The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ganwara.2545, 2021-03-31 13:22:17

e-book

e-book

Keywords: คำราชาศัพท์

คำราชาศัพท์

คำราชาศพั ทห์ มายถงึ คำศัพท์สำหรับพระราชา เปน็ ภาษาท่กี ำหนด และตกแต่งขึ้นใหส้ ุภาพ และ
เหมาะสม เพอื่ ใช้พดู ถึง หรอื พูดกบั พระมหากษตั รยิ ์ และพระบรมวงศานวุ งศ์ปัจจบุ ันน้ีหมายถึง คำสุภาพ
ทใี่ ช้กบั บคุ คลทคี่ วรเคารพ การรู้เร่อื งคำราชาศัพท์เปน็ การเรยี นร้ใู นการใชภ้ าษาใหถ้ ูกตอ้ งตามกาลเทศะ
และฐานะของบุคคล ภาษาไทยไดก้ ำหนดคำราชาศัพทข์ ้นึ ใช้ และมวี ิธกี ารใชต้ ามระเบยี บแบบแผนของ
ภาษาซงึ่ นับวา่ เป็นวฒั นธรรมอย่างหน่ึงทแี่ สดงออกทางด้านภาษา

คำราชาศัพทใ์ ชก้ บั ใครบา้ ง?
นอกจากพระราชาแล้ว เรายงั ใช้คำราชาศพั ท์กบั บคุ คลอื่นด้วย แลว้ บคุ คลทีเ่ ราควรจะใช้คำราชาศัพทด์ ว้ ย
มใี ครบา้ งล่ะ? ราชบัณฑติ ยสภา ไดก้ ำหนดเอาไว้ว่า เราจะตอ้ งใช้คำราชาศัพทก์ บั บคุ คลเหล่านีค้ รบั
๑.พระมหากษตั รยิ ์
๒.พระบรมวงศานวุ งศ์ (พระญาติของพระมหากษัตรยิ )์
๓.พระภกิ ษุ
๔.ขนุ นางข้าราชการ
๕.สภุ าพชน

ทม่ี าของคำราชาศพั ท์
ลกั ษณะของสงั คมไทยเปน็ สถานที่มคี วามผกู พันฉันพน่ี อ้ งนบั ถือกนั ดว้ ยวยั วฒุ ิ คณุ วฒุ ิ และชาตวิ ฒุ ิ
ลกั ษณะดงั กลา่ วจึงสะท้อนออกมา และปรากฏในภาษาไทย เช่น การใชภ้ าษาทสี่ ุภาพกบั ผู้ทีม่ วี ยั สงู กว่า
การใช้ภาษากนั เองกบั ผู้ที่สนทิ สนมกันหรือการใช้คำราชาศัพท์ กับพระมหากษตั รยิ ์และพระราชวงศ์ เป็น
ตน้ และในสังคมไทยสมยั กอ่ นเป็นสังคมที่ยกยอ่ งผนู้ ำ ผทู้ ่มี บี ุญญาธิการผทู้ ่ปี ระพฤตดิ ี และผ้ทู ช่ี ว่ ยเหลือ
ให้ความสุขแกร่ าษฎร จงึ ไดม้ กี ารใช้คำเพื่อยกยอ่ งเทดิ ทนู พระมหากษัตรยิ ์

คาํ ราชาศพั ท์หมวดร่างกาย

คำราชาศพั ทห์ มวดเครื่องใช้

ข้อสงั เกต
เกยี่ วกบั การใช้คำราชาศัพท์ ระดับพระมหากษตั ริยแ์ ละบรมวงศานวุ งศ์
คำนาม
1. ใช้คำ “พระบรม” หรอื “พระบรมราช” นำหนา้ คำนามที่สำคัญ ซึ่งสมควรจะเชดิ ชใู ห้เป็นเกยี รติ
ตวั อย่าง พระบรมราชโองการ
พระบรมราชปู ถัมภ์
พระบรมมหาราชวงั
พระบรมวงศานุวงศ์
2. ใชค้ ำ “พระราช” นำหนา้ คำนามที่ใชเ้ ฉพาะพระมหากษตั รยิ ์ซง่ึ ต้องการกล่าวไม่ให้ปนกับพระบรมวงศา
นวุ งศ์ ตวั อย่าง
พระราชลัญจกร
พระราชประวัติ
พระราชดำริ
พระราชทรัพย์
3. ใช้คำ “พระ” นำหนา้ คำนามท่ัวไปเพ่อื ให้แตกต่างจากสามญั ชน ตัวอย่าง
พระเก้าอี้
พระชะตา
พระโรค
พระตำหนัก
4. ใช้คำ “พระ” นำหนา้ คำนามทั่วไปเพอื่ ให้แตกตา่ งจากสามญั ชน

กริยา คำว่า “ทรง”

คำว่าทรง ทรง ตามดว้ ย คำนาม มคี วามหมายถงึ กษตั รยิ เ์ ทพเจา้

ตัวอยา่ ง ทรงธรรม ทรงชยั ทรงฉัตร หมายถงึ พระเจ้าแผน่ ดนิ

ทรงหงส์ หมายถงึ พระพรหม

ทรงโค หมายถงึ พระอศิ วร

ทรงครฑุ หมายถงึ พระนารายณ์

คำว่าทรง คำนาม ตามดว้ ย ทรง บอกให้ทราบว่า สิง่ นน้ั เป็นของพระมหากษัตรยิ ์ หรือพระบรมวงศานวุ งศ์
ตวั อยา่ ง เครื่องทรง รถพระท่ีนัง่ ทรง มา้ ทรง

คำวา่ ทรงตามดว้ ยนามราชาศพั ท์ ตัวอยา่ ง ทรงยนิ ดี ทรงฟงั ทรงนง่ิ
คำวา่ ทรงหมายถึงทำ ตวั อยา่ ง ทรงบาตร หมายถงึ ใสบ่ าตร

ทรงมา้ หมายถงึ ขม่ี า้
ทรงกรม หมายถงึ มีฐานนั ดรเปน็ เจา้ ต่างกรม

คำวา่ ทรงเม่ือใช้กบั กรยิ า “มี” และ “เป็น”
• ถ้าคำนามขา้ งหน้าเปน็ ราชาศัพท์ ไม่ตอ้ งใช้ทรง
ตัวอย่าง เปน็ พระราชโอรส มพี ระบรมราชโองการ
• ถา้ คำนามข้างหลงั เปน็ คำสามญั ต้องใช้ทรง
ตัวอย่าง ทรงเปน็ ประธาน ทรงมีทกุ ข์

การใชค้ ำว่า “พระ” “พระบรม” “พระราช”
“พระ” ใชน้ ำหนา้ คำนามท่เี ปน็ อวยั วะ ของใช้ เช่นพระชานุ พระนลาฏ พระขนง เป็นตน้
“พระบรม”ใชเ้ ฉพาะพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั เชน่ พระบรมราโชวาท พระบรมราชานเุ คราะห์ พระ
ปรมาภิไธย เปน็ ตน้
“พระราช” ใชน้ ำหน้าคำนาม แสดงวา่ คำนามนั้นเปน็ ของ พระมหากษตั รยิ ์ สมเด็จพระบรมราชนิ ี สมเดจ็ พระ
บรมโอรสาธิราช สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ เช่นพระราชประวตั ิ พระราชานญุ าต พระราชวโรกาส เป็นต้น
การใช้คำว่า “ทรง” มหี ลกั 3 ประการ คือ
นำหน้าคำนามสามญั บางคำทำให้เป็นกริยาราชาศพั ทไ์ ด้ เชน่ ทรงรถ ทรงดนตรี ทรงชา้ ง ทรงเคร่ือง เป็นตน้
นำหนา้ คำกรยิ าสามญั ทำใหเ้ ปน็ กรยิ าราชาศพั ท์ เช่นทรงว่ิง ทรงเจิม ทรงออกกำลงั กาย ทรงใช้ เปน็ ตน้
นำหนา้ คำนามราชาศพั ท์ทำให้เป็นกรยิ าราชาศัพท์ได้ เชน่ ทรงพระราชดำริ ทรงพระอักษร ทรงพระดำเนิน ทรง
พระราชนิพนธ์ เปน็ ต้นคำกริยาท่ีเป็นราชาศพั ทอ์ ยู่แลว้ ไมใ่ ช้ “ทรง” นำหนา้ เช่นเสวย เสดจ็ โปรด เปน็ ต้น
การใช้ราชาศัพท์ใหถ้ กู ต้องตามสำนวนไทย ไม่นยิ มเลยี นแบบสำนวนต่างประเทศ
ถา้ มาต้อนรับพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ตอ้ งใช้ว่า ประชาชนมาเฝา้ ฯ รบั เสดจ็ คำวา่ ”เฝ้าฯรับเสด็จ” ย่อมา
จาก”เฝ้าทลู ละอองธลุ พี ระบาทรับเสด็จ”ไม่ใชค้ ำวา่ ”ถวายการต้อนรบั ”
คำว่า”คนไทยมคี วามจงรกั ภกั ดี” หรอื ”แสดงความจงรกั ภักด”ี ใช้ได้ แตไ่ มค่ วรใชค่ ำวา่ “ถวายความจงรักภกั ด”ี
การใชค้ ำราชาศพั ท์ใหถ้ ูกต้องตามเหตผุ ล
คำวา่ “อาคันตุกะ” “ราชอาคนั ตกุ ะ” และ”พระราชอาคนั ตกุ ะ” ใชด้ ังนี้ คือใหด้ ูเจา้ ของบา้ นเปน็ สำคัญ เชน่ แขก
ของพระมหากษัตรยิ ์ ใชค้ ำวา่ ”ราช”นำหน้า ถา้ ไม่ใชแ่ ขกของพระมหากษัตรยิ ก์ ไ็ มต่ อ้ งมี”ราช”นำหน้า
ในการถวายสงิ่ ของแดพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ถ้าเป็นของเลก็ ยกไดก้ ็ใช้ “ทลู เกลา้ ฯ ถวาย”ถา้ เป็นของใหญ่
ยกไมไ่ ดใ้ ช้ “น้อมเกลา้ ฯ ถวาย”


Click to View FlipBook Version