๎ปัญหาทางคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ การรวบรวมข๎อมูลปฐมภูมิ การ
ประมวลผลขอ๎ มูล การสรา๎ งทางเลอื กและประเมนิ ผลเพ่ือตดั สินใจ ซอฟตแ์ วรแ์ ละบรกิ ารบนอินเทอร์เน็ตที่ใช๎ใน

การจัดการข๎อมูล แนวทางการใช๎งานเทคโนโลยีสารสนเทศให๎ปลอดภัย การพิจารณาความเหมาะสมของ
เนอ้ื หา ข๎อตกลงและข๎อกาหนดการใช๎สื่อและแหลํงข๎อมูล นาแนวคิดเชิงนามธรรมและขั้นตอนการแก๎ปัญหา

ไปประยุกตใ์ ช๎ในการเขียนโปรแกรม หรือ การแกป๎ ญั หาในชีวิตจริง รวบรวมข๎อมูลและสร๎างทางเลือก ในการ
ตดั สนิ ใจไดอ๎ ยํางมีประสทิ ธิภาพ และตระหนักถงึ การใชง๎ านเทคโนโลยสี ารสนเทศอยํางปลอดภัย เกิดประโยชน์
ตํอการเรยี นร๎ู และไมํสรา๎ งความเสยี หายให๎แกํผ๎ูอ่ืน

ผลการเรียนรู้
๑. การเขยี นอัลกอรทิ มึ
๒. อธบิ ายการเขียนโปรแกรมเบอ้ื งตน๎
๓. อธบิ ายซอฟต์แวรท์ ใี่ ช๎เขียนโปรแกรมได๎
๔. สามารถอธบิ ายลักษณะขอ๎ มูลกับสารสนเทศได๎
๕. สามารถอธบิ ายข้ันตอนการประมวลผลขอ๎ มูลสารสนเทศได๎
๖. สามารถอธบิ ายวธิ กี ารป้องกนั การใช๎เทคโนโลยสี ารสนเทศได๎อยํางถูกต๎อง
๗. สามารถอธิบายการใชเ๎ ทคโนโลยีสารสนเทศอยาํ งปลอดภัย
๘. มคี วามรค๎ู วามเข๎าใจในการใชง๎ านโปรแกรมภาษา scratch

สามารถใชง๎ านโปรแกรมภาษา scratch ได๎

รวมทง้ั หมด ๘ ผลการเรยี น

๓๔

คาอธบิ ายรายวิชา

รหสั วิชา ว ๒๒๑๐๑ วิชาวิทยาศาสตร์ ๓ กลมํุ สาระการเรียนรวู๎ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่วั โมง จานวน ๑.๕ หนวํ ยกิต

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาเก่ียวกับโครงสร๎างและหน๎าท่ีของอวัยวะในระบบหายใจ การหายใจ การดูแลรักษาอวัยวะใน

ระบบหายใจ โครงสร๎างและหน๎าทขี่ องอวยั วะในระบบขับถําย กลไกการกาจัดของเสีย การดูแลรักษาอวัยวะ

ในระบบขับถําย โครงสร๎างและหน๎าที่ของอวัยวะในระบบหมุนเวียนเลือด การทางานของระบบหมุนเวียน

เลอื ด การดูแลรกั ษาอวยั วะในระบบหมุนเวียนเลือด โครงสร๎างและหน๎าที่ของอวัยวะในระบบประสาท การ

ทางานของระบบประสาท การดูแลรกั ษาอวัยวะในระบบประสาท โครงสร๎างและหน๎าที่ของอวัยวะในระบบ

สืบพันธ์ุ ฮอร์โมนเพศ การปฏิสนธิ และการตั้งครรภ์ และการคุมกาเนิด ศึกษาเก่ียวกับการแยกสารผสม

การระเหยแหง๎ การตกผลึก การกล่ันโครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การสกัดด๎วยตัวทาละลาย การนาวิธีการ

แยกสารไปใช๎แก๎ปัญหาในชีวิตประจาวัน ศึกษาเก่ียวกับสารละลาย สภาพละลายได๎ของสาร ความเข๎มข๎น

ของสารละลาย การใช๎สารละลายในชวี ติ ประจาวนั

โดยใชก๎ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการสบื เสาะหาความรู๎ การสืบค๎นข๎อมูล การสังเกต การ

วิเคราะห์ การทดลอง การอธบิ าย และการสรุปเพอื่ ให๎เกิดความรู๎ ความคิด ความเข๎าใจ มีความสามารถในการ

ตัดสินใจสื่อสารส่ิงที่เรียนและนาความรู๎ไปใช๎ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และ

คํานยิ ม

ตวั ชว้ี ดั
ว ๑.๒ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ม.๒/๗ ม.๒/๘ ม.๒/๙ ม.๒/๑๐ ม.๒/๑๑

ม.๒/๑๒ ม.๒/๑๓ ม.๒/๑๔ ม.๒/๑๕ ม.๒/๑๖ ม.๒/๑๗
ว ๒.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖

รวมทง้ั หมด ๒๓ ตัวช้วี ดั

๓๕

คาอธบิ ายรายวชิ า

รหสั วิชา ว ๒๒๑๐๒ วชิ าวิทยาศาสตร์ ๔ กลํุมสาระการเรยี นรวู๎ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๒ เวลา ๖๐ ช่วั โมง จานวน ๑.๕ หนํวยกิต

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาเก่ยี วกบั แรงและการเคล่อื นที่ แรง แรงดนั ในของเหลว แรงพยุง แรงเสียดทาน โมเมนต์ของแรง

แรงในธรรมชาติ การเคลื่อนท่ี ระยะทางและการกระจัด อัตราเร็ว ความเร็ว งานและพลังงาน งาน กาลัง

เครื่องกล พลังงาน ประเภทของพลังงาน กฎการอนุรักษ์พลังงาน ศึกษาเก่ียวกับโลกและการเปลี่ยนแปลง

เชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ์ ถํานหิน หินน้ามัน ปิโตรเลียม โครงสร๎างของโลก การเปลี่ยนแปลงของโลก

ทรัพยากรดิน กระบวนการเกิดดิน หน๎าตัดข๎างของดิน ปัจจัยในการเกิดดิน สมบัติของดิน การปรับปรุง

คุณภาพของดนิ แหลงํ นา้ นา้ บนดิน นา้ ใต๎ดนิ การใช๎ประโยชน์จากแหลํงน้าบนดินและน้าใต๎ดิน และภัยพิบัติท่ี

เกิดจากนา้

โดยใช๎กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู๎ การสืบค๎นข๎อมูลการสังเกตการ

วิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธิบาย และการสรุป เพ่ือให๎เกิดความรู๎ ควา มคิด ความเข๎าใจ มี

ความสามารถในการตัดสินใจส่ือสารสิ่งที่เรียนและนาความรู๎ไปใช๎ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์

จรยิ ธรรมคุณธรรม และคาํ นิยม

ตัวชว้ี ัด

ว ๒.๒ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ม.๒/๗ ม.๒/๘ ม.๒/๙ ม.๒/๑๐ ม.๒/๑๑
ม.๒/๑๒ ม.๒/๑๓ ม.๒/๑๔ ม.๒/๑๕

ว ๒.๓ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖
ว ๓.๒ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ม.๒/๗ ม.๒/๘ ม.๒/๙ ม.๒/๑๐

รวมท้ังหมด ๓๑ ตัวชว้ี ดั

๓๖

คาอธบิ ายรายวชิ า

รหสั วิชา ว๒๒๑๘๒ วชิ าวิทยาการคานวณและการออกแบบ๒ กลุํมสาระการเรียนร๎วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หนวํ ยกิต

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศกึ ษา อธิบายความหมายของเทคโนโลยี วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่สํงผลตํอการเปล่ียนแปลงของ

เทคโนโลยี การทางานของระบบทางเทคโนโลยี ประยุกต์ใช๎ความรู๎ ทักษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะห์

เปรยี บเทยี บและเลือกขอ๎ มลู ทจ่ี าเป็นเพื่อออกแบบวิธีการแก๎ปัญหาในชีวิตประจาวัน ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช๎

แนวคดิ เชงิ คานวณในการแกป๎ ัญหา หรือการทางานท่ีพบในชีวิตจริง ออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีใช๎ตรรกะ

และฟงั กช์ ันในการแกป๎ ัญหา อภปิ รายองคป์ ระกอบและหลักการทางานของระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี

การส่ือสาร เพื่อประยุกต์ใช๎งานหรือแก๎ปัญหาเบ้ืองต๎น ใช๎เทคโนโลยีสารสนเทศอยํางปลอดภัย มีความ

รบั ผดิ ชอบ สรา๎ งและแสดงสิทธิในการเผยแพรผํ ลงาน

ออกแบบวิธีการแก๎ปัญหา โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข๎อมูลที่จาเป็น ภายใต๎

เง่ือนไขและทรัพยากรที่มีอยูํ นาเสนอ แนวทางการแก๎ปัญหาให๎ผู๎อ่ืนเข๎าใจ วางแผน ข้ันตอนการทางานและ

ดาเนินการแก๎ปัญหาอยํางเป็นขั้นตอน ทดสอบ ประเมินผล และอธิบายปัญหาหรือ ข๎อบกพรํองที่เกิดขึ้น

ภายใต๎กรอบเงื่อนไข พร๎อมทั้งหาแนวทางการปรับปรุงแก๎ไข และ นาเสนอผลการแก๎ปัญหา ใช๎ความรู๎และ

ทักษะเก่ยี วกับวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อแก๎ปัญหาหรือพัฒนางานได๎อยําง

ถูกตอ๎ ง เหมาะสม และปลอดภัย

ตัวชว้ี ัด
ว ๔.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕
ว ๔.๒ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔

รวมทง้ั หมด ๙ ตัวชีว้ ัด

๓๗

คาอธิบายรายวชิ า

รหัสวชิ า ว๒๒๒๘๑ วิชา คอมพวิ เตอรส์ รา๎ งสรรค์ กลุํมสาระการเรยี นรวู๎ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๒ เวลา ๔๐ ช่วั โมง จานวน ๑.๐ หนวํ ยกิต

ศกึ ษาอธิบายเก่ยี วกับความหมายบทบาทและความสาคญั ของภาษา HTML สามารถเขียนโปรแกรม
ภาษา HTML มคี วามร๎ูความเข๎าใจเกี่ยวกับการสร๎างเว็บไซต์ ดว๎ ยโปรแกรม Dreamweaver และโปรแกรม
อ่นื ๆ ทีม่ คี วามสามารถด๎านงานเวบ็ ไซต์ และประยกุ ต์การสร๎างชน้ิ งานเว็ปไซต์ไดอ๎ ยํางชานาญโดยใช๎ทกั ษะการ
แสวงหาความร๎ู การทางานกลมํุ การฝึกฝน การแก๎ปัญหา การใช๎คอมพวิ เตอร์ ในการสรา๎ งช้ินงาน และ
นาเสนอผลงานได๎อยาํ งเหมาะสม

เพือ่ ให๎เหน็ คณุ คาํ ของการใชเ๎ ทคโนโลยีสารสนเทศในการสร๎างชนิ้ งาน สามารถทางานรํวมกบั ผ๎อู ื่นได๎
อยาํ งมคี วามสุข มีความรบั ผดิ ชอบและนาไปใช๎ประโยชนใ์ นชวี ิตประจาวนั ได๎

ผลการเรยี นรู้
๑. มคี วามรู๎ความเข๎าใจเกยี่ วกับความหมายบทบาทและความสาคัญของภาษา HTML
๒. สามารถเขยี นโปรแกรมภาษา HTML ได๎อยาํ งถูกต๎อง ตามโครงสร๎างของภาษา HTML
๓. มคี วามร๎คู วามเข๎าใจเกยี่ วกบั การสรา๎ งเว็บไซต์ ด๎วยโปรแกรม Dreamweaver และโปรแกรมอ่นื ๆ ที่มี
ความสามารถด๎านงานเว็บไซต์
๔. สามารถสบื ค๎นข๎อมูลและหาความรเ๎ู กย่ี วกับการสร๎างเว็บไซต์จากอินเตอร์เน็ต และนาความรู๎ มา
ประยกุ ต์ในการสร๎างเวบ็ ไซต์อยํางสร๎างสรรค์
๕. ปฏิบตั กิ ารสร๎างช้นิ งานเวบ็ ไซต์ ด๎วยโปรแกรมDreamweaver ได๎อยาํ งชานาญ
๖. สร๎างช้ินงานเวบ็ ไซต์ดว๎ ยความเสียสละ ขยันประหยดั ซอ่ื สตั ย์ มีวนิ ยั มุํงมนั่ ในการทางานและมคี วาม
พอเพียง
๗. นาเสนองานการออกแบบเวบ็ ไซตท์ ส่ี ร๎างข้ึนในรปู แบบท่ีเหมาะสมตรงกบั วตั ถุประสงค์ของงาน

รวมทงั้ หมด ๗ ผลการเรยี นรู้

๓๘

คาอธบิ ายรายวชิ า

รหสั วิชา ว ๒๓๑๐๑ วิชาวิทยาศาสตร์ ๕ กลุมํ สาระการเรียนร๎ูวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ เวลา ๖๐ ชว่ั โมง จานวน ๑.๕ หนํวยกิต

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศกึ ษา วิเคราะห สมบัตทิ างกายภาพและการใช๎ประโยชน์วัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิกส์ และวัสดุ

ผสม โดยใชห๎ ลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ และสารสนเทศ การใช๎วัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิกส์ และวัสดุผสม โดย

เสนอ แนะแนวทางการใช๎วัสดุอยํางประหยัดและคุ๎มคํา การเกิดปฏิกิริยาเคมี รวมถึงการจัดเรียงตัวใหมํของ

อะตอมเมอ่ื เกิดปฏิกิริยาเคมี โดยใช๎แบบจาลองและสมการข๎อความ กฎทรงมวล ปฏิกิริยาดูดความร๎อน และ

ปฏกิ ิริยาคายความรอ๎ น จากการเปลย่ี นแปลงพลังงานความร๎อนของปฏิกิริยา ปฏิกิริยาการเกิดสนิมของเหล็ก

ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ ปฏิกิริยาของกรดกับเบส และปฏิกิริยาของเบสกับโลหะ โดยใช๎หลักฐานเชิง

ประจักษ์ และอธิบายปฏิกิริยาการเผาไหม๎การเกิดฝนกรด การสังเคราะห์ด๎วยแสง โดยใช๎สารสนเทศ รวมท้ัง

เขยี นสมการข๎อความแสดงปฏิกิริยา ประโยชน์และโทษของปฏิกิริยาเคมีท่ีมีตํอสิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดล๎อม และ

ยกตัวอยํางวิธีการป้องกันและแก๎ปัญหาท่ีเกิดจากปฏิกิริยาเคมีท่ีพบในชีวิตประจาวัน วิธีแก๎ปัญหาใน

ชีวิตประจาวัน ความสัมพันธ์ระหวํางความตํางศักย์ กระแสไฟฟ้า และความต๎านทาน และคานวณปริมาณที่

เก่ียวข๎อง ความสัมพันธ์ระหวํางกระแสไฟฟ้าและความตํางศักย์ไฟฟ้า การวัดปริมาณทางไฟฟ้า ความตําง

ศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าเม่ือตํอตัวต๎านทานหลายตัวแบบอนุกรมและแบบขนาน แผนภาพ

วงจรไฟฟ้าแสดงการตํอตัวต๎านทานแบบอนุกรมและขนาน การทางานของชิ้นสํวนอิเล็กทรอนิกส์อยํางงําย

คานวณพลังงานไฟฟ้า เลอื กใช๎เครือ่ งใชไ๎ ฟฟา้ โดยนาเสนอวิธีการใช๎เคร่ืองใช๎ไฟฟ้าอยํางประหยัดและปลอดภัย

แบบจาลองที่อธิบายการเกิดคลื่นและบรรยายสํวนประกอบของคล่ืน คลื่นแมํเหล็กไฟฟ้าและสเปกตรัมคลื่น

แมเํ หลก็ ไฟฟา้ พัฒนาแอปพลเิ คชนั รวบรวมข๎อมูล ประมวลผล ประเมนิ ผล นาเสนอขอ๎ มลู และสารสนเทศตาม

วัตถุประสงค์ โดยใช๎ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย ประเมินความนําเชื่อถือของข๎อมูล

วิเคราะห์ส่อื และผลกระทบจากการให๎ขําวสารที่ผิด เพ่อื การใชง๎ านอยาํ งรู๎เทําทัน ใชเ๎ ทคโนโลยีสารสนเทศอยําง

ปลอดภัย และมีความรับผิดชอบตํอสังคม ปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ใช๎ลิขสิทธ์ิของผู๎อ่ืนโดย

ชอบธรรม

โดยใชก๎ ารสืบเสาะหาความร๎ู การสารวจตรวจสอบ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะการ

เรยี นรู๎ในศตวรรษที่ ๒๑ การสืบค๎นข๎อมูลและการอภิปราย เพื่อให๎เกิดความร๎ู ความคิด ความเข๎าใจ สามารถ

ส่ือสารสิ่งท่ีเรียนร๎ู มีความสามารถในการตัดสินใจ การแก๎ปัญหา การนาความรู๎ไปใช๎ในชีวิตประจาวัน มีจิต

วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคํานยิ มทีเ่ หมาะสม

ตวั ชวี้ ัด

ว.๒.๑ ม.๓/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘
ว.๒.๓ ม.๓/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙, ม.๑/๑๐, ม.๑/๑๑, ม.๑/๑๒
ว.๔.๒ ม.๓/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔,

รวมท้ังหมด ๒๔ ตัวชี้วดั

๓๙

คาอธิบายรายวชิ า

รหัสวชิ า ว ๒๓๑๐๒ วิชาวิทยาศาสตร์ ๖ กลุมํ สาระการเรียนร๎วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หนวํ ยกิต

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศกึ ษา วเิ คราะห กฎการสะทอ๎ นของแสง การเคล่ือนที่ของแสง ภาพจากกระจกเงา การหักเหของแสง

การกระจายแสงของแสงขาว การเกิดภาพจากเลนส์ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับแสง และการทางานของ

ทัศนอุปกรณ์ ความสวํางท่ีมีตํอดวงตา วัดความสวํางของแสง ปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบของระบบนิเวศ

รูปแบบความสัมพันธ์ระหวํางส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตรูปแบบตําง ๆ แบบจาลองในการอธิบายการถํายทอด

พลังงานในสายใยอาหาร ความสัมพันธ์ของผู๎ผลิต ผ๎ูบริโภค และผู๎ยํอยสลายสารอินทรีย์ในระบบนิเวศ การ

สะสมสารพษิ ในสงิ่ มชี ีวติ ในโซํอาหาร ความสมั พันธร์ ะหวําง ยีน ดีเอ็นเอ และโครโมโซม การถํายทอดลักษณะ

ทางพนั ธกุ รรม การเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์ การแบํงเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส การเปลี่ยนแปลงของยีน

หรอื โครโมโซมอาจทาใหเ๎ กิดโรคทางพันธุกรรม สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ การ

โคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด๎วยแรงโน๎มถํวง แบบจาลองที่อธิบายการเกิดฤดู และการเคล่ือนท่ี

ปรากฏของดวงอาทติ ย์ แบบจาลองทอ่ี ธบิ ายการเกิดข๎างข้ึนข๎างแรม การเปลี่ยนแปลงเวลาการข้ึนและตกของ

ดวงจันทร์ และการเกิดน้าขึ้นน้าลงการใช๎ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ ปัจจัยท่ีสํงผลตํอการเปล่ียนแปลง

ของเทคโนโลยี และความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์

ปัญหาหรือความต๎องการของชุมชนหรือท๎องถ่ิน เพ่ือพัฒนางานอาชีพ วิธีการแก๎ปัญหา โดยวิเคราะห์

เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข๎อมูลที่จาเป็นภายใต๎เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยํู ใช๎ความรู๎ และทักษะ

เกีย่ วกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ให๎ถูกต๎องกับลักษณะของงาน และปลอดภัย

เพือ่ แกป๎ ัญหาหรอื พฒั นางาน

โดยใช๎การสบื เสาะหาความรู๎ การสารวจตรวจสอบ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละทักษะการ

เรียนร๎ูในศตวรรษที่ ๒๑ การสืบค๎นข๎อมูลและการอภิปราย เพื่อให๎เกิดความร๎ู ความคิด ความเข๎าใจ สามารถ

ส่ือสารสิ่งที่เรียนรู๎ มีความสามารถในการตัดสินใจ การแก๎ปัญหา การนาความรู๎ไปใช๎ในชีวิตประจาวัน มีจิต

วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคาํ นิยมท่เี หมาะสม

รหสั ตัวชี้วดั

ว ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ว ๑.๓ ม.๓/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙, ม.๑/๑๐, ม.๑/๑๑

ว ๒.๓ ม.๑/๑๓, ม.๑/๑๔, ม.๑/๑๕, ม.๑/๑๖, ม.๑/๑๗, ม.๑/๑๘, ม.๑/๑๙, ม.๑/๒๐, ม.๑/๒๑
ว ๔.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕

รวมทง้ั หมด ๓๑ ตวั ชี้วดั

๔๐

คาอธบิ ายรายวชิ า

รหัสวชิ า ว๒๓๑๘๓ วิชาวิทยาการคานวณและการออกแบบ๓ กลุมํ สาระการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ เวลา ๔๐ ช่วั โมง จานวน ๑.๐ หนํวยกิต

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษา อธิบายความหมายของเทคโนโลยี ระบุปัญหาหรือความต๎องการของชุมชนหรือ ท๎องถ่ิน เพื่อ

พฒั นางานอาชพี สรุปกรอบของปัญหา รวบรวม วเิ คราะหข์ ๎อมลู และแนวคดิ ทเ่ี ก่ียวข๎องกับปัญหา โดยคานึงถึง

ความถูกต๎องด๎านทรัพย์สินทางปัญญา พัฒนาแอปพลิเคชันที่มีการบูรณาการกับวิชาอื่นอยํางสร๎างสรรค์

รวบรวมข๎อมูล ประมวลผล ประเมนิ ผล นาเสนอข๎อมูลและสารสนเทศตามวัตถุประสงค์โดยใช๎ซอฟต์แวร์หรือ

บรกิ ารบนอินเทอรเ์ นต็ ทีห่ ลากหลาย ประเมินความนําเชือ่ ถือของขอ๎ มลู วเิ คราะห์สื่อและผลกระทบจากการให๎

ขาํ วสารท่ีผดิ เพื่อการใช๎งานอยํางรู๎เทําทัน ใช๎เทคโนโลยีสารสนเทศอยํางปลอดภัย และมีความรับผิดชอบตํอ

สงั คม ปฏบิ ัติตามกฎหมายเกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์ใชล๎ ขิ สิทธ์ขิ องผอ๎ู น่ื โดยชอบธรรม

ออกแบบวธิ ีการแก๎ปญั หา โดยวเิ คราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข๎อมูลที่จาเป็นภายใต๎เงื่อนไข

และทรัพยากรที่มีอยํู นาเสนอแนวทางการแก๎ปัญหาให๎ผู๎อื่นเข๎าใจด๎วยเทคนิคหรือวิธีการท่ีหลากหลาย

วางแผนข้ันตอนการทางานและดาเนินการแก๎ปัญหาอยํางเป็นขั้นตอน ใช๎ความรู๎และทักษ ะเก่ียวกับวัสดุ

อปุ กรณเ์ ครือ่ งมือ กลไกไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์ใหถ๎ กู ตอ๎ งกบั ลกั ษณะของงาน และปลอดภัยเพื่อแกป๎ ัญหาหรือ

พฒั นางาน

ตัวชี้วัด
ว ๔.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕
ว ๔.๒ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔

รวมทั้งหมด ๙ ตัวช้วี ัด

๔๑

คาอธิบายรายวิชา

รหสั วิชา ว๒๓๒๘๑ วิชา คอมพิวเตอร์๓ กลํมุ สาระการเรยี นรวู๎ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ เวลา ๔๐ ช่วั โมง จานวน ๑.๐ หนํวยกิต

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาอธิบายความหมายของ AdobeFlash CS๓ ความสามารถของโปรแกรม Adobe Flash CS๓
ความสามารถของโปรแกรม Adobe Flash CS๓ และเทคโนโลยีของ Adobe Flash CS๓ สามารถสร๎าง
ช้ินงาน จากโปรแกรม Adobe Flash CS๓ การเลอื กปรบั เปลยี่ นขนาดของช้ินงานและสร๎างชิ้นงานโดยใช๎

เคร่ืองมอื ได๎อยาํ งเหมาะสม การสรา๎ งและใสํลกู เลํนในตวั อักษร เลอื กเครอื่ งมอื ในการแตํงแตม๎ สีภาพดว๎ ยสี
เสน๎ ให๎สวยงาม ปฏิบัติการ TimeLine และ Frame การใช๎งาน Layer เทคนิคในการใช๎ Layer Mask

และการกาหนดทิศทางการเคล่อื นที่ด๎วย Guide Layer

โดยใชท๎ ักษะการแสวงหาความร๎ู การทางานกลมุํ การฝกึ ฝน การแก๎ปัญหา การใช๎คอมพวิ เตอร์ ใน
การสร๎างชิน้ งาน และนาเสนอผลงานไดอ๎ ยํางเหมาะสม

เพอ่ื ให๎เหน็ คณุ คําของการใช๎เทคโนโลยีสารสนเทศในการสรา๎ งชน้ิ งาน สามารถทางานรํวมกบั ผอ๎ู ื่นได๎
อยํางมคี วามสุข มคี วามรับผิดชอบและนาไปใช๎ประโยชน์ในชวี ิตประจาวันได๎

ผลการเรยี นรู้

๑. รู๎จกั เทคโนโลยีของFlash(CS๓)

๒. สรา๎ งชน้ิ งานจากเครอื่ งมอื ของโปรแกรม Flash (CS๓)
๓. การเลือกปรบั เปลีย่ นขนาดของช้นิ งาน

๔. การสร๎างและใสํลกู เลํนให๎ตัวอักษร
๕. เติมแตํงแต๎มสภี าพดว๎ ยสเี ส๎นใหส๎ วยงาม
๖. รจู๎ ักกับTimeline และ Frame

๗. การให๎ Layer ชํวยจดั การภาพท่ีซบั ซอ๎ น
๘. App Inventor

รวมทัง้ หมด ๘ ผลการเรยี นรู้

๔๒

คาอธิบายรายวชิ า

รหัสวชิ า ว๓๑๑๐๑(ไมํเน๎นวทิ ย์) วิชา วทิ ยาศาสตร์ฟิสิกส์ กลุํมสาระการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๔ เวลา ๘๐ ชวั่ โมง จานวน ๒.๐ หนํวยกิต

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

วเิ คราะห์และแปลความหมายข๎อมลู ความเร็วกบั เวลาของการเคลอ่ื นที่ของวัตถุ เพอื่ อธิบายความเรํง

ของวัตถุ สังเกตและอธบิ ายการหาแรงรบั ท่ีเกิดจากแรงหลายแรงท่อี ยํูในระนาบเดียวกันทกี่ ระทาตํอวัตถุโดย

การเขียนแผนภาพการรวมแบบเวกเตอร์ สงั เกต วเิ คราะห์ และอธิบายความสัมพนั ธร์ ะหวํางความเรํงของวตั ถุ

กบั แรงลพั ธท์ ่กี ระทาตํอวัตถุและมวลของวตั ถุ สงั เกตและอธบิ ายแรงกริ ยิ าและแรงปฏิกิริยาระหวํางวตั ถคุ ูํ

หน่ึงๆ สงั เกตและอธบิ ายผลของความเรงํ ทมี่ ีตอํ การเคลอ่ื นท่ีแบบตํางๆของวัตถุ ได๎แกํ การเคล่อื นท่ีแนวตรง

การเคลอื่ นทแี่ บบโพรเจกไทล์ การเคลอื่ นที่แบบวงกลม และการเคล่ือนที่แบบสนั่ สบื ค๎นข๎อมลู และอธบิ ายแรง

โน๎มถํวงท่ีเกย่ี วกับการเคลือ่ นทีข่ องวตั ถุตํางๆ รอบโลก สงั เกตและอธบิ ายการเกดิ สนามแมเํ หลก็ เนื่องจาก

กระแสไฟฟ้า สังเกตและอธิบายแรงแมเํ หล็กที่กระทาตอํ อนภุ าคท่มี ีประจไุ ฟฟ้าท่เี คลอ่ื นท่ใี นสนามแมเํ หล็ก

และแรงแมเํ หล็กท่ีกระทาตอํ ลวดตวั นาท่ีมกี ระแสไฟฟ้าผํานในสนามแมเํ หลก็ รวมทง้ั อธิบายหลักการทางานของ

มอเตอร์ สงั เกตและอธิบายการเกิดอเี อม็ เอฟ รวมทง้ั ยกตวั อยาํ งการนาความร๎ูไปใช๎ประโยชน์ สบื ค๎นข๎อมูล

และอธิบายแรงเข๎มและแรงออํ น สืบค๎นข๎อมูลและอธิบายพลงั งานนวิ เคลียร์ฟิชชันและฟวิ ชันและ

ความสมั พนั ธ์ระหวํางมวลกับพลังงานทปี่ ลดปลํอยออกมาจากฟชิ ชันและฟวิ ชัน สืบคน๎ ขอ๎ มลู และอธบิ ายการ

เปลยี่ นพลังงานทดแทนเปน็ พลงั งานไฟฟ้า รวมท้ังสืบคน๎ และอภิปรายเกยี่ วกบั เทคโนโลยีที่นามาแก๎ปญั หาหรือ

ตอบสนองความตอ๎ งการทางดา๎ นพลังงานโดยเน๎นด๎านประสิทธิภาพและความค๎ุมคําด๎านคาํ ใช๎จําย สังเกต และ

อธบิ ายการสะทอ๎ น การหกั เหการเล้ยี วเบน การรวมคล่ืน สังเกต และอธิบายความถ่ีธรรมชาติ การส่ันพ๎องและ

ผลที่เกดิ ขึน้ จากการสัน่ พ๎อง สังเกต และอธบิ ายการสะท๎อน การหักเห การเลีย้ วเบน และการรวมคล่ืนของคลื่น

เสียง สบื คน๎ ข๎อมูล และอธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหวาํ งความเขม๎ เสยี งกบั ระดบั เสยี งและผลของความถ่ีกับระดบั

เสียงท่มี ตี อํ การได๎ยิน สงั เกต และอธบิ ายการเกิดเสยี งสะทอ๎ นกลบั บตี ดัปเพลอร์ และการส่นั พอ๎ งของเสยี ง

สืบค๎นข๎อมลู และยกตวั อยํางการนาความร๎เู กี่ยวกับเสียงไปใชป๎ ระโยชน์ในชีวิตประจาวนั สังเกต และอธิบาย

การมองเห็นสขี องวตั ถแุ ละความผิดปกติในการมองเหน็ สี สังเกต และอธบิ ายการทางานของแผนํ กรองแสงสี

การผสมแสงสี การผสมสารสีและการนาไปใชป๎ ระโยชน์ในชีวติ ประจาวนั สืบค๎นข๎อมูลและอธิบายขึ้น

แมเํ หล็กไฟฟา้ สวํ นประกอบขึน้ แมํเหล็กไฟฟา้ และหลกั การทางานของอปุ กรณ์บางชนดิ ทีอ่ าศยั ขนึ้

แมํเหล็กไฟฟ้า สืบคน๎ ข๎อมลู และอธบิ ายการสื่อสารโดยอาศยั ขนึ้ แมํเหลก็ ไฟฟา้ ในการสงํ ผํานสารสนเทศและ

เปรยี บเทยี บการส่อื สารดว๎ ยสัญญาณแอนะล็อกกบั สญั ญาณดจิ ิทลั

โดยใชก๎ ารเรียนรด๎ู ๎วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความร๎ู การสารวจตรวจสอบ

สามารถนาความรแ๎ู ละหลกั การไปใช๎ประโยชน์ เช่ือมโยง อธบิ ายปรากฎการณ์ หรอื แกป๎ ญั หาในชวี ิตปราจา

วนั สามารถจัดกระทาและวิเคราะห์ขอ๎ มูล ส่ือสารสง่ิ ทีเ่ รียนรู๎ มีความสามารในการตดั สนิ ใจแก๎ปัญหา มจี ิต

วิทยาศาสตร์ เห็นคุณคาํ ของวทิ ยาศาสตร์ มีจริยธรรม คุณธรรมและคาํ นยิ มทีเ่ หมาะสม

ตัวช้วี ัด

ว.๒.๒ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๔, ม.๔-๖/๕, ม.๔-๖/๖, ม.๔-๖/๗, ม.๔-๖/๘, ม.๔-๖/๙,

ม.๔-๖/๑๐

ว.๒.๓ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๔, ม.๔-๖/๕, ม.๔-๖/๖, ม.๔-๖/๗, ม.๔-๖/๘, ม.๔-๖/๙,

ม.๔-๖/๑๐, ม.๔-๖/๑๑, ม.๔-๖/๑๒

รวมท้ังหมด ๒๒ ตัวช้วี ัด

๔๓

คาอธิบายรายวชิ า

รหสั วชิ า ว๓๑๑๐๒(ไมํเน๎นวิทย์) วชิ า วทิ ยาศาสตรเ์ คมี กลํุมสาระการเรยี นรว๎ู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๔ เวลา ๖๐ ชัว่ โมง จานวน ๑.๕ หนวํ ยกิต

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาธาตุและสารประกอบ โครงสร๎างอะตอม แบบจาลองอะตอม อนภุ าคมูลฐานของอะตอม
สญั ลกั ษณน์ วิ เคลยี รข์ องธาตุ ไอโซโทป ตารางธาตุและสมบัติของธาตุตามตารางธาตุ สมบัติของสารกัมมนั ตรงั สี
ครงึ่ ชีวติ ของสารกมั มนั ตรังสี พันธะเคมี สารละลายอิเล็กโทรไลตแ์ ละสารละลายนอนอเิ ลก็ โทรไลต์ การละลาย
ของสาร ปฏกิ ิริยาเคมี สมการเคมี ปัจจยั ทมี่ ีผลตํออัตราการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี ปฏกิ ิรยิ ารดี อกซ์ สารประกอบ
อนิ ทรีย์ สมบตั ิความเป็นกรดเบสของสารประกอบอินทรยี ์ มอนอเมอร์ พอลเิ มอร์ รวบรวม วเิ คราะห์ข๎อมลู
และใช๎ความรู๎ด๎านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สอ่ื ดจิ ิตัล เทรโนโลยีสารสนเทศในการแกป๎ ัญหาหรือเพม่ิ มูลคําให๎กบั
บริการหรือผลิตภัณฑ์ท่ใี ชใ๎ นชีวิตจริงอยาํ งสรา๎ งสรรค์

โดยใชก๎ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการสบื เสาะหาความร๎ู การสืบคน๎ ขอ๎ มูล การสังเกต การ
วเิ คราะห์ การอธบิ าย การอภปิ รายและสรุป เพ่อื ใหเ๎ กดิ ความรู๎ ความคดิ ความเขา๎ ใจ มีความสารถในการ
ตดั สินใจ ส่อื สารสิง่ ทเ่ี รียนร๎นู าความร๎ูไปใช๎ในชีวติ ประจาวนั มจี ติ วิทยาศาสตร์ เหน็ คุณคาํ ของวทิ ยาศาสตร์ มี
จรยิ ธรรม คณุ ธรรมและคาํ นยิ มท่ีเหมาะสม

รหัสตวั ช้ีวดั
ว๒.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๔, ม.๔-๖/๕, ม.๔-๖/๖, ม.๔-๖/๗, ม.๔-๖/๘, ม.๔-๖/๙,

ม.๔-๖/๑๐ ,ม.๔-๖/๑๑, ม.๔-๖/๑๒ ,
ม.๔-๖/๑๓, ม.๔-๖/๑๔, ม.๔-๖/๑๕, ม.๔-๖/๑๖, ม.๔-๖/๑๗, ม.๔-๖/๑๘, ม.๔-๖/๑๙, ม.๔-๖/๒๐,
ม.๔-๖/๒๑, ม.๔-๖/๒๒, ม.๔-๖/๒๓,
ม.๔-๖/๒๔, ม.๔-๖/๒๕

รวม ๒๕ ตัวช้วี ัด

๔๔

คาอธิบายรายวชิ า

รหัสวชิ า ว ๓๑๑๐๓(ไมํเนน๎ วิทย)์ วิชาวทิ ยาศาสตร์ชวี วิทยา กลุํมสาระการเรียนร๎ูวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๔ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หนํวยกติ

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาความหลากหลายของระบบนิเวศ การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ

องค์ประกอบของระบบนเิ วศ ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล๎อม เซลล์และโครงสร๎างพื้นฐานของเซลล์ การ

ลาเลยี งสารเข๎าและออกจากเซลล์ การรักษาดลุ ยภาพของนา้ และแรธํ าตุ กรด-เบส อณุ หภูมิในรํางกายมนุษย์

ระบบภูมิค๎ุมกัน ความผิดปกติของระบบภูมิค๎ุมกัน การสร๎างอาหารของพืชด๎วยกระบวนการสังเคราะห์ด๎ว ย

แสง สารสังเคราะหจ์ ากพชื ปจั จัยทีม่ ีผลตอํ การเจรญิ เตบิ โตของพืช การตอบสนองของพืชตํอสิ่งเร๎า ยีนและ

การถํายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถํายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม

ระดับยีนและโครโมโซม การใช๎ประโยชน์จากเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ วิวัฒนาการ ของส่ิงมีชีวิตจากการ

คัดเลอื กโดยธรรมชาตขิ องสิง่ มีชวี ติ

โดยใช๎กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู๎ การสารวจตรวจสอบ การสืบค๎นข๎อมูล

การสังเกต การวิเคราะห์ การอธบิ าย การอภิปราย และสรุป เพอื่ ให๎เกิดความร๎ู ความคิด ความเข๎าใจ มี

ความสามารถในการตัดสินใจสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู๎และนาความรู๎ไปใช๎ในชีวิตของตนเองและดูแลรักษาส่ิงมีชีวิต

อื่นๆ เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล๎อมอยํางยั่งยืน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคํานิยมท่ี

เหมาะสม

ตัวชวี้ ดั
ว ๑.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๔
ว ๑.๒ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๔ ม.๔-๖/๕ ม.๔-๖/๖ ม.๔-๖/๗ ม.๔-๖/๘ ม.๔-๖/๙

ม.๔-๖/๑๐ ม.๔-๖/๑๑ ม.๔-๖/๑๒

ว ๑.๓ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๔ ม.๔-๖/๕ ม.๔-๖/๖

รวมท้ังหมด ๒๒ ตัวช้ีวัด

๔๕

คาอธิบายรายวชิ า

รหสั วชิ า ว ๓๑๑๐๔ วิชา โลกและอวกาศ กลุมํ สาระการเรียนรว๎ู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๔ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง จานวน ๑.๐ หนํวยกิต

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษา วิเคราะห์ การเกดิ และววิ ัฒนาการของเอกภพ กาแลกซี และระบบสุริยะ ววิ ัฒนาการและ

พลงั งานของดาวฤกษ์ ววิ ัฒนาการของการสงํ ดาวเทียมโคจรรอบโลก ประโยชนจ์ ากการใชเ๎ ทคโนโลยีอวกาศ

โครงสร๎างทางธรณขี องโลก แผํนเปลอื กโลก การเคล่อื นทขี่ องแผํนเปลอื กโลกผลการเคลอ่ื นทขี่ องแผํนเปลือก

โลก ปรากฏการณ์ทางธรณี การหาอายุของหิน ลักษณะและอายขุ องซากดกึ ดาบรรพ์ เปรยี บเทยี บลาดับชน้ั หิน

และอายหุ นิ เพื่อศกึ ษาความเป็นมาของโลก การหมุนเวยี นของระบบลมของโลกและการหมุนเวียนของน้าใน

มหาสมทุ ร ปรากฏการณค์ วามแปรปรวนของอากาศ และการพยากรณอ์ ากาศเพอ่ื การวางแผนการดาเนนิ ชวี ิต

ใหส๎ อดคลอ๎ งกบั สภาพลมฟา้ อากาศ

โดยใชก๎ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการสบื เสาะหาความร๎ู การสารวจตรวจสอบ การสังเกต

การสืบคน๎ ข๎อมลู การออกแบบวางแผนลงมือปฏิบัติ และการอภปิ รายสรปุ เพื่อเสรมิ สร๎างเจตคติ คุณลกั ษณะท่ี

พึงประสงค์

เพ่อื ใหเ๎ กดิ ความรู๎ ความคิด ความเข๎าใจ สามารถส่ือสารสง่ิ ท่เี รียนรู๎ มีความสามารถในการตัดสนิ ใจนา

ความร๎ไู ปใช๎ในการดารงชีวิต มีจิตวทิ ยาศาสตร์ คุณธรรม จริยธรรม คํานิยมทีเ่ หมาะสมมีจิตสานกึ ในการ

อนรุ กั ษ์พลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล๎อม

ตวั ชวี้ ัด

๑. อธบิ ายการกาเนดิ และการเปล่ียนแปลงพลังงาน สสาร ขนาด อุณหภูมิของเอกภพหลังเกิดบิกแบงใน
ชวํ งเวลาตําง ๆ ตามวิวัฒนาการของเอกภพ

๒. อธิบายหลักฐานท่ีสนับสนุนทฤษฎีบิกแบง จากความสัมพันธ์ระหวํางความเร็วกับระยะทางของ

กาแล็กซี รวมทัง้ ข๎อมลู การคน๎ พบไมโครเวฟพนื้ หลังจากอวกาศ
๓. อธบิ ายโครงสรา๎ งและองคป์ ระกอบของกาแล็กซที างช๎างเผือก และระบตุ าแหนํงของระบบสุริยะพร๎อม

อธิบายเชื่อมโยงกบั การสังเกตเห็นทางชา๎ งเผือกของคนบนโลก
๔. อธิบายกระบวนการเกิดดาวฤกษ์ โดยแสดงการเปลี่ยนแปลงความดัน อุณหภูมิ ขนาดจากดาวฤกษ์

กอํ นเกิดจนเป็นดาวฤกษ์

๕. ระบปุ ัจจยั ทสี่ ํงผลตอํ ความสอํ งสวํางของ ดาวฤกษ์ และอธิบายความสัมพันธ์ระหวาํ งความสํองสวํางกับ
โชติมาตรของดาวฤกษ์

๖. อธบิ ายความสมั พันธ์ระหวํางสี อุณหภมู ผิ ิวและสเปกตรมั ของดาวฤกษ์
๗. อธบิ ายลาดับววิ ฒั นาการทีส่ ัมพันธ์กับมวลตงั้ ต๎น และวเิ คราะหก์ ารเปลย่ี นแปลงสมบัติบางประการของ
ดาวฤกษ์

๘. อธิบายกระบวนการเกิดระบบสุริยะ และการแบํงเขตบริวารของดวงอาทิตย์ และลักษณะของดาว
เคราะห์ทเ่ี ออื้ ตอํ การดารงชวี ติ

๙. อธิบายโครงสร๎างของดวงอาทิตย์ การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะ และสืบค๎นข๎อมูล วิเคราะห์ นาเสนอ
ปรากฏการณห์ รอื เหตกุ ารณท์ เ่ี กี่ยวขอ๎ งกับผลของลมสุรยิ ะ และพายุสุรยิ ะทม่ี ตี อํ โลกรวมทงั้ ประเทศไทย

๔๖

๑๐.สืบค๎นขอ๎ มลู อธิบายการสารวจอวกาศ โดยใชก๎ ล๎องโทรทรรศนใ์ นชํวงความยาวคล่ืนตําง ๆ ดาวเทียม
ยานอวกาศ สถานีอวกาศ และนาเสนอแนวคิดการนาความร๎ูทางด๎านเทคโนโลยีอวกาศมาประยุกต์ใช๎ ใน
ชีวิตประจาวนั หรือในอนาคต

๑๑.อธิบายการแบํงชั้นและสมบัติของโครงสร๎างโลก พรอ๎ มยกตัวอยาํ งข๎อมูลที่สนบั สนนุ
๑๒.อธบิ ายหลกั ฐานทางธรณีวทิ ยาที่สนับสนนุ การเคลือ่ นท่ขี องแผนํ ธรณี
๑๓.ระบุสาเหตุ และอธิบายรูปแบบแนวรอยตํอของแผํนธรณีท่ีสัมพันธ์กับการเคล่ือนที่ของแผํนธรณี
พร๎อมยกตวั อยํางหลักฐานทางธรณีวทิ ยาท่ีพบ
๑๔.อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิดภูเขาไฟระเบิด รวมท้ังสืบค๎นข๎อมูลพ้ืนที่เสี่ยงภัย ออกแบบและ
นาเสนอแนวทางการเฝา้ ระวงั และการปฏิบตั ิตนใหป๎ ลอดภัย
๑๕.อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกิด ขนาดและความรุนแรง และผลจากแผํนดินไหว รวมทั้งสืบค๎นข๎อมูล
พนื้ ท่ีเส่ียงภัย ออกแบบและนาเสนอแนวทางการเฝา้ ระวังและการปฏบิ ตั ิตนใหป๎ ลอดภัย
๑๖.อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิด และผลจากสึนามิรวมท้ังสืบค๎นข๎อมูลพ้ืนที่เส่ียงภัย ออกแบบและ
นาเสนอแนวทางการเฝ้าระวงั และการปฏิบัติตนใหป๎ ลอดภยั
๑๗.อธิบายปัจจยั สาคัญทีม่ ผี ลตอํ การได๎รบั พลังงานจากดวงอาทิตย์แตกตาํ งกนั ในแตํละบรเิ วณของโลก
๑๘.อธบิ ายการหมนุ เวียนของอากาศ ที่เปน็ ผลมาจากความแตกตํางของความกดอากาศ
๑๙.อธิบายทศิ ทางการเคลือ่ นท่ขี องอากาศ ทเี่ ป็นผลมาจากการหมุนรอบตัวเองของโลก
๒๐.อธิบายการหมนุ เวียนของอากาศตามเขตละตจิ ูด และผลทม่ี ีตอํ ภมู ิอากาศ
๒๑.อธิบายปจั จยั ท่ีทาให๎เกดิ การหมนุ เวียนของนา้ ผิวหน๎าในมหาสมทุ ร และรูปแบบการหมุนเวียนของน้า
ผิวหน๎าในมหาสมุทร
๒๒.อธบิ ายผลของการหมุนเวียนของอากาศและน้าผิวหน๎าในมหาสมุทรที่มีตํอลักษณะภูมิอากาศ ลมฟ้า
อากาศ สง่ิ มชี ีวิต และสิ่งแวดล๎อม
๒๓.อธิบายปัจจัยท่ีมีผลตํอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก พร๎อมท้ังนาเสนอแนวปฏิบัติเพื่อลด
กจิ กรรมของมนษุ ย์ ที่สํงผลตํอการเปลี่ยนแปลงภูมอิ ากาศโลก
๒๔.แปลความหมายสัญลักษณล์ มฟ้าอากาศท่สี าคญั จากแผนทอี่ ากาศ และนาข๎อมูลสารสนเทศตําง ๆ มา
วางแผนการดาเนนิ ชวี ิต ให๎สอดคล๎องกบั สภาพลมฟ้าอากาศ

รวมทงั้ หมด ๒๔ ตวั ชี้วัด

๔๗

คาอธบิ ายรายวชิ า

รหสั วชิ า ว๓๑๑๘๑ วิชาวทิ ยาการคานวณและการออกแบบ กลํมุ สาระการเรยี นร๎วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๔ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง จานวน ๑.๐ หนํวยกิต

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

การนาความร๎ูด๎านวิทยาการคอมพิวเตอร์สื่อดิจิทัลและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช๎แก๎ปัญหากับชีวิต

จรงิ การเพ่ิมมูลราคาให๎บรกิ ารหรือผลิตภัณฑ์การเกบ็ ข๎อมลู และการจัดเตรยี มขอ๎ มลู ใหพ๎ ร๎อมกับการประมวลผล

การวิเคราะห์ข๎อมูลทางสถิติการประมวลผลข๎อมูลและเคร่ืองมือการทาข๎อมูลให๎เป็นภาพการเลือกใช๎

แหลํงข๎อมูล โดยใช๎การเรียนรู๎ด๎วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู๎ การสารวจ

ตรวจสอบ สามารถนาความร๎ูและหลกั การไปใช๎ประโยชน์ เช่ือมโยง อธิบายปรากฎการณ์ หรือแก๎ปัญหาใน

ชีวิตปราจาวัน สามารถจัดกระทาและวิเคราะห์ข๎อมูล ส่ือสารส่ิงท่ีเรียนร๎ู มีความสามารในการตัดสินใจ

แก๎ปัญหา มีจติ วทิ ยาศาสตร์ เห็นคุณคาํ ของวทิ ยาศาสตร์ มีจรยิ ธรรม คุณธรรมและคํานิยมทเ่ี หมาะสม

การนาแนวคดิ เชงิ คานวณไปพัฒนาโครงงานทเ่ี ก่ียวกับชวี ิตประจาวัน เชํน การจัดการพลังงานอาหาร

การเกษตร การตลาด การค๎าขาย การทาธุรกรรม สุขภาพ และส่ิงแวดล๎อม การทาโครงงานการออกแบบ

และเทคโนโลยีสามารถดาเนินการได๎โดยเร่ิมจากการสารวจสถานการณ์ปัญหาที่สนใจเพื่อกาหนดหัวข๎อ

โครงงานแลว๎ รวบรวมข๎อมูลและแนวคดิ ที่เกี่ยวข๎องกับปัญหาการออกแบบแนวทางการแก๎ปัญหาวางแผนและ

ดาเนินการแก๎ปัญหา ทดสอบประเมินผลปรับปรุงแก๎ไขวิธีการแก๎ปัญหาหรือชิ้นงานและนาเสนอวิธีการ

แก๎ปัญหา โดยใชก๎ ารเรียนรู๎ด๎วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

การสืบเสาะหาความรู๎ การสารวจตรวจสอบ สามารถนาความร๎ูและหลักการไปใช๎ประโยชน์ เชื่อมโยง

อธบิ ายปรากฎการณห์ รอื แก๎ปัญหาในชีวิตประจาวัน สามารถจดั กระทาและวิเคราะหข์ ๎อมูล สื่อสารสิ่งที่เรียนร๎ู

มีความสามารถในการตัดสินใจแก๎ปัญหา มีจิตวิทยาศาสตร์ เห็นคุณคําของวิทยาศาสตร์ มีจริยธรรม

คณุ ธรรมและคํานยิ มทีเ่ หมาะสม

ตัวชีว้ ัด
ว ๔.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๑/๒ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๔ ม.๔-๖/๕
ว ๔.๒ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๔

รวมท้งั หมด ๙ ตัวช้ีวัด


Click to View FlipBook Version