The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กัญชาและกัญชงศึกษาเพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พิรุณ กุลชวาล, 2022-06-20 13:22:54

กัญชาและกัญชงศึกษาเพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด

กัญชาและกัญชงศึกษาเพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด

Keywords: กัญชาและกัญชงศึกษาเพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด

หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการดาเนินชีวติ
รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพ่อื ใช้เป็นยาอยา่ งชาญฉลาด

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรงุ เทพมหานคร
สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

2

คำนำ

หนังสือเรียนสาระทักษะการดาเนินชีวิต ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพ่ือใช้เป็นยา
อย่างชาญฉลาดระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จัดทาข้ึนเพื่อให้ผู้เรียนหลักสูตรรายวิชานี้ ใช้เป็นสื่อ
เอกสารในการศึกษาค้นคว้า และครูผู้สอนใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ ขณะพบกลุ่มจัดประสบการณ์การ
เรียนรู้ให้กับผู้เรียน ส่งผลให้ผู้เรียนมีความรู้ และเจตคติที่ถูกต้องในการใช้กัญชาและกัญชงเป็นยาใน
การรักษา หรอื ควบคมุ อาการของผูป้ ่วยในครอบครัว รวมทั้งผปู้ ว่ ยอน่ื ๆ ที่ต้องการคาแนะนาท่ีถูกตอ้ ง
นอกจากน้ียังส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะการแสวงหาความรู้ และทักษะการคิดวิเคราะห์อันเป็น
คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ที่สถานศึกษาต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนส่วนผู้ท่ีสนใจศึกษาความรู้เก่ียวกับ
กญั ชาและกัญชง ก็สามารถศึกษาเรียนรู้หนังสือเรียนฉบับนี้ได้ เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันและปัญญาใน
การใช้กัญชาและกัญชงเป็นยาอย่างรู้คุณค่าและชาญฉลาด ตลอดจนใช้เป็นเอกสารทางวิชาการเพ่ือ
การอ้างองิ ทเี่ กี่ยวขอ้ งกับกัญชาและกญั ชงไดอ้ ีกดว้ ย

เอกสารหนังสือเรียนเล่มน้ีประกอบด้วย คาแนะนาการใช้หนังสือเรียน โครงสร้างรายวิชา
มเี นือ้ หาจานวน 7 บท ได้แก่ (1) เหตใุ ดต้องเรยี นรู้กญั ชาและกัญชง (2) กญั ชาและกญั ชงพืชยาทีค่ วรรู้
(3) รู้จักโทษและประโยชน์ของกัญชาและกัญชง (4) กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับกัญชาและกัญชง
(5) กัญชาและกัญชงกับการแพทย์ทางเลือก (6) กัญชาและกัญชงกับการแพทย์แผนปัจจุบัน และ
(7) ใชก้ ัญชาและกญั ชงเปน็ ยาอยา่ งรูค้ ณุ คา่ และชาญฉลาด

ความสาเร็จของเอกสารหนงั สือเรียนเล่มนี้เกดิ ข้นึ จากวทิ ยากรพัฒนาหลกั สตู ร รายวิชา
ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพ่ือใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ท่ีได้
ออกแบบหนังสือเรียน ให้ความรู้ในการจัดทาหนังสือเรียน การตรวจสอบคุณภาพของเอกสารหนังสือเรียน
ซึ่งประกอบด้วย รองศาสตราจารย์ ดร.พัชรี ศรีสังข์ ผู้เช่ียวชาญด้านการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ข้าราชการบานาญ และนายสังคม โทปุรินทร์
ผู้เช่ียวชาญด้านการบริหารสถานศึกษา ผู้อานวยการสถานศึกษาเชี่ยวชาญ สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 ข้าราชการบานาญ และคณะผู้จัดทา ประกอบด้วย ผู้บริหาร และครู
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางรัก เขตบางกอกใหญ่ เขตราษฎร์บูรณะ
เขตบางบอน เขตจอมทอง เขตคลองสามวา และเขตประเวศ สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานครท่ีร่วมมือร่วมใจกันจัดทาหนังสือเรียนจนสาเร็จ
ขอขอบพระคุณ และขอขอบคุณทุกท่านเปน็ อยา่ งสงู

นายปรเมศวร์ ศริ ริ ตั น์
ผอู้ านวยการสานกั งานกศน.กทม.

3 หน้า
1
สารบญั 3
3
คาแนะนาการใชห้ นงั สือเรยี น 24
โครงสรา้ งรายวชิ า 24
26
สรุปสาระสาคัญ 27
ผลการเรยี นร้ทู ีค่ าดหวงั 27
ขอบข่ายเน้อื หา 29
สื่อประกอบการเรยี น 30
บทท่ี 1 เหตุใดต้องเรยี นรู้กญั ชาและกญั ชง 30
สาระสาคัญ 30
ผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวงั 37
ขอบข่ายเน้อื หา 40
สอ่ื ประกอบการเรียน 45
เรื่องท่ี 1 มุมมองกฎหมายการใชก้ ัญชาและกญั ชงในประเทศไทยและต่างประเทศ 46
เร่ืองที่ 2 มุมมองการใช้กญั ชาและกัญชงของประชาชนทั่วไป 47
เร่อื งที่ 3 สภาพการณ์ข้อมลู ท่ีเกี่ยวข้องกับกัญชาและกัญชงผ่านสอ่ื ออนไลน์ 50
เรื่องที่ 4 สภาพการณ์การใชก้ ัญชาและกัญชงในตา่ งประเทศ 52
เรื่องที่ 5 สภาพการณใ์ ช้กญั ชาและกัญชงในประเทศไทย 63
เรอ่ื งที่ 6 มุมมองการใช้กญั ชาและกญั ชงของบคุ ลากรทางการแพทย์ 66
เรอ่ื งที่ 7 มุมมองการใช้กญั ชาและกัญชงของผ้ปู ว่ ย 66
เรอ่ื งที่ 8 สภาพการณแ์ ละขน้ั ตอนการให้บรกิ ารคลนิ ิกกญั ชาในประเทศไทย 68
กจิ กรรมท้ายบท 69
บทท่ี 2 กัญชาและกญั ชงพืชยาท่คี วรรู้ 69
สาระสาคญั 69
ผลการเรยี นรูท้ ค่ี าดหวงั 72
ขอบข่ายเนอื้ หา 86
ส่ือประกอบการเรยี น 87
เรื่องที่ 1 ประวตั คิ วามเป็นมาของพชื กญั ชาและกัญชง 96
เรอื่ งท่ี 2 ความรู้เบ้อื งต้นเก่ียวกับพืชกัญชาและกัญชง
เรอ่ื งท่ี 3 พืชกญั ชาและกัญชงคอื อะไรแตกตา่ งกนั อย่างไร
เร่ืองท่ี 4 การใชพ้ ืชกัญชาและกัญชงในชีวติ ประจาวันของคนในโลก
กิจกรรมท้ายบท

4 หนา้
99
สารบัญ (ตอ่ ) 99
100
บทท่ี 3 รจู้ ักโทษและประโยชน์ของกัญชาและกัญชง 100
สาระสาคญั 100
ผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวัง 101
ขอบข่ายเน้ือหา 107
สื่อประกอบการเรยี น 110
เรอ่ื งที่ 1 โทษของกญั ชาและกญั ชง 113
เรอ่ื งท่ี 2 ประโยชน์ของกัญชาและกญั ชงทางการแพทย์ 113
กจิ กรรมท้ายบท 119
120
บทที่ 4 กฎหมายที่เก่ียวข้องกับกญั ชาและกญั ชง 120
สาระสาคญั 121
ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวัง 122
ขอบข่ายเน้ือหา 125
สอื่ ประกอบการเรยี น 129
เร่อื งท่ี 1 พระราชบญั ญัติยาเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. 2522 133
เรื่องที่ 2 พระราชบัญญัติวตั ถุออกฤทธติ์ ่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559 137
เรอ่ื งท่ี 3 พระราชบญั ญัตยิ าเสพติดให้โทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2562 143
เรื่องท่ี 4 ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ท่ีเกี่ยวข้องกบั กญั ชาและกัญชง 146
เรอื่ งท่ี 5 ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ 151
เรอื่ งท่ี 6 พระราชบญั ญัติสิทธิบัตรกบั กญั ชาและกัญชง 154
เรื่องท่ี 7 ข้อปฏิบัตทิ ่ีต้องทาตามกฎหมายท่ีเกยี่ วข้องกับกญั ชาและกญั ชง 157
เรอ่ื งที่ 8 โทษของการฝา่ ฝืนกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับกัญชาและกญั ชง 157
เรอื่ งท่ี 9 กฎหมายระหว่างประเทศเกยี่ วกบั กญั ชาและกัญชง 158
กจิ กรรมท้ายบท 158
159
บทที่ 5 กัญชาและกญั ชงกับการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก 159
สาระสาคัญ 160
ผลการเรียนร้ทู ี่คาดหวัง
ขอบข่ายเน้อื หา
สื่อประกอบการเรยี น
เรื่องที่ 1 ประวัตคิ วามเปน็ มาการใช้กญั ชาเป็นยาทางการแพทยใ์ นตา่ งประเทศ
เรื่องที่ 2 ประวัตคิ วามเปน็ มาการใชก้ ัญชาในการแพทย์ทางเลอื กของไทย

5 หนา้

สารบญั (ตอ่ ) 175
204
เรอ่ื งที่ 3 ตารับยาท่ีมีกัญชาเป็นส่วนประกอบทไี่ ด้มีการคดั เลอื กและรับรองโดย 211
กระทรวงสาธารณสขุ 214
217
เรื่องที่ 4 ภูมภิ เู บศรรวบรวมและเผยแพรภ่ ูมปิ ัญญาไทย 217
เรอ่ื งท่ี 5 ภมู ิปัญญาหมอพ้ืนบ้าน นายเดชา ศริ ิภัทร 220
กจิ กรรมท้ายบท 220
บทท่ี 6 กัญชาและกัญชงกบั การแพทย์แผนปัจจุบนั 221
สาระสาคัญ 221
ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวัง 224
ขอบข่ายเนือ้ หา 230
สื่อประกอบการเรยี น 234
เรื่องท่ี 1 ประวตั กิ ารใชก้ ัญชาและกญั ชงทางการแพทย์แผนปัจจุบนั 239
เร่ืองท่ี 2 กัญชาและกัญชงทีช่ ่วยบรรเทาโรคแผนปัจจุบนั
เร่อื งท่ี 3 การใช้น้ามันกัญชาและกญั ชงกบั การแพทย์แผนปัจจุบนั 241
เรอ่ื งที่ 4 ผลติ ภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ 242
เรื่องที่ 5 การใชผ้ ลิตภัณฑก์ ัญชาและกัญชงให้ได้ประโยชนท์ างการแพทยใ์ นปจั จบุ ัน 246
เร่อื งท่ี 6 การใชผ้ ลิตภณั ฑ์กญั ชาและกัญชงทางการแพทยน์ ่าจะไดป้ ระโยชน์ในการ 246
249
ควบคมุ อาการ 249
กิจกรรมท้ายบท 249
บทที่ 7 ใช้กญั ชาและกญั ชงเป็นยาอย่างรู้คุณค่าและชาญฉลาด 250
สาระสาคัญ 257
ผลการเรยี นรู้ทค่ี าดหวัง 258
ขอบข่ายเนือ้ หา 259
สื่อประกอบการเรยี น 260
เร่อื งที่ 1 ความเชื่อและความจริงเก่ียวกับกญั ชาและกัญชงทางการแพทย์ 263
เรอ่ื งที่ 2 การใชผ้ ลิตภณั ฑ์กญั ชาและกญั ชงทางการแพทย์ในอนาคตให้ได้ประโยชน์ 263
เรื่องที่ 3 ข้อแนะนากอ่ นตัดสินใจใช้ผลิตภณั ฑ์กญั ชาและกัญชงทางการแพทย์
เรอ่ื งท่ี 4 การวางแผนการรักษาดว้ ยผลิตภณั ฑ์กัญชาและกัญชง
เรอ่ื งท่ี 5 การเริม่ ใช้ผลิตภณั ฑ์กญั ชาและกัญชงในทางการแพทย์
เรื่องท่ี 6 ข้อห้ามใช้ผลิตภัณฑ์ทมี่ สี าร THC และ CBD เปน็ ส่วนประกอบ
เรอ่ื งท่ี 7 ข้อควรระวงั เกย่ี วกับการใชผ้ ลติ ภัณฑ์กญั ชาและกัญชง

6 หนา้
272
สารบัญ (ตอ่ ) 272
274
เรื่องท่ี 8 ข้อหา้ มในการใช้กญั ชาและกัญชง 277
เรื่องท่ี 9 การถอนพิษเบ้ืองตน้ จากการเมากัญชาและกัญชง 291
กิจกรรมท้ายบท 292
บรรณานกุ รม 294
ภาคผนวก 300
ก นิยามศัพท์ 303
ข เฉลยกิจกรรมทา้ ยบท
ค การอนุมตั ิใช้หนงั สอื เรียน
ง รายชื่อคณะทางานจดั ทาสื่อหนังสือเรียน

7

สารบัญภาพ หนา้
41
ภาพที่ 42
1 ข่าวใช้น้ามันกัญชา “หยอดแล้วตาย” ทางอินเทอรเ์ น็ต 43
44
ภาพ 2 ข่าวหมอพืนบา้ นกบั ราชกิจจานุเบกษา ทีร่ ับรองหมอพืนบ้าน จาก Facebook 55
ภาพ 3 ข่าวการระดมความคดิ เตรยี มปลูกกัญชา จาก Line 55
ภาพ 4 ข่าวที่เกย่ี วข้องกับกัญชาทาง Youtube 55
ภาพ 5 โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภัยภเู บศร 56
ภาพ 6 ป้ายชอ่ื โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภเู บศร 56
ภาพ 7 ปา้ ยชอ่ื คลนิ ิกกญั ชาทางการแพทย์ 56
ภาพ 8 แพทยผ์ เู้ ชย่ี วชาญ 56
ภา 9 แพทยใ์ ห้คา้ ปรึกษาคนไข้ 57
ภา 10 คณะแพทย์และเภสชั กรผูใ้ หก้ ารรักษา 58
ภา 11 ผ้ปู ว่ ยทเ่ี ขา้ รับการรักษา 59
ภา 12 ตวั อยา่ งหนงั สอื สา้ คัญ ผลติ ซ่งึ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท 5 59
ภา 13 ตวั อยา่ งหนงั สือสา้ คัญ จ้าหน่ายซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท 5 61
ภา 14 ต้ารบั ยากญั ชาแผนปัจจบุ นั ยานา้ มันหยดใตล้ ิน 73
ภา 15 ผลิตภณั ฑ์น้ามนั กัญชา โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภยั ภเู บศร 75
ภา 16 ขันตอนการให้บรกิ ารคลินกิ กัญชา 78
ภา 17 พืชกัญชา (Cannabis sativa L.) 78
ภา 18 การจ้าแนกกัญชาออกเปน็ 3 ชนดิ ย่อย ตามถ่นิ กา้ เนิดและลักษณะทางกายภาพ 79
ภา 19 ภาพแสดงถ่ินก้าเนิด 79
ภา 20 ตน้ ตวั ผู้ 82
ภา 21 ตน้ ตวั เมยี 83
ภา 22 ตน้ กะเทย 88
ภา 23 ชอ่ ดอกของกัญชาเพศเมียเม่ือส่องด้วยกล้องขยายจะเห็นไทรโครมอยูบ่ นชอ่ ดอก 89
ภา 24 ภาพแสดงชวี ะสงั เคราะห์ของสารคานาบินอยด์ 89
ภา 25 ดอกกญั ชาแห้ง
ภา 26 Crystalline
ภา 27 Distillate

8

สารบญั ภาพ (ตอ่ ) หนา้
89
ภาพที่ 90
ภา 28 Live Resin 90
ภ 29 Shatter 90
ภา 30 Budder 91
ภา 31 Snap 91
ภา 32 Honeycomb 91
ภา 33 Crumble 92
ภา 34 Sap 92
ภา 35 PHO 92
ภา 36 Hash oil 93
ภา 37 Charas 94
ภา 38 อาหารทมี่ สี ว่ นผสมสารกัญชา 121
ภา 39 Hemp seed oil 123
ภา 40 ความหมายของยาเสพตดิ 124
ภา 41 พระราชบัญญัตวิ ัตถอุ อกฤทธิ์ตอ่ จิตและประสาท พ.ศ. 2559 125
ภา 42 ประเภทของวตั ถุออกฤทธิ์ตอ่ จิตประสาท 127
ภา 43 กัญชายังคงเป็นยาเสพตดิ 129
ภา 44 ใครปลกู กัญชาไดบ้ ้าง 130
ภา 45 กา้ หนดตา้ รับกัญชาท่ีใหเ้ สพเพ่ือรักษาโรคได้ 132
ภา 46 ผู้ประกอบวชิ าชพี แผนไทยทีส่ ามารถปรงุ หรือสงั่ จ่ายต้ารับยาท่ีมกี ัญชาผสมอยูไ่ ด้ 135
ภา 47 เงอ่ื นไขการยกเลิก กัญชาและกัญชง ออกจากยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท 5 138
ภา 48 ลักษณะกญั ชง 139
ภา 49 ความหมายของสิทธบิ ัตร 140
ภา 50 ความหมายของสิทธิบัตรการประดิษฐ์ 141
ภา 51 ขันตอนการด้าเนินการขอรบั สิทธิบัตร 142
ภา 52 ตัวอย่างสิทธิบัตรการประดิษฐ์ 143
ภา 53 คา้ ขอสิทธบิ ัตรกญั ชา ท่ีกรมทรพั ยส์ นิ ทางปัญญายังไมย่ กเลิก
ภา 54 โทษของการโพสต์ภาพ หรือ ขอ้ ความ เพื่อโฆษณายาเสพติด

9

สารบัญภาพ (ตอ่ )

ภาพที่ หนา้
ภา 55 นโยบายการแก้ไขปัญหายาเสพตดิ แนวใหม่ 145
ภา 56 บทลงโทษการฝา่ ฝืนกฎหมายที่เกีย่ วข้องกบั กญั ชา 147
ภา 57 บิดเบือนฉลากอาหาร ฉลากยา มีความผิด 148
ภา 58 ชุดตา้ ราภูมิปญั ญาการแพทย์แผนไทยฉบบั อนรุ กั ษ์ไทยคัมภรี ์ธาตุพระนารายณ์
161
ฉบบั ใบลาน (ตา้ ราพระโอสถพระนารายณ์) 165
ภา 59 ตา้ รบั ยาทอ่ี ยู่ในแผ่นศลิ าวัดพระเชตุพนวิมลมงั คลาราม 170
ภ 60 จารกึ ต้ารายา วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร 171
ภา 61 จารกึ แผ่นสูญหาย แผ่นท่ี 4 173
ภา 62 ตา้ ราเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง รชั กาลที่ 5 173
ภา 63 คมั ภีรป์ ฐมจนิ ดา 174
ภา 64 คมั ภีรม์ หาโชตรัต 174
ภา 65 คัมภรี ช์ วดาร 175
ภา 66 คมั ภีร์กระษัย 176
ภา 67 กระทรวงสาธารณสุข 202
ภา 68 ตัวอยา่ งบรรจุภณั ฑต์ ้ารับยาศุขไสยาศน์ 203
ภา 69 ตา้ รับยาแผนไทยทม่ี ีกญั ชาเป็นสว่ นผสม จ้านวน 16 ต้ารับ (ภาพที่ 1) 203
ภา 70 ต้ารบั ยาแผนไทยท่ีมีกัญชาเป็นส่วนผสม จ้านวน 16 ต้ารบั (ภาพที่ 2) 205
ภา 71 ภมู ภิ ูเบศร 205
ภา 72 เรอื นหมอพลอย ภูมภิ ูเบศร 206
ภา 73 สวนสมนุ ไพรและภมู ปิ ัญญาสุขภาพ สรา้ งความรอบรู้สุขภาพดว้ ยแพทยแ์ ผนไทย 207
ภา 74 สมนุ ไพรและภมู ิปญั ญาสุขภาพ สรา้ งความรอบรสู้ ขุ ภาพดว้ ยแพทย์แผนไทย 211
ภา 75 โครงการปลกู กัญชาเพ่ือใชป้ ระโยชน์ทางการแพทยโ์ ดยระบบปิด 212
ภา 76 ภูมปิ ญั ญานายเดชา ศริ ิภทั ร 231
ภา 77 ตวั อย่างนา้ มนั กัญชา โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร 232
ภา 78 น้ามนั กัญชาทัง 3 สตู รขององค์การเภสชั กรรม (GPO) 235
ภา 79 โดรนาบนิ อล (Dronabonol)

10 หน้า
235
สารบัญภาพ (ตอ่ ) 236
237
ภาพท่ี 238
ภา 80 นาบโิ ลน (Nabilone) 238
ภา 81 ซาติเวกซ์ (Satavex)
ภา 82 เอพดิ ิโอเล็กซ์ (Epidiolex)
ภา 83 นา้ มนั กัญชาในรปู แบบคุกกสี า้ หรับสุนขั
ภา 84 นา้ มันกญั ชาสา้ หรับรักษาสตั ว์

คำแนะนำกำรใชห้ นังสือเรียน

กกกกกกกหนงั สือเรยี นสาระทักษะการดาเนินชีวิต รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพ่อื ใช้
เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นส่ือเอกสารการเรียนรู้สาหรับผู้เรียน
ที่ลงทะเบียนเรียนหลักสูตรรายวิชานี้ ใช้ศึกษาค้นคว้านาข้อมูลที่ได้มาแลกเปล่ียนเรียนรู้กับเพื่อน
ผู้เรียน และครูผู้สอนขณะมาพบกลุ่ม นอกจากนี้ผู้ท่ีสนใจต้องการศึกษาค้นคว้าความรู้ที่เกี่ยวข้อง
กับการใช้กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ ก็สามารถใช้เป็นเอกสารอ้างอิงทางวิชาการได้อีกด้วย ส่วน
ผูเ้ รียนตอ้ งปฏิบัติตามขน้ั ตอนที่กาหนดไว้ในคาแนะนาการใช้หนังสือเรียน เพือ่ ใหม้ คี วามรู้ และเจตคติ
ทถี่ กู ตอ้ งในการใช้กัญชาและกัญชงทางการการแพทย์ สามารถนาไปใช้เป็นประโยชน์ในชีวิตจริง ไดแ้ ก่
ใช้กับตนเอง การให้คาแนะนาแก่บุคคลอื่น ๆ รวมทั้งผู้ท่ีประสงค์ท่ีจะใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง
รักษาโรคท่ีบุคคลเหล่านั้นเป็นอยู่ได้อย่างถูกต้อง ส่งผลให้ผู้เรียนบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ของ
หลกั สูตรน้ีได้
กกกกกกก1. ขน้ั ตอนการใชห้ นงั สอื เรยี น มี 2 ขัน้ ตอน ดงั น้ี
กกกกกกกกก ขั้นตอนท่ี 1 ให้ผู้เรียนศึกษาหัวข้อโครงสร้างรายวิชา ประกอบด้วย สรุปสาระสาคัญ
ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง ขอบข่ายเนื้อหา และสื่อประกอบการเรียน ให้เข้าใจก่อนท่ี จะศึกษา
รายละเอียดเนื้อหาของหนงั สือเรยี น จานวน 7 บทเรยี น ในลาดบั ถัดไป
กกกกกกกกก ขั้นตอนท่ี 2 ให้ผู้เรียนศึกษารายละเอียดของเนื้อหาในแต่ละบท โดยมีแนวปฏิบัติ
จานวน 7 ข้อ ดังต่อไปน้ี
กกกกกกกกก ขอ้ 1 ศึกษาสาระสาคัญของบทที่นั้น ๆ กอ่ นเปน็ ลาดับแรก
กกกกกกกกก ข้อ 2 ศึกษาผลการเรยี นรูท้ คี่ าดหวังท่ีต้องการให้เกิดขึ้นกับผเู้ รยี นในลาดับตอ่ มา
กกกกกกกกกข้อ 3 ศึกษาขอบข่ายของเน้ือหาของบทท่ีน้ัน ๆ ว่ามีเน้ือหาจานวนเรื่องเท่าใด เพ่ือให้ให้เห็น
ภาพรวมของเน้ือหาของบทน้ัน ๆ ก่อน จะทาใหก้ ารเรยี นรใู้ นภาพรวมมีความชัดเจนมากย่ิงข้ึน
กกกกกกกกก ข้อ 4 ศึกษาส่ือประกอบการเรียนของเน้ือหาบทท่ีน้ัน ๆ ซ่ึงจะช่วยให้ผู้เรียนที่ต้องการ
ศึกษาคน้ คว้าเพิม่ เติมไดก้ วา้ งขวางและลมุ่ ลกึ มากขึน้
กกกกกกกกก ข้อ 5 ศึกษารายละเอียดของเรื่องในเน้ือหาบทที่น้ัน ๆ ให้เข้าใจอย่างชัดเจน ก่อนท่ี
จะทากิจกรรมทา้ ยบทของทุกบท ทงั้ 7 บท
กกกกกกกกก ข้อ 6 เม่ือปฏิบัติกิจกรรมท้ายบททุกกิจกรรมเสร็จสิ้นแล้ว ให้ผู้เรียนตรวจสอบคาตอบ
กิจกรรมท้ายบทในภาคผนวก ข. ของหนังสือเรียนเล่มนี้ หากผู้เรียนตรวจสอบคาตอบของเฉลย
กิจกรรมท้ายบทแลว้ พบวา่ ไมถ่ กู ตอ้ ง ใหผ้ ู้เรยี นกลบั ไปอา่ นทบทวนเน้ือหาเรื่องนั้น ๆ ของบทท่ีศึกษา
ใหม่อีกคร้ังหน่ึง แล้วจึงมาฝึกปฏิบัติทากิจกรรมข้อน้ัน ๆ ซ้าใหม่อีกรอบหนึ่ง เพ่ือความเข้าใจอย่าง
ชัดเจนในเนือ้ หาของเร่อื งนนั้ ๆ ก่อนท่จี ะไปศึกษาในบททตี่ ่อไป

2

2

กกกกกกกกก ข้อ 7 ผู้เรียนสามารถนาผลของการฝึกปฏิบัติกิจกรรมท้ายบทไปพูดคุยแลกเปลี่ยนกับ
เพือ่ นผเู้ รียน หรอื กบั ครูผ้สู อนหลกั สูตรรายวชิ าน้ีขณะพบกลมุ่ เพ่ือช่วยเสรมิ ความรู้ ความเข้าใจ ให้กบั
ผู้เรียนได้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา
เพื่อใช้เปน็ ยาอยา่ งชาญฉลาด ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ได้
กกกกกกก2. เนอื้ หาของหนงั สือเรยี นเลม่ น้ี ประกอบดว้ ย 7 บท ดังนี้
กกกกกกกกก บทท่ี 1 เหตุใดต้องเรียนรกู้ ัญชาและกญั ชง
กกกกกกกกก บทที่ 2 กญั ชาและกัญชงพชื ยาทีค่ วรรู้
กกกกกกกกก บทที่ 3 ร้จู กั โทษและประโยชน์ของกญั ชาและกญั ชง
กกกกกกกกก บทที่ 4 กฎหมายท่ีเกยี่ วข้องกับกญั ชาและกัญชง
กกกกกกกกก บทท่ี 5 กัญชาและกัญชงกบั การแพทย์ทางเลือก
กกกกกกกกก บทที่ 6 กญั ชาและกัญชงกบั การแพทย์แผนปัจจุบนั
กกกกกกกกก บทที่ 7 ใช้กญั ชาและกญั ชงเป็นยาอย่างรู้คุณค่าและชาญฉลาด

3

โครงสรา้ งรายวิชา

สรปุ สาระสาคัญ

บทท่ี 1 เหตใุ ดต้องเรียนรูก้ ัญชาและกญั ชง
กกกกกกก1. 1. มุมมองกฎหมายการใชก้ ัญชาและกัญชงในประเทศไทยและต่างประเทศ

กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับการใช้กัญชาและกัญชงในประเทศไทยและต่างประเทศ
เพื่อเปิดโอกาสให้สามารถนากัญชา ไปทาการศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ และ
สามารถนาไปใช้ในการรักษาโรคภายใต้การดูแลและควบคุมของแพทย์ได้ ในต่างประเทศ ได้แก่
ประเทศอุรุกวัย แคนาดา เนเธอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย อิสราเอล และมาเลเซีย
แต่ในบางประเทศ เช่น ประเทศแคนาดา หรือในบางรัฐของประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศ
ทางยโุ รป เป็นตน้ มีการอนุญาตให้ใชก้ ัญชาเพอื่ การนันทนาการได้อกี ด้วย
กกกกกกก1. 2. มมุ มองการใชก้ ญั ชาและกัญชงของประชาชนทั่วไป

2.1 มิตกิ ารระบาดของกัญชาและกญั ชง
กกกกกกก ในประเทศไทยมีการแพร่กระจายของการนานามันกัญชา มาใช้ในการรักษาโรค
ต่าง ๆ ตามความเชื่อของประชาชน ซึ่งการใช้นามันกัญชาในปัจจุบันโดยส่วนมากเป็นการแอบซือมา
ใช้โดยไม่ทราบแหล่งที่มา และไม่ทราบว่าใช้กัญชาในการผลิตมากน้อยเพียงใด ไม่มีการควบคุม
คุณภาพและความปลอดภัย หลังจากท่ีประชาชนนาไปใช้ ทาให้ได้รับผลข้างเคียงจากการใช้นามัน
กัญชา และในต่างประเทศท่ัวโลก มุ่งหน้าสู่การทาให้กัญชาเป็นส่ิงถูกกฎหมาย ในรูปแบบใดรูปแบบ
หน่ึง ในหลายประเทศพยายามจะก้าวตามให้ทัน ซึ่งจะเห็นได้หลายแห่งในภูมิภาคลาติน
อเมริกา รัฐบาลอยากให้ชาวไร่ สามารถเข้าถึงการปลูกกัญชาเพื่อการแพทย์มากขึน เพราะได้ผลกาไร
ดี และเปน็ ตลาดท่กี าลงั เจรญิ เตบิ โต

2.2 ความเช่ือท่เี กย่ี วขอ้ งกบั กญั ชาและกญั ชงในวิถีชีวิต
ความเช่ือในประเทศไทยและต่างประเทศ มีลักษณะคล้ายคลึงกันในการนากัญชา
มาใช้ในการปรงุ อาหารเพ่ือเพิ่มรสชาติ ในขณะท่ีประเทศไทยมีความเชื่อว่ากัญชาเป็นส่วนผสมของยา
พืนบ้านใช้ประโยชน์ทางยาได้ ส่วนในต่างประเทศจะใช้นามันกัญชาเพื่อรักษาโรคและบรรเทาอาการ
ปว่ ย ผู้ที่คดิ จะนาน้ามันกัญชาไปใช้จึงควรตระหนักถึงโทษอันตรายท่ีอาจจะเกดิ ข้ึนกบั ตนเอง หรือ
ผู้มีสว่ นเก่ียวขอ้ งได้
2.3 การสารวจความคิดเห็นของประชาชน
จากผลการสารวจเร่ือง “คนไทยคิดเห็นอย่างไร กับการนากัญชามาใช้เป็นยารักษา
โรค” พบว่าประชาชนส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการผลักดันให้มีการนากัญชามาใช้เป็นยารักษาโรคใน

4

ประเทศไทย เรื่อง “กัญชาประโยชน์หรือโทษ” พบว่าประชาชนส่วนใหญ่เห็นด้วย เพราะกัญชามี
ประโยชนห์ ลายอย่าง สามารถใชใ้ นการรักษาโรคได้ ถ้านามาใชท้ างการแพทย์คาดวา่ จะเกิดประโยชน์
อย่างมาก และเร่ือง “การอนุญาตให้ใช้กัญชาและกระท่อมในทางการแพทย์” พบว่าประชาชนส่วน
ใหญ่ รับทราบข้อมูลเก่ียวกับการอนุญาตให้ใช้ประโยชน์จากกัญชาและกระท่อมทางการแพทย์ ใน
พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562
กกกกกกก1. 3. สภาพการณ์ข้อมลู ท่ีเก่ยี วขอ้ งกับกัญชาผา่ นสื่อออนไลน์
ข้อมูลที่เก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชงผ่านสื่อออนไลน์ มีทังข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต (Internet) เฟซบุ๊ก
(Facebook) ไลน์ (Line) และยูทูบ (YouTube) ขอ้ มลู เหล่านี ทาให้ประชาชนเข้าถึงได้งา่ ย แต่ยังขาด
การคิดวิเคราะห์ว่าข้อมูลใดมีความน่าเช่ือถือ จึงควรมีความรู้ในการคิดวิเคราะห์แยกแยะข้อมูลท่ี
สืบค้นไดผ้ ่านส่อื ออนไลน์ และตระหนกั ถึงความสาคัญของการคดิ วิเคราะห์แยกแยะข้อมลู ทีถ่ ูกต้อง
กกกกกกก1. 4. สภาพการณ์การใชก้ ัญชาและกญั ชงในต่างประเทศ
ก า ร ใ ช้ กั ญ ช า แ ล ะ กั ญ ช ง ใ น ต่ า ง ป ร ะ เท ศ ใ ช้ เ ส รี ไ ด้ เ พื่ อ นั น ท น า ก า ร มี อ ยู่
ในประเทศอุรุกวัย แคนาดา สหรัฐอเมริกาเป็นบางรัฐ สเปนใช้ในพืนท่ีส่วนตัว เนเธอร์แลนด์ใช้ในร้าน
กาแฟ ในขณะท่ีประเทศอ่ืน ๆ มากกว่า 30 ประเทศ ให้ใช้กัญชาในทางการแพทยร์ วมถึงประเทศไทย
ด้วย ส่วนการศึกษาและวิจัยเก่ียวกับกัญชาและกัญชง มีในต่างประเทศมานานแล้ว สาหรับประเทศ
ไทยยังไมม่ กี ารศกึ ษาวิจัยเน่อื งจากกญั ชาและกัญชงเปน็ ยาเสพติด จึงยังไม่มผี ลการวิจยั มารองรบั
กกกกกกก1. 5. สภาพการณ์การใช้กัญชาและกญั ชงในประเทศไทย
กระทรวงสาธารณสุข อนุญาตให้ใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์แผนปัจจุบัน ในการรักษาโรคภาวะ
คลื่นไส้อาเจียนในผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบาบัด โรคลมชักท่ีรักษายากและที่ดือต่อยารักษา ภาวะ
กล้ามเนือหดเกร็งในผู้ป่วยปลอกประสาทเสื่อมแข็ง ภ าวะปวดประสาทที่รักษาวิธีอื่น
ไมไ่ ด้ผล และให้ควบคุมอาการของโรคพาร์กินสนั อลั ไซเมอร์ โรควิตกกังวล โรคปลอกประสาทอักเสบ
และผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย ส่วนการแพทย์ทางเลือกได้คัดเลือก และรับรองตารับยาที่มีกัญชา
เปน็ สว่ นประกอบ ให้ผู้ปว่ ยใชไ้ ดโ้ ดยอย่ภู ายใตก้ ารควบคมุ ดแู ลของแพทย์ที่ไดร้ ับอนญุ าต
กกกกกกก1. 6. มุมมองการใช้กญั ชาและกัญชงของบุคลากรทางการแพทย์
บุคลากรทางการแพทย์ มีความคิดเห็นว่าหากจะใช้กัญชาและกัญชงในทางการแพทย์ต้องแจ้งให้
ชัดเจน ว่าใช้ได้กบั โรคใดท่ีได้ผลชัดเจน มีความปลอดภัยทางวิชาการ คุณภาพของสารสกัดจากกัญชา
และกัญชง ต้องระบุวิธีการสกัด หรือมีสารปนเป้ือนหรือไม่ การเข้าถึงอยา่ งเป็นระบบทังระยะสันและ
ระยะยาว รวมถึงมีการศึกษาเร่ืองความปลอดภัยการใช้ในคนและในมิติต่าง ๆ เพื่อให้แน่ใจว่าใช้แล้ว
ไม่เกิดการเสพติด หรอื มีการนาไปใช้ในทางท่ผี ิด ซ่ึงในการผลิตยานันไม่ได้ต้องการเพียงยาทีร่ ักษาโรค
เท่ า นั น แ ต่ ยั ง ต้ อ ง ก า ร ย า ที่ มี ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย มี ม า ต ร ฐ า น แ ล ะ มี คุ ณ ภ า พ

5

แม้กัญชาและกัญชงจะมีสรรพคุณเป็นยาท่ีเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยในบางโรค แต่ถ้าใช้กัญชาอย่าง
ไมถ่ กู ตอ้ ง และไม่มีการควบคุมก็จะเปน็ อันตรายทังต่อผใู้ ช้และสงั คม
กกกกกก.17. มุมมองการใช้กญั ชาและกัญชงของผู้ป่วย
ผู้ป่วยมีความคิดเห็นว่าการใช้กัญชาและกัญชงต้องคานึงถึงความจาเป็นและความต้องการของผู้ป่วย
โดยเฉพาะความพึงพอใจที่มีต่อการใช้ยา ในการจัดการอาการ เพ่ือบรรเทาอาการต่าง ๆ ของโรค
ถึงแม้ว่าจะเกิดอาการข้างเคียงที่เป็นผลลบบ้าง แต่อาการข้างเคียงดังกล่าวก็ขึนอยู่กับปริมาณการใช้
ยาท่มี กี ัญชาและกัญชงและความแตกต่างของแต่ละบุคคล
กกกกกกก1.8. สภาพการณ์และขนั ตอนการใหบ้ รกิ ารคลนิ กิ กัญชาในประเทศไทย
ป ร ะ เท ศ ไ ท ย เร่ิ ม ใ ห้ บ ริ ก า ร ค ลิ นิ ก กั ญ ช า ค รั ง แ ร ก เ มื่ อ วั น ท่ี 24 มิ ถุ น า ย น
พ.ศ. 2562 ที่โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร จังหวัดปราจีนบุรี ต่อมาวันที่ 17 สิงหาคม
พ.ศ. 2562 เปิดที่โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา และวันที่ 2 กันยายน
พ.ศ. 2562 ได้เปิดคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลศูนย์ จานวน 14 แห่ง ตลอดจน
ภายในปี พ.ศ. 2562 ได้มีการเปิดคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทยเพ่ิมเติมในโรงพยาบาลชุมชน
จานวน 12 แห่ง รวมทังเปิดคลินิกวิจัยนามันกัญชาตารับหมอเดชา จานวน 22 แห่งอีกด้วย
นอกจากนวี ันท่ี 20 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2562 กระทรวงสาธารณสุขเปิดคลินกิ กัญชาทางการแพทย์แผน
ปจั จุบัน 110 แห่ง และคลินิกกัญชาทางการแพทยแ์ ผนไทย 24 แห่งเพื่อเพิ่มการเข้าถงึ ยากัญชาอย่าง
ปลอดภยั ของผ้ปู ่วย
บทท่ี 2 กัญชาและกัญชงพชื ยาทค่ี วรรู้
กกกกกกก1. 1. ประวตั ิความเปน็ มาของพืชกัญชาและพชื กญั ชง
ป ร ะ วั ติ พื ช กั ญ ช า ใน ต่ า ง ป ร ะ เท ศ มี ก า ร น า ม า ใช้ ตั ง แ ต่ 1 0 ,0 0 0 ปี ม า แ ล้ ว น า ม า
ใช้ในการสูดดมควัน ใช้เส้นใยทาเสือผ้า ทาใบเรือและเชือกในการสร้างเรือ ใช้เป็นส่วนผสมในอาหาร
ใช้ในพิธีกรรมเกี่ยวกับศาสนา และการใช้เสพเพ่ือนันทนาการ จนกระทังจดสิทธิบัตรรักษาโรคทาง
ระบบประสาท สว่ นประเทศไทยใช้เป็นตารบั ยาในการรกั ษาโรค
กกกกกกก1. 2. ความรูเ้ บอื งตน้ เก่ยี วกบั พืชกญั ชาและพชื กญั ชง
กกกกกกก2.1 พฤกษศาสตร์ของพชื กัญชาและพืชกัญชง
พืชกัญชา มีชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Cannabis sativa L. เป็นพืชในวงศ์Cannabaceaeมีช่ือสามัญ
หลากหลายตามแต่ละทอ้ งถ่ินเป็นไม้ล้มลุกปีเดียว ลาต้นตังตรง สูงประมาณ 1-5 เมตรใบเดี่ยว มี 3 -
9 แฉก รูปฝ่ามือ เรียงสลับ ดอกแยกเพศผู้และเพศเมียอยู่ต่างต้นกัน (dioecious species) และมี
แบบต้นกะเทย คือ เพศผู้ และเพศเมียในต้นเดียวกัน (monoecious species) ออกดอกเป็นช่อตาม
ง่ามใบและปลายยอด ชอ่ ดอกเพศเมีย เรียกวา่ “กะหลี่กญั ชา” ผลแหง้ เมลด็ ลอ่ น เล็ก เรยี บสีนาตาล
กกกกกกก2.2 ชนิด (species) ของพชื กญั ชาและพืชกญั ชง

6

กัญชาและกัญชง นกั พฤกษศาสตร์จัดว่าเปน็ พืชในสปีชีส์ (species) เดียวกนั คือ Cannabis sativa L.
ซ่ึงจัดอยู่ในสกุล (genus) Cannabis และเป็นพืชในวงศ์ (family) Cannabaceaeแต่ในส่วนของ
องค์การอนามัยโลก (WHO)ได้แบ่งย่อยเป็น 2 ซับสปีชีส์ (subspecies) ได้แก่ Cannabis sativa
L.subsp.sativa (กัญชง, Hemp) ซ่ึงมักจะมีปริมาณ THC น้อยกว่าร้อยละ 0.3 ในใบและช่อดอกแห้ง (แต่ใน
บางครังอาจจะสูงถึงร้อยละ1)และCannabis sativaL.subsp.indica(กัญชา, Cannabis) ซึ่งมักจะพบ
ป ริ ม า ณ THC ม า ก ก ว่ า ร้ อ ย ล ะ 1ใ น ใ บ แ ล ะ ช่ อ ด อ ก แ ห้ ง ก า ร จ า แ น ก
พืชกัญชาและกัญชง โดยสังเกตจากลักษณะทางสัณฐานวิทยาทาได้ยาก เน่ืองจากสาร THC ในกัญชา
เปล่ียนแปลงได้ง่ายจากปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม นักวิชาการเกษตรด้านการปรับปรุงสายพันธุ์มักจะจาแนก
กัญชา และกัญชงออกเป็น 3 สายพันธุ์ ได้แก่ ซาติว่า(Cannabis sativa L.)อินดิก้า (Cannabis
indica Lam.)และรูเดอลาลิส (Cannabis ruderalisJanishch.) ซึ่งจาแนกตามลักษณะทางกายภาพ
ของพืช เชน่ ลักษณะใบ ความสูง ถ่ินกาเนิดที่พบ เปน็ ต้น
กกกกกกก2.3 องค์ประกอบทางเคมี และสารสาคัญที่พบในพืชกญั ชาและพืชกญั ชง
อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ท า ง เ ค มี ที่ พ บ ใ น พื ช กั ญ ช า แ ล ะ กั ญ ช ง มี ม า ก ก ว่ า 500 ช นิ ด
และมอี ยู่หลายกลุ่ม แตส่ ารทมี่ คี วามสาคัญทางยา คือ สารในกล่มุ แคนนาบนิ อยด์(cannabinoids/
Phytocannabinoids) พบมากบริเวณยางในไทรโครมของดอกเพศเมยี ท่ียงั ไม่ได้รับการผสมพันธ์ุ
(resin glandular trichomes)

2.3.1 สารสาคญั ท่พี บในพชื กัญชาและพืชกัญชง
2.3.1ก1) สารแคนนาบิเจอรอล (Cannabigerol, CBG)เป็นอนุพันธ์ของสาร CBGA เมื่อสาร CBGA ถูก
ความร้อนจะเปลี่ยนสภาพเป็นสาร CBG ดังนัน สาร CBG จึงสามารถตรวจพบได้ในพืชกัญชาและกัญ
ชง สาร CBGA เปน็ สารตน้ กาเนดิ ของสารทังหมดท่ีพบในพืชกัญชาและกัญชง เมื่อพืชโตขึน สาร CBGA นี
จะถูกเปล่ียนเป็นTHCA CBDA และสาร อ่ืน ๆ เม่ือสารถูกความร้อนหรือออกซิไดซ์ สาร CBGA THCA
และสาร CBDA จะเปลี่ยนสภาพเปน็ สาร CBG สาร THC และสาร CBD
2.3.1ก2) สารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol,THC)
เป็นสารที่มีฤทธิ์ทาให้มึนเมาออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง(psychoactive effect) ปริมาณ
ของ THC ในแต่ละส่วนของพืชมีปริมาณไม่เท่ากัน จะออกฤทธิ์กระตุ้นประสาททาให้ผู้เสพต่ืนเต้น
ช่างพูด หัวเราะอารมณ์ดี ต่อมาจะกดประสาทมีอาการคล้ายเมาเหล้าอย่างอ่อน ๆ เซื่องซึม ง่วง
นอน และหลอนประสาท โดยขึนอยู่กับปริมาณที่ได้รับ
2.3.1ก3) สารแคนนาบิไดออล (Cannabidiol, CBD)สารนีไม่มีผลต่อจิตและประสาท (non-
psychoactive) และช่วยลดผลข้างเคียงจาก THC ซึ่งเป็นสารที่มีคุณสมบัติมีขัวต่า ละลายได้ดีในนามัน
ดังนันการสกัดสารสาคัญจากกัญชา จึงมกั นิยมใช้ตัวทาละลายท่ีมีขัวต่า หรือนามันในการสกัด เพราะจะ
สามารถละลายเอาสารแคนนาบนิ อยดอ์ อกมาไดด้ ี

7

2.3.1ก4) สารออกฤทธิ์ที่ร่วมกับแคนนาบินอยด์เช่น สารในกลุ่มฟลาโวนอยด์และเทอร์ปีน เป็นสารท่ีช่วย
เสรมิ การออกฤทธิ์ทางยาแกส่ ารกลุ่มแคนนาบนิ อยด์
กกกกกกก1. 3. พืชกญั ชาและพชื กัญชงคืออะไร แตกตา่ งกันอยา่ งไร
กกกกกกก1. 2.3dพืชกัญ ชาและกัญ ชงมีชื่อวิทยาศาสตร์เดียวกันคือCanabis sativa L.
มีถิ่นกาเนิดมาจากพืชเดิมชนิดเดียวกัน ลักษณะภายนอก หรือสัณฐานวิทยาของพืชทังสองชนิดจึงมี
ความแตกตางกันนอยการแยกโดยสัณฐานวิทยาทาไดค้ ่อนข้างยาก ปัจจุบันพืชกญั ชาและกญั ชงแยกจาก
กนั โดยตัดสินจากปริมาณสาร THC ซ่ึงข้อกาหนดขององค์การอนามัยโลก (WHO) กาหนดกัญชงให้มี
ปริมาณ THC ไม่เกินร้อยละ 0.3 ในใบและช่อดอกแห้ง ส่วนกฎหมายของประเทศไทยกาหนดให้
กัญชงให้มีปริมาณ THC ไม่เกินร้อยละ 1.0 ในใบและช่อดอกแห้ง
กกกกกกก1. 4. การใชพ้ ืชกัญชาและพชื กัญชงในชีวิตประจาวนั ของคนในโลก
กกกกกกก1. 2.3d4.1 ผลิตภัณฑ์พืชกัญชาและกัญชงไม่แปรรูปเช่นดอกกัญชาแห้ง (Cannabis dries
flower) ในประเทศที่อนุญาตให้ใช้กัญชาทางการแพทย์ผู้ป่วยจะสามารถนาใบสั่งซือจากแพทย์ไปซือ
กญั ชาแห้งมาเพ่ือใชส้ บู หรือใช้เพอ่ื การรักษาได้
กกกกกกก1. 2.3d4.2 ผลิตภัณฑ์พืชกัญชาและกัญชงแปรรูปคือ ผลิตภัณฑ์จากพืชกัญชาและกัญชง
ท่ีแปรรูปเป็นสารสกัดเข้มข้น(Concentrates) ซึ่งมีหลายรูปแบบ และมีชื่อเรียกแตกต่างกันไป
ผลติ ภัณฑ์สารสกัดกัญชาจะใหส้ ารแคนนาบินอยด์ท่ีเข้มขน้ กวา่ ในรูปพชื แห้งแต่ทังสองรูปแบบสามารถ
นาไปใช้ประโยชน์ทงั ทางการแพทย์และเพ่อื การนันทนาการไดต้ ามกฎหมายของแตล่ ะประเทศที่มีการ
อนุญาตใหใ้ ช้
กกกกกกก1. 2.3d4.3 การบรโิ ภคและอปุ โภค
กกกกกกกกกกกกก มีการใช้พืชกัญชาหรือกัญชงเป็นส่วนประกอบในอุตสาหกรรมอาหาร
บางประเทศมีการอนุญาตให้ใช้กัญชาในอาหารซ่ึงจะต้องระบุปริมาณสารTHC และ CBD ให้ชัดเจน
โดยปกติต้องไม่เกิน 10 มิลลิกรัมต่อหน่วยบริโภคแต่ในอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมความงาม
และสุขภาพ รวมไปถึงอุตสาหกรรมส่ิงทอ มีการใช้ประโยชน์อย่างมากมายของกัญชง เช่น การผลิต
เครือ่ งสาอาง นามนั จากเมลด็ ซงึ่ มคี ณุ ค่าทางโภชนาการสูง การทาเคร่อื งแตง่ กาย เสอื กนั กระสุน เปน็ ต้น
กกกกกกก1. 2.3d4.4 การนนั ทนาการ
กกกกกกกกกกกกกกก กัญชาเป็นพืชท่ีมีสารออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาททาให้เกิดความผ่อนคลาย
และความร้สู กึ เปน็ สขุ ในบางประเทศอนุญาตให้ใชพ้ ชื กัญชาเพื่อการนันทนาการได้เช่นประเทศอุรกุ วัย
ประเทศแคนาดาและในบางรัฐของสหรัฐอเมริกาเน่ืองจากผู้ใช้กัญชารู้สึกเกิดการผ่อนคลายและเป็นสุข
ขณ ะท่ีใช้ แต่เน่ืองจากกัญ ชายังมีสารท่ีทาให้ติดได้ จึงไม่ควรใช้กัญ ชาต่อเนื่องและใช้
ในปริมาณสงู

8

บทท่ี 3 รจู้ ักโทษและประโยชน์ของกญั ชาและกัญชง
1. โทษของกัญชาและกญั ชง

กกกกกกกกกกกกก1.1 ผลกระทบต่อร่างกายและผลข้างเคียง ผู้เช่ียวชาญเก่ียวกับสารเสพติดจากสาขา
ตา่ ง ๆ และรายงานทางวิชาการ พบว่า กัญชามีผลกระทบต่อร่างกายเกี่ยวกับระบบหัวใจและหลอด
เลือดผลต่ออาการติดยา นอกจากกระทบต่อการใช้ชีวิตตามปกติแล้วกัญชายังมีโทษต่อทุกส่วน
ของร่างกายผู้เสพกัญชา ร่างกายจะเสือ่ มโทรม ทาลายระบบภูมคิ มุ้ กันของร่างกาย และทาลายสมอง
ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปอด ทาร้ายทารกในครรภ์มีผลกระทบต่อทางเดินหายใจ หัวใจและ
หลอดเลือด กัญชาจะเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจเร็ว เมื่อใช้กัญชาในปริมาณมากและยาวนานต่อเน่ืองไม่
สามารถควบคุมอาการตดิ ยาได้
กกกกกกกกกกกกก1.2 ผลกระทบต่อจิตใจฤทธิ์ของกัญชาและกัญชงทาให้ผู้เสพมีความผิดปกติ
ทางความรู้สึก ความคิด อาการ หรือพฤติกรรมต่าง ๆ จิตฟั่นเฟือน มีอาการประสาทหลอน ความคิด
สบั สนนาไปสู่โรคจติ เวช หรือภาวะซึมเศร้าได้
1.3ผลกระทบต่อครอบครัว ชุมชน และสังคมการเสพกัญชาและกัญชงทาให้มีผลกระทบต่อครอบครัว
ทาลายความสุขในบ้าน เป็นท่ีรังเกียจของชุมชน ทาลายช่ือเสียงวงศ์ตระกูลอาจเพ่ิมความรุนแรงถึงขัน
เกิดปัญหาอาชญากรรมตา่ ง ๆ ในชุมชน และสังคมตามมาได้
1.4ผลกระทบต่อประเทศชาติเม่ือประชากรเสพติดกัญชามาก ส่งผลทาลายเศรษฐกิจ สูญเสีย
งบ ป ร ะ ม า ณ ใน ก าร ดู แ ล รัก ษ าผู้ ท่ี เส พ ติ ด กั ญ ช า ท า ล า ย ค ว า ม ม่ั น ค งข อ งป ร ะ เท ศ
ต้องสูญเสียทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพในการพัฒนาประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศก็จะ
เป็นไปอย่างเช่ืองช้า เกิดข้อขัดแย้งทางการเมือง หรือความไม่สงบระหว่างประเทศ ทาให้เสื่อมเสีย
ชอื่ เสยี งและเกียรตภิ ูมใิ นสายตาของชาวต่างชาตไิ ด้
กกกกกกก1. 2. ประโยชน์ของกัญชาและกัญชงทางการแพทย์สารสกัดจากกัญชาที่นามาใช้
ประโยชน์ทางการแพทย์ มีสารกลุ่มแคนนาบินอยด์ (Cannabinoid) ที่มีสารออกฤทธ์ิสาคัญ 2 ชนิด
คอื แคนนาบิไดออล(Cannabidiol,CBD) มีคุณสมบัติลดอาการเจ็บปวด อักเสบ ชักเกร็ง คล่ืนไส้ และสาร
เตตราไฮโดรแคนนาบินอล(Tetrahydrocannabinol, THC)มีคุณ สมบัติต่อจิตประสาททาให้
ผ่อนคลาย ลดอาการตึงเครียดสารสกัดจากกัญชาทางการแพทย์แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม (1) สารสกัด
กัญชาที่มีข้อมูลทางวิชาการที่สนับสนุนชัดเจน (2) สารสกัดกัญชาช่วยในการควบคุมอาการ ควรมี
ข้อมูลทางวิชาการท่ีสนับสนุนเพิ่มเติม และ (3) สารสกัดกัญชาท่ียังขาดข้อมูลจากการวิจัยสนับสนุน
ท่ีชัดเจนเพียงพอ ดังนัน การนาสารสกัดกัญชามาใช้ในทางการแพทย์จาเป็นต้องคานึงถึงประสิทธิผล
และความปลอดภัยเป็นสาคัญ และในทางการแพทย์แผนไทย มีการอนุญาตให้ใช้ตารับยาที่มีกัญชา
เป็นส่วนประกอบท่ีได้มีการคัดเลือก และรับรองโดยกระทรวงสาธารณสุข 16 ตารับ การใช้ยาจาก

9

กัญชาต้องอยู่ภายใต้การควบคุม ดูแลของแพทย์ และแพทย์แผนไทย เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับประโยชน์
สูงสดุ
กกกกกกกบทที่ 4 กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับกญั ชาและกญั ชง
กกกกกกกกก 1. พระราชบัญญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. 2522
กกกกกกกกกกกกกพระราชบญั ญัติยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. 2522ให้ความหมายคาว่า “ยาเสพตดิ
ให้โทษ” หมายถึง สารเคมีหรือวัตถุชนิดใด ๆ ซ่ึงเมอ่ื เสพเขา้ สู่ร่างกายไมว่ ่าจะโดยรับประทาน ดม สูบ
ฉีด หรือด้วยประการใด ๆ แล้วทาให้เกิดผลต่อร่างกายและจติ ใจในลักษณะสาคัญ เช่น ต้องเพม่ิ ขนาด
การเสพขึนเป็นลาดับ มีอาการถอนยาเมื่อขาดยา มีความต้องการเสพ ทังร่างกายและจิตใจ
อย่างรุนแรงตลอดเวลา และสุขภาพโดยท่ัวไปจะทรุดโทรมลง กับให้รวมตลอดถึงพืชหรือส่วนของพืช
ทเี่ ป็นหรือให้ผลผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษหรอื อาจใช้ผลิตเปน็ ยาเสพติดให้โทษและสารเคมีที่ใช้ในการ
ผลิตยาเสพติดให้โทษด้วยนอกจากนียังแบ่งยาเสพติดให้โทษออกเป็น 5 ประเภท โดยกัญชา
ถูกบัญญัติไว้ในกฎหมายว่าเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท5 ตามมาตรา 7 โดยกาหนดไว้ว่าห้ามปลูก
ห้ามเสพ ห้ามจาหน่ายและมีไว้ครอบครอง
กกกกกกกกก 2. พระราชบัญญัตวิ ตั ถุออกฤทธติ์ อ่ จิตและประสาท พ.ศ. 2559
กกกกกกกกกกกกกพระราชบัญญัตวิ ัตถุเพื่อออกฤทธ์ติ ่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559มีเหตุผลใน
การประกาศใช้เพ่ือให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ซ่ึงมีสภาพปัญหาเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธ์ิ
ทท่ี วีความรุนแรงยงิ่ ขนึ สมควรปรบั ปรุงบทบัญญัตเิ ก่ียวกับองคป์ ระกอบของคณะกรรมการวตั ถุที่ออก
ฤทธ์ิต่อจิตและประสาท การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเก่ียวกับวัตถุออกฤทธ์ิ หน้าท่ีของผู้รับ
อนุญาต หน้าที่ของเภสัชกร การโฆษณาและอานาจหน้าท่ีของพนักงานเจ้าหน้าที่ รวมทังเพ่ิมเติม
บทบัญญัติเก่ียวกับด้านตรวจสอบวัตถุออกฤทธิ์ และการให้โอกาสแก่ผู้เสพ หรือเสพและมีไว้
ในครอบครอง หรือเสพและมีไว้ในครอบครองเพ่ือขาย หรือเสพและขายซึ่งวัตถุออกฤทธ์ิ ได้สมัครใจ
เข้ารับการบาบัดรักษาในสถานพยาบาล ตลอดจนปรับปรุงบทกาหนดโทษและอัตราค่าธรรมเนียม
ให้เหมาะสมยิ่งขึนทังนีกัญ ชามีสารวัตถุออกฤทธ์ิช่ือว่า “เตตราไฮโดรแคนนาบินอล ”
(tetrahydrocannabinol, THC) และถูกบัญญัติไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องระบุช่ือวตั ถุ
ออกฤทธิใ์ นประเภท1
กกกกกกกกก 3. พระราชบญั ญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2562
กกกกกกกกกกกก พระราช บัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 เป็นฉบับ
ท่ีแก้ไขเพิ่มเติมจากพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 เปิดโอกาสให้สามารถนากัญชาและ
พชื กระท่อมไปทาการศึกษาวจิ ัย เพ่อื ประโยชน์ทางการแพทย์และสามารถนาไปใชใ้ นการรักษาภายใต้
การดูแลและควบคุมของแพทย์ผู้ได้รับอนุญาตได้ เพ่ือให้ถูกต้องตามหลักวิชาการให้ทาได้โดยชอบ
ด้วยกฎหมาย เพื่อสร้างความมั่นคงทางด้านยาของประเทศ และป้องกันไม่ให้เกิดการผูกขาดทางด้าน

10

ยา นอกจากนีส่งผลให้อนาคตผปู้ ่วยในประเทศ ลดภาระค่าใช้จา่ ยด้านสุขภาพไดอ้ ย่างมาก และสง่ ผล
ทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ เปิดทางให้ใช้ในอุตสาหกรรมยา สมุนไพร อาหารและเครื่องสาอาง
เพื่อประโยชน์ของประเทศชาติ พรอ้ มสนับสนุนผู้ประกอบการภายในประเทศ ใช้ประโยชน์จากกัญชง
นอกเหนือจากเส้นใย หวงั เพ่ิมมูลค่าทางเศรษฐกจิ นารายไดเ้ ข้าประเทศ
กกกกกกกกกกกกพระราชบัญญัติฉบับนี กัญชายังคงเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท5 ห้ามมิให้
ผู้ใดเสพเว้นแต่เสพเพ่ือรักษาโรคตามคาส่ังของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือเป็นการเสพ
เพ่ือศึกษาวิจัยและยังสามารถใช้ประโยชน์ได้ ตามวัตถุประสงค์ในกรณีจาเป็น คือ ประโยชน์
ของทางราชการ ประโยชน์ทางการแพทย์ประโยชน์ในการรักษาผู้ป่วย ประโยชน์ในการศึกษาวิจยั และ
พัฒนาและประโยชน์ในการเกษตรกรรม พาณิชยกรรม วิทยาศาสตร์ หรืออุตสาหกรรมอีกทัง
ในมาตรา 26/5 ยังกาหนดผู้มีสิทธิ์ท่ีจะขอออกใบอนุญาตให้ผลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่าย หรือมีไว้
ครอบครอง ผู้ขออนุญาตต้องเ ป็น ห น่ว ย ง า น ข อ ง รัฐ ผู้ป ร ะ ก อ บ วิช า ชีพ เ ว ช ก ร ร ม
ส ถ า บัน อุด ม ศึก ษ า ต า ม ก ฎ ห ม า ย ว่า ด้ว ย ส ถ า บัน อุด ม ศึก ษ า เอ ก ช น ผู้ประกอบอาชีพ
เกษตรกรรมท่ีรวมกลุ่มเป็นวิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการขนส่งสาธารณะระหว่างประเทศ ผู้ป่วย
เดินทางระหว่างประเทศ และผู้ขออนุญาตอื่นตามที่รัฐมนตรี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
กาหนดในกฎกระทรวงซึ่งในวาระเร่ิมแรกภายในระยะเวลา 5 ปีการขอรับใบอนุญาตสาหรับ
วัตถุประสงค์ผลิต นาเข้า ส่งออก เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์หรือการรักษาผู้ป่วยให้อนุญาตได้ คือ
ให้อนุญาตได้เฉพาะกรณีท่ีผู้ขออนุญาตเป็นหน่วยงานของรัฐ หรือเป็นผู้ขออนุญาตตามมาตรา 26/5
ซง่ึ ดาเนนิ การรว่ มกบั ผขู้ ออนญุ าตทเ่ี ปน็ หนว่ ยงานของรฐั
กกกกกกก1. 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสุขทเ่ี ก่ียวข้องกบั กัญชาและกัญชง
กกกกกกกกกกกกประกาศและระเบียบของกระทรวงสาธารณสุขท่ีเก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชง
ทาให้เกิดความชัดเจนตามกฎหมายสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพ การแพทย์แผนไทยทุกด้าน ทังนี
เพ่ือใช้ประโยชน์จากสารสาคัญในกัญชา และกัญชง มีจานวน 5 ฉบับ ดังนี (1) ประกาศกระทรวง
สาธารณสุข เร่ือง กาหนดตารับยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ ท่ีให้เสพเพื่อ
รักษาโรคหรือการศึกษาวิจัยได้ (2) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเร่ือง กาหนดผู้ประกอบวิชาชีพ
การแพทย์แผนไทยและหมอพืนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ที่จะสามารถปรุง
หรือสั่งจ่ายตารับยาที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ได้(3) ประกาศกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือกเรื่องกาหนดแบบตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการรับรองหมอพืนบ้าน
พ.ศ. 2562(4) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเร่ือง ระบุชื่อยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 พ.ศ.2561
มีสาระสาคัญโดยกาหนดให้ กัญชา (cannabis) เป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ลาดับท่ี 1 ซ่ึงมี
ชื่อพฤกษศาสตร์ว่า Cannabis sativa L. และ Cannabis indica Lam. ทังนีให้หมายความรวมถึง
ทุกส่วนของพืชกัญชา เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ลาต้น และวัตถุหรือสารต่างๆ ที่มีอยู่ในพืชกัญชา เช่น

11

ยาง นามัน ยกเว้นเปลือกแห้ง แกนลาต้นแห้ง เส้นใยแห้ง และผลิตภัณฑ์ท่ีผลิตจากเปลือกแห้ง แกน
ลาต้นแห้ง เส้นใยแห้งและ (5)ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง ระบุชอื่ ยาเสพติดให้โทษประเภท 5
(ฉบับท่ี2) พ.ศ.2562มีสาระสาคัญคือ กาหนดยกเลิกและแก้ไขเพ่ิมเติม ลาดับ 1 กัญชา (cannabis)
ซึ่งเป็นพืชในสกุล Cannabis ทังนีให้หมายความรวมถึงทุกส่วนของพืชกัญชา เช่น ใบ ดอก ยอด ผล
ลาต้น และวัตถุหรือสารต่าง ๆ ที่มีอยู่ในพืชกัญชา เชน่ ยาง นามันและ ลาดับที่ 5 คือกัญชง (hemp)
ซึ่งมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Cannabis sativa L.subsp. sativaอันเป็นชนิดย่อยของพืชกัญชา
(Cannabis sativa L.)ทังนีให้หมายความรวมถึง ทุกส่วนของพืชกัญชง เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ลาต้น
ที่มีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC) และลักษณะเป็นไป
ตามทค่ี ณะกรรมการประกาศกาหนด
กกกกกกก1. 5. ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดใหโ้ ทษ
กกกกกกกกกกกกประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษท่ีเก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชง
ที่สาคัญมีจานวน 6 ฉบับ ได้แก่(1)ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ เร่ืองการแสดง
ความจานงและการตรวจสอบผู้แสดงความจานงเป็นผู้รับอนุญาตตังแต่วันที่ผู้รับอนุญาตตาย
(2)เร่ือง กาหนดแบบการจัดทาบัญ ชีรับจ่ายและรายงานเกี่ยวกับการผลิต การนาเข้า
การส่งออก การจาหน่าย การมีไว้ในครอบครอง ซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชา
(3)เร่ือง กาหนดฉลากและเอกสารกากับยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 คาเตือนหรือข้อควรระวังการ
ใชท้ ่ีภาชนะบรรจหุ รือหีบห่อบรรจุยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท 5 ที่ผลิต นาเขา้ หรือส่งออก สาหรับยา
แผนปัจจุบันซึ่งมีกัญชาปรุงผสมอยู่(4) เรื่องกาหนดเมล็ดพันธุ์เฮมพ์เป็นเมล็ดพันธุ์รับรองตาม
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการอนุญาตผลิต จาหน่าย หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษ
ประเภท 5 เฉพาะเฮมพ์ พ.ศ. 2559(5)เร่ือง กาหนดลักษณะกัญชง (Hemp)ประกาศเม่ือวันท่ี 27 สิงหาคม
พ.ศ. 2562โดยกาหนดลักษณะกัญชง เพ่ือเป็นประโยชน์ในการควบคุมการผลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่าย
หรือมีไว้ครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชง ท่ีมีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบิ
นอล (tetrahydrocannabinol,THC) ในใบและช่อดอกไม่เกินร้อยละ 0.5 ต่อนาหนักแห้ง และเมล็ดพันธ์ุ
รั บ รอ งมี ลั ก ษ ณ ะเป็ น เม ล็ ด พั น ธุ์ กั ญ ช งท่ี มี ป ริ ม าณ ส ารเต ต ราไฮ โด รแ ค น น าบิ น อ ล
(tetrahydrocannabinol,THC) ในใบและช่อดอกไม่เกินร้อยละ 0.3 ต่อนาหนักแห้งและ (6)เร่ือง กาหนด
ลักษณะกัญชง (Hemp)ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันท่ี 24 ตุลาคม พ.ศ. 2562โดยกาหนดให้มี
การยกเลิกประกาศฉบับเดิมซ่ึงสาระสาคัญของประกาศฉบับนี คือ กาหนดลักษณะกัญชง (Hemp) มี
ลั ก ษ ณ ะเป็ น พื ช ซ่ึ งมี ชื่ อ ท างวิ ท ย าศ าส ต ร์ ว่ า Cannabis sativa L. subsp. sativaอั น เป็ น
ชนิ ดย่ อยของพื ชกั ญ ชา (Cannabis sativa L.) ท่ี มี ปริมาณ สารเตตราไฮโดรแคนนาบิ นอล
(tetrahydrocannabinol, THC)ในใบและช่อดอก ไมเ่ กนิ ร้อยละ 1.0 ตอ่ นาหนักแห้งโดยตรวจวิเคราะห์
ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการประกาศกาหนดและ เมล็ดพันธุ์รับรองมีลักษณะเป็นเมล็ด

12

พันธ์ุกัญชง (Hemp) ที่มีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล(tetrahydrocannabinol, THC) ใน
ใบและช่อดอก ไมเ่ กินร้อยละ 1.0 ต่อนาหนักแหง้ ทังนี ตามท่ีคณะกรรมการประกาศกาหนด โดยการ
ตรวจวิเคราะห์ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีคณะกรรมการประกาศกาหนด และเป็นพันธุ์พืชขึน
ทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยพันธุ์พืชโดยประกาศฉบับนีจะไม่มีผลบังคับใช้กับกรณีกัญชงที่ปลูกอยู่
ก่อนประกาศดังกล่าวมีผลบังคับใช้ รวมถึงเมล็ดพันธ์ุท่ีรับรองแล้วก่อนประกาศมีผลบังคับใช้เพื่อ
ส่งเสริมการพัฒนาสายพันธ์ุกัญชง โดยเฉพาะพันธุ์พืนเมือง เปิดกว้างให้เกิดการใช้ประโยชน์กัญชง
อยา่ งคุ้มคา่
กกกกกกก1. 6. พระราชบญั ญัติสิทธิบตั รกับกัญชาและกัญชง
กกกกกกกกกกกตามพระราชบญั ญตั ิสทิ ธบิ ัตร พ.ศ. 2522 ฉบบั แก้ไขเพ่ิมเตมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2535
และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542 ให้ความหมาย “สิทธิบัตร” หมายถึง หนังสือสาคัญที่รัฐออกให้เพ่ือ
คุ้มครองการประดิษฐ์ หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะตามท่ีกฎหมายกาหนด ทังนี
ขันตอนการย่ืนคาขอจดสิทธิบัตรที่เก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชง มี 3 ขันตอน ได้แก่ ข้ันตอนที่ 1
กรมทรัพย์สินทางปัญญาจะพิจารณาว่าขัดต่อพระราชบัญญัติสิทธิบัตรในมาตรา 9 (1) ซ่ึงกาหนดว่า
สัตว์ พืช หรือสารสกัดจากสัตว์หรือพืชไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติหรือ หากขัดกับ
มาตราดังกล่าวจะไม่สามารถย่ืนจดสิทธิบัตรได้ เช่น สารสกัดจากกัญชาไม่สามารถจดได้ขั้นตอนที่ 2
หากการยื่นคาขอไม่ขัดกับมาตรา 9 (1) เช่น ตารับยาจากกัญชาสาหรับใช้รักษาโรคต่าง ๆ
กรมทรัพย์สินทางปัญญาจะเป็นผู้ตรวจสอบว่าสามารถจดได้หรือไม่ โดยพิจารณาตามหลักการ คือ
ต้องเป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ มีขันตอนการประดิษฐ์ที่สูงขึน และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการผลิต
อุตสาหกรรม หัตถกรรม เกษตรกรรม และพาณิชยกรรมได้และข้ันตอนที่ 3 เม่ือผ่านการพิจารณา
ในขันตอนที่ 2 จะประกาศโฆษณาให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถคัดค้านหรือให้ข้อเสนอแนะได้
เมื่อประกาศโฆษณาแล้วผู้ขอต้องย่ืนขอให้ตรวจสอบการประดิษฐ์ เจ้าหน้าท่ีจะนาข้อคัดค้านหรือ
ข้อเสนอแนะมาประกอบการพิจารณาร่วมกับการตรวจสอบการประดิษฐ์อีกครัง ก่อนจะพิจารณา
ว่าสามารถจดสิทธิบัตรได้หรือไม่ ปัจจุบันนีมีผู้ขอจดสิทธิบัตรที่เก่ียวข้องกับกัญชากับกรมทรัพย์สิน
ทางปัญญา มีจานวน 3 บริษัท โดยมีจานวน 10 คาขอ ซ่ึงอยู่ในขันตอนการดาเนินการ และการขอ
จดสทิ ธิบตั ร
กกกกกกก1. 7. ขอ้ ปฏิบัตทิ ่ีตอ้ งทาตามกฎหมายทีเ่ กย่ี วข้องกบั กญั ชาและกัญชง
กกกกกกกกกกกกกข้อปฏิบัตทิ ี่สาคัญตามกฎหมายกญั ชาและกัญชง มีข้อที่ควรปฏบิ ตั ิดังนี
กกกกกกกกกกกก 7.1 โพสต์ภาพ หรือข้อความ เพื่อโฆษณายาเสพติด มีโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี
ปรับไมเ่ กนิ 200,000 บาท
กกกกกกกกกกกก 7.2 ใชอ้ ุบายหลอกลวง ขเู่ ขญ็ ใช้กาลงั ประทษุ ร้าย ข่มขนื ใจให้ผู้อ่นื เสพ มีโทษดงั นี
กกกกกกกกกกกกก7.2.1 จาคุก 1 - 10 ปี และปรบั ตังแต่ 100,000 - 1,000,000 บาท

13

กกกกกกกกกกกกก7.2.2 ถา้ ทาโดยมอี าวธุ หรือรว่ มกัน 2 คนขนึ ไป จาคกุ 2 - 15 ปี
และปรับ ตงั แต่ 200,000 - 1,500,000 บาท
กกกกกกกกกกก7.2.3 ถ้ากระทาต่อหญิงหรือผู้ยังไม่บรรลุนิติภาวะ หรือเพ่ือจูงใจให้ผู้อ่ืน
ทาผิดอาญา หรือเพ่ือประโยชน์แก่ตนเองหรือผู้อื่นในการทาผิดอาญา จาคุก 3 ปี ถึงตลอดชีวิต และ
ปรบั 300,000 - 5,000,000 บาท
กกกกกกกกกกกก7.2.4 ยุยงส่งเสริมให้ผู้อ่ืนเสพ มีโทษจาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000
บาท หรือทังจาทงั ปรับ
กกกกกกกกกกกก7.2.5 ใช้อุบายหลอกลวง ขู่เข็ญ ใช้กาลังประทุษร้าย ข่มขืนใจให้ผู้อื่นผลิต นาเข้า
ส่งออก จาหน่าย ครอบครองเพ่ือจาหน่าย มีโทษเป็นสองเท่าของโทษที่กฎหมายบัญญัติไว้สาหรับ
ความผดิ นัน ๆ
กกกกกกกกกปัจจุบันประเทศไทยมีผู้เข้าไปเก่ียวข้องกับยาเสพติดเป็นจานวนมาก ซ่ึงกระทรวง
ยุติธรรม ได้กาหนดแนวทางการช่วยเหลือผู้เสพยาเสพติดแนวใหม่ ภายใต้กรอบความคดิ “ผู้เสพ คือ
ผู้ป่วย” ท่ีจะต้องได้รับการบาบัดรักษาอย่างถูกต้อง โดยแพทย์และพยาบาลในสถานพยาบาลของรัฐ
ทุกแห่งทั่วประเทศ และหลังจากท่ีผู้เสพได้รับการบาบัดรักษาแล้ว ก็สามารถกลับไปใช้ชีวิตในสังคม
อย่างปกติสุข โดยรัฐบาลจะใหก้ ารติดตามช่วยเหลอื ส่งเสริมการประกอบอาชีพ เพื่อให้ผเู้ สพได้เริ่มต้น
ชีวติ ใหม่ “เปลีย่ นเพ่ือครอบครัว เพื่ออนาคตท่ีดกี ว่า”
กกกกกกก1. 8. โทษของการฝา่ ฝืนกฎหมายที่เก่ียวข้องกับกัญชาและกญั ชง
กกกกกกกกกกกกบทลงโทษของการฝ่าฝืนกฎหมายท่เี ก่ียวข้องกัญชาและกญั ชง มี 5 กล่มุ ดังนี
กกกกกกกกกกกก8.1 กลุ่มผู้เสพ (นอกเหนือเพื่อรักษาตามคาส่ังแพทย์) มีบทลงโทษ จาคุกไม่เกิน 1
ปี หรือปรับไมเ่ กิน 20,000 บาท หรือทงั จาทังปรับ
กกกกกกกกกกกก8.2 กลุ่มครอบครอง หรือจาหน่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต (ไม่ถึง 10 กิโลกรัม)
มีบทลงโทษ จาคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรบั ไม่เกนิ 100,000 บาท หรือทงั จาทังปรบั
กกกกกกกกกกกก8.3 กลุ่มจาหน่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต (ปริมาณ 10 กิโลกรัมขึนไป) มีบทลงโทษ
จาคุกตังแต่ 1 - 15 ปี และปรบั 100,000 - 1,500,000 บาท
กกกกกกกกกกกก 8.4 กลมุ่ ผู้ฝา่ ฝนื ผลิต นาเข้า หรอื ส่งออก มบี ทลงโทษ จาคุกไม่เกิน 5 ปี
และปรับไม่เกนิ 500,000 บาท
กกกกกกกกกกกก 8.5 กลุ่มกรณีเพอื่ จาหน่าย มีบทลงโทษ จาคุกไม่เกิน 1-15 ปี และปรับ 100,000 -
1,500,000 บาท
ในส่วนผู้ขออนญุ าตตามมาตรา 26/5 มสี ิทธทิ ี่จะขอใบอนุญาตให้ผลติ นาเขา้ ส่งออกจาหน่ายหรือมไี ว้
ในครอบครองซ่ึงผขู้ ออนุญาตตามข้อ 2,3,4 และ 7 มีบคุ คลอยู่ 2 กลมุ่ ดงั นี
กล่มุ ท่ี 1 กรณีบคุ คลธรรมดาสญั ชาติไทย มีถ่นิ ทีอ่ ยู่ในไทย

14

กลุ่มที่ 2 กรณีนิติบุคคล จดทะเบียนตามกฎหมายไทย 2 ใน 3 กรรมการ หุ้นส่วน ผู้ถือหุ้น มี
สัญชาตไิ ทย มสี านักงานในไทย
น อ ก จ า ก นี ก า ร น า กั ญ ช า ม า โฆ ษ ณ า ช ว น เช่ื อ บิ ด เบื อ น ฉ ล า ก อ า ห า ร - ฉ ล า ก ย า
มีความผิด ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกิน 30,000 บาท หากเข้าข่ายเป็นอาหารท่ีมีการแสดงฉลากเพ่ือ
ลวง หรือพยายามลวงให้เข้าใจผิดเร่ืองคุณภาพ ปริมาณ ประโยชน์สถานท่ีผลิต จัดเป็นอาหารปลอม
ต้องระวางโทษจาคุกตงั แต่ 6 เดอื น - 10 ปี และปรบั ตังแต่ 5,000 - 100,000 บาท
ต่ อ ม า ไ ด้ มี ก า ร นิ ร โ ท ษ ก ร ร ม โ ด ย ป ร ะ ก า ศ ก ร ะ ท ร ว ง ส า ธ า ร ณ สุ ข 3 ฉ บั บ
ซ่ึงประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษา ลงวันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ดังนี ฉบับท่ี 1 เรื่อง
การกาหนดให้ยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชาตกเป็นของกระทรวงสาธารณสุข หรือให้
ทาลายกัญชาท่ีได้รับมอบจากบุคคล ซ่ึงไม่ต้องรับโทษ ตามมาตรา 22 แห่ง พระราชบัญญัติยาเสพติด
ใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ 7) พ.ศ.2562 โดยรายละเอยี ดผู้ท่ีได้รับการนิรโทษกรรม หรอื การครอบครองก่อนหน้า
นีไม่ผิดและให้มาแจ้งภายใน 90 วันฉบับท่ี 2 เร่ืองการครอบครองยาเสพติดให้โทษในประเภท 5
เฉพาะกัญชา สาหรับผู้ป่วยที่มีความจาเป็นต้องใช้เพ่ือรักษาโรคเฉพาะตัว ก่อนพระราชบัญญัติยาเสพ
ติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2562 ใช้บังคับให้ไม่ต้องรับโทษ ซึ่งในกรณีนีผู้ป่วยที่มีความจาเป็นต้องใช้
กัญชารักษาตัว และมีครอบครองก่อนกฎหมายใช้บังคับและฉบับที่ 3 เรื่องการแจ้งการมีไว้ใน
ครอบครองกญั ชา สาหรับผู้มีคุณสมบัติตามมาตรา 26/5 และบุคคลอนื่ ที่มิใช่ผู้ป่วยตามมาตรา 22 (2)
ก่อนพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ.2562 ใช้บังคับให้ไม่ต้องรับโทษ กล่าวคือ
บุคคลท่ีไม่ใช่กลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2โดยในฉบับนี ให้หน่วยงานหรือบุคคลผู้ครอบครองกัญชาก่อน
กฎหมายมผี ลใช้บังคับเพื่อประโยชน์ทางการแพทย์การรักษาผู้ป่วย การใช้รกั ษาโรคเฉพาะตัวหรอื การ
ศกึ ษาวจิ ยั
กกกกกกก1. 9. กฎหมายระหวา่ งประเทศเกีย่ วกับกัญชาและกัญชง
กกกกกกกกกกกกประเทศไทยในมิติด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ ได้เข้าเป็นรัฐภาคี จานวน 4
ฉบับด้วยกัน คอื ฉบับท่ี 1 อนสุ ัญญาเดี่ยวว่าด้วยยาเสพตดิ ให้โทษ ค.ศ. 1961 และพธิ ีแก้ไขอนสุ ัญญา
เด่ียวว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ ค.ศ. 1961, ค.ศ. 1972 ฉบับท่ี 2อนุสัญญาว่าด้วยวัตถุท่ีออกฤทธ์ิต่อจิต
และประสาท ค.ศ.1971 ฉบบั ท่ี 3 อนุสัญญาสหประชาชาตวิ ่าด้วยการตอ่ ตา้ นการลักลอบคา้ ยาเสพติด
และวตั ถุท่ีออกฤทธ์ิตอ่ จิตและประสาท ค.ศ. 1988 และฉบับที่ 4 อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการ
ตอ่ ต้านอาชญากรรมข้ามชาตทิ จ่ี ดั ตังในลกั ษณะองค์กร ค.ศ. 2000
กกกกกกกกกตามอนุสัญญาเด่ียวว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ ค.ศ. 1961ได้บัญญัติกัญชา สารสกัดจาก
กัญชา จัดให้อยู่ในตารางการควบคุมในบัญชีเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 และยางกัญชาเป็นยา
เสพติดให้โทษในประเภท 4 โดยห้ามปลูก ผลิต ส่งออก นาเข้า ค้าขาย ครอบครองหรือ

15

ใช้ประโยชน์ เว้นแต่เพ่ือใช้ทางการแพทย์หรือการศึกษาวิจัยเท่านัน ภาคีประเทศต้องกาหนด
มาตรการควบคมุ ป้องกนั มใิ ห้มีการนาใบของพืชกญั ชาไปในทางทีผ่ ิด หรอื ทาการคา้ ท่ผี ดิ กฎหมาย
นอกจากนีอนุสัญญาของสหประชาชาติ(United Nation, UN)เป็นข้อตกลงสากลสูงสุดในเร่ืองการ
ควบคุมยาเสพติดอย่างเช่น กัญชา อนุสัญญาดังกล่าวกาหนดความรับผิดชอบร่วมกันในระดับสากล
สาหรับการควบคุมการผลิต การค้า และการใช้ยาควบคุมโดยทั่วไปแล้วแต่ละประเทศจะกาหนด
กฎหมายว่าด้วยยาซึ่งสัมพันธ์กับการออกกฎหมายและข้อบังคับเกี่ยวกับยารักษาโรค สาหรับกัญชา
ทางการแพทย์อานาจและมาตรการควบคุมของประเทศอื่น ๆ มีเปา้ หมาย 3 ประการ ดงั นี ประการท่ี
1 ค วบ คุ ม ก ารเข้ าถึงแล ะก ารใช้ กั ญ ช าท างการแ พ ท ย์ท่ี ช อบ ด้ วยก ฎ ห ม าย ป ระก าร
ท่ี 2 เปิดโอกาสให้สามารถเข้าถงึ กัญชาที่มาจากวิธกี ารทางเภสัชกรรมเพื่อวัตถปุ ระสงคท์ างการแพทย์
บางกรณีในปริมาณท่ีเพียงพอประการท่ี 3 อนุญาตให้สามารถมีการเพาะปลูก และผลิตกัญชาเพื่อ
วตั ถุประสงคด์ งั กล่าว โดยประเทศที่ลงนามในอนสุ ญั ญามภี าระหนา้ ท่ใี นการควบคมุ การส่งออก นาเข้า
และการขายสง่ กญั ชา และยาเตรียมจากกญั ชาอยา่ งระมดั ระวงั กกกกกกก
ข้อกาหนดดังกล่าวท่ีมีผลผูกมัด ให้ประเทศท่ีลงนามอนุสัญญานีต้องควบคุมการส่งออก นาเข้า และ
ขายส่งกัญชาและยาที่ผลิตจากกัญชาอย่างระมัดระวังแต่สาหรับประเทศไทยเรายังไม่มีความพร้อม
เรื่องระบบการควบคุม ถึงเราจะมีความพร้อมด้านการปลูกกัญชา แต่องค์การสหประชาชาติ มี
ข้อกาหนดเรื่ององค์กรกลางในการกากับดูแลการใช้กัญชาทางการแพทย์ ซ่ึงขณะนีประเทศไทยมี
สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เป็นองค์กรกลางที่รับผิดชอบอยู่ แต่ปัญหาท่ีเกิดขึน
ภายหลังจากท่ีกฎหมายมีผลใช้บังคับแล้ว คือประเทศไทยมีการเปิดเสรีให้ใชก้ ัญชาทางการแพทย์เป็น
ประเทศแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทาให้ไม่มีกัญชาในปริมาณท่ีเพียงพอสาหรับรักษา
ผู้ป่วยท่ีมีความจาเป็นต้องใช้กัญชาเพ่ือการรักษาโรคต้องไปหากัญชามาจากแหล่งท่ีไม่ อาจเปิดเผยได้
หรือตลาดมืดทาให้เกิดความสับสนแยกไม่ออกระหว่างพวกธุรกิจที่ถูกและผิดกฎหมาย พวกท่ีเสพเพ่ือ
นันทนาการสนุกสนาน หรือผู้ป่วยที่มีความจาเป็นต้องใช้ในการรักษา ซ่ึงสานักงานป้องกันและ
ปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) จะดาเนินการปราบปรามก็ทาได้ไม่ค่อยถนัดนัก เพราะเป็นเรื่องของ
จริยธรรม มนุษยธรรม และยากที่จะแยกแยะออกได้ว่าบุคคลใดเป็นผู้เสพ บุคคลใดเป็น
ผู้ครอบครอง และบคุ คลใดเป็นผู้จาหน่ายได้ มีระบบกากบั ควบคุมสง่ ออก ขายสง่ กัญชาและยาทผ่ี ลิต
จากกัญชา ที่ผลิตภัณฑ์ยา ที่มีประสิทธิภาพ จึงเป็นส่ิงที่รัฐต้องดาเนินการให้ชัดเจน เข้มงวด กวดขัน
และท่ัวถึง ให้มีประสิทธิภาพโดยทาให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงการใช้กัญชาในทางการแพทย์ได้จริง และ
ตอ้ งแยกแยะผ้ปู ่วยกับผู้ท่ีแอบแฝงเป็นผู้ป่วยให้ได้ เมื่อถึงจดุ นันการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
ก็จะสามารถทาได้อยา่ งประสบผลสาเร็จ

16

บทท่ี 5 กญั ชาและกัญชงกบั การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กกกกกกกกกก1. ประวัติความเป็นมาการใชก้ ญั ชาและกญั ชงในต่างประเทศ พบหลักฐานบันทึกไวว้ ่า มี
การใช้กัญชาเป็นยารักษา หรือควบคุมอาการของโรคต่าง ๆ ในทวีปยุโรป ได้แก่ โปรตุเกส สหรัฐอเมริกา
อังกฤษ ในทวีปเอเชีย ไดแ้ ก่ ประเทศจีน อินเดีย และอิหร่าน มาอย่างช้านาน ในบางประเทศมีหลักฐานว่า
เคยมีการใช้กญั ชามานานกว่า 4,700 ปี
กกกกกกกกกก2. ประวัติความเป็นมาการใช้กัญชาและกัญชงในการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก ในประเทศไทยมีหลกั ฐานการใชก้ ัญชาในการรกั ษา หรอื ควบคุมอาการของโรคต่าง ๆ ตังแต่
สมัยอยธุ ยาตอนปลาย สมัยสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช จนถึงกรุงรัตนโกสินทร์ สมัยพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมีการรวบรวมไว้เป็นตารายาหลายเล่ม และสูตรยาหลายขนาน เช่น
ตาราพระโอสถพระนารายณ์ ตาราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ พระคัมภีร์ปฐมจินดา พระคัมภีร์
มหาโชตรัต พระคัมภรี ์ชวดาร และพระคมั ภีร์กษัย เป็นต้น มีการระบุตารับยาที่ใช้กัญชา หรือมีกัญชา
เปน็ สว่ นประกอบท่ใี ช้ในการรกั ษา นบั แต่ในอดตี สืบเน่อื งกนั มากกกกกกกก
ก 3. ตารับยาท่ีมีกัญชาเป็นส่วนประกอบท่ีได้มีการคัดเลือก และรับรองโดยกระทรวง
สาธารณสุขในปัจจุบัน พ.ศ. 2562ประกาศใช้ทังหมด 16 ตารับ ได้แก่(1) ยาอัคคินวี คณะ (2) ยาศุขไสยาศน์(3)
ยาแก้ลมเนาวนารีวาโย (4) ยานามันสนั่นไตรภพ (5) ยาแก้ลมขึนเบืองสูง (6) ยาไฟอาวุธ(7) ยาแก้นอนไม่
หลับหรือยาแก้ไข้ผอมเหลือง (8) ยาแก้สัณฑฆาต กล่อนแห้ง(9) ยาอัมฤตย์โอสถ (10) ยาอไภยสาลี(11) ยา
แก้ลมแก้เส้น(12) ยาแก้โรคจิต (13) ยาไพสาลี(14) ยาทาริดสีดวงทวารหนักและโรคผิวหนัง(15) ยา
ทาลายพระสเุ มรุและ (16) ยาทพั ยาธคิ ุณ
กกกกกกก1. 4. ภมู ภิ เู บศรรวบรวมและเผยแพร่ภูมปิ ญั ญาไทย
ภมู ิภูเบศรศูนย์การเรียนรู้สมนุ ไพรครบวงจร ภายใต้แนวคิดการพ่ึงพาตนเอง เกีย่ วกับการดูแลสุขภาพ
ด้วยสมุนไพร ประกอบด้วย (1) เรือนหมอพลอย (2) สวนสมุนไพรภูมิภูเบศร และ (3) อภัยภูเบศร
โมเดล
กกกกกกก1. 5. ภูมปิ ญั ญานายเดชา ศริ ิภัทร หมอพนื บา้ น
นายเดชา ศริ ิภัทร หมอพนื บา้ น ประธานมูลนิธิข้าวขวญั เปน็ ผู้ทไ่ี ด้นากัญชามา
รักษาโรคตามตารับยาพืนบ้านไทยจากกระแสความนิยมที่มาจากตะวันตก ได้เริ่มทดลองใช้กัญชา
รักษาตัวเอง โดยนาความรู้พืนฐานในการสกัดท่ีเผยแพร่โดย ริคซิมป์สัน (Rick Simpson) ชาว
อเมริกันท่ีป่วยเป็นโรคมะเร็งแล้วสกัดกัญชารักษาโรคมะเร็งที่ตัวเองเป็นมาผสมผสานกับความรู้
พืนบ้าน เป็นนามันเดชา (Decha Oil) นามาใช้กับตนเองในการช่วยให้นอนหลับได้ลึกขึน หลงลืมงา่ ย
และต้อเนือในตาในช่วง 4-5 ปี ที่ผ่านมา จึงขยายผลเผยแพร่ ทายาแจกให้ผ้ปู ว่ ยโรคต่าง ๆ โดยไม่เสีย
ค่าใช้จ่าย เป็นจานวนมากกว่า 4,000 ราย ปัจจุบัน นามันเดชาได้รับการรับรองให้เป็นตารับยาพืนบ้าน
ของกระทรวงสาธารณสุข ซ่ึงหมอพืนบ้านผู้เป็นเจ้าของตารับยาสามารถจ่ายให้กับผู้ป่วยของตนเองได้

17

และกระทรวงสาธารณสุขอยู่ระหว่างทาการวิจัยเพ่ือวิจัยพิสูจน์ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของ
สตู รการรกั ษาดังกล่าว
กกกกกกกบทที่ 6 กัญชาและกัญชงกับการแพทย์แผนปัจจุบนั
กกกกกกก1. 1. ประวัติการใชก้ ญั ชาและกัญชงทางการแพทยแ์ ผนปัจจบุ ัน

1.1 ตา่ งประเทศ
ในต่างประเทศใช้กัญชาเป็นยารักษาโรค ได้แก่ ประเทศอังกฤษ อนุญาต

ให้ใช้กัญชา ในลักษณะเป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ทางการแพทย์ ในรูปของยาเม็ด ยาแคปซูล นามันกัญชา
แต่ไม่อนุญาตให้มีการสูบ ในประเทศเยอรมนี ให้ใช้ในรูปแบบสเปรย์ (spray)สาหรับรักษาอาการ
ปวดเกร็งกล้ามเนือ ในประเทศสเปน มีการวิจัยทางคลินิกกการใช้กัญชารักษามะเร็งหรือเนืองอก
ชนิดกลัยโอบลาสโตมา (Glioblastoma หรือ GBM) ผลการวิจัย พบว่าได้ผลดี ในประเทศ
สหรัฐอเมริกา มีการจดสิทธิบัตรกัญชาและ พบฤทธ์ิของกัญชาที่อาจมีผลดีต่อโรคทางระบบประสาท
เช่น อัลไซเมอร์พาร์กินสัน โรคหลอดเลือดสมอง และโรคท่ีเกิดจากเซลล์ถูกทาลายโดยอนุมูลอิสระ
(Oxidative) โรคหัวใจ โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง โรคเบาหวาน โดยรัฐโคโลราโด อนุญาตให้ใช้
กัญชา ถูกกฎหมาย และอีก 33 มลรัฐ อนุญาตใช้นามันกัญชาทางการแพทย์ได้ นอกจากนี ประเทศ
อิสราเอล โคลมั เบีย และแคนาดา อนุญาตใหใ้ ชผ้ ลิตภณั ฑจ์ ากกัญชารักษาโรคได้

1.2 ประเทศไทย
กัญชา เข้าสู่ประเทศไทยจากประเทศอินเดีย โดยอ้างหลักฐานจากความ

คล้ายของช่ือไทยกับคาว่า (ganja) ในภาษาฮินดี เดิมกัญชาใช้ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็น
ส่วนประกอบอาหาร เคร่ืองเทศ และยา ในประเทศไทย มองกัญชาเป็นสมุนไพรท่ีใช้ประกอบเป็นตัว
ยาเพ่ือบาบัดรักษาอาการป่วยต่าง ๆ ในอดีต ดังท่ีมีปรากฏในคัมภีร์หรือตารายาโบราณ เช่น ตารา
โอสถธาตุพระนารายณ์ มีตารับ “ยาศุขไสยาสน์” ใช้ช่วยนอนหลับ ช่วยเจริญอาหาร บรรเทาอาการ
เกร็งกล้ามเนือ แขนขาชาอ่อนแรง ในผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาต ในปัจจุบันกฎหมายในประเทศไทย
อนญุ าตให้สามารถนากญั ชามาใช้ในกรณจี าเป็นเพ่ือประโยชนข์ องราชการ การแพทย์ การรกั ษาผู้ป่วย
หรือการศกึ ษาวิจัยและพัฒนา
กกกกกกก1. 2. กญั ชาและกญั ชงท่ีช่วยบรรเทาโรคแผนปัจจุบัน

2.1 กญั ชาและกัญชงกับโรคพาร์กนิ สนั
สาร CBD เป็นสารสกัดที่ได้จากกัญชงและกัญชา ไม่มีฤทธ์ิต่อจิตและ

ประสาท ช่วยให้ผู้ป่วย ลดความวิตกกังวล บรรเทาอาการเกร็งของกล้ามเนือ และมีฤทธิ์ระงับปวดได้
และมกี ลไกทีเ่ ช่อื ว่าอาจทาใหล้ ดอาการสั่น อาการยกุ ยิก ซึง่ เป็นผลแทรกซ้อนจากยาพาร์กนิ สัน ทาให้
การเคล่ือนไหวดีขึน ปัจจุบันยังไม่ทราบกลไกการออกฤทธิ์ท่ีชัดเจน คาดว่าทัง สาร CBD และ
สาร THCในกัญชาจะมีส่วนช่วยชะลออาการของโรคพาร์กินสัน จากฤทธ์ิต้านอนุมูลอิสระ ลดการ

18

อักเสบ และปกป้องเซลล์สมอง ซึ่งต้องการงานวิจัยเพ่ิมเติมในอนาคตถึงสัดส่วน สาระสาคัญ ท่ีใช้ใน
โรคพาร์กนิ สนั

2.2 กัญชาและกัญชงกับโรคมะเรง็
มะเร็ง เป็นโรคท่ีสามารถพบได้ในผู้ป่วยทุกเพศ ทุกวัย ตังแต่เด็กแรกเกดิ ไป

จนถึงผู้สงู อายุ แตโ่ ดยส่วนใหญจ่ ะพบในผ้ปู ่วยท่ีเป็นผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก และจะพบได้สงู ในผู้ป่วยท่ีอายุ
ตังแต่ 50 ปขี ึนไป
มีการศึกษาเกี่ยวกับการใช้กัญชาต่อต้านมะเร็งในประเทศไทย พบว่า กัญชาสามารถออกฤทธ์ิฆ่า
เซลล์มะเร็งในการเพาะเลียงเซลล์ในห้องทดลอง แต่ยังไม่มีการศึกษาถึงผลของกัญชาต่อโรคมะเร็งใน
มนุษย์ ส่วนในต่างประเทศสารในกัญชา ได้แก่ สาร THC และสาร CBD มีงานวิจัยในมนุษย์ ได้แก่
มะเร็งปอด และมะเร็งเมด็ เลอื ดขาว

2.3 กัญชาและกญั ชงกบั การลดอาการปวด
มีการศึกษาการนากัญชามาใช้ลดอาการปวด มีบทบาทในการบรรเทา

อาการปวดเรือรัง (Chronic pain) ท่ีเป็นการปวดทางระบบประสาท (neuropathic pain)เช่น
ปวดเสียวแปลบเหมือนไฟช็อต แสบร้อน รู้สึกยิบ ๆ ชา ๆ ท่ีมีอาการรุนแรง หรือไม่ตอบสนองต่อการ
รักษาในยามาตรฐาน สามารถบรรเทาอาการปวดลงได้ ส่วนการบรรเทาอาการปวดเฉียบพลัน เช่น
หลังผ่าตัด พบว่าให้ผลการรักษาที่ไม่ดี กรณีที่นากัญชามาใช้บรรเทาอาการปวดจากโรคมะเร็ง
พิจารณาใช้เป็นยาเสริมยามาตรฐาน ไม่ค่อยได้ผล เนื่องจากมีงานวิจัยพบว่ายามอร์ฟีนมีฤทธิ์ระงับ
ปวดได้ดกี วา่ กญั ชา

2.4 กัญชาและกัญชงกับโรคลมชกั
อาการของโรคลมชักที่เห็นได้ชัด คือ ชักแบบเหม่อลอย ชักเกร็ง ชักแบบ

กล้ามเนืออ่อนแรง ชักกระตุก ชักกระตุกและเกร็ง ชักสะดุ้ง และชักเฉพาะส่วน ผู้ป่วยโรคลมชักส่วน
ใหญ่จะรักษาโดยการใช้ยาต้านอาการชัก จะไม่สามารถรักษาโรคลมชักให้หายขาดได้ ทาได้เพียง
ควบคุมอาการชักเทา่ นัน

สาหรับกัญชาที่ องค์การอาหารและยา (Food and Drug Administration)
ของประเทศสหรัฐอเมริกา อนุมัติยาจากสารสกัดกัญชา ตัวแรก (ไม่ใช่สารสังเคราะห์)ช่ือการค้า Epidiolex
ประกอบด้วยตัวยา CBD 100mg/ml ในรูปแบบสารละลายให้ทางปาก (oral solution) โดยมีข้อบ่งใช้ในการ
รักษาโรคลมชักชนิดรุนแรง 2 ชนิด คือ Lennox - Gastaut syndrome และDravet syndrome พบได้ในผู้ป่วย
อายุ 2 ปขี นึ ไป

ในประเทศไทย กรมการแพทย์ ประกาศถึงประโยชน์ของสารสกัดจาก
กัญชาทางการแพทย์ ในการนาตัวยา CBD มาใช้โรคลมชักท่ีรกั ษายาก และโรคลมชักท่ีดอื ตอ่ ยารกั ษา
เท่านัน

19

2.5 กญั ชาและกัญชงกบั โรคผิวหนัง
ในประเทศไทยการใชก้ ัญชากับโรคผิวหนัง นายแพทยเ์ วสารัช เวสสโกวิท ท่ี

ปรึกษาผู้อานวยการด้านวิชาการ สถาบันโรคผิวหนัง กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข กาลัง
ดาเนินการศกึ ษาวิจัยการนานามันกัญชามาใช้ในโรคสะเกด็ เงิน และโรคหนังหนาแต่กาเนิดในรูปแบบ
ยาทา เนอื่ งจากทงั สองโรคนีมรี ายงานในต่างประเทศพบวา่ ให้ผลการรกั ษาทด่ี ี สาหรับในต่างประเทศ
มีการค้นพบการรกั ษาโรคมะเรง็ ผิวหนงั ด้วยกญั ชา ในปี ค.ศ. 2003 Rick Simpson สงั เกตเห็น “ตมุ่ ”
ผิดปกติท่ีผิวหนังบนแขน จานวน 3 ตุ่ม และเมื่อไปพบแพทย์ ผลการตรวจชินเนือยืนยันว่าเป็น
“มะเร็งผิวหนัง” เขาจึงตัดสินใจจะใช้กัญชาในการรักษามะเร็งผิวหนังด้วยตัวเขาเอง เพราะเคยอ่าน
ได้ยินมาว่าสาร THC สามารถฆ่าเซลล์มะเร็งในหนูทดลองได้ เขาจึงสกัดกัญชาแล้วนามาประคบไว้
บริเวณที่เป็นตุ่มเนือมะเร็งบนผิวหนัง หลังจากนัน 4 วัน เขาพบว่าตุ่มเนือนันมีขนาดลดลงอย่างมาก
จากนันมาเขาก็พัฒนาสูตรในการผลิตกัญชาสกัดเป็นของตนเอง เรียกว่า “Rick Simpson Oil :
RSO”แล้วนามาเผยแพรแ่ กป่ ระชาชนชาวสหรัฐอเมริกา และประเทศอังกฤษ มีรายงานใชใ้ นโรคตุ่มนา
พองแต่กาเนดิ เพื่อลดอาการปวด

2.6 กัญชาและกัญชงกบั โรคต้อหนิ
โรคต้อหิน สามารถใช้กัญชารักษาได้ผลพอสมควร งานวิจัย ตังแต่

ปี ค.ศ. 1971 พบว่าการสูบกัญชา ทาให้ความดันในลูกตาลดลงได้ แต่ฤทธ์ินีอยู่ได้แค่ 3 ช่ัวโมง และ
ขึนอยู่กับปริมาณการสูบกัญชาด้วย สูบมากก็มีผลมาก ผลข้างเคียงบางอย่างก็ตามมา เช่น ความดัน
โลหิตตา่ ลง หัวใจเตน้ เรว็ ขนึ จึงไม่นิยมใชก้ ัญชาในการรักษา
กกกกกกก1. 3. การใชน้ ามันกญั ชาและกญั ชงกับการแพทยแ์ ผนปัจจุบนั
นามันกัญชา คือ สารสกัดกัญชา (Cannabis extract) ท่ีเจือจางอยู่ในนามันตัวพา (carrier oils หรือ
diluent) ส่วนมากนิยมใช้นามันมะกอก และนามันมะพร้าวสกัดเย็น โดยหากผ่านการผลิตท่ีได้
มาตรฐานจะมีการควบคุมคุณภาพของปริมาณสารสาคัญ ปริมาณความเข้มข้นของตัวยา THC และ
CBD นามันกัญชามีสีเหลืองอ่อนจนถึงสีนาตาล ลักษณะข้นหนืด นามันกัญชาที่มีการผลิตอย่างได้
มาตรฐาน ในประเทศไทยจากองค์การเภสัชกรรม และโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ปัจจุบันมี
อยู่ 3 สูตร สูตรท่ี 1 นามันสูตร THC สูง สูตรท่ี 2 นามันสูตร THC : CBD ในอัตราส่วน เท่า ๆ กัน
สูตรท่ี 3 นามันสูตร CBD สูง วิธีการสกัดนามันกัญชาโดยใช้ปริมาณกัญชาต่อนามันมะกอกใน
อัตราส่วน 1 : 10 ที่อุณหภูมิ 98 องศา เป็นเวลา 2 ชั่วโมง แล้วกรองกากออก จะเป็นวิธีที่เหมาะสม
ท่ีสุด ขนาดการใช้นามันกัญชาจะต้องอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์ และเภสัชกร โดยมีหลักการ คือ
เร่ิมยาที่ขนาดต่า ๆ โดยแนะนาให้เร่ิมที่ 0.05 - 0.1 ซีซี หรือเท่ากับ 1 - 2 หยด และปรับเพ่ิมขนาด
ช้า ๆ ตามคาแนะนาของแพทย์ ยากัญชาอาจจะทาให้มีภาวะง่วงซึม จึงแนะนาให้ใช้เวลาก่อนนอน
และหลีกเลยี่ งการทางานใกล้เครื่องจักร หรอื ขบั รถ

20

กกกกกกก1. 4. ผลติ ภัณฑ์กญั ชาและกญั ชงทางการแพทย์
ผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปจากกัญชาเพื่อใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ สาหรับคน

มีรูปแบบแคปซูลสเปรย์ใต้ลินยาเม็ดยาเหน็บทวาร หรือรูปแบบแผน่ แปะบนผิวหนังยากัญชาจะมีสูตร
แตกต่างกันตามสัดส่วน และปริมาณสารสาคัญTHC และ CBD ยากัญชาท่ีได้รับการขึนทะเบียน
(Registered drug) ขณะนีมีอยู่ 3 รูปแบบคือ รูปแบบ THC สังเคราะห์สารสกัดแคนนาบินอยด์จาก
ธรรมชาติ และสารสกดั CBD นอกจากนีในตา่ งประเทศยงั มผี ลิตภณั ฑร์ ักษาอาการเจบ็ ปว่ ยในสัตว์
กกกกกกก1. 5. การใช้ผลิตภณั ฑ์กัญชาและกญั ชงใหไ้ ดป้ ระโยชน์ทางการแพทย์ในปัจจุบนั

5.1 ภาวะคลืน่ ไส้อาเจยี นจากเคมบี าบดั เคโมเธอราภีอินดิวซ นอเซยี แอนดว์ อมมทิ
(chemotherapy induced nausea and vomiting) โดยแพทยส์ ามารถใช้ผลติ ภัณฑ์กัญชาเพือ่
รักษาภาวะคลื่นไสอ้ าเจียนจากเคมบี าบดั ท่รี ักษาดว้ ยวธิ ีต่าง ๆ แลว้ ไมไ่ ดผ้ ล

5.2 โรคลมชกั ที่รกั ษายาก และโรคลมชักท่ีดือต่อยารักษา (intractable epilepsy)
ผู้ส่ังใช้ควรเป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบประสาท และได้รับการอบรมการใช้สารสกัดจากกัญชา
เพื่อการรักษาผ้ปู ่วย

5.3 ภาวะกล้ามเนือหดเกร็งสปาทิซิตี (spasticity) ในผู้ป่วยโรคปลอกประสาท
เสื่อมแข็ง (multiple sclerosis) แพทย์สามารถใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาในกรณีท่ีรักษาภาวะกล้ามเนือหด
เกร็ง ท่ดี อื ต่อการรักษารวมถงึ ในกรณีท่รี ักษาดว้ ยวิธีอื่น ๆ แล้วไมไ่ ด้ผล

5.4 ภาวะปวดประสาทนิวรูพาททริคเพน (neuropathic pain) แพทย์สามารถใช้
ผลิตภัณฑ์กัญชาในกรณที ี่รักษาภาวะปวดประสาททด่ี อื ต่อการรักษา
กกกกกกก1. 6. การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์น่าจะได้ประโยชน์ ในการควบคุม
อาการ ในกรณีที่ผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยวิธีมาตรฐานแล้วไม่สามารถควบคุมอาการของโรคได้ หาก
จะนาผลิตภณั ฑ์กัญชาและกัญชงมาใชก้ ับผู้ป่วยเฉพาะราย ปฏิญญาเฮลซิงกิ ของแพทยสมาคมโลก (ปี
ค.ศ. 2013) ระบุว่ามีความเป็นไปได้หากไม่มีวิธีการรักษาอ่ืน ๆ หรือมีวิธีการรักษาแต่ไม่เกิด
ประสิทธผิ ล ภายหลังจากได้ปรึกษาหารือผู้เชี่ยวชาญ และได้รับความยินยอมจากผู้ป่วย หรือญาตโิ ดย
ชอบธรรมแล้ว แพทย์อาจเลือกวิธีการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงมาช่วยชีวิตผู้ป่วย ฟ้ืนฟูสุขภาพ
หรือลดความทุกข์ทรมานของผูป้ ว่ ย

กกกกกกกบทที่ 7 ใชก้ ัญชาและกัญชงเป็นยาอยา่ งรู้คุณคา่ และชาญฉลาด
กกกกกกกกก1. ความเชอ่ื และความจรงิ เกยี่ วกับกัญชาและกัญชงทางการแพทย์

1.1 ความเชื่อเกี่ยวกับกัญชาและกัญชงในทางการแพทย์ ได้แก่ ตาราสมุนไพร
โบราณ กัญชาและกัญชงรักษาโรคมะเร็งได้ และกัญชาและกัญชงเป็นยารักษาชีวิตได้ ซ่ึงความเช่ือ

21

บางอย่าง ยังไม่มีผลการศึกษาวิจัยรองรับ แต่ความเช่ือบางอย่างยังอยู่ในการศึกษาวิจัย จึงไม่ควร
ปฏบิ ัตติ ามจนกว่าจะมีผลการวจิ ยั ความเชือ่ ท่ีได้ศึกษา ในหัวข้อดังกลา่ ว

1.2 ความจริงเก่ียวกับกัญชาและกัญชงทางการแพทย์ จากการวิจัยเก่ียวกับการใช้
กัญชาและกัญชงช่วยในการรักษาอาการ และโรคดังนี (1) อาการปวดเรือรังจากเส้นประสาท (2) อาการ
คล่นื ไส้อาเจยี น และเพิ่มความอยากอาหาร (3) โรคปลอกประสาทเสอ่ื ม และ (4) โรคลมชกั
กกกกกกกกก2. การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ในอนาคตให้ได้ประโยชน์ เช่น
โรคมะเร็ง โรคสมองเสอ่ื ม โรคเบาหวาน และโรคไตเรอื รงั เป็นต้น จาเป็นตอ้ งมีการศึกษาวิจัยถงึ ความ
ปลอดภัย และประสิทธิผลอย่างละเอียด ซึ่งปัจจุบัน (พ.ศ. 2562) ยังมีข้อมูลหลักฐานทางวิชาการไม่
เพียงพอ ผู้ป่วยจึงควรได้รับการรักษาตามวิธีมาตรฐานทางการแพทย์ในปัจจุบันหากเลือกใช้เฉพาะ
ผลติ ภัณฑ์กญั ชาและกัญชงในการรักษาแลว้ อาจทาให้ผู้ป่วยเสียโอกาสในการรักษาได้
กกกกกกกกก3.ข้อแนะนาก่อนตัดสินใจใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ มี 8 ข้อ ได้แก่
(1) ความสัมพันธ์ ระหว่างแพทย์กับผู้ป่วย เป็นพืนฐานในการยอมรับการรักษาพยาบาล รวมถึงการ
ประเมินผู้ป่วยว่าเหมาะสมท่ีจะใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงหรือไม่ (2) การประเมินผู้ป่วย ข้อมูล
ประวัติท่ีเกี่ยวข้องกับอาการของผู้ป่วย (3) การแจ้งให้ทราบ และตัดสินใจร่วมกัน (4) ข้อตกลงการรักษา
รว่ มกัน(5) เงอ่ื นไขที่เหมาะสม ในการตัดสินใจของแพทย์ในการสั่งใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง (6) การ
ติดตามอย่างต่อเนื่องและปรับแผนการรักษา (7) การให้คาปรึกษา และการส่งต่อ และ (8) การบันทึกเวช
ระเบยี น จะชว่ ยสนับสนนุ การตดั สนิ ใจในการแนะนาการใช้ผลติ ภัณฑ์กญั ชาและกัญชง
กกกกกกกกก4. การวางแผนการรกั ษาด้วยผลิตภัณฑ์กญั ชาและกญั ชงแนะนาให้ใช้ผลิตภัณฑ์กญั ชาและ
กัญชงในการทดลองรักษาระยะสัน เพ่ือประเมินประสิทธิผลในการรักษาผู้ป่วย แผนการรักษาควรมี
ความชัดเจน ใน 6 ประเด็น ได้แก่ (1) วางเป้าหมายการเริ่มรักษา และการหยุดใช้ แพทย์ควรหารือ
ร่วมกับผู้ป่วยให้ชัดเจน (2) การบริหารจัดการโดยแพทย์เวชปฏิบัติท่ัวไป (3) มีกระบวนการจัดการ
ความเส่ียง (4) กากับติดตาม ทบทวนทุกสัปดาห์ โดยแพทย์ หรือเภสัชกรผู้เช่ียวชาญ
(5) ให้ผู้ป่วยลงนามยินยอม และ (6) ให้คาแนะนาผู้ป่วยเมื่อใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง
ทางการแพทย์
กกกกกกกกก5. การเร่ิมใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงกับผู้ป่วยในทางการแพทย์ ต้องคานึงถึงข้อ
ปฏิบัติ 2 ประการ ได้แก่ (1) การซกั ประวัติอาการป่วยในปัจจุบัน ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต ประวัติ
เจ็บป่วยทางจิต และโรคทางจิตเวช และอาการทางจิตจากการได้รับยารักษาโรคพาร์กินสัน
ยารักษาโรคสมองเสื่อม และพฤติกรรมเสี่ยงท่ีสัมพันธ์กับการติดสารเสพติด และ (2) การกาหนด
ขนาดยาและการบรหิ ารยา ไม่มีขนาดยาเริ่มต้นที่แน่นอนในผลติ ภณั ฑ์กญั ชาและกัญชงแต่ละชนิด ขนาด
ยาทเ่ี หมาะสมขึนกบั ลักษณะของผู้ปว่ ยแต่ละคนโดยเร่ิมต้นขนาดต่าและปรับเพ่ิมขนาดชา้ ๆ จนได้ขนาด

22

ยาทเี่ หมาะสม ส่งผลต่อการรักษาสงู สุด และเกดิ ผลข้างเคียงต่าสุด ขนาดยาในระดับต่ามีโอกาสเกดิ ผล
ข้างเคียงน้อย
กกกกกกกกก6. ข้อห้ามใช้ผลิตภัณฑท์ ี่มสี าร THC และ CBD เป็นสว่ นประกอบมี 4 ข้อ ไดแ้ ก่ (1) ผู้ท่ี
มีประวัตแิ พ้ผลิตภัณฑท์ ี่ไดจ้ ากสารสกัดกัญชาและกัญชง (2) ผูท้ ี่มีอาการรุนแรง หรือมีปัจจัยเสี่ยงของ
โรคหลอดเลือดหัวใจ (3) ผู้ท่ีเป็นโรคจิต หรืออาการของโรคอารมณ์แปรปรวน หรือโรควิตกกังวลมาก่อน
และ 4) สตรมี ีครรภ์ สตรีท่ีให้นมบุตร รวมทังสตรีวัยเจรญิ พันธ์ทุ ่ีไม่ไดค้ ุมกาเนิด หรือสตรีวางแผนที่จะ
ตังครรภ์
กกกกกกกกก7. ข้อควรระวงั เก่ยี วกบั การใชผ้ ลติ ภณั ฑก์ ัญชาและกญั ชง

7.1 ข้อควรระวังทางการแพทย์ไม่ควรใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงในผู้ป่วยท่ีมีอายุ
ต่ากว่า 25 ปี เพราะมีผลข้างเคียงต่อสมองที่กาลังพัฒนา และไม่ควรใช้กับผู้ป่วยโรคตับ ผู้ติดสารเสพติด
รวมถึงนิโคติน ผู้ดื่มสุราอย่างหนัก ผู้ใช้ยาในกลุ่มโอปิออยด์ (opioids)ยากล่อมประสาท เด็กและ
ผู้สูงอายุ เน่ืองจากยงั ไมม่ ีข้อมูลทางวชิ าการมากเพียงพอ

7.2 ขนาดของกัญชาและกัญชงที่ใช้ในทางการแพทย์ในการรักษาโรค ยังไม่สามารถ
กาหนดขนาดการใช้ที่แน่นอนได้ โดยต้องปรับให้เหมาะกับแต่ละบุคคล และมีหลักสาคัญคือ เริม่ ทีละ
นอ้ ย แล้วคอ่ ย ๆ เพิ่มขนาด ซง่ึ ผู้ป่วยที่เป็นโรค หรือมีอาการต่างกัน จะใช้ขนาดยาต่างกัน โดยหากใช้
ขนาดยากญั ชาและกัญชงท่ีไม่ถูกตอ้ งจะเกิดการดือยา

7.3 ห้ามใช้นามันกัญชาและกัญชงทาบุหรี่เพราะเป็นอันตรายร้ายแรงต่อระบบ
ทางเดินหายใจ และไม่ควรใช้กับบหุ รีไ่ ฟฟา้ อาจทาให้ปอดอักเสบเปน็ อันตรายตอ่ สุขภาพ

7.4 สารตกค้างจากการสกดั นามันกัญชาและกัญชง ในการเลือกผลิตภณั ฑ์กญั ชาและ
กัญชงต้องศึกษาว่าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวใช้สารสกัดชนิดใด มีความปลอดภัยมากน้อยเพียงใด การสกัด
โดยตัวทาละลายแนฟทาหรือปิโตรเลียมอีเทอร์มีความปลอดภัยน้อยกว่าการสกัดด้วยเอทานอลหรือ
การต้มในนามันมะกอก เนื่องจากพบการตกค้างของตัวทาละลายท่ีมีความเสี่ยงที่ทาให้เกิดโรคมะเรง็ ได้
และวิธีการสกัดใหม่ท่ีเป็นที่นิยมในปัจจุบันได้แก่การสกัดโดยใช้คาร์บอนไดออกไซด์เหลวและเอทานอล
สกัดเยน็ เน่ืองจากมีความปลอดภัยสูง สามารถสกัดไดป้ รมิ าณมากและได้สารแคนนาบินอยด์เขม้ ข้น

7.5 ความปลอดภัยของนามันกัญชาและกัญชงต้องคานึงถึงแหล่งท่ีมา ผลิตภัณฑ์ทีไ่ ด้
มาตรฐานการผลิตทีด่ ี ต้องผา่ นการตรวจควบคุมคณุ ภาพ และสง่ั จา่ ยภายใต้แพทย์ เภสัชกรและแพทย์
แผนไทยทผี่ ่านการอบรมการใช้กัญชาและกญั ชง เพ่ือประโยชน์ทางการแพทยม์ าแล้ว

7.6 สายพันธุ์กัญชาและกัญชงเหมาะกับบางโรค จากการสังเกตการณ์เก็บข้อมูลจาก
งานวิจัย สารเคมีท่ีแตกตา่ งกนั ในกัญชาและกัญชงแต่ละสายพันธ์ุ และผลการรักษาในผู้ป่วยแตล่ ะโรค
ในต่างประเทศ พบว่ากัญชาและกัญชงแต่ละสายพันธ์ุมีคุณสมบัติท่ีเหมาะสมกับแต่ละโรคไม่เท่ากัน
แตย่ ังเป็นงานวจิ ยั ขันตน้ ต้องมกี ารศกึ ษาในเชงิ ลึกตอ่ ไป

23

7.7 หลักธรรมนาชีวิตพ้นพิษภัยจากกัญชาและกัญชง การใช้พุทธธรรมเพ่ือสร้าง
ภูมิคุ้มกันทางด้านจิตใจให้มีความเข้มแข็ง โดยใช้ภูมิคุ้มกันทางครอบครัวที่เป็นความรักความอบอุ่น
ความเข้าใจซ่ึงกันและกัน ภูมิคุ้มกันจากสังคมส่ิงแวดล้อม ภูมิคุ้มกันจากกัลยาณมิตร รวมถึงการ
เสริมสร้างการเรียนรทู้ ่ีเกิดจากตนเองเป็นผู้กาหนด เยาวชนของชาตสิ ่วนใหญ่ที่หลงเข้าไปเสพยา หรือ
เกี่ยวข้องกับยาเสพติด รวมทังกัญชาและกัญชง อาจเน่ืองจากขาดความรักความอบอุ่น ขาดความรู้
ความเข้าใจต่อสังคมเข้าใจว่าตนเองไม่มีคุณค่า และขาดความรู้ทางธรรมะพืนฐาน หากเราต้องการ
แก้ปัญหาเรื่องยาเสพติดของเยาวชน เราจาเป็นต้องแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของเยาวชนรวมทังตัวเราควร
ได้เรียนรู้ปรับทัศนคติมุมมองด้วยการใช้ปัญญา เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ในการแก้ปัญหาของตนเอง ใน
ด้านครอบครัว สังคม และมิตร ให้ประสานสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ เสมือนเฟืองสามตัวขับเคล่ือน
กลไกให้ทางานในเวลาเดียวกนั ดงั นันการป้องกันมิให้เยาวชนรวมทังตัวเราได้มีโอกาสเข้าไปยงุ่ เกย่ี วกับ
ยาเสพติด เป็นการป้องกันในลักษณะการสร้างความพร้อมในการใช้ชีวิตเตรียมความพร้อมในการเป็น
ผใู้ หญ่ หรือเป็นผู้ดูแลตนเองได้ โดยใช้ปัญญาเป็นเคร่ืองมือที่จะนาพาตนเองให้อยู่ในสังคมเป็นพลเมืองท่ี
มีคุณภาพ ซ่ึงจะเป็นปัจจัยสาคัญที่จะทาให้เราใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างภาคภูมิใจ เป็นพลเมืองที่มี
คณุ ภาพ มีความเข้มแข็งท่ีเกดิ จากกระบวนการใช้ปัญญาเป็นหลกั ทีย่ ึดเหน่ียว ซง่ึ จะเปน็ พืนฐานสาคัญ
ทจ่ี ะทาให้ประเทศไทยมพี ลเมืองท่ีมีคุณภาพนาพาประเทศใหม้ ีความสุขสงบ เจรญิ รงุ่ เรอื งสบื ไป
กกกกกกก1. 8. ข้อห้ามในการใช้กัญชาและกัญชงกับบุคคลต่อไปนี ได้แก่ ผู้ป่วยท่ีมีอาการทางระบบ
ประสาทผิดปกติ ผู้ป่วยโรคหัวใจขันรุนแรงท่ีมีอาการความดนั โลหิตต่าลงหรอื หัวใจเต้นเร็ว สตรีตงั ครรภ์
หรือให้นมบุตร บุคคลท่ีมีอายุต่ากว่า 25 ปี ผู้ป่วยโรคตับ โดยถ้าจาเป็นต้องใช้ต้องอยู่ในความดูแล
ของแพทย์ผู้เชย่ี วชาญ
กกกกกกก1. 9. การถอนพิษเบืองต้นจากการเมากัญชาและกัญชงท่ีมีอาการมึนศีรษะ โคลงเคลง
แนน่ หน้าอกจากการใชก้ ญั ชาและกัญชงเกนิ ขนาด มอี ยู่ 3 วิธี ไดแ้ ก่ วิธีท่ี 1 ให้ดมื่ นามะนาวผสมนาผึง หรือ
นาตาลทราย วิธีท่ี 2 ดื่มสมุนไพรรางจืด และวิธีท่ี 3 รับประทานกล้วยนาว้าสุก วันละ 3 เวลา เวลาเช้า
กลางวนั และเยน็

24

ผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวงั

1. เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับเหตุใดต้องเรียนร้กู ัญชาและกัญชงกัญชาและ
กัญชงพืชยาท่ีควรรู้ รู้จักโทษและประโยชน์ของกัญชาและกัญชง กฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับกัญชาและ
กัญชงกัญชาและกัญชงกับการแพทย์ทางเลือก กัญชาและกัญชงกับการแพทย์แผนปัจจุบัน และใช้
กัญชาและกัญชงเป็นยาอย่างรู้คณุ คา่ และชาญฉลาด

2. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ และทักษะในการคิดวิเคราะห์เก่ียวกบั เหตุ
ใดต้องเรียนรู้กัญชาและกัญชงกัญชาและกัญชงพืชยาที่ควรรู้ รู้จักโทษและประโยชน์ของกัญชาและ
กัญชง กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกัญชาและกัญชงกัญชาและกัญชงกับการแพทย์ทางเลือก กัญชาและ
กัญชงกบั การแพทย์แผนปัจจุบัน และใช้กญั ชาและกัญชงเปน็ ยาอยา่ งร้คู ุณค่าและชาญฉลาด

3. เพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในการให้คาแนะนาการใช้กัญชาและกัญชงเป็นยาอย่างถูกต้อง
กบั บคุ คลอ่ืน ๆ ทเ่ี กย่ี วข้อง

4. เพ่ือให้ผู้เรียนตระหนักถึงโทษของกัญชาและกัญชง และตระหนักถึงประโยชน์ของ
กญั ชาและกญั ชง เพอ่ื ใช้เปน็ ยาทางการแพทย์ทางเลอื ก และการแพทย์แผนปัจจุบนั

ขอบขา่ ยเน้อื หา

บทท่ี 1 เหตุใดต้องเรยี นรกู้ ัญชาและกญั ชง
โครงเรือ่ งท่ี 1 มมุ มองกฎหมายการใชก้ ัญชาและกัญชงในประเทศไทยและตา่ งประเทศ
โครงเรื่องท่ี 2 มุมมองการใชก้ ญั ชาและกญั ชงของประชาชนทั่วไป
โครงเรอ่ื งที่ 3 สภาพการณ์ข้อมลู ทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับกัญชาและกญั ชงผ่านสอ่ื ออนไลน์
โครงเรื่องท่ี 4 สภาพการณ์การใชก้ ัญชาและกญั ชงในตา่ งประเทศ
โครงเรื่องที่ 5 สภาพการณ์การใชก้ ญั ชาและกญั ชงในประเทศไทย
โครงเรอ่ื งท่ี 6 มุมมองการใช้กญั ชาและกญั ชงของบคุ ลากรทางการแพทย์
โครงเรือ่ งที่ 7 มมุ มองการใช้กัญชาและกัญชงของผูป้ ่วย
โครง เรื่องที่ 8สภาพการณ์และขนั ตอนการใหบ้ ริการคลินิกกญั ชาในประเทศไทย
บทท่ี 2 กญั ชาและกัญชงพืชยาทค่ี วรรู้
โครงเรอ่ื งท่ี 1 ประวัติความเปน็ มาของพืชกัญชาและกัญชง
โครงเรื่องที่ 2 ความรู้เบอื งต้นเก่ียวกับพชื กัญชาและกัญชง
โครงเรื่องท่ี 3 พชื กัญชาและกญั ชงคืออะไร แตกตา่ งกนั อย่างไร

25

โครงเรอ่ื งที่ 4 การใช้พืชกญั ชาและกญั ชงในชีวติ ประจาวันของคนในโลก
บทท่ี 3 รจู้ ักโทษและประโยชน์ของกัญชาและกัญชง
โครงเรอ่ื งที่ 1 โทษของกัญชาและกัญชง
โครงเรอ่ื งท่ี 2 ประโยชน์ของกญั ชาและกญั ชงทางการแพทย์
บทที่ 4 กฎหมายที่เก่ียวขอ้ งกบั กญั ชาและกัญชง
กกก เรื่องที่ 1 พระราชบญั ญัติยาเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. 2522
โครงเรอ่ื งที่ 2 พระราชบัญญัตวิ ตั ถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559
โครงเรื่องท่ี 3 พระราชบญั ญัติยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2562
โครงเร่อื งที่ 4 ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ทเ่ี กีย่ วข้องกับกัญชาและกญั ชง

เรื่องที่ 5 ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ
เรื่องที่ 6 พระราชบัญญัติสิทธิบัตรกบั กัญชาและกญั ชง
โครงเรอ่ื งที่ 7 ข้อปฏิบัตทิ ่ีต้องทาตามกฎหมายท่เี กย่ี วขอ้ งกับกญั ชาและกญั ชง
โครงเร่ืองที่ 8 โทษของการฝ่าฝืนกฎหมายท่เี กี่ยวข้องกับกัญชาและกญั ชง
โครงเรอ่ื งท่ี 9 กฎหมายระหว่างประเทศเก่ียวกับกญั ชาและกัญชง
บทท่ี 5 กญั ชาและกัญชงกับการแพทย์ทางเลือก
โครงเรอ่ื งที่ 1 ประวตั คิ วามเป็นมาการใช้กัญชาเปน็ ยาทางการแพทย์ในตา่ งประเทศ
โครงเรื่องที่ 2 ประวัตคิ วามเป็นมาการใช้กัญชาในการแพทย์ทางเลอื กของไทย
โครงเรื่องที่ 3 ตารับยาทมี่ ีกัญชาเป็นส่วนประกอบท่ีได้มกี ารคัดเลอื กและรบั รองโดย

กระทรวงสาธารณสุข
โครงเรอ่ื งที่ 4 ภมู ภิ ูเบศรรวบรวมและเผยแพรภ่ มู ิปัญญาไทย
โครงเร่อื งที่ 5 ภมู ิปญั ญาหมอพนื บา้ น นายเดชา ศริ ิภัทร
บทท่ี 6กัญชาและกัญชงกบั การแพทย์แผนปัจจบุ นั
โครงเรือ่ งที่ 1 ประวัตกิ ารใช้กัญชาและกญั ชงทางการแพทย์แผนปจั จุบนั
โครงเรื่องที่ 2 กัญชาและกัญชงที่ช่วยบรรเทาโรคแผนปัจจุบนั
โครงเรื่องที่ 3 การใชน้ ามันกัญชาและกัญชงกับการแพทย์แผนปจั จุบัน
โครงเรื่องท่ี 4 ผลิตภณั ฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์
โครงเรอ่ื งที่ 5 การใช้ผลิตภณั ฑก์ ัญชาและกญั ชงให้ไดป้ ระโยชนท์ างการแพทย์

ในปจั จบุ ัน
โครงเรอ่ื งท่ี 6 การใชผ้ ลติ ภณั ฑ์กัญชาและกญั ชงทางการแพทยน์ า่ จะไดป้ ระโยชนใ์ นการ

26

ควบคุมอาการ
บทท่ี 7 ใช้กัญชาและกญั ชงเปน็ ยาอยา่ งรูค้ ุณค่าและชาญฉลาด
โครงเร่ืองที่ 1 ความเชื่อและความจริงเกยี่ วกบั กัญชาและกัญชงทางการแพทย์
โครงเรอ่ื งที่ 2 การใช้ผลิตภัณฑก์ ัญชาและกัญชงทางการแพทย์ในอนาคตให้ได้ประโยชน์
โครงเรอ่ื งที่ 3 ขอ้ แนะนาก่อนตดั สนิ ใจใชผ้ ลติ ภณั ฑก์ ัญชาและกญั ชงทางการแพทย์
โครงเรอื่ งท่ี 4 การวางแผนการรกั ษาดว้ ยผลิตภณั ฑ์กัญชาและกัญชง
โครงเร่ืองท่ี 5 การเร่ิมใชผ้ ลิตภณั ฑก์ ญั ชาและกญั ชงในทางการแพทย์
โครงเรื่องที่ 6 ข้อห้ามใช้ผลติ ภัณฑ์ทมี่ สี าร THC และ CBD เปน็ สว่ นประกอบ
โครงเรอ่ื งท่ี 7 ขอ้ ควรระวังเก่ียวกับการใช้ผลิตภณั ฑก์ ัญชาและกัญชง
โครงเร่อื งที่ 8 ข้อหา้ มในการใชก้ ญั ชาและกญั ชง
โครงเร่ืองท่ี 9 การถอนพิษเบืองตน้ จากการเมากญั ชาและกัญชง

ส่ือประกอบการเรยี น

สื่อท่ีใช้ศึกษาเนือหาแต่ละบทมีทังส่ือเอกสาร ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่อแหล่งเรียนรู้
ในชุมชน

27

บทที่ 1

เหตุใดตอ้ งเรียนรู้กญั ชาและกญั ชง

สาระสาคัญ

กกกกกกก1. มุมมองกฎหมายการใช้กัญชาและกัญชงในประเทศไทยและต่างประเทศ กฎหมายท่ี
เกี่ยวข้องกับการใช้กัญชาและกัญชงในประเทศไทยและต่างประเทศ เพื่อเปิดโอกาสให้สามารถ
นากัญชา ไปทาการศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ และสามารถนาไปใช้ในการ
รักษาโรคภายใต้การดูแลและควบคุมของแพทย์ได้ ในต่างประเทศ ได้แก่ ประเทศอุรุกวัย แคนาดา
เนเธอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย อิสราเอล และมาเลเซีย แต่ในบางประเทศ เช่น
ประเทศแคนาดา หรือในบางรัฐของประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศทางยุโรป เป็นต้น มีการ
อนญุ าตใหใ้ ชก้ ญั ชาเพ่ือการนนั ทนาการได้อกี ดว้ ย
กกกกกกก2. มมุ มองการใช้กัญชาและกญั ชงของประชาชนท่วั ไป

2.1 มิติการระบาดของกัญชาและกัญชง ในประเทศไทยมีการแพร่กระจายของการ
นานามันกัญชา มาใช้ในการรักษาโรคต่าง ๆ ตามความเช่ือของประชาชน ซึ่งการใช้นามันกัญชา
ในปัจจุบันโดยส่วนมากเป็นการแอบซือมาใช้โดยไม่ทราบแหล่งท่ีมา และไม่ทราบว่าใช้กัญชาในการ
ผลิตมากนอ้ ยเพียงใด ไม่มีการควบคุมคุณภาพและความปลอดภัย หลงั จากที่ประชาชนนาไปใช้ ทาให้
ได้รับผลข้างเคียงจากการใช้นามันกัญชา และในต่างประเทศทั่วโลก มุ่งหน้าสู่การทาให้กัญชาเป็น
สิ่งถูกกฎหมาย ในรูปแบบใดรูปแบบหน่ึง ในหลายประเทศพยายามจะก้าวตามให้ทัน ซึ่งจะเห็นได้
หลายแห่งในภูมิภาคลาตนิ อเมริกา รฐั บาลอยากให้ชาวไร่ สามารถเข้าถงึ การปลูกกัญชาเพื่อการแพทย์
มากขนึ เพราะไดผ้ ลกาไรดี และเป็นตลาดทีก่ าลังเจรญิ เตบิ โต

2.2 ความเช่ือที่เกี่ยวข้องกับกัญชาและกัญชงในวิถีชีวิต ความเช่ือในประเทศไทยและ
ต่างประเทศ มีลักษณะคล้ายคลึงกันในการนากัญชามาใช้ในการปรุงอาหารเพื่อเพิ่มรสชาติ ในขณะที่
ประเทศไทยมีความเช่ือว่ากญั ชาเป็นส่วนผสมของยาพืนบ้านใช้ประโยชน์ทางยาได้ ส่วนในต่างประเทศ
จะใช้นามันกัญชาเพื่อรักษาโรคและบรรเทาอาการป่วย ผู้ที่คิดจะนานามันกัญชาไปใช้จึงควร
ตระหนกั ถงึ โทษอันตรายทีอ่ าจจะเกดิ ขนึ กบั ตนเอง หรอื ผู้มีสว่ นเกี่ยวขอ้ งได้

28

2.3 การสารวจความคิดเห็นของประชาชน จากผลการสารวจเรื่อง “คนไทยคิดเห็น
อย่างไร กับการนากญั ชามาใช้เป็นยารักษาโรค” พบว่าประชาชนส่วนใหญเ่ ห็นดว้ ยกบั การผลกั ดันให้มี
การนากัญชามาใชเ้ ป็นยารักษาโรคในประเทศไทย เร่ือง “กัญชาประโยชน์หรอื โทษ” พบวา่ ประชาชน
ส่วนใหญ่เห็นด้วย เพราะกัญชามีประโยชน์หลายอย่าง สามารถใช้ในการรักษาโรคได้ ถ้านามาใช้
ทางการแพทย์คาดว่าจะเกิดประโยชน์อย่างมาก และเร่ือง “การอนุญาตให้ใช้กัญชาและกระท่อม
ในทางการแพทย์” พบว่าประชาชนส่วนใหญ่ รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการอนุญาตให้ใช้ประโยชน์จาก
กญั ชาและกระทอ่ มทางการแพทย์ ในพระราชบัญญตั ิยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2562
กกกกกกก3. สภาพการณ์ข้อมูลที่เก่ียวข้องกับกัญชาและกญั ชงผา่ นสื่อออนไลน์ ข้อมูลที่เก่ียวข้องกับ
กัญชาและกัญชงผ่านส่ือออนไลน์ มีทังข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต (Internet) เฟซบุ๊ก (Facebook) ไลน์
(Line) และยูทูบ (YouTube) ข้อมูลเหล่านี ทาให้ประชาชนเข้าถึงได้ง่าย แต่ยังขาดการคิดวิเคราะห์
ว่าข้อมูลใดมีความน่าเชื่อถือ จึงควรมีความรู้ในการคิดวิเคราะห์แยกแยะข้อมูลท่ีสืบค้นได้ผ่านส่ือ
ออนไลน์ และตระหนักถงึ ความสาคญั ของการคิดวิเคราะห์แยกแยะขอ้ มูลทถ่ี ูกตอ้ ง
กกกกกกก4. สภาพการณ์การใช้กัญชาและกัญชงในต่างประเทศ การใช้กัญชาและกัญชงใน
ต่างประเทศ ใช้เสรีได้เพื่อนันทนาการ มีอยู่ในประเทศอุรุกวัย แคนาดา สหรัฐอเมริกาเป็นบางรัฐ
สเปนใช้ในพืนที่ส่วนตัว เนเธอร์แลนด์ใช้ในร้านกาแฟ ในขณะท่ีประเทศอื่น ๆ มากกว่า 30 ประเทศ
ใหใ้ ช้กัญชาในทางการแพทยร์ วมถึงประเทศไทยด้วย ส่วนการศึกษาและวจิ ัยเก่ียวกบั กัญชาและกญั ชง
มีในต่างประเทศมานานแล้ว สาหรับประเทศไทยไม่มีการศึกษาวิจัยเน่ืองจากกัญชาและกัญชงเป็นยา
เสพติด จงึ ไมม่ ผี ลการวิจัยมารองรับ
กกกกกกก5. สภาพการณ์การใช้กญั ชาและกัญชงในประเทศไทย กระทรวงสาธารณสขุ อนุญาตให้ใช้
ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์แผนปัจจุบัน ในการรักษาโรคภาวะคลื่นไส้อาเจียนในผู้ป่วยท่ีได้รับยา
เคมบี าบัด โรคลมชักท่ีรกั ษายากและที่ดือต่อยารักษา ภาวะกล้ามเนือหดเกร็งในผู้ปว่ ยปลอกประสาท
เสื่อมแข็ง ภาวะปวดประสาทที่รักษาวิธีอ่ืนไม่ได้ผล และให้ควบคุมอาการของโรคพาร์กินสัน อัลไซเมอร์
โรควิตกกังวล โรคปลอกประสาทอักเสบ และผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย ส่วนการแพทย์ทางเลือกได้
คัดเลือก และรับรองตารับยาที่มีกัญชาเป็นส่วนประกอบ ให้ผู้ป่วยใช้ไดโ้ ดยอยู่ภายใต้การควบคุมดูแล
ของแพทยท์ ไี่ ดร้ ับอนญุ าต
กกกกกกก6. มุมมองการใช้กัญชาและกัญชงของบุคลากรทางการแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์
มีความคิดเห็นว่าหากจะใช้กัญชาและกัญชงในทางการแพทย์ต้องแจ้งให้ชัดเจน ว่าใช้ได้กับโรคใด
ได้ผล มีความปลอดภัยทางวิชาการ คุณภาพของสารสกัดจากกัญชาและกัญชง ต้องระบุวิธีการสกัด
หรือมีสารปนเปื้อนหรือไม่ การเข้าถึงอย่างเป็นระบบ ทังระยะสันและระยะยาว รวมถึง มีการศึกษา
เร่ืองความปลอดภัยการใช้ในคน และในมิติต่าง ๆ เพ่ือให้แน่ใจว่าใช้แล้วไม่เกิดการเสพติด หรือมีการ
นาไปใช้ในทางท่ีผิด ซึง่ การผลิตยานันไม่ต้องการเพียงยาท่ีรักษาโรคเท่านัน แต่ยังต้องการยาที่มีความ

29

ปลอดภัย มีมาตรฐาน และมีคุณภาพ แม้กัญชาและกัญชงจะมีสรรพคุณเป็นยา ที่เป็นประโยชน์ต่อ
ผู้ป่วยในบางโรค แต่ถ้าใช้กัญชาอย่างไม่ถูกต้อง และไม่มีการควบคุมก็จะเป็นอันตรายทังต่อผู้ใช้และ
สงั คม
กกกกกกก7. มุมมองการใช้กัญชาและกัญชงของผู้ป่วย ผู้ป่วยมีความคิดเห็นว่าการใช้กัญชาและ
กญั ชงต้องคานึงถึงความจาเป็นและความต้องการของผปู้ ่วย โดยเฉพาะความพึงพอใจท่ีมีต่อการใช้ยา
ในการจัดการอาการ เพ่ือบรรเทาอาการต่าง ๆ ของโรค ถึงแม้ว่าจะเกิดอาการข้างเคียงที่เป็นผลลบ
บ้าง แต่อาการข้างเคียงดังกล่าวขนึ อยกู่ ับปริมาณการใช้ยาที่มีกญั ชาและกัญชงและความแตกต่างของ
แตล่ ะบุคคล
กกกกกกก8. สภาพการณ์และขันตอนการให้บริการคลินิกกัญชาในประเทศไทย ประเทศไทยเริ่ม
ให้บริการคลินิกกัญชาครังแรก เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ท่ีโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัย
ภเู บศร จังหวดั ปราจีนบุรี ต่อมาวนั ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2562 เปดิ ท่ีโรงพยาบาลมหาราชนครราชสมี า
จังหวัดนครราชสีมา และวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2562 ได้เปิดคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทย
ในโรงพยาบาลศูนย์ จานวน 14 แห่ง ตลอดจนภายในปี พ.ศ. 2562 ได้มีการเปิดคลินิกกัญชาทาง
การแพทย์แผนไทยเพ่ิมเติมในโรงพยาบาลชุมชน จานวน 12 แห่ง รวมทังเปิดคลินิกวิจัยนามันกัญชา
ตารับหมอเดชา จานวน 22 แห่งอีกด้วย นอกจากนีวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 กระทรวง
สาธารณสุขเปิดคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนปัจจุบัน 110 แห่ง และคลินิกกัญชาทางการแพทย์
แผนไทย 24 แหง่ เพ่ือเพมิ่ การเขา้ ถึงยากญั ชาอย่างปลอดภัยของผปู้ ่วย

ผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวงั

กกกกกกก1. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับมุมมองกฎหมายการใช้กัญชาและกัญชงใน
ประเทศและต่างประเทศ มุมมองการใช้กัญชาและกัญชงของประชาชนท่ัวไป สภาพการณ์ข้อมูลท่ี
เกี่ยวข้องกับกัญชาและกัญชงผ่านส่ือออนไลน์ สภาพการณ์การใช้กัญชาและกัญชงในต่างประเทศ
สภาพการณ์การใช้กัญชาและกัญชงในประเทศไทย มุมมองการใช้กัญชาและกัญชงของบุคลากรทาง
การแพทย์ มุมมองการใช้กญั ชาและกญั ชงของผูป้ ว่ ย และสภาพการณ์และขันตอนการใหบ้ รกิ ารคลนิ ิก
กญั ชาในประเทศไทย

กกกกกกก2. เพ่ือให้มที ักษะการแสวงหาความรู้ และทักษะการคิดวิเคราะห์ เหตุใดต้องเรียนรู้กญั ชา

และกัญชง
กกกกกกก3. เพ่ือให้ตระหนกั ถึงมุมมองทุกมิติท่ีเกี่ยวขอ้ งกับกัญชาและกัญชง รวมทงั สภาพการณก์ าร
ใช้กัญชาและกัญชงในตา่ งประเทศและประเทศไทย

30

ขอบข่ายเนือหา

กกกกกกกบทท่ี 1 เหตใุ ดตอ้ งเรยี นรู้กญั ชาและกญั ชง มขี อบขา่ ยเนอื หา 8 เนอื หา ดงั นี
กกกกกกก เรื่องที่ 1 มุมมองกฎหมายการใช้กัญชาและกญั ชงในประเทศไทยและต่างประเทศ
กกกกกกก เร่ืองที่ 2 มุมมองการใช้กัญชาและกญั ชงของประชาชนทว่ั ไป
กกกกกกก เรื่องท่ี 3 สภาพการณ์ขอ้ มลู ทเี่ ก่ียวข้องกบั กญั ชาและกัญชงผ่านสื่อออนไลน์
กกกกกกก เรื่องที่ 4 สภาพการณ์การใช้กัญชาและกญั ชงในตา่ งประเทศ
กกกกกกก เรอื่ งที่ 5 สภาพการณ์การใช้กัญชาและกัญชงในประเทศไทย
กกกกกกก เรื่องท่ี 6 มุมมองการใชก้ ัญชาและกัญชงของบุคลากรทางการแพทย์
กกกกกกก เรื่องท่ี 7 มมุ มองการใชก้ ัญชาและกญั ชงของผ้ปู ว่ ย
กกกกกกก เร่อื งที่ 8 สภาพการณ์และขันตอนการให้บริการคลนิ กิ กญั ชาในประเทศไทย

สอ่ื ประกอบการเรยี น

กกกกกกก1. ชอ่ื หนงั สือกัญชารกั ษามะเร็ง ชอื่ ผแู้ ต่ง สมยศ ศภุ กจิ ไพบูลย์ โรงพิมพ์ สานักพมิ พ์
ปญั ญาชน INTELLECTUALS ปีที่พมิ พ์ 2561
กกกกกกก2. ชอ่ื บทความ ข้อระวงั การใช้ผลติ ภณั ฑ์กัญชา ช่ือผู้เขียน ศนู ย์พิษวทิ ยารามาธิบดี
คณะแพทยศ์ าสตร์โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลยั มหิดล สืบค้นจาก https://www.hfocus.org
/sites/default /files/files_upload/khmuulkaychaasuunyphisraamaa_edit.pdf
กกกกกกก3. ช่ือบทความ คลินิกกญั ชาทางการแพทย์แผนไทย ดเี ดย์เปิดบริการ 13 แหง่ ทกุ เขต
สุขภาพ ชอื่ ผเู้ ขยี น ชวี จิต สบื คน้ จาก http://www.bbc.gooddlifeupdate.com/healthy-body/
กกกกกกก4. ช่ือบทความ มองกญั ชาให้รอบดา้ น ช่อื ผู้เขยี น พรทิพย์ ทองดี สืบค้นจาก
https://www.komchadluek.net/news/breaking-news/370287
กกกกกกก5. หอ้ งสมุดใกลบ้ ้านของผเู้ รียน

เรื่องท่ี 1 มมุ มองกฎหมายการใช้กัญชาและกญั ชงในประเทศไทยและต่างประเทศ

กกกกก ทาไมประชาชนต้องเรียนรู้เกี่ยวกับกัญชาและกัญชงอย่างรู้เท่าทัน เน่ืองจากมีการ
เปล่ียนแปลงของกฎหมายท่ีเปิดกว้างให้ใช้กัญชาเป็นประโยชน์ทางการแพทย์ได้ ประกอบกับกระแส
โลกและประชาชนในประเทศไทย มีความตื่นตัวให้ความสนใจการใช้ประโยชน์จากกัญชาและกัญชง
ทางการแพทย์ เพื่อการรักษาโรคเป็นไปอย่างกว้างขวางมากขึน และรัฐบาลปัจจุบันก็ได้กาหนด
นโยบายให้มีการส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีการใช้กัญชาและกัญชงในทางการแพทย์ และ
อุตสาหกรรมทางการแพทย์ ท่ีไม่ก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคม โดยต้องปฏิบัติตามท่ีกฎหมายบัญญัติไว้

31

อย่างเครง่ ครดั ดว้ ยเหตุนีจึงมคี วามจาเปน็ ต้องเตรียมสังคมให้มีความรู้เกีย่ วกับการใชก้ ญั ชาและกญั ชง
เป็นยาอย่างถูกต้อง เหมาะสม โดยเฉพาะโทษของกัญชาและกัญชง เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความ
เข้าใจเก่ียวกับกฎหมาย สภาพการณ์ข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชงผ่านส่ือออนไลน์ การใช้
กญั ชาและกัญชงในต่างประเทศ และในประเทศไทย มุมมองการใช้กัญชาและกัญชงของบุคลากรทาง
การแพทย์ และของผู้ป่วย รวมทังสภาพการณ์ และขันตอนการให้บริการคลินิกกัญชาในประเทศไทย
เพ่ือให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการใช้กัญชาและกัญชงอย่างถูกต้องกว้างขวางทุกมิติ
ซึง่ จะช่วยให้เกิดความตระหนักรู้ถงึ โทษ ท่ีเป็นพิษภยั ของการใช้ผลิตภัณฑ์จากกัญชาและกัญชงในทาง
ท่ีผิด อันจะนาไปส่ผู ลเสยี หายต่อตนเอง ครอบครัว สงั คม และประเทศชาตทิ ่ียากจะเยียวยาตามมาได้
การเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้กัญชาและกัญชงในหลักสูตรนี ไม่ส่งเสริมให้มีการปลูก หรือผลิตส่ิงที่เป็น
ผลิตภัณฑ์จากพืชกัญชาและกัญชง แต่เป็นการเรียนรู้ที่เน้นให้ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพืชกัญชา
และกญั ชงท่ีถกู ตอ้ ง โดยสามารถนาไปใชเ้ ปน็ ประโยชน์ทางการแพทยเ์ ทา่ นนั ดังมีรายละเอยี ดตอ่ ไปนี
กกกกก 1. มุมมองกฎหมายการใชก้ ัญชาและกัญชงในประเทศไทย

ในอดีตประเทศไทยให้กัญชาและกัญชงเป็นสารเสพติดประเภทท่ี 5 จนกระทั่งถึงวันที่
19 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ไดม้ ีการแก้ไขกฎหมายเพม่ิ เตมิ พระราชบัญญตั ิยาเสพติดให้โทษ (ฉบบั ท่ี 7)
พ.ศ. 2562 เพื่อเปิดโอกาสให้สามารถนากัญชาไปทาการศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อประโยชน์ทาง
การแพทย์ และสามารถนาไปใช้ในการรักษาโรคภายใต้การดูแลและควบคุมของแพทย์ได้ เป็นเร่ืองที่
สังคมไทยรับรู้มาตังแต่ปี พ.ศ. 2561 เพียงแต่องค์การสหประชาชาติ (UN : United Nations) มี
ข้อกาหนดเรื่ององค์กรกลาง ในการกากับดูแลการใช้กัญชาทางการแพทย์ กล่าวคือ ในกรณีที่มีการ
เพาะปลูกกัญชา หน่วยงานของรัฐจะต้องจัดตังองค์กรกลาง หรือหน่วยงานกัญชาแห่งชาติขึนมา
กาหนดดูแลเขตพืนท่ี และท่ีดินที่จะปลูกกัญชา รวมถึงจัดตังระบบการออกใบอนุญาต ซึ่งขณะนี
ประเทศไทย มีสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เป็นองค์กรกลางทร่ี ับผิดชอบอยู่ แต่ปัญหา
ท่ีเกิดขึนภายหลังจากท่ีกฎหมายมีผลใช้บังคับแล้ว คือ ประเทศไทยมีการเปิดเสรีให้ใช้กัญชาในทาง
การแพทย์เป็นประเทศแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เม่ือกฎหมายมีผลใช้บังคับตังแต่วันถัด
จากวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา คือ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 กฎหมายได้ให้ใช้กัญชาเพ่ือ
ประโยชน์ทางการแพทย์และการรักษาผู้ป่วย แต่ในความเป็นจริงคือ ไม่มีกัญชาในปริมาณเพียงพอ
สาหรับรักษาผู้ปว่ ย นอกจากนียังมีการเคล่ือนไหวทางสังคม ของกลุ่มนักการเมือง ผู้ออกกฎหมาย และ
เหล่าเกษตรกรผู้เพาะปลูก ผู้สนับสนุน ทาให้ประชาชนท่ัว ๆ ไป ได้รับรู้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย
การใช้กัญชาและกัญชงมีทังท่ีถูกต้องและไม่ถูกต้อง จึงมีความจาเป็นที่คนไทยต้องเรียนรู้กฎหมายการ
ใช้กัญชาและกัญชงที่ถูกต้อง ทังในอดตี และปัจจบุ ัน เพื่อเปน็ ภมู ิคุม้ กันใหส้ ามารถปฏิบตั ิตนไดถ้ ูกต้องไม
ฝ่าฝืนกฎหมายก่อเกิดปัญหาสังคม (รายละเอียดเก่ียวกับกฎหมายการใช้กัญชาและกัญชงในประเทศ
ไทยสามารถศกึ ษาได้จากหัวเรื่องท่ี 4 กฎหมายที่เกี่ยวขอ้ งกบั กญั ชาและกัญชง)

32

กกกกก 2. มุมมองกฎหมายการใช้กญั ชาและกัญชงในต่างประเทศ

ประเทศ มุมมองทางกฎหมาย

อรุ ุกวยั เป็นประเทศแรกท่ีเปิดให้ใช้กัญชาได้อย่างกว้างขวางขึน โดย

ประธานาธิบดี โฮเซ มูฮิกา (Jose Mujica) ออกกฎหมายเม่ือ

เดือนธันวาคม ค.ศ. 2013 หรือ พ.ศ. 2556 และในเดือน

สิงหาคม ค.ศ. 2014 หรือ พ.ศ. 2557 อนุญาตให้ประชาชนปลูก

กัญชาท่ีบ้านได้บ้านละ 6 ต้น ใหร้ วมกลุ่มเป็นสโมสรผู้ปลูกกัญชา

และเปิดให้มีรา้ นขายกัญชาไดโ้ ดยรัฐบาลควบคุมเอง

แคนาดา 28 พ ฤษ ภ าคม ค.ศ. 2019 ห รือ พ .ศ. 2562 โดยมูลนิ ธิ

สาธารณสุขแห่งชาติ ข้อมูลจากการบรรยายเรื่อง “บทเรียนการ

จัดการนโยบายจากประเทศแคนาดา” ใช้กัญชาทางการแพทย์

ตงั แตป่ ี ค.ศ. 2001 หรือ พ.ศ. 2544 และ มพี ระราชบัญญัตฉิ บับ

ใหม่เม่ือเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2018 หรือ พ.ศ. 2561 นอกจากใช้

ทางการแพทยแ์ ล้ว ล่าสดุ อนุญาตใหป้ ระชาชนใชเ้ พ่ือนันทนาการ

ได้ด้วย ประเทศแคนาดากลายเป็นประเทศท่ี 2 ของโลก ต่อจาก

ประเทศอุรุกวัยที่ประชาชนสามารถเสพกัญชาได้อย่างเสรี รวม

ไปถึงการเพาะปลูก จนการซือขาย ประเทศแคนาดาเป็น

ประเทศแรก ๆ ของโลกทมี่ ีการใช้กัญชาในทางการแพทย์ ซ่ึงเป็น

ประโยชน์ต่อผู้ป่วย “แม้ก่อนหน้านีรัฐบาลจะบอกว่าไม่ต้องการ

เปิดเสรีกัญชา แต่ศาลพิจารณาว่าการปฏิเสธสิทธิของประชาชน

เป็นการกระทาที่ไม่เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ รัฐบาลต้องเปิดเสรี

นคี่ ือเหตุผลทีเ่ ริม่ ใชท้ างการแพทย์”

เนเธอร์แลนด์ เป็นประเทศแรกท่ีนาร่อง ในการผ่อนปรนการควบคุมกัญชา

ทเี่ ร่ิมแบ่งยาเสพตดิ เป็นกลุ่มอันตรายมากกว่า และนอ้ ยกว่า และ

จัดกัญชาอยู่ในกลุ่มอันตรายน้อยกว่า ในปี ค.ศ. 1972 หรือ

พ.ศ. 2515 ซง่ึ กาหนดการครอบครองกัญชาไม่เกิน 30 กรมั เป็น

ความผิดอาญาไม่ร้ายแรง ปัจจุบันนโยบายความผิดทางอาญา

สาหรับยาเสพติดไม่ร้ายแรง เช่น การมียาเสพติดประเภทสอง

ไม่เกิน 5 กรัม จะไม่ถูกฟ้องร้องเป็นคดีอาญา การทาให้กัญชา

เปน็ ส่งิ ถกู ต้องในกฎหมายกญั ชา เรมิ่ ในปี ค.ศ. 2005 หรือ พ.ศ. 2548

33

ประเทศ มุมมองทางกฎหมาย
สหรฐั อเมรกิ า มีกฎหมายใหม่เรียกว่า “Amsterdam drugs Laws” กฎหมาย
นีอนุญาตให้ขายกัญชาในร้านกาแฟ (Coffee shops) ได้ โดย
กาหนดให้คนที่มีบัตรสมาชิกสามารถเข้าร้านประเภทนีได้ แต่
ป ร ะ ช าช น ทั่ ว ไป ท่ี อ า ศั ย อ ยู่ ใน พื น ท่ี จ ะ ร้ อ งเรี ย น เร่ื อ งปั ญ ห า
อาชญากรรมทส่ี งู ขนึ เพราะมีการคา้ ยาเสพติดตามท้องถนน
ใชร้ ปู แบบการปกครองประเทศแบบสหพนั ธรฐั (Federal State)
ประกอบด้วยมลรัฐ 50 มลรัฐ (State Government) และการ
ปกครองในระดับท้องถิ่น (Local Government) รัฐธรรมนูญ
สหรัฐอเมริกาได้อธิบายอานาจในการออกกฎหมายว่า “อานาจ
ทังหมดท่ีไมไ่ ด้มอบให้แก่รฐั บาลกลาง แตจ่ ะสงวนไว้ให้แก่รฐั บาล
มลรัฐ” โดยกฎหมายอาญาได้ถูกกาหนดให้อยู่ภายใต้ขอบข่าย
อานาจรฐั บาลกลาง ยกเวน้ การกระทาท่ีเป็นอันตรายต่อประเทศ
เท่านัน ในกฎหมายรัฐบาลกลาง รัฐสภาสหรัฐอเมริกากาหนดให้
การใช้กัญชายังคงเป็นส่ิงผิดกฎหมาย กัญชาเป็นยาเสพติด และ
การจาหน่ายกัญชาเป็นอาชญากรรม โดยมีกระทรวงยุติธรรม
(The Department of Justice) เป็ น ห น่ ว ย งาน บั งคั บ ใช้
กฎหมายควบคุมยาเสพติด (The Controlled Substances
Act) ส่วนกฎหมายมลรัฐมีความแตกต่างกัน ขณะนีมี 33 มลรัฐ
ท่ีอนุญาตให้ใช้กัญชาทางการแพทย์ ได้ และมี 10 มลรัฐ
ที่อนุญาตให้ใช้กัญชาในทางนันทนาการ แต่กัญชายังคงเป็น
ยาเสพติดที่ผิดกฎหมาย จึงไม่ได้รับการรับรองให้ใช้เป็นยารักษา
โรคได้ แม้ว่ามลรัฐต่าง ๆ จะได้แก้กฎหมายให้ใช้กัญชาทาง
การแพทย์ ดังนัน ผู้ท่ีครอบครองและแจกจ่ายกัญชาจะต้อง
ไดร้ บั โทษ มีผลทาใหก้ ารใช้กญั ชาทางการแพทยด์ าเนินการในตลาดมดื

34

ประเทศ มุมมองทางกฎหมาย
อังกฤษ มีกฎหมายควบคุมยาเสพติดมากกว่า 25 ฉบับ ตามกฎหมายว่า
ด้วยการใช้ยาในทางที่ผิด ซึ่งควบคุมการใช้ยาตามบัญชีรายช่ือ
ออสเตรเลยี โดยมีการจาแนก นาเข้า ผลิต จัดส่ง ครอบครองยาไว้เพ่ือการ
จดั ส่งและครอบครอง นโยบายยาเสพติดที่ชัดเจนเกี่ยวกับกัญชา
เร่ิมตังแต่ ค.ศ. 1971 หรือ พ.ศ. 2514 จากการตราพระราชบัญญัติ
ว่าด้วยการใช้ยาในทางที่ผิด เพ่ือให้สามารถปฏิบัติตามพันธกรณี
ของสนธิสัญญาระหว่างประเทศ หลายสนธิสัญญาท่ีได้ให้
สัตยาบันไว้ เพ่ือเป็นส่วนหน่ึงของความพยายามของรัฐบาลที่จะ
พัฒนายุทธศาสตร์ยาเสพติดระดับชาติที่สามารถแก้ไขปัญหา
การเสพยาและการติดยาเสพติดทแี่ พร่ระบาดมาอยา่ งยาวนานใน
สังคม ได้พัฒนาแผนยุทธศาสตร์ยาเสพติด ในปี ค.ศ. 2008 –
2018 หรือ พ.ศ. 2551 – 2561 เพื่อแก้ไขและปรับปรุง แผน
ยทุ ธศาสตร์ 10 ปี
กรุงแคนเบอร์ราเป็นเมืองแห่งแรกที่มีการรับรองการปลูกและใช้
กญั ชาเพ่ือนันทนาการ ส่ือท้องถ่ินออสเตรเลียรายงานว่า สภาเขต
(Australian Capital Tarritory, ACT) ได้ผ่านกฎหมายอนุญาต
ให้มีการปลูกกญั ชาในบ้าน รวมถงึ ครอบครองกัญชาได้ไม่เกิน 50
กรัม เพื่อใช้นันทนาการ นับว่าเป็นรัฐแรกของออสเตรเลียท่ีผ่าน
กฎหมายการใช้กัญชาในลักษณะดังกล่าว ในส่วนของรัฐอื่น ๆ
การใช้กัญชาเพอื่ นันทนาการยังคงผดิ กฎหมาย ออสเตรเลียได้ผ่าน
กฎหมายให้สามารถใช้กัญชาทางการแพทย์ได้ทั่วประเทศตังแต่
ปี ค.ศ. 1973 หรือ พ.ศ. 2516 สภาเขต (ACT) ไดล้ งมติรา่ งกฎหมาย
อนุ ญ าตให้ป ระชาชนท่ี อายุตังแต่ 18 ปีขึนไป สามารถ
ครอบครองกัญชาแห้งได้ไม่เกินคนละ 50 กรัม หรือสามารถปลูก
เพื่อใช้บริโภคในครัวเรือนได้ไม่เกินคนละ 2 ต้น สูงสุดไม่เกิน 4
ต้นต่อหน่ึงครอบครัว

35

ประเทศ มุมมองทางกฎหมาย
อสิ ราเอล ค ณ ะรั ฐ ม น ต รี ป ร ะ เท ศ อิ ส ร า เอ ล ร่ า ง แ ก้ ไข ก ฎ ห ม า ย ล ด โท ษ
ให้ ผู้เสพกัญชา โดยจะไม่จับกุมดาเนินคดีในทันที แต่ให้เสีย
ค่าปรับในการกระทาผิดครังแรกและครังที่สอง การลดโทษ
ดังกล่าวมีขึนสาหรับผู้เสพกัญชารายบุคคลเท่านัน โดยผู้ท่ี
ยอมรับสารภาพในการกระทาผิดครังแรกจะถูกปรับเป็นเงิน
1,000 เชเคล (ประมาณ 9,400 บาท) แต่จะถูกปรบั เพิ่มเป็นสอง
เท่าหากพบว่ากระทาผิดซาสอง อย่างไรก็ตามผู้ที่ยังกระทาผิด
เป็นครังท่ีสามจะถูกภาคทัณฑ์ และจะถูกดาเนินคดีอาญาในครัง
ท่ีสี่ ทังนี การซือขายและผลิตกัญชายังคงเป็นความผิดอาญาตาม
กฎหมายของอิสราเอล แต่การพิจารณาลดโทษครังนีมีขึนตาม
คาแนะนาของคณะกรรมการศึกษาปัญหายาเสพติด และตาม
แนวทางของประเทศพัฒนาแล้วในยุโรปและสหรัฐอเมริกาท่ีไม่
ถือว่าการเสพกัญชาในหลายกรณีเป็นความผิดอาญา แต่เน้นใช้
ในการศึกษา และช่วยเหลือบาบัดแก้ไขปัญหาการเสพติดแทน
นายกรัฐมนตรีเบนจามิน เนทันยาฮู ของอิสราเอลเผยว่า การลด
โทษดังกล่าว มีขึนอย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยในทางหน่ึง
อิสราเอลได้เปิดกว้างรับแนวทางแห่งอนาคตมาใช้ แต่ในอีกทาง
หนึ่งก็ยังคงตระหนักถึงอันตรายของยาเสพติด รัฐบาลจึง
พยายามสร้างสมดุลระหว่างแนวทางทังสอง โดยร่างแก้ไข
กฎหมายนียังต้องผา่ นความเห็นชอบจากรัฐสภาอกี ขันหนึ่ง จึงจะ
เร่ิมประกาศใช้ได้ สถิติของสานักงานป้องกันยาเสพติดและ
ปราบปรามอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations
Office on Drugs and Crimes, UNODC) ระบุว่ามีผู้ใช้กัญชาใน
อิสราเอลเกือบร้อยละ 9 ของประชากรทังหมด แต่เชื่อกันว่า
ตวั เลขจรงิ สงู กว่านันมาก ประเทศอิสราเอลยังเป็นประเทศผูว้ ิจัย
เพ่ือใช้กัญชาทางการแพทย์ชนั นาของโลกอีกดว้ ย

36

ประเทศ มมุ มองทางกฎหมาย
มาเลเซีย สานักข่าว Talking Drugs และ Highland รายงานตรงกันว่า
เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม ค.ศ. 2018 หรือ พ.ศ. 2561 ศาลสูงของ
มาเลเซียตัดสินประหารชีวิต นายมูฮัมหมัด ลุคแมน โดยการ
แขวนคอ มีความผิดฐานครอบครอง ผลิต และแจกจ่ายนามัน
กัญชาจานวน 3 ลิตร และกัญชาอัดแท่งปริมาน 279 กรัม ซึ่ง
เป็นของกลางท่ีเจ้าหน้าท่ียึดได้จากบ้านพัก เม่ือวันที่ 5 ธันวาคม
ค.ศ. 2015 หรือ พ.ศ. 2557 โดย นายลุคแมน ใช้นามันกัญชา
เพื่อรักษาลูก และแจกจ่ายให้กับคนไข้คนอื่น ๆ โดยไม่คิด
คา่ ตอบแทน อย่างไรกต็ ามการกระทานี ถือว่าผิดกฎหมายยาเสพ
ตดิ อันตราย ปี ค.ศ. 1952 หรือ พ.ศ. 2495 ของมาเลเซีย ที่ระบุ
ว่า “ผใู้ ดท่แี จกจ่ายยาเสพติดผิดกฎหมาย ถือว่ามีความผิด และมี
โทษถงึ ประหารชวี ิต”

กกกกก กล่าวโดยสรุป กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้กัญชาและกัญชงในประเทศไทยและ
ต่างประเทศ เพ่ือเปิดโอกาสให้สามารถนากัญชา ไปทาการศึกษาวิจัยและพัฒนาเพ่ือประโยชน์ทาง
การแพทย์ และสามารถนาไปใช้ในการรักษาโรคภายใต้การดูแลและควบคุมของแพทย์ได้ ใน
ต่างประเทศ ได้แก่ ประเทศอุรุกวัย แคนาดา เนเธอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย
อิสราเอล และมาเลเซีย แต่ในบางประเทศ เช่น ประเทศแคนาดา หรือในบางรัฐของประเทศ
สหรฐั อเมรกิ า และประเทศทางยโุ รป เปน็ ตน้ มกี ารอนญุ าตใหใ้ ชก้ ัญชาเพ่อื การนนั ทนาการไดอ้ ีกดว้ ย

ถาม

ผปู้ ่วยสามารถหาซือยากญั ชารกั ษาตนเองได้ไม่ผดิ กฎหมาย จริงหรือไม่

ตอบ

ไม่จริง เพราะกฎหมายยังไม่อนุญาตให้ผู้ป่วยหาซือกัญชาที่ขายตาม
ท้องตลาด หรือออนไลน์ได้ เนื่องจากคุณภาพอาจจะยังไม่ผ่านมาตรฐาน และอาจเป็น
อันตรายแก่ผู้ป่วยได้ แต่ผู้ป่วยสามารถเข้ารับการรักษาจากคลินิกกัญชาทางการแพทย์
ของโรงพยาบาลที่ไดร้ ับอนญุ าตได้

37

เรื่องที่ 2 มมุ มองการใช้กัญชาและกญั ชงของประชาชนทว่ั ไป

1. มิตกิ ารระบาดของกัญชาและกญั ชง
1.1 มติ ิการระบาดของกญั ชาและกัญชงในประเทศไทย

ก เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2562 นายมโนรมภ์ สินธพอาชากุล หัวหน้ากลุ่มงาน
แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ เปิดเผยว่า ในช่วงนีมี
การแพร่กระจายของการนานามันกัญชา มาใช้ในการรักษาโรคต่าง ๆ ตามความเชื่อของประชาชน
ซึ่งขณะนียังไม่เคยมีการอนุญาตให้นากัญชาหรือนามันกัญชามาใช้ในการรักษาโรคต่าง ๆ จากการ
แพร่กระจายของการนานามันกัญชามาใช้ในปัจจุบัน ส่วนมากเป็นการแอบซือมาใช้โดยไม่ทราบ
แหล่งท่ีมา และไม่ทราบว่าใช้กัญชาในการผลิตมากน้อยเพียงใด ไม่มีการควบคุมคุณภาพและความ
ปลอดภัย หลังจากท่ีประชาชนนาไปใช้ ทาให้ได้รับผลข้างเคียงจากการใช้นามันกัญชา จนเกิดอาการ
ความดันต่า หน้ามืด อาการใจส่ัน อาการคลุ้มคลั่ง จนต้องเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลเกือบ
ท่ัวประเทศ จากสถิติพบแทบทุกวัน แพทย์ต้องทาการรักษาอาการแบบประคับประคอง จนอาการดี
ขึน ซึ่งต้องใช้เวลานานหลายวัน ปัจจุบันกระทรวงสาธารณสุข ยังไม่สามารถควบคุมผู้ใช้นามันกัญชา
ได้ เนื่องจากผปู้ ว่ ยสว่ นใหญ่หามาใช้เอง โดยไมม่ ีการปรึกษาแพทย์

1.2 มติ กิ ารระบาดของกญั ชาและกญั ชงในต่างประเทศ
ก เม่ือวันท่ี 12 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ข้อมูลจากบีบีซี นิวส์ รายงานว่า รัฐบาลหลาย
ประเทศกาลังวางแผนจะทาให้การใช้กัญชาทางการแพทย์และนันทนาการถูกกฎหมาย มีการลง
ประชามติว่าควรจะดาเนนิ การนโยบายการใช้กญั ชาในทิศทางใด ซ่ึงมกี ารเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ที่กาลัง
เกิดขึนหลายประเทศ เช่น (1) ประเทศอังกฤษ มีการอนุญาตให้ใช้กัญชาทางการแพทย์ได้ (2)
ประเทศเกาหลีใต้ มีการอนุญาตให้ใช้กัญชาในทางการแพทย์ได้แต่มีการควบคุมอย่างเคร่งครัด (3)
ประเทศแอฟริกาใต้ ผ่านกฎหมายสามารถให้ใช้กัญชาในพืนท่ีส่วนตัวได้ และ (4) ประเทศเลบานอน
กาลังพิจารณาว่าจะทาให้การผลิตกัญชาเพื่อการแพทย์ถูกกฎหมาย เพื่อช่วยเศรษฐกิจของประเทศ
เป็นต้น และหลายประเทศทั่วโลกมุ่งหน้าสู่การทาให้กัญชาเป็นสิ่งถูกกฎหมาย ในรูปแบบใดรูปแบบ
หน่ึง พยายามจะก้าวตามใหท้ ัน ซึ่งจะเห็นได้หลายแหง่ ในภูมิภาคลาตินอเมริกา รัฐบาลอยากให้ชาวไร่
สามารถเข้าถึงการปลูกกัญชา เพื่อการแพทย์มากขึน เพราะได้ผลกาไรดี และเป็นตลาดที่กาลัง
เจรญิ เตบิ โต
ก กล่าวโดยสรุป ในประเทศไทยมีการแพร่กระจายของการนานามันกัญชา มาใช้ใน
การรักษาโรคต่าง ๆ ตามความเช่ือของประชาชน ซึ่งการใช้นามันกัญชาในปัจจุบันโดยส่วนมากเป็น
การแอบซือมาใช้โดยไมท่ ราบแหล่งที่มา และไมท่ ราบว่าใช้กญั ชาในการผลิตมากน้อยเพียงใด ไม่มีการ
ควบคุมคุณภาพและความปลอดภัย หลังจากท่ีประชาชนนาไปใช้ ทาให้ได้รับผลข้างเคียงจากการใช้

38

นามันกัญชา และในต่างประเทศท่ัวโลก มุ่งหน้าสู่การทาให้กัญชาเป็นส่ิง ถูกกฎหมาย ในรูปแบบใด
รูปแบบหนึ่ง ในหลายประเทศพยายามจะก้าวตามให้ทัน ซ่ึงจะเห็นได้หลายแห่งในภูมิภาคลาติน
อเมริกา รัฐบาลอยากให้ชาวไร่ สามารถเข้าถึงการปลูกกัญชาเพ่ือการแพทย์มากขึน เพราะได้ผลกาไร
ดี และเป็นตลาดทก่ี าลงั เจริญเตบิ โต

2. ความเช่ือท่เี กี่ยวข้องกบั กญั ชาและกัญชงในวถิ ีชีวิต
2.1 ความเช่ือในประเทศไทย

ก จากการลงพืนท่ีสารวจความรู้ของมูลนิธิโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร
ในพืนท่ีภาคใต้ พบว่า ชาวบ้านมีการใช้กัญชาโดยนาใบอ่อนมาใช้ในการปรุงอาหาร นามาใส่แกงส้ม
แกงกะทิ แกงมัสมั่น เมนูผัดต่าง ๆ หรือใช้รับประทานสด เป็นผักจิมนาพริก นาบูดู แต่จะใช้ปริมาณ
นอ้ ย 1-2 ใบ (ใชม้ ากจะทาให้เมาได้) มคี วามเช่อื กัญชาเพ่มิ รสชาติอาหาร ทาให้รับประทานข้าวไดม้ าก
นอนหลับ ในส่วนของการใชป้ ระโยชน์ทางยา หมอยาพืนบ้านภาคใต้นาใบกญั ชามาใช้แก้ปวดฟนั โดย
นาใบมาขยีพอแหลก ไปพอกหรืออุดบริเวณท่ีมีอาการ หรือนาไปต้มจนเดือดดื่มอุ่น ๆ ช่วยรักษา
อาการปวดเมื่อย เป็นยากษัยเส้น ทาให้ผ่อนคลาย คลายเครียด หรืออีกตารับหนึ่ง นาใบกัญชา
ตาละเอียดผสมนาต้มสุกพอกหนังศีรษะประมาณคร่ึงชั่วโมงแก้อาการผมร่วง คันหนังศีรษะได้
นอกจากภาคใต้แล้ว หมอยาพืนบ้านในภาคอ่ืน ใช้ดอกกัญชาป้ิงไฟให้เหลืองกรอบ ตาผสมพริกแกง
เผ็ดปรุงให้คนไข้เบื่ออาหารรับประทาน ทาให้คนไข้รับประทานข้าวได้มาก บางที่ใช้นาจากบ้องกัญชา
ให้คนไขอ้ หิวาตด์ ื่ม ทาให้คนไข้ได้พัก ตื่นมาอาการทุเลาลง ในตารับยาพืนบ้านล้านนาใช้กญั ชาผสมกับ
พริกไทยบดผสมนาดม่ื ทกุ คืน เช่ือว่าเป็นยาคมุ กาเนิดสาหรบั สตรไี ด้ แตย่ งั ไม่มผี ลการศึกษาวิจยั รบั รอง

2.2 ความเชื่อในตา่ งประเทศ
ก ประเทศในแถบยุโรป อเมริกา รวมถึงประเทศที่กฎหมายอนุญาตให้สามารถ
ครอบครองกัญชาได้ ทาการพัฒนาสูตรอาหารจากกัญชาขึน เริ่มจากเมนูพืนฐานอย่างชากัญชา
บราวน่ีกัญชา คุกกีกัญชา ขนมปังเนยกระเทียมกัญชา ไปจนถึงเมนูอย่างสปาเกตตี หรือนาสลัดท่ีใช้
แคนนาบิส บัตเตอร์ (Cannabis Butter) หรือเนยกัญชาในการปรุงนาสลัด มีความเช่ือว่าการใช้เนย
กญั ชาในการปรุงอาหารจะชว่ ยเพิม่ รสชาตแิ ละกลิน่ ให้หอม แตกตา่ งจากการใชเ้ นยธรรมดา
ก นอกจากนียังมีความเช่ือในการนานามันกัญชามาใช้เพื่อรักษาโรคมะเร็งและโรค
ร้ายแรงต่าง ๆ ได้แก่ การใช้นามันสูตร ริค ซิมป์สัน ออยล์ (Rick Simpson Oil, RSO) ว่าสามารถช่วย
รักษาหรือบรรเทาอาการจากโรคที่ตนเองประสบอยู่ได้ และมีความเชื่อเกี่ยวกับการใช้กัญชาเพื่อ
กระตุ้นอารมณ์ก่อนการมีเพศสัมพันธ์ ทังนียงั ไม่มีการศกึ ษาวิจัยอย่างชัดเจนทังในเร่ืองสารสกัดกัญชา
สามารถรักษาโรคมะเร็ง หรือสามารถกระตุ้นอารมณ์ความรู้สึกทางเพศได้ ผู้ท่ีคิดจะนานามันกัญชา
ไปใช้จึงควรตระหนักถึงโทษอันตรายท่ีอาจจะเกิดขึนกับตนเอง หรือผู้มีส่วนเก่ียวข้องได้ แต่มีผล
การศกึ ษาวจิ ยั กญั ชาจะไปช่วยในเร่ืองของคุณภาพชีวติ ของผู้ปว่ ยในบางโรคใหด้ ขี นึ

39

ก กล่าวโดยสรปุ ความเชอ่ื ในประเทศไทยและต่างประเทศ มลี ักษณะคลา้ ยคลึงกันใน
การนากัญชามาใช้ในการปรุงอาหารเพ่ือเพ่ิมรสชาติ ในขณะท่ีประเทศไทยมีความเช่ือว่ากัญชาเป็น
ส่วนผสมของยาพืนบ้านใช้ประโยชนท์ างยาได้ สว่ นในตา่ งประเทศจะใชน้ ามนั กัญชาเพื่อรักษาโรคและ
บรรเทาอาการป่วย ผู้ท่ีคิดจะนานามันกัญชาไปใช้จึงควรตระหนักถึงโทษอันตรายที่อาจจะเกิด
ขนึ กบั ตนเอง หรอื ผู้มสี ่วนเกี่ยวขอ้ งได้

3. การสารวจความคดิ เหน็ ของประชาชน
3.1 การสารวจความคิดเห็นของศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและพยากรณ์ทางการเกษตร

(แม่โจโ้ พล) ระหวา่ งวันท่ี 1 - 15 ธนั วาคม พ.ศ. 2561 เรอ่ื ง “คนไทยคิดเหน็ อยา่ งไร กบั การนากญั ชา
มาใช้เป็นยารักษาโรค” ไดท้ าการสารวจความคิดเห็นของประชาชนทั่วประเทศ จานวน 1,426 หน่วย
ตัวอย่าง มีวัตถุประสงค์เพ่ือสอบถามความคิดเห็นของประชาชนทั่วไป เกี่ยวกับการปลดล็อกกัญชา
ให้สามารถใช้เป็นยารักษาโรค ผลการสอบถามความเข้าใจเกี่ยวกับกัญชา พบว่า อันดับ 1 ร้อยละ
64.03 เห็นว่ากัญชาเป็นยาสูบประเภทหน่ึงคล้ายบุหรี่ อันดับ 2 ร้อยละ 59.68 เห็นว่ากัญชาเป็นยา
เสพตดิ ให้โทษ อันดบั 3 ร้อยละ 45.86 เหน็ ว่ากัญชาเป็นส่วนผสมในอาหารบางประเภท และอันดับ 4
ร้อยละ 10.73 เห็นว่ากัญชาเป็นยารักษาโรค และผลการสอบถามประเด็นการผลักดันให้กัญชา
สามารถนามาใช้เป็นยารักษาโรคได้ พบว่า อันดับ 1 ร้อยละ 61.78 เห็นว่าช่วยลดค่าใช้จ่ายในการใช้
ยานาเข้าจากต่างประเทศได้ อนั ดับ 2 รอ้ ยละ 59.75 เห็นว่าสารที่พบในกญั ชา สามารถนามาวิจัยและ
ผลติ เป็นยารักษาโรคได้ และอนั ดับ 3 ร้อยละ 52.66 เห็นว่าปจั จบุ ันกัญชาเป็นท่ียอมรบั ว่าเป็นของถูก
กฎหมายในบางประเทศแล้ว จากผลการสารวจสะท้อนให้เห็นว่า (1) ประชาชนส่วนใหญ่เห็นด้วยกับ
การผลักดันให้มีการนากัญชามาใช้เป็นยารักษาโรคในประเทศไทย (2) ราคายารักษาโรคในประเทศ
ไทย ยังมีค่าใช้จ่ายสูง ทาให้เกิดความเหล่ือมลาของคนภายในประเทศ ในการเข้าถึงการรักษาด้วยตัว
ยาบางประเภท (3) การนากัญชามาสกัดทายารักษาโรคในครังนี อาจส่งผลดีต่อการเข้าถึงตัวยา และ
ลดความเหล่ือมลาในสงั คมได้ และ (4) สามารถลดงบประมาณค่าใช้จ่ายในการนาเข้ายารกั ษาโรคบาง
ชนดิ จากตา่ งประเทศ

3.2 การสารวจความคิดเห็นของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) ได้ทาการ
สารวจความคิดเห็นของประชาชนเร่ือง “กัญชาประโยชน์หรือโทษ” ระหว่างวันท่ี 16 - 17 สิงหาคม
พ.ศ. 2561 จากประชาชนที่มีอายุ 18 ปีขึนไป กระจายทุกภูมิภาค ระดับการศึกษา และอาชีพ
ทั่วประเทศ จานวน 1,250 หน่วยตัวอย่าง เก่ียวกับการทาให้กัญชาถูกกฎหมายเพ่ือการรักษาโรค
ประเด็นทราบหรือเคยได้ยินเกี่ยวกบั ประโยชน์ของกัญชาท่ีสามารถนามาใชเ้ ป็นยารักษาโรคได้ พบว่า
(1) ร้อยละ 68.24 ระบุว่า ทราบหรือเคยได้ยิน (2) ร้อยละ 31.36 ระบุว่า ไม่ทราบหรือไม่เคยได้ยิน
และ (3) รอ้ ยละ 0.40 ไม่ระบุหรือไม่แน่ใจ และประเด็นการมีกฎหมายเฉพาะให้ใช้กัญชาเป็นยารักษา
โรคโดยถูกกฎหมายในอนาคต พบว่า (1) ร้อยละ 72.40 เห็นด้วย เพราะกัญชามีประโยชน์หลายอย่าง


Click to View FlipBook Version