The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

[กฎหมายเกี่ยวกับพัสดุ] เอกสารคำสอน พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดฯ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กองบัญชาการศึกษา, 2022-06-05 06:17:56

[กฎหมายเกี่ยวกับพัสดุ] เอกสารคำสอน พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดฯ

[กฎหมายเกี่ยวกับพัสดุ] เอกสารคำสอน พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดฯ

เอกสารคาสอน

กฎหมายว่าดว้ ยความรบั ผดิ ทางละเมดิ ของเจา้ หนา้ ท่ี
โดย พ.ต.อ.หญิงภัคฐพ์ ชิ า จันทรก์ ระจ่าง อาจารย์ (สบ5) กอจ.

เอกสารคาสอน วชิ ากฎหมาย หน้า 1

แผนการสอนประจาบท

วิชา กฎหมาย
บทท่ี 1 กฎหมายว่าดว้ ยความรบั ผิดทางละเมิดของเจ้าหนา้ ที่

หวั ขอ้ บรรยาย

1. แนวคดิ และความเป็นมาของความรบั ผดิ ทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี
2. ลักษณะของการกระทาละเมดิ ตามพระราชบญั ญตั ิความรบั ผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี

พ.ศ. 2539
3. ขอบเขตการบังคับใช้กฎหมาย
4. สาระสาคญั ของกฎหมายความรับผดิ ทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
5. การเรยี กใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีผ้กู ระทาละเมิดชาระเงินแกห่ นว่ ยงานของรัฐ
6. การใชม้ าตรการบังคบั ทางปกครองกรณีความรับผดิ ทางละเมดิ ของเจา้ หนา้ ท่ี

สาระสงั เขป

กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี มีหลักท่ัวไปเก่ียวกับแนวคิดและ
ความเป็นมาอย่างไร ขอบเขตการบังคับใชก้ ฎหมายในแงข่ องหน่วยงานและของเจา้ หนา้ ท่ี ในส่วนของ
เนื้อหาที่เป็นสาระสาคัญได้อธิบายถึงหลักเกณฑ์และขั้นตอนการออกคาสั่งให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 และระเบียบที่เก่ียวข้อง
ท้ังในกรณีเจ้าหน้าท่ีกระทาละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ และกรณีเจ้าหน้าท่ีกระทาละเมิด
ต่อบุคคลภายนอกแล้วหน่วยงานใช้สิทธิไล่เบี้ย และสิทธิในการอุทธรณ์ การพิจารณาอุทธรณ์ การฟ้องคดี
ขอให้เพิกถอนคาสั่งให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ตลอดจนหลักเกณฑ์และข้ันตอนการใช้มาตรการบังคับ
ทางปกครองกรณีความรบั ผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

วตั ถปุ ระสงค์

1. ผู้เขา้ อบรมสามารถอธิบายแนวคดิ และความเปน็ มาของกฎหมายความรับผิดทางละเมิด
ของเจ้าหนา้ ท่ีได้

2. ผ้เู ขา้ อบรมสามารถอธิบายหลกั เกณฑก์ ารชดใช้ค่าสินไหมทดแทนได้
3. ผูเ้ ขา้ อบรมสามารถอธิบายขน้ั ตอนการออกคาส่ังใหช้ ดใช้คา่ สนิ ไหมทดแทนได้

เอกสารคาสอน วิชากฎหมาย หน้า 2

4. ผ้เู ข้าอบรมสามารถอธิบายการอทุ ธรณ์คาส่งั ให้ชดใชค้ า่ สินไหมทดแทนและการฟ้องคดีได้
5. ผเู้ ข้าอบรมสามารถอธบิ ายหลกั เกณฑ์และขัน้ ตอนการบังคับทางปกครองได้

กจิ กรรมการเรยี นการสอน/ วธิ ีการสอน

1. การนาเข้าสู่บทเรยี น
1.1 แนะนาหัวข้อ ขอบเขตการเรียนการสอน กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจจากการ

กล่าวนาภาพรวมของเรอ่ื ง และให้เหน็ ประโยชน์ของการเรยี นรู้
1.2 สนทนาซกั ถามผ้เู รียนท่ีมาจากหลากหลายสายงาน เพอ่ื เชื่อมโยงไปยงั เรื่องที่จะสอน

และสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรยี นมีสว่ นรว่ มในการเรยี น
2. กิจกรรมการเรยี นการสอน
2.1 สอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ

ในเนอ้ื หาวชิ า โดยฝึกทกั ษะการฟัง การเขียน การพดู และการทางานเป็นกลุ่ม
2.2 การบรรยายโดยใช้สื่อการเรียนการสอนประกอบ เช่น PowerPoint ภาพนิ่ง

วดี ทิ ัศน์
2.3 การแบ่งกลุ่มอภิปรายจากโจทย์ปัญหาท่ีกาหนดให้ ได้ผลการอภิปรายที่เป็น

ความเห็นร่วมกันของกลุ่ม เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในการร่วมกันแก้ไขปัญหา และทักษะการพูดในการ
นาเสนอผล

3. การสรุปผล
3.1 ประมวลสาระสาคัญท่ีได้เรียนไปแล้วเข้าด้วยกัน เพ่ือสร้างความเข้าใจในหัวข้อ

การเรียนใหส้ มบูรณข์ นึ้
3.2 ผู้สอนให้ความคิดเห็นต่อการนาเสนอผลของผู้เรียนแต่ละกลุ่ม เพื่อสรุปองค์ความรู้

และให้ขอ้ เสนอแนะ
3.3 ใหผ้ ู้เรียนถามปัญหาเพอ่ื หาคาตอบ เทียบเคียงกับความเขา้ ใจเบอื้ งตน้ ของผู้เรียน

สอ่ื การสอน
1. เอกสารคาสอน
2. PowerPoint
3. วีดทิ ัศน์
4. กฎหมายท่ีเกี่ยวขอ้ งกับหวั ขอ้ วชิ า
5. คาพิพากษาศาล

เอกสารคาสอน วิชากฎหมาย หนา้ 3

แผนการประเมินผลการเรียนรู้

1. ผลการเรยี นรู้

1.1 ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ แนวคิดและความเป็นมา เนื้อหาท่ีเป็นสาระสาคัญ

ของพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 ได้แก่ หลักเกณฑ์และข้ันตอน

การออกคาส่ังให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน การอุทธรณ์ การฟ้องคดีต่อศาลเพ่ือขอให้เพิกถอนคาสั่ง

ใหช้ ดใชค้ า่ สินไหมทดแทน ตลอดจนหลักเกณฑ์การบังคับทางปกครอง

1.2 ผู้เรียนสามารถนาความรู้ที่ได้รับมาวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติหน้าท่ี

ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง

1.3 ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงเนื้อหาวิชาที่เรียน ซ่ึงมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับเน้ือหา

วชิ าอื่นมาผสมผสานเขา้ ดว้ ยกัน เพื่อใหเ้ กดิ องคค์ วามรู้ทห่ี ลากหลายและสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้

2. วธิ กี ารประเมินผลการเรียนรู้

2.1 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างการเรียนการสอน โดยการแสดงความคิดเห็น

ในการอภิปรายกลุม่ และการนาเสนอผล

2.2 ประเมินผลจากงานที่มอบหมายใหท้ าเล่มรายงานกลุ่ม และการนาเสนอผล

3. สดั ส่วนของการประเมิน

3.1 สงั เกตการมสี ่วนรว่ มกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียน 40 %

3.2 ประเมนิ ผลจากการรายงานและการนาเสนองาน 60 %

เอกสารคาสอน วิชากฎหมาย หน้า 4

แบบทดสอบก่อนเรยี น

1. แนวคิดของกฎหมายว่าดว้ ยความรับผดิ ทางละเมิดของเจ้าหนา้ ท่ีคืออะไร
2. หลักเกณฑ์การชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิด
ของเจา้ หน้าที่ แตกต่างจากประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์หรือไม่ อย่างไร
3. จงบอกขั้นตอนการออกคาสั่งใหช้ ดใช้ค่าสินไหมทดแทน
4. จงบอกหลักเกณฑก์ ารใชส้ ิทธิขอให้เพิกถอนคาสงั่ ให้ชดใช้คา่ สินไหมทดแทน
5. จงบอกวิธีการในการใช้มาตรการบังคับทางปกครอง กรณีความรับผิดทางละเมิด
ของเจ้าหนา้ ท่ี

เอกสารคาสอน วิชากฎหมาย หน้า 5

บทที่ 1
กฎหมายว่าดว้ ยความรบั ผิดทางละเมดิ ของเจา้ หนา้ ที่

แนวคดิ และความเป็นมาของความรับผดิ ทางละเมดิ ของเจา้ หน้าที่

1. แนวความคิดของความรับผดิ ทางละเมดิ ของเจ้าหน้าทใ่ี นต่างประเทศ
แนวความคิดเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ในต่างประเทศ ชาญชัย

แสวงศักดิ์, (2558 :21-26) กล่าวว่าได้มีศาสตราจารย์ชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์ ศึกษาวิเคราะห์
เปรยี บเทียบไว้ ซ่งึ จะนามากลา่ วใหเ้ ห็นแนวความคดิ ของบางประเทศ ดงั ตอ่ ไปน้ี

1.1 สหราชอาณาจักร เดิมในสหราชอาณาจักรวางหลักให้กษัตริย์หรือรัฐไม่ต้องรับผิด
ตามหลัก King can do no wrong และถือว่าเจ้าหน้าท่ีของรัฐจะต้องรับผิดเป็นการส่วนตัวโดยตรง
ถ้าก่อให้เกิดความเสยี หายแกผ่ ู้ใด ถึงแม้จะเป็นการปฏบิ ัติราชการตามหน้าที่ ต่อมามีกฎหมาย Crown
Proceedings Act 1947 บัญญัติให้ฟ้องเรียกค่าเสียหายจากรัฐได้เหมือนรัฐมีฐานะเป็นเอกชน
โดยจะฟ้องหน่วยงานของรัฐท่ีเกี่ยวข้องโดยตรงหรือจะฟ้องตัวเจ้าหน้าท่ี (Attorney General) ก็ได้
จึงเป็นหลักกฎหมายอย่างเดียวกับกรณีนายจ้างและลูกจ้าง ซึ่งเอกชนผู้เสียหายอาจฟ้องเจ้าหน้าที่
ของรัฐได้เช่นเดิม และเจ้าหน้าที่ของรัฐจะเป็นผู้รับผิดท่ีแท้จริงในที่สุดโดยรัฐเพียงรับผิดแทนไปก่อน
โดยไปฟ้องไล่เบ้ียจากเจ้าหน้าที่ในภายหลัง เจ้าหนา้ ทขี่ องรัฐจะอ้างวา่ ทาตามคาสั่งผูบ้ ังคับบัญชาไม่ได้
การคุ้มครองความรับผิดทางละเมิดจะมีสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐบางประเภทที่มีกฎหมายยกเว้น
ไวโ้ ดยตรง เชน่ ผทู้ าหนา้ ทตี่ ัดสนิ คดี เจา้ หน้าทสี่ าธารณสขุ ไปรษณีย์ เปน็ ต้น

1.2 เยอรมัน ประเทศเยอรมันมีระบบกฎหมายปกครองแยกออกจากหลักกฎหมาย
เอกชน แตเ่ ดิมส่วนราชการมปี ระมวลกฎหมายแพ่งบัญญตั ิให้เจา้ หน้าทขี่ องรฐั ผกู้ ระทาหน้าท่ีโดยจงใจ
หรือประมาทเลินเล่อรับผิดชอบเป็นส่วนตัวต่อผู้ที่ได้รับความเสียหาย ต่อมาหลักน้ีถูกเปล่ียนแปลง
โดยกฎหมายปี ค.ศ. 1910 และมาตรา 131 ของรัฐธรรมนูญปี ค.ศ. 1919 (Weimar Constitution)
ให้รัฐและองค์กรของรัฐเป็นผู้รับผิดชอบในผลละเมิดที่เกิดกับเอกชนโดยตรงเป็นเบื้องต้นก่อน
และต่อมารัฐธรรมนูญ ปี ค.ศ. 1949 มาตรา 34 ได้กาหนดหลักการไว้เช่นเดียวกัน โดยรัฐจะต้อง
รบั ผิดชอบละเมิดทุกอย่างท่ีกระทาโดยผู้ใช้อานาจรัฐ และรฐั จะไปฟ้องไล่เบี้ยเอาจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ผู้ทาละเมิดในภายหลังเฉพาะกรณีที่กระทาละเมิดโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงเท่านั้น
มี ผ ล ให้ เจ้ า ห น้ า ที่ ข อ งรั ฐ ไม่ ต้ อ งรั บ ผิ ด ห รื อ ถู ก ไล่ เบ้ี ย ก ร ณี ล ะ เมิ ด ที่ เกิ ด จ า ก ป ร ะ ม า ท เลิ น เล่ อ
เพียงเล็กนอ้ ย และไม่ตอ้ งถูกฟ้องโดยตรงต่อศาลด้วย

เอกสารคาสอน วชิ ากฎหมาย หนา้ 6

1.3 ฝร่ังเศส ประเทศฝรั่งเศสมีระบบกฎหมายปกครองเร่ืองละเมิดแยกออกจาก
กฎหมายเอกชน และยอมรบั กันมานานแล้วว่ารัฐจะตอ้ งรบั ผิดชอบในการกระทาของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
สาหรับเรื่องละเมิดทางปกครองได้วางหลักไว้ว่าจะต้องมีหลักเกณฑ์เฉพาะเพื่อความเหมาะสม
ของระบบราชการและการประสานสิทธิและประโยชน์ของรัฐและเอกชน และได้มีการพัฒนามา
โดยจาแนกความรับผิดเรื่องละเมดิ ออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่

(1) faute personelle เป็นกรณีเจ้าหนา้ ทขี่ องรฐั กระทาละเมดิ โดยวัตถปุ ระสงค์ส่วนตัว
กรณนี ้ีเจา้ หนา้ ท่ีของรัฐจะต้องรบั ผดิ ชอบเองในการเยยี วยาผเู้ สยี หาย รัฐจะไมเ่ ข้าไปรับผดิ ชอบดว้ ย

(2) faute de service เป็นกรณีเจ้าหน้าท่ีของรัฐก่อให้เกิดความเสียหายแก่เอกชน
ในการปฏิบัติตามหน้าทีแ่ ละไม่มวี ัตถปุ ระสงคไ์ ม่ชอบเป็นส่วนตัวของเจ้าหน้าทปี่ ะปนในการกระทาน้ัน
กรณีน้ีรัฐรับผิดชอบในความเสียหายโดยตรง เจ้าหน้าท่ีของรัฐไม่ต้องรับผิดชอบและจะไม่ถูกฟ้อง
เปน็ สว่ นตัว

(3) Cuml กรณีการกระทาละเมิดมีความรับผิดผสมกันทั้งความรับผิดของรัฐและ
ของเจ้าหน้าท่ีของรัฐเป็นส่วนตัว กรณีนี้ผู้เสียหายอาจฟ้องเจ้าหน้าที่ของรัฐเป็นส่วนตัวหรือจะฟ้องรัฐ
โดยตรงก็ได้ ส่วนในระหว่างรัฐกับเจ้าหน้าที่ของรัฐนั้นจะมีการฟ้องไล่เบี้ยกันได้ตามความรุนแรง
แห่งการกระทาละเมิด ซ่ึงการฟ้องไล่เบี้ยนั้นปกติรัฐจะฟ้องเฉพาะกรณีละเมิดโดยจงใจ โดยเจตนาร้าย
หรือโดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงเท่านั้น และกรณีกระทาละเมิดร่วมกันหลายคนจะไม่ใช้
หลักความรับผิดอย่างลูกหน้ีร่วมต่อรัฐ แต่ศาลจะกาหนดค่าสินไหมทดแทนสาหรับผู้ร่วมกระทาผิด
แต่ละคนเป็นรายบุคคลตามความรุนแรงของความผิดแต่ละคน โดยคานึงถึงตาแหน่งหน้าท่ี
ท่ีรับผดิ ชอบของเจา้ หน้าทข่ี องรฐั แตล่ ะคนดว้ ย

เห็นได้ว่า กรณีความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ีของรัฐในต่างประเทศ ในบางประเทศ
บั ญ ญั ติ ก ฎ ห ม า ย ให้ ค ว า ม รั บ ผิ ด ท า ง ล ะ เมิ ด ข อ ง เจ้ า ห น้ า ที่ ข อ ง รั ฐ แ ย ก อ อ ก จ า ก ค ว า ม รั บ ผิ ด
ตามกฎหมายเอกชน เชน่ เยอรมัน ฝรัง่ เศส โดยหลกั รัฐจะเป็นผู้รับผิดชอบละเมดิ ของเจ้าหน้าท่ที ี่เกิด
จากการกระทาในการปฏิบัติหน้าท่ีแล้วจะไปฟ้องไล่เบี้ยเอาจากเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ทาละเมิด
ในภายหลัง และการฟ้องไล่เบ้ียจะทาเฉพาะกรณีท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาละเมิดโดยจงใจหรือ
ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงเท่านั้น แต่ในบางประเทศไม่ได้มีการแบ่งแยกความรับผิดทางละเมิด
ของเจ้าหน้าที่ของรัฐให้แตกต่างจากเอกชน ซ่ึงมีหลักให้ลูกจ้างเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรง โดยนายจ้าง
เป็นเพียงผู้รับผิดชอบแทนไปก่อนแล้วฟ้องไล่เบี้ยกับลูกจ้างได้ในภายหลัง เช่น สหราชอาณาจักร
จะมีหลักกฎหมายเช่นเดียวกับกรณีนายจ้างลูกจ้างในกฎหมายเอกชน แต่ก็มีการบัญญัติกฎหมาย
ยกเว้นไว้โดยตรงให้มีการคุ้มครองเจ้าหน้าที่ของรัฐบางประเภท ซึ่งจะเห็นได้ว่าทุกประเทศมีความเห็นว่า
เจา้ หนา้ ทขี่ องรัฐควรรับผิดจากละเมดิ ในการปฏบิ ตั ิหนา้ ทแ่ี ตกต่างจากเอกชน

เอกสารคาสอน วิชากฎหมาย หนา้ 7

2. แนวความคิดของความรบั ผดิ ทางละเมดิ ของเจ้าหน้าท่ีในประเทศไทย
2.1 ในสมัยสมบูรณาญาสิทธริ าชย์ อานาจการปกครองประเทศเป็นของพระมหากษตั ริย์

การฟ้องรอ้ งพระมหากษัตรยิ ์หรือส่วนราชการ รวมท้ังเจา้ หนา้ ที่ของรฐั ท่ีกระทาการในพระปรมาภิไธย
ไม่อาจกระทาได้ การฟ้องให้ข้าราชบริพารรับผิดด้วยประการใดๆ ก็ต้องเอาเนื้อความน้ันขึ้นบังคมทูล
พระกรุณาให้ทราบก่อน ตามกฎหมายตราสามดวงลกั ษณะอาญาหลวง มาตรา 28 บัญญัตวิ ่า “มีผู้มา
ฟ้องหาข้อทูลละอองธุลีพระบาทด้วยคดีประการใดๆ ให้เอาเนื้อความนั้นขึ้นบังคมทูลพระกรุณา
ให้ทราบก่อน ถ้าทรงพระกรุณาส่ังให้พิจารณา จึงพิจารณาได้ ถ้าผู้ใดเอาไปพิจารณาไต่ถามตีโบย
โดยพละการเอง ทา่ นว่าผู้น้ันละเมิดพระราชอาญาท่าน ทา่ นใหล้ งโทษ 6 สถาน”

ต่อมาได้มีการแก้ไขหลักเกณฑ์ดังกล่าวว่า ถ้าเป็นเพียงสินไหมพินัย ให้ศาลพิจารณา
พิพากษาไปตามพระราชกาหนดกฎหมายโดยไม่ต้องนาเน้ือความขึ้นกราบบังคมทูลพระกรุณาก่อน
เวน้ แตค่ ดีน้ันจะตอ้ งตโี บย จาจอง

สาหรับการฟ้องกระทรวง ทบวง กรม ในฐานะเป็นหน่วยราชการของพระมหากษัตริย์
ศาลฎีกากาหนดหลักการฟ้องคดีท่ีเกี่ยวกับสัญญาหรือละเมิดไว้ในปี ร.ศ. 121 โดยคาพิพากษา
ศาลฎีกาท่ี 520/121 ว่ากระทรวงและกรมท่ีถูกฟ้องจะไม่ยอมตกเป็นจาเลยก็ได้ และใน ร.ศ. 129
กระทรวงยุติธรรมได้ออกกฎเสนาบดีรับรองสิทธิของกระทรวงและกรมไว้ชัดเจนว่า เมื่อถูกฟ้องแล้ว
กระทรวงและกรม จะมาเป็นจาเลยหรือไม่ก็ได้ ศาลไม่มีอานาจบังคับ เป็นหน้าท่ีของโจทก์
ตอ้ งทูลเกลา้ ฯ ถวายฎีกา หรือกระทรวงและกรมยอมมาเป็นจาเลยเอง ผู้เสียหายจึงเดอื ดรอ้ นเสียหาย
มิอาจฟ้องกระทรวงทบวงกรมได้ ก่อให้เกิดปัญหาว่าผู้เสียหายจะฟ้องข้าราชการให้รับผิดเป็นส่วนตัว
ได้หรือไม่ ในขณะน้ันศาลไทยยึดตามกฎหมายอังกฤษ คือ ต้องฟ้องข้าราชการให้รับผิดเป็นส่วนตัว
ปรากฏตามตาราหลักกฎหมายประทษุ ร้ายสว่ นแพ่งของพระยาเทพวิทุรวา่ “พระเจ้าแผน่ ดินแลรัฐบาล
ถูกฟ้องร้องในทางประทุษร้ายส่วนแพ่งไม่ได้ แลท่ีว่านี้กินความตลอดถึงกระทรวงและกรมต่างๆ ด้วย
นอกจากเขาจะยินยอมเป็นจาเลย ท่ีว่ามาน้ีไม่กินความถึงการที่จะฟ้องร้องส่วนตัว เจ้าพนักงานหรือ
เจ้าหน้าท่ีในกระทรวงหรือกรม ถ้าเจ้าพนักงานหรือเจ้าหน้าท่ีกระทาผิด ฟ้องร้องได้” (ชาญชัย แสวงศักดิ์,
2558: 27-28)

2.2 ในสมัยที่มีประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แล้ว เม่ือประกาศใช้ประมวล
กฎหมายแพง่ และพาณิชย์ แต่ยังไม่มีกฎหมายเกี่ยวกับความรับผดิ ทางละเมิดของเจ้าหน้าที่โดยเฉพาะ
กรณีมีเหตุละเมิดท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาละเมิดในการปฏิบัติหน้าท่ีต่อเอกชน เม่ือมีการนาคดี
ขึ้นสู่ศาล จะนาหลักกฎหมายเอกชนว่าด้วยละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในมาตรา
420 ถงึ มาตรา 452 มาใชบ้ งั คับ (ชาญชัย แสวงศกั ด์ิ, 2558: 28)

2.2.1 สภาพปัญหาการใช้หลักกฎหมายก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรม การใช้
หลักกฎหมายเอกชนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาใช้บังคับกับละเมิดในการ ปฏิบัติงาน

เอกสารคาสอน วชิ ากฎหมาย หน้า 8

ของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ มีสภาพปัญหาเกิดข้ึนคือทาให้เกิดความไม่เป็นธรรมแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ เน่ืองจาก
การกระทาละเมิดของเจ้าหน้าท่ีของรัฐที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ เป็นความรับผิดชอบท่ีเกิดจาก
การปฏิบัติงานตามอานาจหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมายจากหน่วยงานของรัฐ เพ่ือประโยชน์ของรัฐ การที่
เจ้าหน้าท่ีต้องรับผิดชอบเป็นการส่วนตัวในผลแห่งละเมิด โดยรัฐไม่มีส่วนรับผิดใดๆ เพียงรับผิดแทน
ไปก่อนแล้วไปไล่เบี้ยเอาจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ มีผลเสียต่อระบบการดาเนินงานของราชการ
กล่าวคือ เจ้าหน้าที่ที่สุจริต ขยันหมั่นเพียร อาจตัดสินใจผิดโดยสุจริต หรือประมาทเลินเล่อ
เพียงเล็กน้อย ก่อให้เกิดผลละเมิดและต้องรับผิดโดยหลีกเลี่ยงไม่ได้ (ชาญชัย แสวงศักด์ิ, 2558: 34)
จึงมีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ใน หลายประการ เช่น ทาให้เจ้าหน้าท่ีไม่กล้า
ตดั สินใจ ขาดขวัญกาลงั ใจในการปฏิบัติงาน และกรณีเจา้ หน้าที่กระทาละเมิดร่วมกันหลายคน เม่ือใช้
หลักลูกหน้ีร่วมตามกฎหมายเอกชนมีผลให้เจ้าหน้าท่ีต้องรับผิดสูงกว่าละเมิดที่ตนเองก่อให้เกิด
ความเสียหาย ดังนัน้ จึงได้มแี นวคิดในการตราพระราชบัญญตั ิความรับผดิ ทางละเมิดของเจา้ หน้าท่ีขึ้น
เพอื่ ให้เกดิ ความเป็นธรรม และเพมิ่ พูนประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ัติงานของรัฐ

2.2.2 การนาพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 มาใช้
บงั คับ มีเหตุผลแยกพิจารณาได้ ดังน้ี

1) การท่ีเจ้าหน้าที่ดาเนินกิจการต่างๆ ของหน่วยงานของรัฐ เป็นไปเพื่อประโยชน์
ของหน่วยงานไม่ใช่ประโยชน์เฉพาะตัว การที่ปล่อยให้เจ้าหน้าที่ท่ีปฏิบัติงานในหน้าที่และทาให้เกิด
ความเสียหายแก่เอกชนต้องรับผิดตามหลักกฎหมายแพ่งและพาณิชย์นั้นไม่เหมาะสม ก่อให้เกิด
ความเขา้ ใจผิดว่าเจ้าหนา้ ทีจ่ ะต้องรบั ผิดในการกระทาเปน็ การเฉพาะตวั เสมอไป

2) หน่วยงานของรัฐรับผิดชอบต่อบุคคลภายนอกเพียงใดก็จะมีการฟ้องไล่เบี้ย
เอาจากเจ้าหน้าที่เต็มจานวนนั้น บางกรณีเจ้าหน้าที่ไม่ตั้งใจหรือเป็นความผิดพลาดเล็กน้อย
ในการปฏิบัติหน้าที่

3) การนาหลักลูกหนี้ร่วมตามระบบกฎหมายแพ่งมาใช้บังคับ ซึ่งระบบดังกล่าว
มุ่งหมายจะได้เงินครบโดยไม่คานึงถึงความเป็นธรรมของแต่ละคน การให้เจ้าหน้าที่ต้องร่วมรับผิด
ในการกระทาของเจ้าหน้าที่ผู้อื่นด้วยก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรม และเป็นการบ่ันทอน
ขวญั กาลงั ใจในการปฏิบตั งิ าน และทาใหไ้ มก่ ล้าตดั สนิ ใจปฏบิ ัติงานเน่อื งจากเกรงกลัวความรับผิด

4) การให้คุณโทษแก่เจ้าหน้าที่ เพ่ือควบคุมการทางาน ยังมีการควบคุมด้วยวิธีการ
บริหารงานบุคคลและการดาเนินการทางวินัยกากับดูแลอยู่อีกส่วนหน่ึง อันเป็นหลักประกันมิให้
เจา้ หนา้ ทที่ าการใดๆ โดยไมร่ อบคอบ

เอกสารคาสอน วชิ ากฎหมาย หน้า 9

ลักษณะของการกระทาละเมิดตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
พ.ศ. 2539

ความหมายของการกระทาละเมดิ
พระราชบัญญัติฉบับน้ีไม่ได้นิยามศัพท์คาว่า “ละเมิด” การจะพิจารณาว่าการกระทา
ของเจ้าหน้าท่ีเป็นละเมิดหรือไม่ จึงต้องเป็นไปตามบทบัญญัติของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา 420 ตามคาพิพากษาศาลปกครองสงู สุดท่ี อ. 101/2548 วินิจฉัยว่าการที่จะพิจารณาว่าการกระทา
ของเจ้าหน้าที่อนั เปน็ เหตุแห่งการฟ้องคดนี ั้นเป็นละเมิดหรือไม่ และหน่วยงานของรัฐต้องรับผิดหรือไม่
ต้องนาบทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ท่ีเก่ียวข้องมาวินิจฉัยเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้ง
กับบทบัญญัติในพระราชบัญญัติดังกล่าว รวมท้ังบทบัญญัติเก่ียวกับลักษณะของการกระทาที่เป็น
ละเมิดตามมาตรา 420
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420 บัญญัติว่า “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
ทาต่อบุคคลอ่ืนโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดีเสรีภาพก็ดี
ทรัพย์สนิ หรอื สิทธิอยา่ งหน่ึงอยา่ งใดกด็ ี ท่านวา่ ผนู้ นั้ ทาละเมิดจาต้องใชค้ ่าสินไหมทดแทนเพื่อการน้ัน”
การกระทาละเมิด จึงมีหลกั เกณฑ์ 3 ประการ คือ 1) กระทาโดยจงใจหรอื ประมาทเลินเล่อ
2) กระทาต่อบุคคลอ่ืนโดยผิดกฎหมาย 3) บุคคลอื่นได้รบั ความเสียหาย ซ่ึงนิยามความหมายของการ
กระทาโดยจงใจหรอื ประมาทเลนิ เล่อตามกฎหมายได้ดังน้ี
“กระทาโดยจงใจ” คือ การกระทาโดยรู้สานึกถึงการกระทาของตนว่าจะก่อให้เกิด
ความเสียหายแก่บุคคลอื่น กล่าวคือถ้ารู้ว่าการกระทานั้นจะเกิดผลเสียหายแล้วถือว่าเป็นการ
กระทาโดยจงใจ ไม่ว่าความเสียหายจะเกิดข้ึนมากน้อยเพียงใดก็ตาม แม้ผลเสียหายจะมากกว่า
ท่ีคาดคิดไว้ ซึ่งมีความหมายกว้างกว่ากระทาโดยเจตนาตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59 วรรค
สอง ท่ีบัญญัติว่ากระทาโดยเจตนา ได้แก่กระทาโดยรู้สานึกในการที่กระทาและในขณะเดียวกัน
ผู้กระทาประสงค์ต่อผลหรือย่อมเล็งเห็นผลของการกระทานั้น (ชาญชัย แสวงศักด์ิ, 2558: 46-47)
เพราะเจตนาผู้กระทาต้องประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผล แต่จงใจไม่ต้องเจาะจงให้เกิดผลเสีย
อยา่ งใดอย่างหนึ่งขน้ึ โดยเฉพาะดงั เช่นการกระทาโดยเจตนาในทางอาญา (สุษม ศุภนิตย,์ 2543: 15)
“กระทาโดยประมาทเลินเล่อ” คือ การกระทาโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคล
ในภาวะเช่นนั้นจาต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์และผู้กระทาอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่าน้ันได้
แต่หาได้ใช้ให้เพยี งพอไม่ โดยใช้การเปรียบเทียบกับบุคคลอื่นท่ตี ้องมีความระมัดระวังตามพฤติการณ์
และฐานะในสังคมเช่นเดียวกับผู้กระทาให้เกิดความเสียหาย วิสัย หมายถึงสภาพเกี่ยวกับตัวผู้กระทา
เช่น เป็นเจา้ หน้าที่ช้ันผู้ใหญ่หรือผู้น้อย ส่วนพฤติการณ์หมายถึงเหตุภายนอกตัวผกู้ ระทาซ่ึงอาจทาให้
การใช้ความระมัดระวังมีความแตกต่างกันไป เช่น สภาพของสถานที่ทางานของเจ้าหน้าที่ จานวน
ของประชาชนท่ีเข้ามาติดต่อกับเจ้าหน้าท่ี เป็นต้น (สษุ ม ศภุ นติ ย,์ 2543: 15)

เอกสารคาสอน วิชากฎหมาย หน้า 10

หลักเกณฑ์การพิจารณาการกระทาละเมิดตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิด
ของเจา้ หน้าท่ี พ.ศ. 2539

การกระทาละเมิดภายหลังบัญญัติพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี
พ.ศ.2539 และได้มกี ารจัดตงั้ ศาลปกครองขน้ึ ต้องพจิ ารณาลกั ษณะของการกระทาละเมิดวา่ เป็นการกระทา
ละเมิดทางแพ่งหรือกระทาละเมิดทางปกครอง ซึ่งมีผลในการท่ีบุคคลภายนอกจะใช้สิทธิฟ้องคดีต่อศาล
กล่าวคือ กรณีการกระทาละเมิดทางแพ่งต้องฟ้องคดีต่อศาลยุติธรรม แต่การกระทาละเมิด
ทางปกครองต้องฟ้องคดตี ่อศาลปกครอง ดงั นี้

การกระทาละเมิดทางแพ่ง มลี กั ษณะ ดงั น้ี
1) เปน็ การกระทาละเมิดของเจ้าหน้าที่ ทมี่ ิใชก่ ารกระทาในการปฏิบัตหิ น้าท่ี
2) เป็นการกระทาละเมิดของเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติหน้าท่ี แต่มิได้เกิดจากการใช้อานาจ
ตามกฎหมายปกครอง การออกกฎ คาสั่งทางปกครอง การละเลยต่อหน้าที่หรือการปฏิบัติหน้าท่ีล่าช้า
เกินสมควร
การกระทาละเมิดทางปกครอง มลี กั ษณะ ดงั นี้
1) การใช้อานาจตามกฎหมาย
2) การออกกฎ ออกคาส่งั ทางปกครอง หรือคาสง่ั อน่ื
3) การละเลยตอ่ หน้าท่ีตามท่ีกฎหมายกาหนดให้ต้องปฏิบตั ิ
4) การปฏิบัตหิ นา้ ทล่ี า่ ชา้ เกนิ สมควร
ตามตัวอย่างต่อไปน้ี กรณีแรกการปฏิบัติหน้าท่ีในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาถือเป็น
ละเมิดทางแพ่ง กรณีทีส่ อง ความเสยี หายจากการใช้อานาจสลายการชมุ นุมเป็นละเมิดทางปกครอง
คาสั่งศาลปกครองสงู สุดท่ี อ.66/2552 การกระทาของพนักงานสอบสวนในการยึดรถยนต์
ของผู้ฟ้องคดีเป็นการปฏิบัติหน้าท่ีในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ดังน้ัน การที่ผู้ฟ้องคดีกล่าวอ้าง
มาในคาฟ้องว่า การกระทาของพนักงานสอบสวนทย่ี ึดรถยนต์ของผู้ฟอ้ งคดีไว้โดยไม่ชอบดว้ ยกฎหมาย
และไม่คืนรถยนต์คันดังกล่าว ประกอบกับรถยนต์ถูกจอดทิ้งไว้ไม่มีการดูแลรักษาแต่อย่างใด เป็นเหตุ
ให้ผู้ฟ้องคดีไม่มีรถใช้และรถยนต์ได้รับความเสียหาย และขอให้ศาลมีคาพิพากษาหรือคาส่ัง
ให้ผู้ถูกฟ้องคดีทั้งสองคืนรถยนต์คันพิพาท และให้ร่วมกันห รือแทนกันชาระค่าเสียหาย
พร้อมดอกเบี้ยน้ัน เป็นกรณีกล่าวอ้างว่าพนักงานสอบสวนกระทาละเมิดต่อผู้ฟ้องคดีในการปฏิบัติ
หน้าท่ใี นกระบวนการยตุ ธิ รรมทางอาญา ซ่งึ อยูใ่ นอานาจการควบคมุ ตรวจสอบของศาลยตุ ธิ รรม
คาพิพากษาศาลปกครองสูงสุด ที่ อ. 1442/2560 กรณีสลายการชุมนุมบริเวณ
หน้ารัฐสภา เม่ือปี พ.ศ. 2551 ทาให้ผู้ชุมนุมได้รับความเสียหายแก่ชีวิตร่างกายและทรัพย์สิน ผู้ฟ้องคดี
ฟ้องสานักงานตารวจแห่งชาติเป็นผู้ถูกฟ้องคดีท่ี 1 สานักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ถูกฟ้องคดีท่ี 2
พยานหลักฐานมีน้าหนักม่ันคงให้รับฟังได้ว่า การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าท่ีตารวจซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่

เอกสารคาสอน วิชากฎหมาย หน้า 11

ของผถู้ ูกฟอ้ งคดีท่ี 1 มีข้อบกพร่องในขั้นตอนการเตรียมการหารถดับเพลิงมาใช้ในการสลายการชุมนุม
และมีข้อบกพร่องในวิธีการยิงแก๊สน้าตา โดยยิงในแนวตรงขนานกับพื้นซ่ึงไม่เป็นไปตามวิธีการ
ท่ีถูกต้องที่ต้องยิงเป็นวิถีโค้ง ประกอบกับแก๊สน้าตาที่นามาใช้ซื้อมาเป็นเวลานานจึงมีประสิทธิภาพ
ท่ีต่า จึงต้องใช้แก๊สน้าตาจานวนมากเกินกว่าที่จะใช้โดยปกติทั่วไป ซึ่งไม่ว่าเจ้าหน้าที่ตารวจผู้ปฏิบัติ
จะรู้ถึงข้อบกพร่องของขั้นตอนในการเตรียมการหารถดับเพลิงมาใช้กับผู้ชุมนุมก่อนการใช้แก๊สน้าตา
และข้อบกพร่องของประสิทธิภาพแก๊สน้าตาหรือไม่ก็ตาม แต่เมื่อข้อบกพร่องดังกล่าวส่งผลให้เกิด
ความเสียหายแก่ชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินของผู้ฟ้องคดีและผู้ร้องสอดแต่ละราย จึงเป็นการกระทา
โดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อทาต่อบุคคลอ่ืนโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายแก่ชีวิตร่างกายสิทธิและ
เสรีภาพ จึงเป็นการกระทาละเมิด ตามมาตรา 420 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ผู้ถูกฟ้อง
คดีท่ี 1 ซึ่งเป็นหนว่ ยงานต้นสังกดั ของเจา้ หนา้ ท่ีผูก้ ระทาละเมิดจงึ ต้องรบั ผดิ ต่อผู้ได้รบั ความเสยี หาย

ตารางที่ 1.1 เปรยี บเทยี บละเมิดทางแพง่ กับละเมดิ ทางปกครอง

ละเมดิ ทางแพง่ ละเมิดทางปกครอง

1. เปน็ การกระทาละเมดิ ของเจ้าหน้าท่ี ซึ่งมิใช่ 1. เป็นการกระทาละเมิดของเจา้ หนา้ ทีใ่ นการปฏบิ ัตหิ น้าที่

การปฏิ บัติห น้าที่ หรือเป็ นการกระทาละเมิด อันเกิดจากการใช้อานาจตามกฎหมาย การออกกฎ คาสัง่

ของเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติหน้าที่ แต่การกระทานั้น ทางปกครอง หรอื คาส่ังอ่นื การละเลยตอ่ หน้าท่ี

มิได้เกิดจากการใช้อานาจตามกฎหมายปกครอง หรือปฏบิ ตั หิ น้าที่ล่าช้าเกนิ สมควร

หรือการออกกฎ คาส่ังทางปกครอง คาสงั่ อน่ื และมไิ ด้

เกิดจากการละเลยต่อหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าท่ีล่าช้า

เกนิ สมควร

2. ผู้ได้รับความเสียหายนาข้อพิพาทยื่นฟ้องต่อศาล 2. ผู้ได้รับความเสียหายนาข้อพิพาทย่ืนฟ้องต่อศาล

ยุติธรรม ปกครอง

3. อายุความ 1 ปี นับแต่วันท่ีถึงการละเมิดและรู้ตัว 3. อายุความ 1 ปี นับปีนับแตว่ นั ทร่ี ูห้ รอื ควรรู้ถึงเหตุ

ผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน หรือ 10 ปี นับแต่ แห่งการฟอ้ งคดี หรือสิบปนี ับแตว่ นั ทมี่ เี หตแุ ห่งการฟ้องคดี

วันทาละเมิด ตามมาตรา 448 แห่งประมวลกฎหมาย ตามมาตา 51 แห่งพระราชบญั ญตั ิจดั ตัง้ ศาลปกรอง

แพง่ และพาณิชย์ และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542

การพิจารณาว่าเป็นการกระทาละเมิดทางแพ่ง หรือการกระทาละเมิดทางปกครอง
ต้องพิจารณาจากสาเหตุของการกระทาละเมิดตามข้อเท็จจริง ซ่ึงมีความแตกต่างกัน กล่าวคือ กรณี
การกระทาละเมิดทางปกครองมีสาเหตุจากการที่เจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาละเมิดโดยการใช้อานาจ
ตามกฎหมายปกครอง กระทาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อทาให้เกิดความเสียหาย การออกกฎ
ออกคาส่ังทางปกครอง หรือคาสั่งอื่น การละเลยต่อหน้าท่ีตามที่กฎหมายกาหนดให้ต้องปฏิบัติ
การปฏิบัติหน้าท่ีล่าช้าเกินสมควร โดยการกระทาละเมิดทางปกครอง บุคคลภายนอกผู้เสียหาย

เอกสารคาสอน วิชากฎหมาย หนา้ 12

ต้องฟ้องคดีต่อศาลปกครอง การกระทาละเมิดทางปกครอง ท่ีเก่ียวข้องกับการปฏิบัติหน้าท่ีของตารวจ
เช่น ละเมิดที่เกิดจากการใช้อานาจ ตามพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 เป็นต้น
หากเป็นกรณีการกระทาละเมิดจากการปฏิบัติหน้าท่ีทั่วไป ซึ่งไม่เก่ียวข้องกับการกระทาโดยอาศัย
อานาจตามกฎหมายปกครอง หรือคาสั่งอื่น การละเลยต่อหน้าที่ตามท่ีกฎหมายกาหนดให้ต้องปฏิบัติ
การปฏิบัติหน้าท่ีล่าช้าเกินสมควร เช่น การขับรถยนต์ของทางราชการไปประสบอุบัติเหตุ
ชนกับบุคคลภายนอก หรือการดาเนินการตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เช่น การยึดรถ
ไว้ดาเนินคดีโดยไม่มีอานาจ การจับผู้ต้องหาผิดตัว ซ่ึงทาให้บุคคลภายนอกได้รับความเสียหายน้ัน
เป็นละเมิดทางแพ่ง นอกจากน้ลี ะเมิดซ่ึงมิใช่การกระทาในการปฏิบตั ิหน้าที่ซึ่งเจา้ หน้าที่ผู้กระทาละเมิด
ตอ้ งรบั ผดิ เป็นการส่วนตัวก็เปน็ ละเมดิ ทางแพ่ง ตอ้ งฟอ้ งคดที ีศ่ าลยตุ ิธรรม

ขอบเขตการบังคบั ใช้กฎหมาย

ขอบเขตในแง่ของเจา้ หนา้ ที่
พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี พ.ศ. 2539 ได้นิยามคาว่า “เจ้าหน้าท่ี”
ดังน้ี
“เจ้าหน้าท่ี” หมายความว่า ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง หรือผู้ปฏิบัติงานประเภทอื่น
ไมว่ า่ จะเป็นการแตง่ ตั้งในฐานะเป็นกรรมการหรอื ฐานะใด
เจ้าหน้าท่ี ตามความหมายของพระราชบัญญัติฉบับนี้ จึงหมายถึง บุคคลากรท่ีได้รับแต่งต้ัง
หรือถูกสั่งให้ปฏิบัติงานให้แก่หน่วยงานของรัฐ ไม่ว่าจะเป็น ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างประจา
แต่ไม่รวมถึงลูกจ้างช่ัวคราว สาหรับผู้ปฏิบัติงานประเภทอ่ืน หมายถึง ผู้ปฏิบัติงานที่ไม่มีฐานะ
เป็นข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างประจา โดยได้รับการแต่งตั้งจากผู้มีอานาจและมีกฎหมายรองรับ
ซึ่งอาจได้รับการแต่งตั้งในฐานะกรรมการ เช่น กรรมการการเลือกตั้ง กรรมการในรัฐวิสาหกิจ หรือในฐานะอื่น
เช่น ผูเ้ ชย่ี วชาญ ที่ปรกึ ษา (สานกั วจิ ัยและวชิ าการ สานักงานศาลปกครอง, 2552:17)
คณะกรรมการกฤษฎีกาได้ตอบข้อหารือเป็นแนวทาง เก่ียวกับการพิจารณาความหมาย
ของเจ้าหน้าทไ่ี ว้ ดงั นี้
บันทึกสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเรื่องเสร็จที่ 485/2543 และ 849/2542
การพิจารณาว่าลูกจ้างเป็น “เจ้าหน้าที่” ตามพระราชบัญญัติน้ีหรือไม่ อาจพิจารณาโดยจาแนก
ตามลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานของรัฐกับบุคคล คือ ลูกจ้างที่ได้รับการบรรจุแต่งต้ัง
ให้ปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐเป็นประจาและต่อเน่ืองมีการกาหนดอัตราเงินเดือน การเลื่อนขั้น
เงินเดือน การลงโทษทางวินัยตามกฎหมายและระเบียบ ลูกจ้างประเภทนี้มีฐานะเป็นเจ้าหน้าที่
แตก่ รณีทีห่ น่วยงานของรัฐได้ว่าจ้างให้ปฏิบตั ิงานเป็นครง้ั คราวเฉพาะงาน ไม่ว่าจะมสี ญั ญาจ้างเปน็ หนงั สือ

เอกสารคาสอน วชิ ากฎหมาย หน้า 13

หรือไม่ก็ตาม ความสัมพันธ์ของหน่วยงานของรัฐกับลูกจ้างจะเป็นไปตามประมวลกฎหมาย
แพง่ และพาณิชย์ ลกู จา้ งประเภทน้ไี ม่มฐี านะเป็นเจา้ หนา้ ที่

บันทึกสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเร่ืองเสร็จท่ี 393/2545 เรื่องการยื่นคาขอ
ตอ่ หน่วยงานของรัฐให้พจิ ารณาชดใช้ค่าสนิ ไหมทดแทน กรณีคณะกรรมการการเลอื กตงั้ กระทาละเมิด
คณะกรรมการการเลือกต้ังเป็นผู้ดูแลสานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐ
ตามพระราชบัญญัตินี้และเป็นผู้บังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2541 คณะกรรมการการเลือกต้ัง
จงึ มีฐานะเป็นผูป้ ฏิบตั งิ านประเภทอื่นตามมาตรา 4 แหง่ พระราชบญั ญัตนิ ี้

ขอบเขตในแงข่ องหนว่ ยงานของรัฐ
พระราชบญั ญตั ิความรับผดิ ทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี พ.ศ. 2539 ไดใ้ ห้นยิ าม
“หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการท่ีเรียกช่ือ
อย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถ่ิน และรัฐวิสาหกิจท่ีต้ังข้ึน
โดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา และให้หมายความรวมถึงหน่วยงานอื่นของรัฐท่ีมี
พระราชกฤษฎกี ากาหนดให้เป็นหนว่ ยงานของรัฐตามพระราชบญั ญัติน้ดี ้วย
มีข้อสังเกตว่า หน่วยงานของรัฐ หมายความรวมถึงหน่วยงานอ่ืนของรัฐที่มีพระราชกฤษฎีกา
กาหนดให้เป็นหน่วยงานของรัฐตามพระราชบัญญัติน้ีด้วย เพ่ือคุ้มครองเจ้าหน้าท่ีซ่ึงปฏิบัติหน้าท่ี
โดยสุจริต ในหน่วยงานที่ไม่ได้มีสภาพเป็นกระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น
และไม่ได้มีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น หรือรัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้น
โดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา โดยมีการตราพระราชกฤษฎีกากาหนดหน่วยงานของรัฐ
ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2540 และต่อมามีการ
แก้ไขเพ่ิมเติมพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวหลายครั้ง กาหนดหน่วยงานของรัฐตามพระราชบัญญัติ
ฉบับนี้ไว้ เช่น สถาบนั พระปกเกล้า กองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ แพทยสภา เป็นตน้ ซงึ่ ปจั จุบัน
(กุมภาพนั ธ์ 2564) มีจานวน 64 แห่ง

สาระสาคัญของกฎหมายความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

กฎหมายความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี แบ่งการกระทาละเมิดของเจ้าหน้าที่
เป็นสองลักษณะท่ีสาคัญคือ ละเมิดที่เกิดแก่บุคคลภายนอก และกรณีเจ้าหน้าท่ีกระทาละเมิด
ต่อหน่วยงานของรัฐ ซึ่งจะกล่าวถึงละเมิดที่เกิดแก่บุคคลภายนอก เกี่ยวกับ ความรับผิดของรัฐในผล
ละเมิดที่เกิดแก่บุคคลภายนอก การไล่เบ้ียแก่เจ้าหน้าที่ให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน และจะได้กล่าวถึง
กรณีเจ้าหนา้ ทเี่ ปน็ ผูก้ ระทาละเมดิ ต่อหนว่ ยงานของรฐั เปน็ ไปตามลาดับ ดังนี้

เอกสารคาสอน วชิ ากฎหมาย หน้า 14

ความรับผดิ ของรฐั ในผลละเมดิ ท่เี กดิ แก่บุคคลภายนอก
1) หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดในผลละเมิดที่เจ้าหน้าที่กระทาในการปฏิบัติหน้าที่
พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 มาตรา 5 บัญญัติว่า “หน่วยงาน
ของรัฐต้องรับผิดต่อผู้เสียหายในผลแห่งละเมิดท่ีเจ้าหน้าที่ของตนได้กระทาในการปฏิบัติหน้าท่ี
ในกรณีนี้ผู้เสยี หายอาจฟ้องหน่วยงานของรฐั ดังกล่าวได้โดยตรง แตจ่ ะฟ้องเจา้ หนา้ ทีไ่ ม่ได้
ถ้ า ก า ร ล ะ เมิ ด เกิ ด จ า ก เจ้ า ห น้ า ที่ ซึ่ ง ไม่ ได้ สั ง กั ด ห น่ ว ย ง า น ข อ ง รั ฐ แ ห่ ง ใ ด ใ ห้ ถื อ ว่ า
กระทรวงการคลงั เป็นหนว่ ยงานของรัฐท่ีต้องรับผดิ ตามวรรคหนง่ึ ”
กฎหมายได้บัญญัติให้หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดต่อผู้เสียห ายในผลแห่งละเมิด
ที่เจ้าหน้าที่ได้กระทาไปในการปฏิบัติหน้าที่ โดยบุคคลภายนอกผู้เสียหายสามารถฟ้องร้อง
หน่วยงานของรัฐให้รับผิดชอบได้โดยตรงเท่าน้ัน แต่จะฟ้องให้เจ้าหน้าที่ผู้กระทาละเมิดต้องรับผิด
เป็นการส่วนตัวไม่ได้ สาหรับกรณีท่ีเจ้าหน้าท่ีไม่ได้สังกัดหน่วยงานของรัฐแห่งใดก็ให้ฟ้องหน่วยงาน
ทร่ี บั ผิดชอบแทน ได้แก่ กระทรวงการคลงั
คาพิพากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ.72/2546 รถยนต์ที่เกิดอุบัติเหตุโดยไม่มีคู่กรณี
ฝ่ายใดได้รับความเสียหาย เป็นของกลางอย่างอื่นไม่ใช่ของกลางในคดีอาญา การที่เจ้าหน้าที่
ตารวจปฏิเสธสิทธิของผู้ฟ้องคดีไม่คืนรถยนต์ โดยอ้างว่าไม่เป็นผู้มีช่ือเป็นเจ้าของกรรมสิทธ์ิหรือไม่เป็น
ผูม้ ีสว่ นได้เสีย จึงเปน็ การปฏบิ ัติหน้าที่โดยไม่ชอบ ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขของข้อบังคบั กระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยการเก็บรักษาของกลางฯ และประมวลระเบียบการตารวจเก่ียวกับคดีฯ เมื่อผู้ฟ้องคดีเป็นผู้มี
ส่วนได้เสียในรถยนต์คันดังกล่าวโดยตรง การไม่คืนรถยนต์ของกลางให้กับผู้ฟ้องคดีจึงเป็นการใช้
อานาจตามกฎหมายทเ่ี ป็นการกระทาละเมิดตอ่ ผฟู้ ้องคดี และเป็นกรณีที่ปรากฏหลกั ฐานแน่ชัดว่าผู้ใด
เป็นเจ้าของหรือผมู้ ีสทิ ธจิ ะรบั รถยนต์ การท่ีนารถยนต์ของกลางในคดีนอ้ี อกขายทอดตลาด จงึ เป็นการ
กระทาที่ไม่ชอบด้วยประมวลระเบียบการตารวจเก่ียวกับคดี ลักษณะ 15 บทที่ 9 ข้อ 8 กรณี
เป็นการกระทาละเมิดต่อผู้ฟ้องคดี ท่ีผู้ถูกฟ้องคดีท่ี 2 ซ่ึงเป็นหน่วยงานของรัฐต้องรับผิดต่อผู้ฟ้องคดี
โดยผลแห่งละเมิดท่ีเจ้าหน้าที่ของตนได้กระทาในการปฏิบัติหน้าที่ ผู้ฟ้องคดีจึงต้องฟ้องผู้ถูกฟ้องคดีท่ี 2
ซ่ึงเป็นหน่วยงานของรัฐโดยตรง จะฟ้องผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 ซึ่งเป็นเจ้าหน้าท่ีไม่ได้ ทั้งนี้ ตามมาตรา 5
วรรคหนง่ึ แหง่ พระราชบญั ญัติความรับผิดทางละเมดิ ของเจา้ หนา้ ที่ พ.ศ. 2539
2) เจ้าหน้าท่ีต้องรับผิดเป็นการเฉพาะตัวต่อผู้เสียหายในผลแห่งละเมิดท่ีไม่ใช่การกระทา
ในการปฏิบตั หิ น้าที่
พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 มาตรา 6 บัญญัติว่า
“ถ้าการกระทาละเมดิ ของเจ้าหนา้ ทม่ี ิใช่การกระทาในการปฏิบตั ิหน้าท่ี เจ้าหนา้ ทต่ี ้องรับผิดในการน้ัน
เป็นการเฉพาะตวั ในกรณีน้ผี ้เู สยี หายอาจฟ้องเจา้ หน้าท่ไี ด้โดยตรง แตจ่ ะฟอ้ งหน่วยงานของรัฐไมไ่ ด้”

เอกสารคาสอน วิชากฎหมาย หน้า 15

บทบัญญตั ิกฎหมายไดก้ าหนดความรบั ผิด กรณีเจ้าหน้าท่ไี ดก้ ระทาละเมดิ ท่ีไม่ใช่การกระทา
ในการปฏิบัตหิ น้าท่ใี หเ้ จา้ หนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบเป็นการเฉพาะตัว โดยให้ผเู้ สียหายฟ้องเจ้าหนา้ ท่ีได้โดยตรง
จะฟ้องหน่วยงานของรัฐไม่ได้ ซ่ึงกรณีดังกล่าวจะต้องพิจารณาได้ความว่าการกระทาละเมิด
ของเจ้าหน้าที่เกิดจากสาเหตุส่วนตัวไม่ใช่เกิดจากการปฏิบัติหน้าท่ีราชการ ตัวอย่างเช่น สิบตารวจตรี ก
ลาพักผ่อน ขับรถยนต์เดินทางกลับบ้านท่ีต่างจังหวัด ได้ขับรถโดยประมาทเลินเล่อไปชนนายแดง
ซ่ึงกาลังเดินข้ามถนนได้รับบาดเจ็บ กรณีน้ี สิบตารวจตรี ก เป็นเจ้าหน้าท่ี แต่การกระทาละเมิด
จากการขับรถไปชนบุคคลภายนอกได้รับความเสียหายต่อร่างกาย เกิดจากการกระทาที่เป็น
การส่วนตัว มิใช่การกระทาในการปฏิบัติหน้าท่ี นายแดงบุคคลภายนอกผู้เสียหายจึงต้องฟ้อง
สิบตารวจตรี ก ให้รับผิดชดใช้ค่าสนิ ไหมทดแทนไดโ้ ดยตรง แตจ่ ะฟอ้ งสานักงานตารวจแห่งชาติไม่ได้

คาสั่งศาลปกครองสูงสุดท่ี 20/2545 การกระทาตามท่ีผู้ฟ้องคดีกล่าวอ้างว่าหัวหน้า
ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนใช้ให้ราษฎรทาร้ายร่างกายผู้ฟ้องคดี ซ่ึงหากหัวหน้าศูนย์ การศึกษา
นอกโรงเรยี นอาเภอท่าเรือกระทาตามท่ีผู้ฟ้องคดีกล่าวอ้างจริง ก็เป็นการกระทาโดยอาศัยเหตุส่วนตัว มิใช่
เป็นการกระทาท่ีใช้อานาจตามกฎหมายในฐานะหัวหน้าหน่วยงานที่อาจเป็นข้อพิพาทเกี่ยวกับ
การกระทาละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ตามมาตรา 9
วรรคหนึ่ง (3) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542
แตเ่ ป็นการกระทาโดยอาศัยเหตุส่วนตัวซง่ึ ผฟู้ อ้ งคดสี ามารถฟ้องเรยี กค่าเสยี หายต่อศาลยตุ ธิ รรม

3) การรอ้ งขอให้หน่วยงานของรัฐรบั ผดิ ชดใชค้ ่าสินไหมทดแทน
บุคคลภายนอกผู้ได้รับความเสียหาย จากการกระทาละเมิดของเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติ
หน้าท่ีสามารถดาเนินการต่อหน่วยงานของรัฐ ให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนได้ 2 วิธี คือการใช้
สิทธิฟ้องหน่วยงานของรัฐตามมาตรา 5 ตามที่กล่าวมาแล้ว และวิธีการยื่นคาขอให้หน่วยงาน
ของรัฐรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ตามมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิด
ของเจ้าหน้าท่ี พ.ศ.2539 ซ่ึงในส่วนน้ีจะได้กล่าวถึงการใช้สิทธิฟ้องหน่วยงานของรัฐเพ่ือให้เกิด
ความต่อเน่ือง
การร้องขอต่อหน่วยงาน ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
มาตรา 11 วรรคแรก บัญญัติว่า “ในกรณีทผี่ ู้เสียหายเหน็ วา่ หนว่ ยงานของรัฐต้องรับผิดตามมาตรา 5
ผู้เสียหายจะยื่นคาขอต่อหน่วยงานของรัฐ ให้พิจารณาชดใช้ค่าสินไหมทดแทนสาหรับความเสียหาย
ที่เกิดแก่ตนก็ได้ ในการนี้หน่วยงานของรัฐต้องออกใบรับคาขอให้ไว้เป็นหลักฐาน และพิจารณาคาขอนั้น
โดยไม่ชักช้า เมื่อหน่วยงานของรัฐมีคาส่ังเช่นใดแล้วหากผู้เสียหายยังไม่พอใจในผลการวินิจฉัย
ของหน่วยงานของรัฐก็ให้มีสิทธิร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ตามกฎหมายว่าด้วย
คณะกรรมการกฤษฎกี าได้ภายในเก้าสิบวนั นบั แตว่ ันท่ีตนไดร้ บั แจ้งผลการวินจิ ฉยั ”

เอกสารคาสอน วชิ ากฎหมาย หน้า 16

ให้ผู้เสียหายย่ืนคาขอต่อหน่วยงานของรัฐให้พิจารณา ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน เมื่อหน่วยงาน
ของรัฐมคี าสัง่ แลว้ ผู้เสียหายยังไม่พอใจผลการวนิ ิจฉัยของหน่วยงานก็มีสิทธิฟ้องคดีต่อศาล ตามมาตรา 14
ท่ีบัญญัติว่า เมื่อได้มีการจัดต้ังศาลปกครองข้ึนแล้ว สิทธิร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์
ตามมาตรา 11 ให้ถือว่าเป็นสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครอง แต่หากเป็นละเมิดทางแพ่งเป็นสิทธิฟ้องคดี
ตอ่ ศาลแพ่ง ตามพระราชบัญญตั ิจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพจิ ารณาคดีปกครอง มาตรา 106 ที่บัญญัติว่า
“สิทธิร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ ตามมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัติความรับผิด
ทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี พ.ศ. 2539 ในคดีท่ีไม่อยู่ในอานาจของศาลปกครองตามพระราชบัญญัตินี้
ใหถ้ อื ว่าเปน็ สิทธิฟอ้ งคดีต่อศาลยุตธิ รรม

ระยะเวลายื่นคาขอให้หน่วยงานของรัฐชดใช้ค่าเสียหาย กฎหมายไม่ได้บัญญัติ
ไว้ชดั แจ้ง ศาลปกครองสูงสุดได้วินจิ ฉัยตามคาสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ 573/2549 ว่าผู้เสยี หายจะต้อง
ยน่ื คาขอต่อหน่วยงานของรัฐภายใน 1 ปี นับแต่วันที่รู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผูจ้ ะต้องใชค้ ่าสินไหมทดแทน
แต่ไม่เกิน 10 ปี นับแต่วันทาละเมิด ซ่ึงเป็นระยะเวลาเดียวกับการย่ืนฟ้องคดีต่อศาล และต้องพิจารณา
คาขอให้แล้วเสร็จภายใน 180 วัน หากไม่แล้วเสร็จจะต้องรายงานปัญหาและอุปสรรคให้รัฐมนตรี
เจา้ สังกดั ทราบและขออนมุ ตั ิขยายระยะเวลาได้อีกไมเ่ กิน 180 วัน

สาหรับหลักเกณฑ์การชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ประกาศกระทรวงการคลัง เรอ่ื ง หลักเกณฑ์
การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนกรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาละเมิดต่อบุคคลภายนอก ประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 128 ตอนพิเศษ 126 ง หน้า 5 เม่ือวันที่ 20 ตุลาคม 2554 กาหนดให้
หัวหน้าหน่วยงานของรฐั เจา้ ของงบประมาณท่ีตอ้ งชดใช้ค่าสินไหมทดแทน เปน็ ผูพ้ ิจารณาให้ความเห็นชอบ
คา่ ใช้จา่ ย โดยกาหนดแนวทางในการกาหนดจานวนเงนิ ค่าสนิ ไหมทดแทนสรปุ ได้ ดงั นี้

(1) การกาหนดค่าสินไหมทดแทนเพ่ือความเสียหายหรือสูญหายแก่ทรัพย์สิน ได้แก่
การชดใช้ความเสยี หายท่ีเกิดแก่เงินใหใ้ ชเ้ ป็นเงนิ ถ้าความเสยี หายที่เกิดแก่ทรัพยส์ ินอื่นให้ใช้ราคาสทุ ธิ
หลังหักค่าเสื่อมราคาแล้ว หรอื ใช้คา่ ซ่อมเพ่อื ให้ทรัพย์สนิ นน้ั กลบั คนื สู่สภาพเดิม และกรณีการคานวณ
คา่ เสอ่ื มราคา

(2) การกาหนดค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายแก่ร่างกายหรือชีวิต ได้แก่
การกาหนดจานวนค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ค่าขาดประโยชน์ทามาหาได้ในระหว่างเจ็บป่วย
ค่าชดเชยแทนการสูญเสียอวัยวะ หรือสูญเสียสมรรถภาพในการทางาน คา่ ปลงศพรวมถงึ คา่ ใชจ้ า่ ย
และคา่ ขาดไร้อุปการะ

4) การไล่เบ้ยี แก่เจ้าหน้าทใ่ี หช้ ดใชค้ ่าสนิ ไหมทดแทน
กรณีท่ีหน่วยงานของรัฐอาจใช้สิทธิไล่เบ้ียกับเจ้าหน้าที่ พระราชบัญญัติความรับ ผิด
ทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี พ.ศ.2539 มาตรา 8 วรรคแรก บัญญัติว่า “ในกรณีท่ีหน่วยงานของรฐั ต้องรับผิด
ใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหายเพ่ือการละเมิดของเจ้าหน้าท่ี ให้หน่วยงานของรัฐมีสิทธิเรียกให้

เอกสารคาสอน วชิ ากฎหมาย หน้า 17

เจ้าหน้าที่ผู้ทาละเมิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนดังกล่าวแก่หน่วยงานของรัฐได้ ถ้าเจ้าหน้าท่ีได้กระทา
การนั้นไปด้วยความจงใจหรือประมาทเลนิ เล่ออยา่ งร้ายแรง”

พระราชบัญญัติฉบับน้ีกาหนดให้หน่วยงานของรัฐมีสิทธิเรียกให้เจ้าหน้าท่ีชดใช้ค่าสินไหม
ทดแทนได้ ในกรณีที่เจ้าหน้าท่ีกระทาละเมิดโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง จึงต้อง
พิจารณาตามข้อเท็จจริงในแต่ละกรณีไปว่าการกระทาละเมิดของเจ้าหน้าที่ เกิดจากความจงใจ
หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงหรือไม่ เป็นไปตามข้อเท็จจริงแต่ละกรณี การพิจารณา
การกระทาที่เป็นประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงพอสรุปเป็นแนวทางได้ กล่าวคือ หากใช้
ความระมัดระวังเพียงเล็กน้อยจะไม่เกิดเหตุ การไม่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบ
ท่ีเก่ียวข้อง การไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ

คาพิพากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ.179/ 2557 ผู้ฟ้องคดีซึ่งดารงตาแหน่งผู้กากับการ
สถานีตารวจภูธรตาบลคูคต ในฐานะหัวหน้าสถานีตารวจ จึงมีหน้าท่ีเป็นหัวหน้าผู้รับผิดชอบ
การปฏิบัติงานของสถานีตารวจในด้านต่างๆ รวมทั้งตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา
ว่าได้ดาเนินการไปโดยถูกต้องตามระเบียบกฎหมายหรือไม่ อีกท้ัง ตามประมวลระเบียบการตารวจ
เกี่ยวกับคดี ลักษณะ 15 ของกลางและของส่วนตัวผู้ต้องหา ข้อ 420 กาหนดว่า ให้สารวัตรใหญ่
และผู้กากับการหรือผู้รักษาการแทนตรวจสมุดยึดทรัพย์และของกลางไม่น้อย กว่าเดือนละหนึ่งคร้ัง
ว่าพนักงานสอบสวนได้จัดการไปโดยถูกต้องครบถ้วนหรือไม่ เม่ือปรากฏว่าการยึดรถดังกล่าวไว้เป็น
ของกลางและมีหนังสือแจ้งให้กองกากับการวิทยาการเขต 1 มาตรวจพิสูจน์ เป็นการใช้ดุลพินิจ
ของร้อยตารวจเอก ต. ที่สงสัยว่ารถยนต์คันดังกล่าวอาจจะมีการแก้ไขเลขหมายประจาเครื่องยนต์
และเลขหมายประจาตัวรถให้ตรงกับใบประกันภัยคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ เมื่อผู้ฟ้องคดีซึ่งดารง
ตาแหน่งผู้กากับการตรวจสอบสมุดยึดทรัพย์ของกลาง และตรวจสอบสานวนการสอบสวน ก็ปรากฏ
ว่าได้มีการลงหลักฐานการยึดและส่งไปตรวจพิสูจน์ไว้โดยถูกต้องแล้ว ซึ่งการใช้ดุลพินิจในการยดึ ของกลาง
ดังกล่าวเป็นดุลพินิจของร้อยตารวจเอก ต. ซึ่งเป็นพนักงานสอบสวนที่จะพิจารณาดาเนินการ
ตามอานาจหน้าท่ี จึงไม่อาจรับฟังได้ว่าผู้ฟ้องคดีมีส่วนร่วมในการยึดรถยนต์ดังกล่าว อีกท้ังผู้ฟ้องคดี
ซ่ึงดารงตาแหน่งผู้กากับการสถานีตารวจภูธรตาบลคูคตย่อมเป็นผู้บังคับบัญชา ซึ่งมีหน้าท่ี
ตามกฎหมายและระเบียบ ในการควบคุมดแู ลการปฏิบัติงานของผ้ใู ต้บังคับบัญชาทงั้ หมด ท้งั ในดา้ นท่ี
เก่ียวกับคดีและงานด้านอื่นๆ ผู้ฟ้องคดีจึงมีภาระงานในด้านอื่นๆ ที่ไม่สามารถเข้าไปร่วม
ในการสอบสวนในสานวนการสอบสวนทุกคดีได้ จึงฟังไม่ได้ว่าผู้ฟ้องคดีจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
อยา่ งร้ายแรงในการทาให้เจา้ ของรถไดร้ ับความเสยี หาย

มีข้อสังเกตว่า การกระทาละเมิดที่เป็นประมาทเลินเล่ออันจะไล่เบี้ยให้เจ้าหน้าท่ี
ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนได้นั้น ต้องเป็นกรณีประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ต่างจากกรณี
ที่บุคคลภายนอกผู้เสียหายฟ้องให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนท่ีเจ้าหน้าที่กระทาละเมิดต่อบุคคลภายนอก

เอกสารคาสอน วชิ ากฎหมาย หนา้ 18

ซ่ึงการพิจารณาเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420 กรณี
เจ้าหน้าที่กระทาละเมิดเพียงประมาทเลินเล่อธรรมดา ค่าสินไหมทดแทนที่หน่วยงานชาระ
ให้แก่บุคคลภายนอกจึงตกเป็นพับแก่หน่วยงานต้นสังกัดนั่นเอง

หลักเกณฑ์การไล่เบี้ย ในการเรียกให้เจ้าหน้าท่ีชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่หน่วยงานของรัฐ
ตามพระราชบญั ญตั ิความรบั ผิดทางละเมดิ ของเจา้ หน้าที่ พ.ศ.2539 มาตรา 8 วรรคสอง

(1) ให้คานึงถึงระดับความร้ายแรงแห่งการกระทาและความเป็นธรรมในแต่ละกรณี โดยมติ ้อง
ให้ใช้เตม็ จานวนของความเสียหายกไ็ ด้

(2) ถ้าการละเมิดเกิดจากความผิดหรือความบกพร่องของหน่วยงานของรัฐหรือระบบ
การดาเนินงานสว่ นรวม ให้หักส่วนแห่งความรับผิดดังกล่าวออกด้วย

(3) กรณีละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่หลายคน มิให้นาหลักเรื่องลูกหนี้ร่วมมาใช้บังคับ
และเจ้าหน้าทแ่ี ตล่ ะคนต้องรบั ผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนเฉพาะส่วนของตนเทา่ นัน้

กรณีเจา้ หน้าที่เปน็ ผ้กู ระทาละเมิดตอ่ หน่วยงานของรัฐ
พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 มาตรา 10 วรรคหน่ึง
บัญญัติว่า “ในกรณีที่เจ้าหน้าท่ีเป็นผู้กระทาละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานของรัฐ
ที่ผู้น้ันอยู่ในสังกัดหรือไม่ ถ้าเป็นการกระทาในการปฏิบัติหน้าท่ีการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน
จากเจ้าหน้าที่ให้นาบทบัญญัติมาตรา 8 มาใช้บังคับโดยอนุโลม แต่ถ้ามิใช่การกระทาในการปฏิบัติ
หน้าท่ีใหบ้ ังคบั ตามบทบัญญตั ิแหง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์”
การท่ีเจ้าหน้าที่กระทาละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ พระราชบัญญัติฉบับน้ีกาหนดให้นา
มาตรา 8 มาบงั คับใช้โดยอนโุ ลม แบ่งเป็นสองกรณี ดงั น้ี
(1) กรณีเจ้าหน้าท่ีกระทาละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐในการปฏิบัติหน้าที่ ซ่ึงหน่วยงาน
ของรัฐอาจเรียกให้เจ้าหน้าท่ีชดใช้ค่าสินไหมทดแทนได้ เม่ือเจ้าหน้าที่กระทาละเมิดในการปฏิบัติ
หน้าท่แี ละเปน็ การกระทาโดยจงใจหรอื ประมาทเลนิ เล่ออย่างร้ายแรง
(2) กรณีเจ้าหน้าที่กระทาละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐที่มิใช่จากการปฏิบัติหน้าท่ี
เจ้าหน้าท่ีตอ้ งรบั ผิดชอบเป็นสว่ นตวั ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์
การกระทาละเมิดของเจ้าหน้าที่ต่อหน่วยงานของรัฐ ท่ีได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติ
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 จะคุ้มครองเฉพาะกรณีเจ้าหน้าที่กระทาละเมิด
ต่อหน่วยงานของรฐั ในการปฏิบตั ิหนา้ ที่ การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากเจ้าหน้าทีใ่ ห้นาบทบัญญัติ
มาตรา 8 มาใช้บังคับโดยอนุโลม ซึ่งได้กล่าวถึงหลักเกณฑ์การเรียกให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนไว้แล้ว
ในเรอ่ื งการใช้สิทธไิ ล่เบ้ีย
นอกจากนี้ กระทรวงการคลังได้กาหนดแนวทางการปฏิบัติในการกาหนดสัดส่วนความรับผิด
ทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ไว้ ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0406.2 ว 66 ลงวันที่ 25

เอกสารคาสอน วชิ ากฎหมาย หน้า 19

กันยายน 2550 เรื่อง แนวทางการกาหนดสัดส่วนความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี เพื่อให้
หน่วยงานของรัฐนาแนวทางการกาหนดสัดส่วนดังกล่าวไปพิจารณาความรับผิดให้เหมาะสม
ตามพฤตกิ ารณข์ องเจ้าหนา้ ท่ี ซงึ่ แบง่ ได้ 3 กรณี ดงั น้ี

(1) กรณีไมป่ ฏบิ ตั ติ ามกฎหมายหรือระเบยี บ
(2) กรณีทจุ ริตทางการเงนิ หรอื ทรัพย์สนิ
(3) กรณอี บุ ัติเหตุ
การใช้สิท ธิไล่เบี้ ยแก่ เจ้าห น้ าท่ี ของรัฐ ห น่ วยงาน ของรัฐจะต้อ งน าแน วท าง
การกาหนดสัดส่วนดังกล่าวมาพิจารณา ซ่ึงแนวทางดังกล่าวได้กาหนดสัดส่วนความรับผิด
ของเจ้าหนา้ ทเ่ี ป็นจานวนร้อยละ ตัวอยา่ งเช่น กรณไี ม่ปฏบิ ัติตามกฎหมายหรือระเบียบ เปน็ การใชเ้ งิน
ผิดระเบียบโดยจา่ ยเงินเกินสิทธิ ไม่มีสิทธิ ผิดระเบียบ กาหนดสัดส่วนความรับผิด ดังน้ี 1) ผู้เกยี่ วข้อง
ตรวจสอบ เสนอความเห็น ฝ่ายการเงิน ร้อยละ 60 2) ผู้บังคับบัญชาช้ันต้น-กลาง ผู้ผ่านงาน ร้อยละ 20
3) ผบู้ ังคับบัญชาชน้ั สงู ผ้อู นมุ ัติ รอ้ ยละ 20
คาพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.718/2558 ผู้ฟ้องคดีดารงตาแหน่งผู้กากับการ
สถานีตารวจนครบาลสมเด็จเจ้าพระยา ในช่วงระหว่างวันท่ี17 ธันวาคม2545 ถึง วันท่ี 16 ธันวาคม
2546 มีหน้าท่ีในการควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชาในหน่วยงาน ให้ปฏิบัติหน้าที่
ตามกฎหมายและระเบียบของทางราชการ และผู้ฟ้องคดีได้รับแต่งต้ังให้เป็นประธานกรรมการ
เกบ็ รกั ษาเงนิ ของสถานีตารวจนครบาลสมเด็จเจ้าพระยา มีหน้าทต่ี รวจสอบความถกู ต้องของรายงาน
คงเหลือประจาวัน ตามระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนาเงินส่งคลังในหน้าที่ของอาเภอ
และกิ่งอาเภ อ พ .ศ. 2520 ซึ่งใน ระห ว่างที่ผู้ฟ้องค ดีดารงตาแห น่งดังกล่าวป รากฏ ว่า
ผู้ ใต้ บั ง คั บ บั ญ ช า อ า ศั ย โอ ก า ส ซ่ึ ง ต น ป ฏิ บั ติ ห น้ า ท่ี ดั ง ก ล่ า ว เบี ย ด บั ง เงิ น ข อ ง ท า ง ร า ช ก า ร ไป ใช้
เพื่อประโยชน์ส่วนตน เป็นเหตุให้ราชการเสียหายเป็นเงิน 2,772,561.50 บาท และกระทรวงคลัง
(โดยกรมบัญชีกลาง) ได้พิจารณาแล้ว มีความเห็นว่าผู้ฟ้องคดีในฐานะผู้บังคับบัญชา ต้องรับผิด
ในอัตราร้อยละ 35 ของค่าเสียหาย และในฐานะประธานกรรมการเก็บรักษาเงิน ต้องรับผิดในอัตรา
ร้อยละ 15.91 ของค่าเสียหาย ซ่ึงหน่วยงานได้ออกคาสั่งท่ี 188/2549 ลงวันท่ี 3 พฤศจิกายน 2549
ให้ผู้ฟ้องคดีรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน รวมเป็นเงินจานวน 654,239.85 บาท และตามระเบียบ
การเกบ็ รักษาเงินและการนาเงินส่งคลงั ของส่วนราชการ พ.ศ. 2520 ข้อ 69 กาหนดวา่ การตรวจสอบ
ภายในให้เป็นไปตามที่กระทรวงการคลังกาหนด และในขณะเกิดเหตุในคดีนี้ได้มีระเบียบ
กระทรวงการคลัง ว่าด้วยการตรวจสอบภายในของส่วนราชการ พ.ศ. 2542 ออกมาใช้บังคับแล้ว
ข้อเท็จจรงิ ปรากฏวา่ ขณะมีการทุจริต ตงั้ แต่วันที่ 19 พฤศจิกายน 2544 ถึง วันที่ 16 ธนั วาคม 2546
ต่อเนื่องมาเป็นเวลา 2 ปี ไม่ปรากฏว่ามีผู้ตรวจสอบของผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 เข้าไปตรวจสอบการเงิน
และการบัญชีของสถานีตารวจนครบาลสมเด็จเจ้าพระยา หากระบบตรวจสอบภายในของผถู้ ูกฟ้องคดีท่ี1

เอกสารคาสอน วิชากฎหมาย หนา้ 20

มีการดาเนินการตามระเบียบกระทรวงการคลังดังกล่าว ก็จะทาให้ความเสียหายมีจานวนน้อยลง
จึงถือได้ว่าการละเมิดส่วนหนึ่งเกิดจากความบกพร่องของระบบการดาเนินงานส่วนรวมด้วย การที่
ศาลปกครองช้ันต้นวินิจฉัยว่ามีเหตุควรหักส่วนแห่งความรับผิดของระบบการดาเนินงาน ประกอบกับ
เมื่อคานึงถึงความร้ายแรงแห่งการกระทาและความเป็นธรรมแล้ว ให้ผู้ฟ้องคดีรับผิดในฐานะ
ผูบ้ ังคบั บัญชารอ้ ยละ 20 ของคา่ เสียหายนั้น เหมาะสมและเป็นธรรมแล้ว

การเรียกให้เจ้าหน้าทผ่ี ูก้ ระทาละเมดิ ชาระเงนิ แกห่ นว่ ยงานของรัฐ

สานักงานตารวจแห่งชาติซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐตามนิยาม มาตรา 4 วรรคสอง
แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539 อาศัยอานาจตามมาตรา 14
วรรคสอง และมาตรา 18 (1) แห่งพระราชบัญญัติตารวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 ออกระเบียบ ก.ต.ช.
ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติราชการของผู้บัญชาการในฐานะเป็นอธิบดีหรือแทนผู้บัญชาการตารวจ
แห่งชาติ พ.ศ. 2551 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ. 2555 กระจายอานาจไปยังกองบัญชาการ โดยมี
หลักการสาคัญคือ ในกรณีท่ีมีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคาส่ัง หรือมติของคณะรัฐมนตรี
ในเรื่องใดกาหนดให้การดาเนินการใดเป็นอานาจของอธิบดี ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ
ให้ผู้บัญชาการมีอานาจเช่นว่าน้ันในฐานะเป็นอธิบดี หรือแทนผู้บัญชาก ารตารวจแห่งชาติ
ในส่วนที่เกี่ยวกับการปฏิบัติราชการของกองบัญชาการนั้นๆ โดยจะต้องปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ
แนวทางปฏบิ ตั ิทีเ่ กยี่ วข้อง และกฎหมายวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์และวธิ ีการบรหิ ารกจิ การบ้านเมืองทด่ี ี

โดยสานักงานตารวจแห่งชาติได้กาหนดแนวทางปฏิบัติประกอบระเบียบ ก.ต.ช. ว่าด้วย
หลักเกณฑ์การปฏิบัติราชการของผู้บญั ชาการในฐานะเป็นอธิบดีหรือแทนผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ
พ.ศ. 2551 ในสว่ นท่ี 8 แนวทางปฏิบัติทางคดี ดงั น้ี

1) การดาเนนิ การตามพระราชบัญญัติความรบั ผดิ ทางละเมิดของเจา้ หน้าที่ พ.ศ.2539
ผบู้ ัญชาการแต่ละกองบญั ชาการมีอานาจดาเนินการในฐานะหัวหน้าหนว่ ยงานของรัฐ กรณี
เจ้าหน้าที่ในสังกัดกระทาละเมิดต่อทรัพย์สินของกองบัญชาการ หรือหน่วยงานราชการอ่ืนๆ
และกรณีเจ้าหน้าท่ีในสังกัดกระทาละเมิดตอ่ ทรัพย์สนิ ของบุคคลภายนอก รวมถึงกรณีบุคคลภายนอก
กระทาละเมิดตอ่ ทรพั ยส์ นิ ที่อยูใ่ นสงั กัดกองบัญชาการนัน้ ๆ
2) การดาเนินการตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับ
ความรบั ผิดทางละเมิดของเจา้ หนา้ ที่ พ.ศ. 2539
ผู้บัญชาการแต่ละกองบัญชาการมีอานาจดาเนินการในฐานะหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
ห รื อ ใน ฐ า น ะ ผู้ แ ต่ งตั้ งก ร ณี เจ้ าห น้ าท่ี ใน สั งกั ด ก ระ ท า ล ะ เมิ ด ต่ อ ท รัพ ย์ สิ น ข อ งก อ งบั ญ ช า ก า ร
หรอื หน่วยงานราชการอนื่ ๆ และกรณีเจ้าหน้าทใ่ี นสังกัดกระทาละเมิดต่อทรัพย์สินของบุคคลภายนอก
รวมถึงกรณีบคุ คลภายนอกกระทาละเมิดต่อทรัพยส์ ินที่อย่ใู นสังกดั กองบัญชาการน้นั ๆ

เอกสารคาสอน วิชากฎหมาย หน้า 21

สาหรับกรณีบุคคลภายนอกผู้เสียหายฟ้องคดีต่อศาลขอให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน จากกรณี
การกระทาละเมิดของเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติหน้าที่ ไม่ว่าเจ้าหน้าที่น้ันจะสังกัดกองบัญชาการแห่งใด
ผ้เู สยี หายจะตอ้ งฟ้องสานักงานตารวจแหง่ ชาติในฐานะนิตบิ คุ คล

วธิ กี ารและข้ันตอนการเรียกใหเ้ จ้าหน้าท่ชี ดใชค้ ่าสินไหมทดแทน
ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเก่ียวกับความรับผิด
ทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี พ.ศ. 2539 ออกตามมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติความรับผิด
ทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี พ.ศ. 2539 บัญญัติว่า “ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีระเบียบเพ่ือให้เจ้าหน้าที่
ซึ่งต้องรับผิดตาม มาตรา 8 และมาตรา 10 สามารถผ่อนชาระเงินท่ีจะต้องรับผิดนั้นได้โดยคานึงถึง
รายได้ ฐานะครอบครัวและความรับผิดชอบ และพฤติการณ์แห่งกรณีประกอบด้วย” โดยกฎหมาย
ในส่วนน้ีไดก้ าหนดใหอ้ อกระเบียบได้เฉพาะในส่วนเกี่ยวกับการผอ่ นชาระท่ีเจา้ หน้าท่ีตอ้ งรบั ผิดเท่านั้น
แต่คาพิพากษาศาลปกครองสูงสุด ที่ อ. 60/2551 ได้วินิจฉัยวางหลักการสาคัญเก่ียวกับมาตรา 13
ว่าในส่วนที่เกินไปจากที่กฎหมายบัญญัติ มิใช่อนุบัญญัติหรือกฎ หากแต่เป็นระเบียบภายใน
ของฝ่ายบริหารท่ีกาหนดโดยคณะรัฐมนตรีซ่ึงเป็นองค์กรสูงสุดของฝ่ายบริหาร แต่ระเบียบปฏิบัติ
ดังกล่าวคงมีสภาพบังคับให้หน่วยงานของรัฐ ซ่ึงอยู่ภายใต้บังคับบัญชาหรือกากับดูแลของผู้ออก
ระเบียบปฏิบัติน้ันต้องถือปฏิบัติกับเจ้าหน้าท่ีในสังกัดโดยทัดเทียมกัน ไม่สามารถยกเว้นหรือปฏิบัติ
ใหผ้ ิดไปจากระเบียบปฏิบัตดิ ังกล่าว ซ่งึ ระเบียบสานักนายกรฐั มนตรไี ด้วางหลักเกณฑ์อื่นไว้ด้วย
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิด
ของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 ได้วางหลักเกณฑ์เกี่ยวกับขั้นตอนการออกคาสั่งให้เจ้าหน้าที่ชดใช้
ค่าสนิ ไหมทดแทนไว้ ดงั น้ี (สานักวจิ ัยและวิชาการ สานกั งานศาลปกครอง, 2552: 169-186)
1) การต้งั คณะกรรมการสอบขอ้ เท็จจริงความรับผิดทางละเมดิ
ข้อ 7 และข้อ 8 เม่ือเกิดความเสียหายแก่หน่วยงานของรัฐ ให้เจ้าหน้าที่ท่ีเก่ียวข้องแจ้งต่อ
ผู้บังคับบัญชาโดยไม่ชักช้า และให้มีการรายงานตามลาดับชั้นถึงหัวหน้าหน่วยงานของรัฐแห่งน้ัน
และหากหัวหน้าหน่วยงานของรัฐแห่งนั้นมีเหตุอันควรเช่ือว่าเกิดจากการกระทาของเจ้าหน้าท่ี
ของหน่วยงานของรัฐแห่งนั้น ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐดังกล่าวแต่งต้ังคณะกรรมการสอบ
ข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดโดยไม่ชักช้า เพื่อพิจารณาเสนอความเห็นเกี่ยวกับผู้ต้องรับผิด
และจานวนค่าสนิ ไหมทดแทนทผี่ ู้น้ันต้องชดใช้ โดยคณะกรรมการให้มีจานวนไม่เกินห้าคน โดยแต่งต้ัง
จากเจ้าหน้าทขี่ องหนว่ ยงานของรัฐแหง่ นน้ั หรอื หน่วยงานของรัฐอ่ืนตามทเ่ี ห็นสมควร
ในส่วนน้ีคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดมีหน้าที่ จะต้องดาเนินการ
เ พื ่อ พ ิจ า ร ณ า เ ส น อ ค ว า ม เ ห ็น เ กี่ย ว กั บ ผู ้ต ้อ ง รับ ผ ิด ว่า มีผู ้ต ้อ ง รับ ผ ิด ช ด ใ ช ้ค่า ส ิน ไ ห ม ท ด แ ท น
หรือไม่ และจานวนคา่ สินไหมทดแทนทผ่ี ้นู นั้ ต้องชดใชเ้ ป็นจานวนเงนิ เทา่ ใด
2) การรวบรวมพยานหลกั ฐานและให้ผู้ที่เกี่ยวข้องชแ้ี จงและโตแ้ ย้ง

เอกสารคาสอน วิชากฎหมาย หน้า 22

ข้อ 15 วางหลักว่า คณะกรรมการต้องให้โอกาสแก่เจ้าหน้าท่ีที่เกี่ยวข้องหรือผู้เสียหาย
ได้ ช้ี แ จ ง ข้ อ เท็ จ จ ริ ง แ ล ะ โ ต้ แ ย้ ง แ ส ด ง พ ย า น ห ลั ก ฐ า น ข อ ง ต น อ ย่ า ง เพี ย ง พ อ แ ล ะ เป็ น ธ ร ร ม
ซึ่งหลักการนี้ สอดคล้องกับมาตรา 30 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. 2539

คาพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ. 417/2556 ศาลแพ่งกรุงเทพใต้มีคาพิพากษาว่า
ร้อยตารวจเอก ต. ไม่มีอานาจตามกฎหมายในการยึดรถพิพาทส่งไปตรวจพิสูจน์ตามที่กล่าวอ้าง
การกระทาของร้อยตารวจเอก ต. จึงเป็นการกระทาท่ีไม่ชอบและเป็นการจงใจทาให้โจทก์ได้รับ
ความเสียหายในทางทรัพย์สนิ เป็นการละเมิดตอ่ โจทก์ แต่เป็นละเมิดจากการปฏิบัติงานตามหน้าท่ีในฐานะ
เจ้าหน้าท่ีของจาเลยที่ 1 จึงพิพากษาให้จาเลยท่ี 1 ชาระเงิน 174,000 บาท พรอ้ มดอกเบี้ย ค่าฤชาธรรมเนียม
และค่าทนายความ สานักงานตารวจแห่งชาติ ได้นาเงินจานวน 247,294.52 บาท ไปวางศาล
เมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2548 และได้ออกคาสั่งให้ผู้ดารงตาแหน่งในขณะนั้น คือ ผู้ฟ้องคดีดารงตาแหน่ง
รองผู้กากับการฝ่ายสืบสวนสอบสวน พันตารวจเอก อ ดารงตาแหน่งผู้กากับการ และร้อยตารวจเอก ต.
ดารงตาแหน่งพนักงานสอบสวน นาเงนิ มาชาระค่าสินไหมทดแทนคนละ 82,431.51 บาท โดยในการ
ตั้งค ณ ะกรรม สอบ ข้อเท็ จจริงค วามรับผิด ทางละเมิด ข้อเท็ จจริงป ราก ฎ ว่าคณ ะกรร มการสอ บ
ข้อเท็จจริงความรบั ผิดทางละเมิดชดุ เดิม ซง่ึ ผ้ฟู อ้ งคดีเป็นกรรมการด้วย ไม่ได้ทาการสอบสวนผู้ฟอ้ งคดี
ในฐานะผู้ท่ีอาจต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ผู้ฟ้องคดีจึงไม่ได้ให้ถ้อยคาหรือโต้แย้ง
แสดงพยานหลักฐานในส่วนที่เกี่ยวข้องกับตนเอง โดยไดป้ ฏิบัติหน้าท่ีในฐานะคณะกรรมการเท่าน้ัน ต่อมา
เมื่อมีการสอบข้อเท็จจริงเพิ่มเติม คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดแม้จะเป็น
คณะกรรมการท่ีแต่งตั้งตามคาสั่งเดิม แต่ตัวบุคคลซ่ึงทาหน้าท่ีเป็นคณะกรรมการเปลี่ยนแปลงไป
จากเดิมทั้งหมด และคณะกรรมการชุดใหม่ไม่ได้ทาการสอบสวนพยานเพ่ิ มเติม รวมท้ังไม่ได้
สอบปากคาผู้ฟ้องคดีในฐานะท่ีอาจต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน แต่ได้มีมติให้ผู้ฟ้องคดีรับผิด
ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน จึงเป็นกรณีที่ผู้ฟ้องคดีไม่มีโอกาสได้โต้แย้งหรือแสดงพยานหลักฐานของตน
อย่างเพียงพอและเป็นธรรม แม้ต่อมาคณะกรรมการชุดใหม่ได้มีหนังสือแจ้งให้ผู้ฟ้องคดีไปพบ
และให้ถ้อยคาต่อคณะกรรมการ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ฟ้องคดีได้โต้แย้งแสดงพยานหลักฐาน และได้
กระทาก่อนส้ินสุดกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์ก็ตาม แต่ข้อเท็จจริงปรากฎว่าผู้ฟ้องคดีได้ไปพบ
คณะกรรมการ และได้ให้ถ้อยคาโดยโต้แย้งว่าคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด
ไม่ไดใ้ หโ้ อกาสผู้ฟอ้ งคดไี ดช้ ี้แจงข้อเทจ็ จริงและโตแ้ ยง้ แสดงพยานหลกั ฐานอย่างเพยี งพอ แตไ่ ม่ปรากฎ
ว่าได้มีการสอบสวนหรือดาเนินการเพิ่มเติมในประเด็นที่ผู้ฟ้องคดีโต้แย้งแต่อย่างใด ดังน้ัน ผู้ฟ้องคดี
ซึ่งเคยอยู่ในฐานะคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดชุดเดิม แต่ได้รับคาสั่งเรียกให้
รับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน จึงไม่มีโอกาสได้ช้ีแจงข้อเท็จจริงและแสดงพยานหลักฐานของตน
ในกรณีที่อาจต้องรับผิดทางละเมิดดังกล่าว การที่คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิด

เอกสารคาสอน วชิ ากฎหมาย หน้า 23

ทางละเมิดชดุ ใหม่แจ้งให้ผู้ฟ้องคดีไปพบและให้ถ้อยคาเพม่ิ เติมนั้น พฤติการณ์ยังรับฟังไม่ได้วา่ เปน็ การ
ให้โอกาสแก่ผู้ฟ้องคดีได้แสดงพยานหลักฐานของตนอย่างเพียงพอและเป็นธรรมแล้ว การออกคาส่ัง
ให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน จึงไม่เป็นไปตามขั้นตอนหรือวิธีการอันเป็นสาระสาคัญที่กฎหมายกาหนด
คาสงั่ ดงั กลา่ วจงึ ไมช่ อบดว้ ยกฎหมาย

จากผลของคาพิพากษา ศาลพิพากษาเพิกถอนคาสั่งสานักงานตารวจแห่งชาติเนื่องจาก
ไม่เป็นไปตามขั้นตอนหรือวิธีการอันเป็นสาระสาคัญที่กฎหมายกาหนด แต่ศาลปกครองยังไม่ได้มีการ
วินิจฉัยในเนื้อหาของคดีวา่ ผู้ฟ้องคดีเป็นผกู้ ระทาละเมิดโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างรา้ ยแรงหรือไม่
และต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเป็นจานวนเท่าใด สานักงานตารวจแห่งชาติจึงเริ่มกระบวนการ
พิจารณาครั้งใหม่ โดยตั้งกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ชุดใหม่
ตามข้อ 8 แห่งระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเก่ียวกับความรับผิด
ทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 เพ่ือย้อนกลับไปดาเนินการตามข้ันตอนที่กฎหมายกาหนด
คือให้โอกาสแก่ผู้ฟ้องคดีได้แสดงพยานหลักฐานของตนอย่างเพียงพอและเป็นธรรม เพื่อให้ได้ข้อยุติ
ว่าผู้ฟ้องคดีกระทาละเมิดโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อหรอื ไม่และต้องรับผิดชดใชค้ ่าสินไหมทดแทน
จานวนเท่าใด และได้หารือเกี่ยวกับปัญหาอายุความการออกคาส่ังให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนครั้งใหม่
ไปยังสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

บันทึกสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เร่ืองเสร็จท่ี 758/2557 เร่ือง อายุความในการ
ออกคาสั่งเรียกให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามมาตรา 9 แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิด
ของเจ้าหน้าท่ี พ.ศ.2539 และผลกระทบกรณีศาลปกครองสูงสุดมีคาพิพากษาเพิกถอนคาส่ังเรียกให้
ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน มีความเห็นว่า ตามข้อหารือเป็นกรณี ท่ีเจ้าหน้าท่ีกระทาละเมิด
ต่อบุคคลภายนอก เมื่อหน่วยงานของรัฐได้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่บุ คคลภายนอกแล้ว
หน่วยงานของรัฐมีสิทธิเรียกให้เจ้าหน้าท่ีชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่หน่วยงานของรัฐได้ภายใน
อายุความหน่ึงปีนับแต่วันท่ีหน่วยงานของรัฐได้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่บุคคลภายนอกซึ่งเป็น
ผู้เสียหาย ตามมาตรา 9 พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539 ดังน้ัน
เม่ือมาตรา 12 พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี พ.ศ.2539 กาหนดให้หน่วยงาน
ของรัฐท่ีได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้เสียหายมีอานาจออกคาสั่งเรียกให้เจ้าหน้าท่ีผู้กระทาละเมิด
ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน อายุความในการใช้สิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนตามมาตรา 9 จึงย่อมหมายถึง
อายุความในการออกคาสั่งเรียกให้เจ้าหน้าท่ีชาระเงินตามมาตรา 12 เม่ือข้อเท็จจริงปรากฎว่า
สานักงานตารวจแห่งชาตไิ ด้มคี าสัง่ เรยี กให้ชดใช้ค่าสนิ ไหมทดแทนไวภ้ ายในอายคุ วามแล้ว ซึง่ การออกคาส่ัง
ดั งก ล่ าว เป็ น ก า ร อ อ ก ค าส่ั งท า งป ก ค ร อ งเพ่ื อ ให้ มี ก า ร ช ด ใช้ ค่ าสิ น ไห ม ท ด แ ท น ตามท่ี เรี ยกร้ อง
และหากไม่มีการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน สานักงานตารวจแห่งชาติอาจใช้มาตรการบังคับทางปกครอง
ตามมาตรา 57 แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 จึงถือเป็นกรณีท่ีเจ้าหน้ี

เอกสารคาสอน วชิ ากฎหมาย หน้า 24

ได้กระทาการอื่นใดอันมีผลเป็นอย่างเดียวกันกับการฟ้องคดีตามมาตรา 193/14 (5) แห่งประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งทาให้อายุความสะดุดหยุดลง โดยระยะเวลาท่ีล่วงไปก่อนน้ันไม่นับ
เข้าในอายุความ เน่ืองจากการออกคาส่ังเรียกให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเป็นกรณีที่แสดงให้เห็นว่า
เจ้าหน้ีประสงค์ท่ีจะให้มีการบังคับตามสิทธิเรียกร้องของตนโดยมิได้ปล่อยปละละเลยแต่อย่างใด
อายุความซึ่งเป็นโทษแก่เจ้าหนี้จึงสะดุดหยุดลง ส่วนการเร่ิมนับอายุความใหม่จะต้องปรากฏกรณี
ท่ที าให้อายคุ วามสะดุดหยุดลงสิน้ สุด แล้วเร่มิ นับอายุความใหม่ตามมาตรา 193/15 แห่งประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ ฉะนั้น เม่ือศาลปกครองสูงสุดมีคาพิพากษาให้เพิกถอนคาสั่งสานักงานตารวจ
แห่งชาติ เฉพาะส่วนที่ให้พันตารวจเอก พ. (ยศปัจจุบัน) ผู้ฟ้องคดี รับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
โดยให้มีผลย้อนหลังนับแต่วันท่ีออกคาส่ังดังกล่าวจึงเป็นเหตุท่ีทาให้อายุความสะดุดหยุดลงส้ินสุดลง
เมื่อศาลปกครองกลางอ่านคาพิพากษาศาลปกครองสูงสุด สานักงานตารวจแห่งชาติจะต้องเริ่มนับ
อายุความใหม่ตั้งแต่เวลานั้น ประกอบกับมาตรา 193/12 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ให้เริ่มนับอายุความใหม่ตั้งแต่วันท่ีอาจบังคับสิทธิเรียกร้องได้เป็นต้นไป ซ่ึงกรณีน้ีถือว่าสานักงาน
ตารวจแห่งชาติอาจบังคับสิทธิเรียกร้องใหม่ได้ต้ังแต่เวลาที่ศาลปกครองกลางอ่านคาพิพากษา
ศาลปกครองสูงสุด ดังนนั้ สานักงานตารวจแหง่ ชาตจิ ึงต้องใช้สิทธิเรยี กค่าสนิ ไหมทดแทนกับพันตารวจเอก พ.
ภายในหน่ึงปีนับแต่วันท่ี 11 กันยายน 2556 ซ่ึงเป็นวันที่ศาลปกครองกลางอ่านคาพิพากษา
ศาลปกครองสงู สุด

3) การเสนอความเห็นไปยังผแู้ ตง่ ต้ัง
ข้อ 16 เม่อื คณะกรรมการสอบขอ้ เทจ็ จรงิ ความรบั ผดิ ทางละเมดิ พจิ ารณาเสร็จแลว้ ให้เสนอ
ความเห็นไปยังผู้แต่งต้ัง โดยความเห็นของคณะกรรมการต้องมีข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายท่ีแจ้งชัด
และต้องมีพยานหลักฐานที่สนับสนุนประกอบด้วย ความเห็นของคณะกรรมการไม่ผูกมัดผู้แต่งต้ัง
หรอื รัฐท่จี ะมคี วามเห็นเป็นอยา่ งอน่ื
คาพิพากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ. 362/2549 การรายงานความเห็นจากการสอบสวน
กรณีการหักส่วนความรับผิด ถ้าการกระทาละเมิดเกิดจากความผิดหรือความบกพร่องของหน่วยงาน
ของรัฐตามมาตรา 8 วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
มีความมุ่งหมายเพียงว่าหากผลการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด นอกจากจะพบว่าการละเมิด
เกิดจากการกระทาด้วยความจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของเจ้าหน้าที่แล้ว ยังพบว่า
การละเมิดเกิดจากความผิดหรือความบกพร่องของหน่วยงานของรัฐหรอื ระบบการดาเนินงานสว่ นรวมด้วย
คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริง หรือหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ หรือกระทรวงการคลัง สามารถ
เสนอความเห็น หรือส่ังการ หรือมีความเห็นในการตรวจสอบสานวนการสอบสวนได้แล้วแต่กรณี
เพอื่ ให้หกั ส่วนแบ่งความรบั ผิดของหนว่ ยงานของรัฐดังกลา่ ว แต่ถา้ ผลการสอบขอ้ เท็จจรงิ ความรับผิด
ทางละเมิดไม่พบว่าการกระทาละเมิดเกิดจากความผิดหรือความบกพร่องของหน่วยงานของรัฐ

เอกสารคาสอน วชิ ากฎหมาย หน้า 25

หรือระบบการดาเนินงานส่วนรวมด้วย ก็ไม่มีความจาเป็นที่จะต้องกล่าวถึงเหตุท่ีหน่วยงานของรัฐ
ไม่มีส่วนในการละเมิดดังกล่าวไว้ในรายงานการสอบสวน ในคาสั่งหรือในผลการตรวจสอบสานวน
การสอบสวนแลว้ แตก่ รณีแต่อย่างใด

การเสนอความเห็นไปยังผู้แต่งต้ังน้ัน ความเห็นของคณะกรรมการต้องมีข้อเท็จจริง
และข้อกฎหมายที่แจ้งชัด พร้อมท้ังพยานหลักฐานท่ีสนับสนุนประกอบด้วย และมีข้อสังเกตที่สาคัญ
คอื ความเห็นของคณะกรรมการสอบข้อเทจ็ จริงความรับผดิ ทางละเมิดของเจ้าหนา้ ที่ ไม่ผูกมดั ผู้แต่งต้ัง
ท่จี ะมคี วามเหน็ เปน็ อย่างอ่ืนไดอ้ ีกด้วย

4) การวนิ จิ ฉัย
ข้อ 17 เมื่อผู้แต่งต้ังได้รับผลการพิจารณาของคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิด
ทางละเมิดแล้ว ให้วินิจฉัยส่ังการว่ามีผู้รับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนหรือไม่ และเป็นจานวนเท่าใด
แต่ยงั มติ ้องแจ้งการส่งั การใหผ้ ้ทู ีเ่ กยี่ วข้องทราบ
คาพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ. 366-367/2549 ข้ันตอนที่ผู้แต่งตั้งได้รับความเห็น
จากคณะกรรมการแล้ว ผู้แต่งต้ังมีหน้าท่ีต้องพิจารณาสานวนการสอบสวนของคณะกรรมการ
ท้ังในเรื่องข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย ท่ีคณะกรรมการเสนอความเห็น ตลอดจนการพิจารณาพยานหลักฐาน
สนับสนุนอย่างละเอียด หากมีประเด็นท่ียังเป็นปัญหาอยู่หรือคณะกรรมการยังสอบข้อเท็จจริง
ไม่ครบถ้วน ผู้แต่งต้ังสามารถขอให้คณะกรรมการทบทวนหรือสอบเพ่ิมเติมได้ พร้อมท้ังกาหนด
ระยะเวลาให้คณะกรรมการดาเนินการให้แล้วเสร็จด้วย แต่เม่ือเห็นว่าความเห็นของคณะกรรมการ
สมบูรณ์แล้ว ให้วินิจฉัยส่ังการตามหลักเกณฑ์มาตรา 10 ประกอบมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติ
ความรับผิดทางละเมดิ ของเจา้ หน้าท่ี พ.ศ. 2539 โดยไมต่ ้องผูกมดั กบั ความเหน็ ของคณะกรรมการ
5) การสง่ สานวนใหก้ ระทรวงการคลังตรวจสอบ
ข้อ 17 เมื่อวินิจฉัยแล้วเสร็จ ให้ผู้แต่งต้ังส่งสานวนภายในเจ็ดวันนับแต่วันวินิจฉัยส่ังการ
ให้กระทรวงการคลังเพ่ือตรวจสอบ เว้นแต่เป็นเร่ืองที่กระทรวงการคลังประกาศกาหนดว่าไม่ต้อง
รายงานให้กระทรวงการคลังตรวจสอบ
ตามประกาศกระทรวงการคลัง เร่ือง ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ีที่ไม่ต้องรายงาน
ให้กระทรวงการคลังตรวจสอบ ประกาศ ณ วันที่ 20 ธันวาคม 2562 ได้กาหนดจานวนค่าเสียหาย
ท่ไี ม่ตอ้ งรายงานให้กระทรวงการคลังตรวจสอบ
ท้ังน้ี สาหรับความเสียหายท่ีหน่วยงานของรัฐไม่ต้องส่งสานวนให้กระทรวงการคลัง
ตรวจสอบ ให้หน่วยงานของรัฐรายงานความเสียหายในระบบความรับผิดทางละเมิดและแพ่ง
ตามแนวทางและหลักเกณฑ์ที่กรมบัญชีกลางได้แจ้งเวียนให้ถือปฏิบัติ ดาวน์โหลดแนวทาง
และหลักเกณฑ์ดังกลา่ วได้ที่ http://tcls.cgd.go.th
6) การออกคาสั่งให้เจา้ หน้าท่ีชดใชค้ ่าสินไหมทดแทนตามความเห็นของกระทรวงการคลัง

เอกสารคาสอน วิชากฎหมาย หน้า 26

ข้อ 18 เมื่อกระทรวงการคลังพิจารณาเสร็จแล้ว ให้ผู้แต่งตั้งมีคาสั่งตามความเห็น
ข อ ง กระทรวงการคลังและแจ้งคาส่ังนั้น ให้ผู้ท่ีเก่ียวข้องทราบ ...ให้ ผู้แต่ งต้ังของห น่วยงานของรัฐ
แห่งนนั้ สงั่ การไปตามความเห็นของกระทรวงการคลงั

เมื่อหน่วยงานของรัฐที่เสียหายตามวรรคหนึ่ง ส่ังการตามความเห็นของกระทรวงการคลังแล้ว
ให้ผู้แต่งต้ังดาเนินการเพื่อออกคาสั่งให้ผู้ต้องรับผิดชาระค่าสินไหมทดแทนหรือฟ้องคดีต่อศาลอย่าให้
ขาดอายุความ

7) การแจง้ คาสงั่ ให้ชดใช้คา่ สนิ ไหมทดแทน
คาสั่งเรียกให้เจ้าหน้าท่ีชาระเงินตามมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิด
ของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 เป็นคาส่ังทางปกครอง หากคาส่ังดังกล่าวเจ้าหน้าที่ผู้ได้รับคาส่ังเห็นว่า
หน่วยงานของรัฐใช้อานาจโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย เช่น ละเมิดไม่ได้เกิดจากการจงใจหรือประมาท
เลินเล่ออย่างร้ายแรง หรือผู้ทาละเมิดควรชดใช้ค่าสินไหมทดแทนน้อยกว่าที่ได้ออกคาสั่งเนื่องจาก
ความผิดหรือความบกพร่องของหน่วยงานของรัฐหรือระบบการดาเนินงานส่วนรวมด้วย เจ้าหน้าที่
มีสิทธิอุทธรณ์และฟ้องคดีต่อศาล ผู้ออกคาสั่งจึงต้องแจ้งสิทธิการอุทธรณ์ให้เจ้าหน้าที่ผู้ท่ีต้องรับผิด
ชดใชค้ ่าสินไหมทดแทนทราบดว้ ย
อายุความการใชส้ ทิ ธเิ รียกคา่ สนิ ไหมทดแทน
ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 อายุความในการที่
หน่วยงานของรัฐจะต้องออกคาสั่งให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ในกรณีท่ีเจ้าหน้าท่ีกระทาละเมิด
ต่อหน่วยงานของรัฐ มีอายุความสองปีนับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวเจ้าหน้าท่ี
ผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน ตามมาตรา 10 สาหรับกรณีเจ้าหน้าท่ีกระทาละเมิดต่อบุคคลภายนอก
และหน่วยงานของรัฐใช้สิทธิไล่เบ้ียกับเจ้าหน้าท่ี ให้มีกาหนดอายุความหน่ึงปีนับแต่วันท่ีหน่วยงาน
ของรฐั หรือเจ้าหนา้ ทไ่ี ด้ใชค้ ่าสนิ ไหมทดแทนนั้นแกผ่ ูเ้ สียหาย ตามมาตรา 9
คาพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ. 96/2552 มาตรา 10 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติ
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 เป็นกฎหมายพิเศษมีข้อความขัดหรือแย้งกับมาตรา
448 วรรคหนึ่ง แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซง่ึ เป็นกฎหมายทว่ั ไปและมีผลเป็นการยกเว้น
บทบัญญัติมาตรา 448 วรรคหน่ึง ก็เฉพาะแต่ในส่วนท่ีกาหนดให้สิทธิเรียกร้องค่าเสียหาย
อันเกิดจากมลู ละเมิดขาดอายุความเมื่อพ้นหนึ่งปีนับแตว่ ันทผ่ี ู้เสียหายรูถ้ ึงการละเมิดและรู้ตัวผูจ้ ะต้อง
ใช้ค่าสินไหมทดแทนเท่านั้น แต่ไม่มีข้อความขัดหรือแย้งและมีผลเป็นการยกเลิกมาตรา 448
วรรคหน่ึง ในส่วนท่ีกาหนดว่าสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิดขาดอายุความเมื่อพ้น
กาหนดสิบปีนับแต่วันทาละเมิดแต่อย่างใด แม้ต่อมามาตรา 51 แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง
ศาลปกครองและวิธีพจิ ารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 จะบัญญัติไว้เป็นการท่ัวไปวา่ การฟ้องคดีพิพาท
เก่ียวกับการกระทาละเมิดหรือความรับผิดอย่างอ่ืนของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหนาท่ีของรัฐ

เอกสารคาสอน วิชากฎหมาย หน้า 27

อันเกิดจากการใช้อานาจตามกฎหมาย หรือกฎ คาสั่งทางปกครอง หรือคาส่ังอ่ืน หรือจากการละเลย
ต่อหน้าท่ีตามท่ีกฎหมายกาหนดให้ต้องปฏิบัติหรือปฏิบัติหน้าท่ีดังกล่าวล่าช้าเกินสมควร ตามมาตรา 9
วรรคหน่ึง (3) แห่งพระราชบัญญัติเดียวกัน ให้ย่ืนฟ้องภายในหนึ่งปีนับแต่วันท่ีรู้หรือควรรู้ถึงเหตุ
แห่งการฟ้องคดี แต่ไม่เกินสิบปีนับแต่วันท่ีมีเหตุแห่งการฟ้องคดี หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ ให้ย่ืนฟ้องคดี
ภายในหนึ่งปีนับแต่วันทผ่ี ู้ฟ้องคดีได้รู้หรอื ควรรู้ถงึ การละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน
แต่ไม่เกินสิบปีนับแต่วนั ทาละเมิด แต่บทบัญญัตดิ ังกล่าวซ่ึงเป็นกฎหมายทวั่ ไปก็มิได้มีเจตนารมณ์ที่จะ
ให้ยกเลิกมาตรา 10 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี พ.ศ. 2539
ซึ่งเป็นกฎหมายพิเศษ ดังนั้น ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ตามนัยมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติความรับผิด
ทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี พ.ศ. 2539 และเป็นเจา้ หนา้ ที่ของรัฐตามนัย มาตรา 3 แห่งพระราชบญั ญัติจดั ต้ัง
ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 กระทาละเมิดในการปฏิบัติหน้าท่ี
ต่อหน่วยงานของรัฐตามนัยมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
พ.ศ. 2539 และเป็นหน่วยงานทางปกครองตามนัย มาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง
ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 โดยเป็นการใช้อานาจตามกฎหมายออกกฎ
คาส่ังทางปกครอง หรือคาส่ังอื่น หรือกระทาการอื่นใด หรือเป็นการละเลยต่อหน้าที่ตามท่ีกฎหมาย
กาหนดให้ต้องปฏิบัติหรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวล่าช้าเกินสมควร หน่วยงานของรัฐท่ีเสียหายจะต้อง
ใช้สิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากเจ้าหน้าท่ี ตามมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติความรับผิด
ทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี พ.ศ. 2539 ออกคาส่ังให้เจ้าหน้าที่ชาระค่าสินไหมทดแทนภายในสองปี
นับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐท่ีเสียหายรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวเจ้าหน้าที่ผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหม
ทดแทน หรือภายในหน่ึงปีนับแต่วันท่ีหน่วยงานของรัฐมีคาส่ังตามความเห็นของกระทรวงการคลัง
ในกรณีท่ีหน่วยงานของรัฐเห็นว่าเจ้าหน้าท่ีไม่ต้องรับผิด แต่กระทรวงการคลังตรวจสอบแล้วเห็นว่า
เจ้าหน้าทีต่ อ้ งรบั ผดิ แตไ่ มเ่ กินสบิ ปีนบั แต่วันทาละเมิด

จากคาพิพากษาศาลปกครอง วินิจฉัยเกี่ยวกับอายุความการใช้สิทธิเรียกร้อง กรณีมาตรา 10
วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี พ.ศ. 2539 ไม่มีข้อความ
ขัดหรือแย้งและมีผลเป็นการยกเลิกมาตรา 448 วรรคหน่ึง แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ในส่วนที่กาหนดว่าสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิดขาดอายุความเมื่อพ้นกาหนดสิบปี
นับแต่วันทาละเมิด การออกคาสั่งให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนจึงต้องดาเนินการให้เสร็จสิ้นภายใน
อายคุ วาม 10 ปี นบั แต่วนั ทาละเมิดดว้ ย ท้ังนี้ การออกคาสงั่ ให้ชดใชค้ า่ สนิ ไหมทดแทนตอ้ งดาเนินการ
ภายในอายุความ มฉิ ะนั้นอาจมีผลทาใหค้ าสง่ั ใหช้ ดใชค้ ่าสินไหมทดแทนไมช่ อบด้วยกฎหมาย

กรณีเจ้าหน้าท่ยี ินยอมชาระหน้แี ละการผ่อนชาระหนี้
กรณีหน่วยงานของรัฐออกคาสั่งให้เจ้าหน้าที่ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ถ้าเจ้าหน้าท่ียินยอม
ชาระเงินภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้ เม่ือหน่วยงานของรัฐรับชาระเงินเรียบร้อยจะต้องรายงานผล

เอกสารคาสอน วชิ ากฎหมาย หนา้ 28

ให้กรมบัญชีกลางทราบ และหน่วยงานของรัฐก็ไม่ต้องดาเนินการใช้มาตรการบังคับทางปกครอง
กบั เจา้ หนา้ ท่ีรายนั้น

สาหรับกรณีท่ีเจ้าหน้าที่ยินยอมชาระเงินตามคาสัง่ ให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแต่จานวนเงินสูง
เจ้าหน้าท่ีอาจขอผ่อนชาระเงินตามคาส่ังได้ ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยหลักเกณฑ์
การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 ข้อ 25 กาหนดให้หน่วยงาน
ของรัฐที่เสียหายกาหนดจานวนเงินท่ีขอผ่อนชาระน้ันตามความเหมาะสม โดยคานึงถึงรายได้
ค่าใช้จ่ายในการดารงชีพตามฐานานุรูปของเจ้าหน้าที่ ความรับผิดชอบท่ีบุคคลน้ันมีอยู่
ตามกฎหมาย หรือศีลธรรมอันดี และพฤติการณ์แห่งกรณีประกอบด้วย โดยในการให้ผ่อนชาระ
ต้องจัดให้มผี ู้ค้าประกัน และในกรณีท่ีเห็นสมควรจะใหว้ างหลักประกันด้วยก็ได้ และเพื่อให้หน่วยงาน
ของรัฐมีหลักเกณฑ์การพิจารณาในเรื่องการผ่อนผันให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนที่เป็ นธรรม
และเป็นแนวทางเดียวกัน จึงได้กาหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับผ่อนชาระหนี้ของเจ้าหน้าที่ ตามประกาศ
กระทรวงการคลัง เร่อื งหลกั เกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับการผ่อนชาระหนขี้ องเจ้าหนา้ ท่ี

การให้โอกาสเจ้าหน้าท่ีผ่อนชาระหน้ีเป็นวิธีการที่ช่วยเหลือเจ้าหน้าท่ีท่ีมีปัญหาทางการเงิน
แต่มักพบปัญหาที่เกิดในทางปฏิบัติในการขอผ่อนชาระหนี้ ซ่ึงกระทรวงการคลังได้กาหนดหลักเกณฑ์
การผ่อนชาระหน้ีสาหรับผู้ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน รวมถึงการจัดให้มีการค้าประกัน
ในส่วนของการจัดหาผู้ค้าประกันเป็นปัญหาสาคัญ เพราะจะไม่มีผู้ใดยอมเข้ามาค้าปร ะกัน
การชาระหน้ีตามจานวนค่าสินไหมทดแทนที่ขอผ่อนชาระซึ่งจะมีจานวนสูง หากเจ้าหน้าที่ท่ีขอ
ผ่อนชาระไม่มีทรัพย์สินเป็นหลักทรัพย์ท่ีนามาค้าประกัน ก็จะไม่สามารถดาเนินการผ่อนชาระ
ตามหลักเกณฑด์ ังกล่าว

การอุทธรณแ์ ละการฟ้องคดตี อ่ ศาลขอให้เพิกถอนคาสัง่ ให้ชดใชค้ ่าสนิ ไหมทดแทน
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 มาตรา 44 วรรคแรก บัญญัติว่า
“ภายใต้บังคับมาตรา 48 ในกรณีท่ีคาสั่งทางปกครองใดไม่ได้ออกโดยรัฐมนตรี และไม่มีกฎหมาย
กาหนดข้ันตอนอุทธรณ์ภายในฝ่ายปกครองเป็นการเฉพาะ ให้คู่กรณีอุทธรณ์คาสั่งทางปกครองน้ัน
โดยยนื่ ตอ่ เจ้าหน้าทผี่ ้ทู าคาส่ังทางปกครองภายในสิบห้าวนั นบั แต่วันที่ตนได้รับแจง้ คาสง่ั ดังกลา่ ว”
ผูม้ ีสิทธิยื่นอุทธรณ์คาส่ังทางปกครอง คอื คู่กรณี ซ่ึงได้แก่ผู้ที่เข้ามาในกระบวนการพิจารณา
ทางปกครองทุกคน ได้แก่ ผู้ยื่นคาขอ ผู้คัดค้านคาขอ ผู้อยู่ในบังคับหรือจะอยู่ในบังคับของคาส่ัง
ทางปกครอง และผู้ที่ได้เข้ามาในกระบวนพิจารณาทางปกครองอื่นๆ สาหรับบุคคลภายนอกท่ีมิได้
เข้ามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครองจะอุทธรณ์ไม่ได้ แต่บุคคลดังกล่าวสามารถโต้แย้งคาส่ัง
ทางปกครองตอ่ องค์กรวนิ จิ ฉยั คดีปกครองได้โดยตรง (ชาญชัย แสวงศกั ด์ิ, 2558 :289)
สาหรับการอุทธรณ์คาสั่งให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ตามพระราชบัญญัติความรับผิด
ทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 ผู้มีสิทธิอุทธรณ์ได้แก่ เจ้าหน้าที่ผู้จะต้องชดใช้ค่าสินไหม

เอกสารคาสอน วชิ ากฎหมาย หนา้ 29

ทดแทนตามคาส่ังให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน โดยเจ้าหน้าที่สามารถยื่นอุทธรณ์ต่อหัวหน้าหน่วยงาน
ของรฐั ทีไ่ ด้ระบชุ อ่ื และตาแหน่งในคาส่งั ให้ชดใช้คา่ สนิ ไหมทดแทนดงั กล่าว

กาหนดเวลาและรูปแบบในการอทุ ธรณ์คาส่ังทางปกครอง
กรณีคาสั่งให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนท่ีไม่ได้ออกโดยรัฐมนตรี มาตรา 44 วรรคแรก
แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 กาหนดให้คู่กรณีอุทธรณ์คาส่ัง
ทางปกครอง โดยยื่นต่อเจ้าหน้าท่ีผู้ทาคาส่ังทางปกครองภายในสิบห้าวันนับแต่วันท่ีตนได้รับแจ้งคาส่ัง
แต่ถ้าคาส่ังทางปกครองไม่ได้ระบุกรณีที่อาจอุทธรณ์หรือโต้แย้ง การย่ืนคาอุทธรณ์หรือคาโต้แย้ง
และระยะเวลาสาหรับการอุทธรณ์หรือการโต้แย้งไว้ตามมาตรา 40 วรรคแรก ซึ่งบัญญัติว่า
ระยะเวลาการอุทธรณ์จะเร่ิมนับใหม่วันที่ได้รับแจ้งหลักเกณฑ์เร่ืองอุทธรณ์ แต่ถ้าไม่มีการแจ้งใหม่
และระยะเวลาดังกล่าวมีระยะเวลาส้ันกว่าหนึ่งปี ให้ขยายเป็นหน่ึงปีนับแต่วันท่ีได้รับคาสั่งทางปกครอง
ตามมาตรา 40 วรรคสอง
สาหรับรูปแบบของคาอุทธรณ์ มาตรา 44 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. 2539 บัญญัติว่า “คาอุทธรณ์ต้องทาเป็นหนังสือโดยระบุข้อโต้แย้งและข้อเท็จจริง
หรอื ข้อกฎหมายท่อี ้างอิงประกอบดว้ ย”
การกาหนดรูปแบบคาอุทธรณ์ประกอบด้วยสามส่วน คือ 1)คาอุทธรณ์ต้องทาเป็นหนังสือ
2) ระบุข้อโต้แย้งที่ไม่เห็นด้วยกับคาสั่งทางปกครอง 3) ระบุข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายที่อ้างอิง
เพื่อสนับสนนุ
การอุทธรณ์คาส่ังให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิด
ของเจ้าหน้าท่ี พ.ศ. 2539 จึงต้องยื่นต่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐผู้ออกคาส่ังให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
ภายในสิบห้าวันนับแต่วันท่ีตนได้รับแจ้งคาสั่ง และหากกรณีหน่วยงานของรัฐไม่ได้แจ้งสิทธิอุทธรณ์
และระยะเวลาการอุทธรณ์ตามคาส่ัง ระยะเวลาการอุทธรณ์จะเริ่มนับใหม่นับแต่วันท่ีได้รับแจ้งสิทธิ
ดังกล่าว แต่ถา้ ไมม่ กี ารแจ้งสิทธิอุทธรณ์ใหข้ ยายระยะเวลาการอทุ ธรณค์ าสงั่ ใหช้ ดใช้ค่าสินไหมทดแทน
เป็นหนงึ่ ปนี บั แต่วันที่ไดร้ ับคาสั่ง
การพจิ ารณาอทุ ธรณ์
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 มาตรา 45 บัญญัติว่า
“ให้เจ้าหน้าที่ตามมาตรา 44 วรรคหนึ่ง พิจารณาคาอุทธรณ์และแจ้งผู้อุทธรณ์โดยไม่ชักช้า แต่ต้อง
ไม่เกินสามสิบวันนับแต่วันท่ีได้รับอุทธรณ์ ในกรณีท่ีเห็นด้วยกับคาอุทธรณ์ไม่ว่าท้ังหมดหรือบางส่วน
ก็ให้ดาเนินการเปลี่ยนแปลงคาสั่งทางปกครองตามความเห็นของตนภายในกาหนดเวลาดังกล่าวด้วย
ถ้าเจ้าหน้าท่ีตามมาตรา 44 วรรคหนึ่ง ไม่เห็นด้วยกับคาอุทธรณ์ไม่ว่าท้ังหมดหรือบางส่วน
ก็ให้เร่งรายงานความเห็นพร้อมเหตุผลไปยังผู้มีอานาจพิจารณาคาอุทธรณ์ภายในกาหนดเวลา
ตามวรรคหน่ึง ให้ผู้มีอานาจพิจารณาคาอุทธรณ์พิจารณาให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ี

เอกสารคาสอน วิชากฎหมาย หนา้ 30

ตนได้รับรายงาน ถ้ามีเหตุจาเป็นไม่อาจพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาดังกล่าว ให้ผู้มีอานาจ
พิจารณาอุทธรณ์มีหนังสือแจ้งให้ผู้อุทธรณ์ทราบก่อนครบกาหนดเวลาดังกล่าว ในการน้ีให้ขยาย
ระยะเวลาพจิ ารณาอุทธรณ์ออกไปได้ไม่เกนิ สามสิบวันนับแตว่ นั ท่ีครบกาหนดเวลาดังกลา่ ว

เจ้าหน้าที่ผู้ใดจะเป็นผู้มีอานาจพิจารณ าอุทธรณ์ ตามวรรคสองให้เป็น ไปตามท่ีกาหนด
ในกฎกระทรวง”

การพิจารณาอุทธรณ์คาสั่งให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ตามพระราชบัญญัติความรับผิด
ทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 มาตรา 45 เจ้าหน้าท่ีผู้ที่จะต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนอุทธรณ์
ไปยงั หัวหน้าหน่วยงานของรัฐผู้ออกคาสง่ั ดังกล่าวเป็นการให้อานาจหัวหน้าหน่วยงานของรฐั พิจารณา
ทบทวนคาสั่งให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนของตนเอง โดยหัวหน้าหน่วยงานของรัฐมีอานาจพิจารณา
ทบทวนคาสั่งทางปกครองได้ไม่ว่าจะเป็นปัญหาข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย หรือความเหมาะสมของการทา
คาสั่งทางปกครอง และอาจมีคาส่ังเพิกถอนคาส่ังทางปกครองเดิมหรือเปลี่ ยนแปลงคาสั่งนั้น
ไปในทางใดตามมาตรา 46 แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ซ่ึงในกรณี
ที่เห็นด้วยกับคาอทุ ธรณไ์ ม่ว่าทงั้ หมดหรือบางส่วนก็ให้ดาเนินการเปล่ียนแปลงคาส่ังดังกลา่ ว ถ้าไม่เหน็ ดว้ ย
กับคาอุทธรณ์ไม่ว่าท้ังหมดหรือบางส่วนก็ให้เร่งรายงานความเห็นพร้อมเหตุผลไปยังผู้มีอานาจ
พิจารณาคาอุทธรณ์ ซ่ึงท้ังสองกรณีหัวหน้าหน่วยงานของรัฐต้องดาเนินการให้เสร็จส้ินภายใน
ระยะเวลาสามสิบวันนับแตว่ นั ท่ไี ดร้ ับคาอุทธรณ์

สาหรับผู้มีอานาจพิจารณาอุทธรณ์ กฎกระทรวงฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2540) ออกตาม
ความในพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เล่ม 114 ตอน 17 ก หน้า 34 ลงวันท่ี 22 พฤษภาคม 2540 กาหนดผู้มีอานาจพิจารณาอุทธรณ์
ตามมาตรา 45 วรรคสามไว้ดงั น้ี

ข้อ 2 การพิจารณาอุทธรณ์คาสั่งทางปกครองในกรณีที่เจ้าหน้าที่ผู้ทาคาสั่งไม่เห็นด้วย
กับคาอุทธรณ์ ใหเ้ ปน็ อานาจของเจา้ หนา้ ที่ ดังตอ่ ไปนี้ …

(5) นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี แล้วแต่กรณี ในกรณีที่ผู้ทาคาสั่งทางปกครองเป็นหัวหน้า
ส่วนราชการท่ีขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี หรือเป็นผู้ดารงตาแหน่งปลัดกระทรวงหรือ
ปลัดทบวง

การพิจารณาอุทธรณ์ในส่วนของสานักงานตารวจแห่งชาติ ผู้มีอานาจในระดับสูงข้ึนไป
ในสายงานการบังคับบัญชาคือ นายกรัฐมนตรี ดังนั้น เม่ือไม่เห็นด้วยกับคาอุทธรณ์ผู้บัญชาการตารวจ
แห่งชาติต้องรายงานความเห็นพร้อมเหตุผลไปยังนายกรัฐมนตรี ซ่ึงนายกรัฐมนตรีต้องพิจารณา
คาอุทธรณ์ให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับรายงาน ถ้ามีเหตุจาเป็นไม่อาจพิจารณา
ให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลา ให้มีหนังสือแจ้งให้ผู้อุทธรณ์ทราบก่อนครบกาหนดเวลาดังกล่าว
และให้ขยายระยะเวลาพิจารณาอุทธรณ์ออกไปได้ไม่เกินสามสิบวันนับแต่วันท่ีครบกาหนดเวลา

เอกสารคาสอน วชิ ากฎหมาย หน้า 31

สว่ นขอบเขตของการพิจารณาอุทธรณ์ ผู้พิจารณาอุทธรณ์มีอานาจพิจารณาทบทวนคาส่ังทางปกครองได้
ไม่ว่าจะเป็นปัญหาข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย หรือความเหมาะสมของการทาคาส่ังทางปกครอง
และอาจมีคาส่ังเพิกถอนคาสั่งทางปกครองเดิมหรือเปลี่ยนแปลงคาส่ังนั้นไปในทางใด ตามมาตรา 46
แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 เช่นเดียวกับขอบเขตการพิจารณา
คาอทุ ธรณข์ องผูอ้ อกคาสง่ั ใหช้ ดใชค้ ่าสนิ ไหมทดแทน

ปัญหากรณีเจ้าหน้าท่ีไม่ได้ใช้สิทธิอุทธรณ์ให้ทันภายในกาหนดระยะเวลาที่กฎหมายกาหนด
จะมีผลอย่างไร การท่ีเจ้าหน้าท่ีได้รับคาส่ังให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแล้ว ไม่ได้อุทธรณ์ต่อหน่วยงาน
ของรัฐท่ีออกคาส่ังภายในระยะเวลาสิบห้าวันตามที่กฎหมายกาหนดไว้ หากไปใช้สิทธิฟ้องคดีต่อศาล
กรณีดังกล่าวศาลปกครองจะมีคาสั่งไม่รับคาฟ้องและจาหน่ายคดี ด้วยเหตุผลว่าผู้ฟ้องคดีไม่ได้
ดาเนนิ การตามขั้นตอนของ มาตรา 44 วรรคแรก แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พ.ศ. 2539 ที่จะต้องอุทธรณ์ต่อหน่วยงานของรัฐที่ออกคาสั่งภายในระยะเวลาที่กฎหมายกาหนดเสียก่อน
จึงเป็นข้อพึงระวังของเจ้าหน้าท่ีที่ได้รับคาส่ังให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนท่ีจะต้องดาเนินการอุทธรณ์ให้ทัน
ภายในระยะเวลาทก่ี ฎหมายกาหนดไว้ดว้ ย

การฟอ้ งคดีให้เพิกถอนคาสั่งเรยี กให้เจา้ หน้าที่ชาระคา่ สินไหมทดแทน
เจ้าหน้าท่ีของรัฐท่ีได้รับคาส่ังให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนมีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครอง
หากไม่เห็นด้วยกับคาส่ังให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ไม่ว่าจะเป็นกรณีเห็นว่าตนเองไม่ได้กระทาละเมิด
โดยจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง หรือไม่เห็นด้วยกับจานวนเงินค่าสินไหมทดแทนก็ตาม
แม้เจ้าหน้าท่ีรายน้ันจะยินยอมชาระเงินตามคาส่ังให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนไปแล้ว เนื่องจาก
การชาระเงินตามคาสั่งให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนหรือไม่นั้นไม่เป็นเง่ือนไขที่เกี่ยวข้องกับการฟ้องคดี
ให้เพิกถอนคาส่ัง การชาระเงินค่าสินไหมทดแทนเป็นการปฏิบัติตามคาส่ังของหน่วยงานของรัฐ
แต่หากไม่ได้เห็นด้วยกับคาสั่งก็ยังมีสิทธิดาเนินการทางศาลปกครองอีกด้วย แต่การชาระเงินไปก่อน
ก็เป็นวิธีการที่จะบรรเทาความเสียหายของทั้งฝ่ายหน่วยงานของรัฐและเจ้าหน้าท่ีลง คือหน่วยงาน
ของรัฐก็ไม่ต้องดาเนินการใช้มาตรการบังคับทางปกครองในระหว่างที่รอคาพิพากษาของศาล สาหรับ
เจ้าหน้าที่ก็จะช่วยลดภาระเกี่ยวกับดอกเบี้ยผิดนัด หากภายหลังฟ้องศาลปกครองแล้วแพ้คดี
เจ้าหน้าที่จะต้องชาระเงินตามคาส่ังและดอกเบี้ยผิดนัดต้ังแต่วันที่ผิดนัดจนกว่าจะชาระเงินตามคาส่ัง
ให้ชดใชค้ ่าสินไหมทดแทน ซ่ึงการฟอ้ งคดีจะมีระยะเวลาทีย่ าวนานกวา่ จะทราบผลทางคดดี งั กล่าว
พระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 มาตรา 9 วรรคแรก (1)
บญั ญตั ิวา่ “ศาลปกครองมอี านาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคาสั่งในเรือ่ งดงั ต่อไปน้ี
(1) คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ กระทาการ
โดยไม่ชอบด้วยกฎหมายไม่ว่าจะเป็นการออกกฎ คาส่ังหรือการกระทาอ่ืนใดเน่ืองจากกระทาโดยไม่มี
อานาจหรือนอกเหนืออานาจหน้าที่หรือไม่ถูกต้องตามกฎหมาย หรือโดยไม่ถูกต้องตามรูปแบบ

เอกสารคาสอน วิชากฎหมาย หน้า 32

ขั้นตอน หรือวิธีการอันเป็นสาระสาคัญท่ีกาหนดไว้สาหรับการกระทาน้ันหรือโดยไม่สุจริต
หรือมีลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติท่ีไม่เป็นธรรม หรือมีลักษณะเป็นการสร้างข้ันตอนโดยไม่จาเป็น
หรอื สรา้ งภาระใหเ้ กดิ กับประชาชนเกนิ สมควร หรือเป็นการใชด้ ุลพินจิ โดยมชิ อบ”

การฟ้องคดีให้เพิกถอนคาส่ังเรียกให้เจ้าหน้าที่ชาระค่าสินไหมทดแทนนั้น คาส่ังเรียกให้
เจ้าหน้าที่ชาระค่าสินไหมทดแทน ถือว่าเป็นคาส่ังทางปกครอง ผู้ท่ีต้องชาระเงินตามคาส่ังให้ชดใช้
ค่าสินไหมทดแทน จึงมีสิทธิฟ้องคดีให้เพิกถอนคาส่ังให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนต่อศาลปกครองได้
ตามมาตรา 9(1) แต่กรณีเป็นคาส่ังท่ีไม่ได้ออกโดยรัฐมนตรี จะต้องอุทธรณ์คาสั่งดังกล่าว ตามมาตรา
42 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542
ซงึ่ กาหนดว่ากรณีท่ีมกี ฎหมายกาหนดขั้นตอนหรือวธิ กี ารสาหรับการแก้ไขความเดอื ดร้อนหรือเสียหาย
ในเร่ืองใดไว้โดยเฉพาะ การฟ้องคดีปกครองในเร่ืองน้ันจะกระทาได้ต่อเมื่อมีการดาเนินการ
ตามขน้ั ตอนและวธิ ีการดังกลา่ ว

สาหรับระยะเวลาการฟ้องคดีต่อศาลปกครองเป็นไปตาม มาตรา 49 แห่งพระราชบัญญัติ
จัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 ซึ่งกาหนดให้ยื่นฟ้องคดีภายในเก้าสิบวัน
นับแต่วันท่ีรู้หรือควรรู้ถึงเหตุแห่งการฟ้องคดี หรือนับแต่วันที่พ้นกาหนดเก้าสิบวันนับแต่วันท่ี
ผ้ฟู ้องคดีไดม้ ีหนังสือร้องขอต่อหน่วยงานของรัฐ เพื่อให้ปฏิบัติหน้าท่ีตามที่กฎหมายกาหนด และไม่ได้รับ
หนังสือชี้แจงจากหน่วยงานของรัฐ หรือได้รับแต่เป็นคาชี้แจ งท่ีผู้ฟ้องคดีเห็นว่าไม่มีเหตุผล
ตามคาวินิจฉัยของศาลปกครองต่อไปน้ี เป็นกรณีเก่ียวกับการฟ้องคดีเมื่อพ้นกาหนดเวลา
ศาลปกครองจงึ มีคาส่ังไมร่ ับคาฟ้อง

คาสั่งศาลปกครองสูงสุดท่ี 33/2546 เมื่อหน่วยงานได้มีคาส่ังให้ผู้ฟ้องคดีรับผิดชดใช้
ค่าสินไหมทดแทน ผู้ฟ้องคดีได้อุทธรณ์คาสั่งดังกล่าวต่อผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปเม่ือเกินระยะเวลา
15 วัน นับแต่วันท่ีได้รับคาสั่งตาม มาตรา 44 วรรคหน่ึง แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. 2539 แต่เนื่องจากในการแจ้งคาสั่ง ผู้ถูกฟ้องคดีไม่ได้แจ้งสิทธิการอุทธรณ์
ให้ผู้ฟ้องคดีทราบ ดังนั้น ระยะเวลาการอุทธรณ์จึงขยายเป็น 1 ปี นับแต่วันท่ีได้รับคาสั่งทางปกครอง
ตามมาตรา 40 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว การอุทธรณ์ของผู้ฟ้องคดีจึงอยู่ในระยะเวลา
ที่กฎหมายกาหนด ซ่ึงหัวหน้าหน่วยงานจะต้องพิจารณาอุทธรณ์และแจ้งผลให้ผู้ฟ้องคดีทราบภายใน
ระยะเวลาไม่เกิน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับอุทธรณ์ตาม มาตรา 45 วรรคหน่ึง แห่งพระราชบัญญัติ
ดังกล่าว และในกรณีที่หัวหน้าหน่วยงานไม่เห็นด้วยกับคาอุทธรณ์ก็ให้เสนอไปยังผู้มีอานาจพิจารณา
อุทธรณ์ภายในระยะเวลา 30 วัน ซ่ึงผู้มีอานาจพิจารณาคาอุทธรณ์ต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน
30 วัน นับแต่วันท่ีตนได้รับรายงาน เมื่อข้อเท็จจริงปรากฎว่าหัวหน้าหน่วยงานมิได้พิจารณาอุทธรณ์
ให้แล้วเสร็จในระยะเวลาดังกล่าว ผู้ฟ้องคดีจะต้องนาคดีมาฟ้องต่อศาลปกครองภายใน 90 วัน

เอกสารคาสอน วิชากฎหมาย หน้า 33

นับแต่วันที่พ้นกาหนดพิจารณาอุทธรณ์ แต่ผู้ฟ้องคดีนาคดีมาฟ้องเม่ือพ้นกาหนดเวลาดังกล่าวแล้ว
ศาลปกครองสูงสดุ จงึ มีคาสง่ั ยืนตามคาสัง่ ศาลปกครองชน้ั ต้นที่ไม่รับคาฟ้อง

การใช้มาตรการบงั คบั ทางปกครองกรณีความรบั ผิดทางละเมิดของเจา้ หน้าที่

ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี พ.ศ. 2539 ไม่ได้บัญญัติเกี่ยวกับ
มาตรการบังคับให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนไว้เป็นการเฉพาะ จึงใช้มาตรการบังคับทางปกครอง
ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ในฐานะกฎหมายกลาง กรณี
เจ้าหน้าที่ไม่ยินยอมชดใช้ค่าสินไหมทดแทน คาสั่งให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนดังกล่าวเป็นคาสั่ง
ทางปกครองที่กาหนดให้ชาระเงิน ซึ่งต้องดาเนินการตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. 2539 ในหมวดการบังคับทางปกครอง

พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562 ได้แก้ไขปรับปรุง
การบังคับทางปกครอง ทาให้เกิดความเปล่ียนแปลงหลายประการ ซ่ึงเหตุผลในการประกาศใช้
พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ การบังคับใช้กฎหมายในการบังคับทางปกครองยังไม่มีประสิทธิภาพ
เก่ียวกับรายละเอียดวิธีปฏิบัติ ระยะเวลาในการบังคับทางปกครองท่ีชัดเจน ประกอบกับเจ้าหน้าท่ี
ของหน่วยงานของรัฐส่วนใหญ่ไม่เช่ียวชาญในการปฏิบัติ อีกท้ังไม่มีบทบัญญัติให้อานาจเจ้าหน้าที่
ในการสืบหาทรัพย์สนิ

ตารางที่ 1.2 หลกั เกณฑก์ ารบงั คบั ทางปกครองตามคาสง่ั ทางปกครองซึ่งกาหนดใหช้ าระเงนิ

การบังคับโดยเจา้ หนา้ ท่ีของหน่วยงานของรัฐ การบงั คับโดยเจ้าพนกั งานบังคบั คดี

- เจ้าหน้าที่ผู้ทาคาสั่งทางปกครองมีหนังสือเตือน - คาสั่งให้ชาระเงินเป็นที่สุด (มาตรา 63/15

ให้ชาระภ ายในระยะเวลาท่ีกาหนดแต่ต้อง วรรค 1)

ไม่นอ้ ยกว่าเจ็ดวนั (มาตรา 63/7 วรรค 1)

- แ ต่ งตั้ งเจ้ าพ นั ก งาน บั งคั บ ท างป ก ค รอ ง - ยื่นคาขอฝ่ายเดียวต่อศาลเพื่อออกหมายบังคับ

ดาเนินการยึดหรืออายัดทรัพย์สินและขาย คดีภายใน 10 ปี นับแต่วันที่คาสั่งเป็นที่สุด

ทอดตลาด (มาตรา 63/7 วรรค 1 วรรค 2 และ (มาตรา 63/15 วรรค 1)

กฎกระทรวง) - ศาลออกหมายบังคับคดีตั้งเจ้าพนักงาน

- ตอ้ งยึดอายัดภายในสิบปี นับแต่คาสั่งให้ชาระเงิน บังคบั คดี (มาตรา 63/15 วรรค 2)

เปน็ ท่ีสดุ (มาตรา 63/8) - เขตอานาจศาล คาขอต้องปรากฎว่าผู้อยู่ใน

- การอุทธรณ์คาสั่งทางปกครองไม่เป็นเหตใุ ห้ทเุ ลา บังคับมีภูมิลาเนาอยู่ในเขตศาล หรือทรัพย์สิน

การบังคับ เว้นแต่จะมีการสั่งให้ทุเลาการบังคับ ตั้งอยู่ในเขตศาล (มาตรา 63/15 วรรค4)

เอกสารคาสอน วชิ ากฎหมาย หนา้ 34

(มาตรา 3 ประกอบ มาตรา 63/2) - ศาลออกหมายบังคับคดีแล้วหน่วยงานของรัฐ

- เพิ่มอานาจการสืบทรัพย์ของเจ้าหน้าที่ผู้ออก ติดต่อกรมบังคับคดี พร้อมมีหนังสือแจ้งผู้อยู่

คาสั่งใช้มาตรการบังคับทางปกครอง และอาจให้ ในบังคับว่าศาลได้ตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดี

หน่วยงานอ่ืนหรือเอกชนสืบหาทรัพย์สินแทนได้ เพ่ือดาเนินการบังคับคดีแล้ว (มาตรา 63/15

(มาตรา 63/10 และ 63/11) วรรค 3)

- กาหนดข้ันตอนและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการยึด - การดาเนินการบังคับให้เป็นไปตามคาส่ัง

การอายดั และการขายทอดตลาดทรพั ยส์ ิน ทางปกครองเป็นไปตามประมวลกฎหมายวิธี

(มาตรา 63/12 และกฎกระทรวง(ยังไม่กาหนด) พจิ ารณาความแพง่ (มาตรา 63/19)

กฎกระทรวงไม่กาหนดเรื่องใดให้ใช้ประมวล - ห น่ วยงาน ของรัฐสืบ ท รัพ ย์แล้วแจ้งให้

กฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพง่ โดยอนุโลม เจ้าพนักงานบังคับคดี เพ่ือดาเนินการยึดหรือ

- ก ร ณี มี อุ ท ธ ร ณ์ ก า ร ใช้ ม า ต ร ก า ร บั ง คั บ อายัดทรัพย์สินภายในสิบปีนับแต่วันที่คาส่ัง
ทางปกครองและขอทุเลาการบังคับ อาจสั่งให้ เป็นทสี่ ดุ (มาตรา 63/18)

ทุเลาการบังคับไว้ก่อนโดยกาหนดเง่ือนไขด้วยก็ได้ - ใช้กับคาสั่งทางปกครองซ่ึงกาหนดให้ชาระเงิน

(มาตรา 63/9) เป็นท่ีสุดไม่เกิน 1 ปี (คาส่ังเป็นท่ีสุดนับแต่วันท่ี

- กรณี ถึงแก่ความตายให้ดาเนินการบั งคับ 27 พฤษภาคม 2561 เป็นต้นมา) และตามท่ี
ทางปกครองกับทายาทผู้รับมรดกหรือผู้จัดการ
มรดกตอ่ ไปได้ (มาตรา 63/4) (บทท่ัวไป) กาหนดในกฎกระทรวง

ทม่ี า: พระราชบัญญตั ิวธิ ีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562

การบังคับตามคาส่ังทางปกครองซึ่งกาหนดให้ชาระเงิน แบ่งเป็นสองส่วน คือ การบังคับ
โดยเจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานของรัฐ และการบังคับโดยเจ้าพนักงานบังคับคดี ซึ่งแตกต่างจากเดิม
ที่หน่วยงานของรัฐต้องดาเนินการบังคับทางปกครองเอง การบังคับทางปกครองโดยเจ้าพนักงาน
บังคับคดีจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของหน่วยงานของรัฐท่ีจะร้องขอต่อศาลให้เจ้าพนักงานบังคับคดี
เขา้ มาดาเนินการบังคับทางปกครอง

การบังคับโดยเจ้าหนา้ ท่ีของหนว่ ยงานของรัฐ
มาตรา 63/7 ให้เจ้าหน้าที่ผู้ทาคาสั่งทางปกครองมีหนังสือเตือนให้ผู้นั้นชาระภายใน
ระยะเวลาที่กาหนดแต่ต้องไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน ถ้าไม่ปฏิบัติตามคาเตือนเจ้าหน้าที่มีอานาจ
ใช้มาตรการบังคับทางปกครอง โดยยึดหรืออายัดทรัพย์สินและขายทอดตลาด สาหรับการบังคับ
โดยเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ ให้แต่งต้ังเจ้าพนกั งานบงั คับทางปกครอง ดาเนินการยดึ หรืออายัด
ทรัพย์สินและขายทอดตลาด กฎกระทรวงกาหนดเจ้าหน้าที่ผู้ออกคาสั่งใช้มาตรการบังคับ
ทางปกครองและการแต่งตั้งเจ้าพนักงานบังคับทางปกครอง พ.ศ. 2562 ลงวันที่ 6 ธันวาคม 2562

เอกสารคาสอน วิชากฎหมาย หน้า 35

ได้กาหนดรายละเอียดดังกลา่ ว ใหผ้ ู้มอี านาจออกคาส่ังใชม้ าตรการบงั คับทางปกครองแตง่ ตั้งเจ้าหน้าที่
ซึ่งผ่านการอบรมด้านการบังคับคดีจากกรมบังคับคดีหรือด้านการบังคับทางปกครองตามหลักสูตร
ท่ีคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองให้ความเห็นชอบ เป็นเจ้าพนักงานบังคับทางปกครอง

หน่วยงานของรัฐที่ออกคาส่ังให้ชาระเงินต้องดาเนินการยึดหรืออายัดทรัพย์สินภายในสิบปี
นับแต่วันท่ีคาส่ังทางปกครองเป็นที่สุด ตามมาตรา 63/8 บัญญัติว่า “หน่วยงานของรัฐท่ีออกคาส่ัง
ให้ชาระเงินต้องดาเนินการยึดหรืออายัดทรัพย์สินภายในสิบปี นับแต่วันที่คาส่ังทางปกครอง
ที่กาหนดให้ชาระเงินเป็นที่สุด...” โดยคาส่ังเป็นที่สุดในกรณีดังต่อไปนี้ (1) ไม่มีการอุทธรณ์คาส่ัง
ต่อเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองภายในระยะเวลาอุทธรณ์ (2) เจ้าหน้าท่ีผู้มีอานาจพิจารณาอุทธรณ์
มีคาวินิจฉัยยกอุทธรณ์ และไม่มีการฟ้องคดีต่อศาลภายในระยะเวลาการฟ้องคดี (3) ศาลมีคาส่ัง
หรอื คาพพิ ากษายกฟ้องหรือเพิกถอนคาสง่ั บางสว่ น และคดีถงึ ทสี่ ุดแล้ว

นอกจากน้ีได้เพิ่มอานาจในการสืบทรัพย์ มาตรา 63/10 ให้อานาจเจ้าหน้าที่ผู้ออกคาสั่ง
ใช้มาตรการบงั คบั ทางปกครอง 2 ประการ สรุปได้ ดังนี้

(1) มีหนังสือสอบถามเกี่ยวกับทรัพย์สินของผู้อยู่ในบังคับ เช่น สถาบันการเงิน สหกรณ์
ออมทรัพย์ กรมทีด่ ิน กรมการขนส่งทางบก เป็นต้น โดยบัญญัตใิ ห้หน่วยงานทใี่ หข้ ้อมลู ให้ถือว่าไม่เป็น
ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
และกฎหมายอื่น แต่ผู้ไม่ปฏิบัติตามหนังสือของเจ้าหน้าที่ผู้ออกคาส่ังใช้มาตรการบังคับทางปกครอง
โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร มีความผิดฐานขัดคาสั่งเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา กล่าวคือ
ความผิดลหโุ ทษตาม มาตรา 368

(2) มีหนังสือขอให้นายทะเบียน พนักงานเจ้าหน้าท่ี หรือบุคคลอื่นท่ีมีอานาจหน้าท่ี ระงับ
การจดทะเบียน หรือแก้ไขเปล่ียนแปลงทางทะเบียนท่ีเกยี่ วกบั ทรัพยส์ ินของผู้อยูใ่ นบงั คบั ไวช้ ว่ั คราว

กรณีมีอุทธรณ์การใช้มาตรการบังคับทางปกครอง และขอทุเลาการบังคับตามมาตรการ
ดังกล่าว เจ้าหน้าที่ผู้ออกคาสั่งใช้มาตรการบังคับทางปกครอง หรือผู้มีอานาจพิจารณาคาอุทธรณ์
อาจส่งั ให้มีการทุเลาการบงั คบั ทางปกครองไวก้ ่อนได้ โดยมีอานาจกาหนดเงอื่ นไขใหป้ ฏบิ ัตดิ ้วยก็ได้

การบังคบั โดยเจ้าพนกั งานบังคบั คดี
ให้หน่วยงานของรัฐยื่นคาขอฝ่ายเดียวต่อศาล ภายใน 10 ปี นับแต่วันท่ีคาสั่งทางปกครอง
เป็นที่สุด เพ่ือให้ศาลออกหมายบังคับคดีเพ่ือบังคับให้เป็นไปตามคาส่ังทางปกครองน้ัน โดยคาสั่ง
ทางปกครองท่ีกาหนดให้ชาระเงินที่จะยื่นคาขอให้ศาลออกหมายบังคับคดีตามมาตรา 63/15 ได้น้ัน
ต้องเป็นคาสั่งทางปกครองท่ีเป็นท่ีสุดนับแต่วันท่ี 27 พฤษภาคม 2561 เป็นต้นมา กล่าวคือ คาสั่ง
ให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนท่ีออกไม่เกินหน่ึงปีนับแต่วันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ สาหรับคาส่ัง
ที่เป็นท่ีสุดก่อนวันท่ี 27 พฤษภาคม 2561 จะย่ืนคาขอได้ต้องมีลักษณะตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
สาหรับศาลท่ีมอี านาจในการบังคบั คดี ได้แก่ ศาลจังหวัด ศาลแพง่ ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ศาลแพ่งธนบุรี

เอกสารคาสอน วิชากฎหมาย หน้า 36

หรือศาลแพ่งอน่ื ในกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี ท่ผี ้อู ยู่ในบังคับมีภูมลิ าเนาอยู่ในเขตศาล หรอื ที่ทรัพย์สิน
ที่ถูกบังคับทางปกครองน้ันตั้งอยู่ในเขตศาล มีอานาจวินิจฉัยชี้ขาด หรือทาคาสั่งในเร่ืองใดๆ
อันเก่ียวด้วยการบังคับคดี และเป็นศาลที่มีอานาจในการบังคับคดี และเมื่อศาลออกหมายบังคับคดี
และแต่งต้ังเจ้าพนักงานบังคับคดีแล้ว การดาเนินการบังคับให้เป็นไปตามคาส่ังทางปกครอง
ที่กาหนดให้ชาระเงนิ ให้เปน็ ไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง

ศาลออกหมายบังคับคดีแล้ว ให้หน่วยงานของรัฐติดต่อกรมบังคับคดี พร้อมมีหนังสือ
แจ้งผู้อยู่ในบังคับว่าศาลได้ตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดีเพื่อดาเนินการบังคับคดีแล้ว หน่วยงานของรัฐ
ทอ่ี อกคาส่ังให้ชาระเงินตอ้ งดาเนินการสืบทรัพย์แลว้ แจง้ ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทราบ พรอ้ มเอกสาร
หลักฐานท่เี ก่ียวข้องเพ่ือใหเ้ จ้าพนักงานบงั คับคดีดาเนนิ การ เพ่ือใหม้ ีการยึดหรืออายัดทรัพยส์ นิ ภายใน
สิบปี นับแต่วันที่คาสั่งเป็นท่ีสุด นอกจากน้ีคาสั่งกรมบังคับคดี ที่ 579/2562 เรื่อง การปฏิบัติงาน
เกี่ยวกับการบังคับตามคาส่ังทางปกครองท่ีกาหนดให้ชาระเงิน ได้กาหนดในการต้ังเร่ืองบังคับคดี
ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีแจ้งหน่วยงานของรัฐที่ออกคาส่ังให้ชาระเงินดาเนินการ นาส่งสาเนาคาร้อง
ขอออกหมายขังคบั คดีท่ีย่ืนตอ่ ศาล เพ่ือจะไดท้ ราบว่าการบังคับทางปกครองได้ดาเนินการภายในสิบปี
นับแต่วันที่คาสั่งเป็นท่ีสุดหรือไม่ และให้หน่วยงานของรัฐแจ้งเจ้าพนักงานบังคับคดีทราบโดยเร็ว
หากปรากฎวา่ ในระหวา่ งการบงั คบั คดีจานวนหน้ีตามคาสงั่ ใหช้ าระเงินลดลงไม่วา่ ด้วยเหตใุ ดๆ

สรุปได้ว่า การใช้มาตรการบังคับทางปกครอง ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2562 มีการแก้ไขข้อบกพร่องในการดาเนินการแบบเดิมหลายประการ
กล่าวคือ ทาให้หน่วยงานของรัฐมีอานาจในการสืบทรัพย์เพ่ิมขึ้น มีทางเลือกในการดาเนินการ
ใช้มาตรการบังคับทางปกครอง โดยอาจใช้วิธีการการบังคับโดยเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ
โดยการแต่งตั้งเจ้าหน้าท่ีซ่ึงผ่านการอบรมด้านการบังคับคดีจากกรมบังคับคดีหรือด้านการบังคับ
ท างป กค ร องต าม ห ลั กสู ต รท่ี ค ณ ะก รรม การวิ ธีป ฏิ บั ติ ราช การท า งป ก ค รอ งให้ ค วาม เห็ น ช อ บ
เป็นเจ้าพนักงานบังคับทางปกครอง หรือเลือกใช้วิธีการบังคับโดยเจ้าพนักงานบังคับดี โดยการยื่น
คาขอฝ่ายเดียวต่อศาล เพื่อให้ศาลออกหมายบังคับคดีตัง้ เจ้าพนักงานบังคบั คดเี ข้ามาดาเนินการบังคับ
ให้เป็นไปตามคาส่ังทางปกครองน้ัน ซ่ึงหน่วยงานของรัฐซ่ึงถือว่าเป็นเจ้าหนี้ตามคาพิพากษา มีหน้าที่
ดาเนินการสืบทรพั ย์แล้วแจ้งให้เจ้าพนักงานบังคบั คดที ราบ พร้อมเอกสารหลักฐานที่เก่ียวข้อง เพ่อื ให้
เจา้ พนักงานบังคับคดดี าเนินการเพอ่ื ให้มกี ารยึดหรอื อายัดทรพั ย์สนิ ต่อไป ซง่ึ เมอื่ ศาลออกหมายบังคบั คดี
และแต่งตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดีแล้ว การดาเนินการบังคับตามคาส่ังทางปกครองท่ีกาหนดให้ชาระเงิน
ให้เป็นไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง นอกจากนี้มีการบัญญัติเพิ่มเติมกรณี
ท่ีผู้อยู่ในบังคับถึงแก่ความตาย ให้หน่วยงานของรัฐสามารถดาเนินการบังคับทางปกครองกับทายาท
ผู้รบั มรดกหรือผจู้ ัดการมรดกต่อไปได้

เอกสารคาสอน วิชากฎหมาย หน้า 37

สรปุ

แนวความคิดการตราพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ของประเทศไทย
เพือ่ ให้เกิดความเป็นธรรมและเพิ่มพูนประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัตงิ านของรัฐ สอดคล้องกับต่างประเทศ
ท่ีบัญญัติกฎหมายให้ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐแยกออกจาก ความรับผิด
ตามกฎหมายเอกชน โดยรัฐจะเป็นผู้รับผิดชอบละเมิดของเจ้าหน้าท่ีที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าท่ี
และฟ้องไล่เบี้ยจากเจ้าหน้าที่ภายหลัง เฉพาะกรณีเจ้าหน้าที่กระทาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
อยา่ งรา้ ยแรงเท่านนั้

โดยการกาหนดหลักเกณฑ์การออกคาสั่งให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน และข้ันตอนการออกคาส่ัง
ทั้งในกรณีเจ้าหน้าท่ีกระทาละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ และกรณีเจ้าหน้าท่ีกระทาละเมิด
ต่อบุคคลภายนอกแล้วหน่วยงานใช้สิทธไิ ล่เบย้ี สาหรับสิทธิในการอุทธรณ์พระราชบัญญัติความรับผิด
ทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี พ.ศ. 2539 ไม่ไดบ้ ัญญัติไว้เป็นการเฉพาะจึงต้องนาพระราชบญั ญัติวธิ ีปฏิบัติ
ราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 มาบังคับใช้ในฐานะกฎหมายกลาง ตลอดจนหลักเกณฑ์และข้ันตอน
การใชม้ าตรการบังคับทางปกครอง

ข้อเสนอแนะ

กฎหมายความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี เป็นเร่ืองที่ผู้ปฏิบัติงานในทุกสายงานมคี วาม
เกย่ี วข้องในฐานะเจ้าหน้าที่ ผู้เรยี นจงึ ควรศึกษากฎหมาย ระเบียบท่ีเก่ียวข้อง ตลอดจนค้นควา้ หนงั สือ
หรือตารา และติดตามข้อมูลท่ีเก่ียวข้องจากฐานข้อมูลออนไลน์ เช่น จากเว็บไซต์กรมบัญชีกลาง
และคาพิพากษาศาลปกครอง เป็นตน้ เพื่อนาไปใชเ้ ปน็ พ้นื ฐานในการปฏิบัตงิ าน

เอกสารคาสอน วชิ ากฎหมาย หน้า 38

กิจกรรมบทท่ี 1

1. สิบตารวจเอก ก ได้รับคาสั่งให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนความรับผิดทางละเมิด
มาปรึกษาท่านว่าควรใช้สิทธิอุทธรณ์และฟ้องคดีต่อศาลหรือไม่ และควรจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
ตามคาสั่งหรือไมอ่ ยา่ งไร

ข้อเท็จจริงปรากฎว่า สิบตารวจเอก ก. ขับรถยนต์ของทางราชการติดตามคนร้าย
ฝ่าสัญญาณไฟแดง ไปชนรถยนต์คันอื่นได้รับความเสียหายและมีผู้ได้รับบาดเจ็บหลายราย
และรถยนต์ของทางราชการได้รับความเสียหาย ต่อมาศาลแพ่งได้มีคาพิพากษาให้สานักงานตารวจ
แห่งชาติชดใช้ค่าเสียหายให้กับบุคคลภายนอกท่ีได้รับความเสียหายจานวน 100,000 บาท หลังจาก
ตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดแล้ว สานักงานตารวจแห่งชาติ ได้มี
คาสั่งให้ สิบตารวจเอก ก. ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน จานวน 150,000 บาท ซ่ึงรวมค่าเสียหายต่อรถยนต์
ของทางราชการอีก 50,000 บาทด้วย

2. ตารวจภูธรภาค 1 มีคาส่ังให้เจ้าหน้าที่ตารวจ จานวน 10 ราย ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
โดยให้รับผดิ คนละ 12,000 บาท ไล่เบี้ยกรณีเจ้าหน้าที่กระทาละเมิดจับผู้ต้องหาผิดตวั ไม่มเี จ้าหน้าท่ี
ผู้ใดอุทธรณ์คาสั่ง แต่เม่ือพ้นกาหนดชาระหน้ีแล้ว มีผู้ชาระหนี้เพียง 5 ราย พันตารวจตรี ก เจ้าหน้าท่ี
ผู้รับผิดชอบสานวน เสนอความเห็นต่อผู้บังคับบัญชาให้เรียกเจ้าหน้าที่ 5 ราย ท่ียังไม่ชาระหน้ี
เพื่อช้ีแจงกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องและขอความร่วมมือให้ชาระหนี้โดยไม่ใช้มาตรการบังคับทางปกครอง
ตามพระราชบัญญตั ิวธิ ีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ทา่ นเห็นด้วยหรอื ไม่ พรอ้ มเหตผุ ล

แบบทดสอบหลงั เรียน

1. จงอธิบายการคุ้มครองเจ้าหน้าทข่ี องรัฐ ตามแนวคิดของกฎหมายความรบั ผดิ ทางละเมดิ
ของเจ้าหน้าที่

2. จงอธิบายหลกั เกณฑ์การชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
3. จงบอกขัน้ ตอนการออกคาส่งั ใหช้ ดใช้ค่าสนิ ไหมทดแทนพร้อมอธบิ าย
4. จงอธบิ ายหลักเกณฑก์ ารอุทธรณแ์ ละฟ้องคดขี อใหเ้ พิกถอนคาสัง่ ให้ชดใช้ค่าสนิ ไหมทดแทน
5. จงอธิบายหลักเกณฑก์ ารบังคับทางปกครองกรณคี วามรับผดิ ทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี

เอกสารคาสอน วิชากฎหมาย หน้า 39

เอกสารอ้างอิง

ชาญชัย แสวงศกั ด์ิ. 2558. กฎหมายว่าดว้ ยความรบั ผดิ ทางละเมิดของเจ้าหนา้ ท่ีและความ
รบั ผิดชอบของรฐั โดยปราศจากความผดิ . พิมพ์คร้ังที่ 9. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพเ์ ดอื นตุลา.

ชาญชยั แสวงศักด์ิ. 2558. คาอธบิ ายกฎหมายวา่ ด้วยวิธีปฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง. พิมพ์คร้ังท่ี 10.
กรงุ เทพฯ: สานักพมิ พ์วญิ ญชู น.

ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์. (ออนไลน)์ สบื คน้ จาก
https://www.krisdika.go.th/librarian/get?sysid=567410&ext. (1 มนี าคม 2564)

พระราชบญั ญตั ิความรบั ผดิ ทางละเมดิ ของเจา้ หนา้ ที่ พ.ศ. 2539. ออนไลน์) สบื ค้นจาก
https://www.krisdika.go.th/librarian/get?sysid=302723&ext=pdf. (1 มีนาคม 2564)

พระราชบญั ญตั จิ ัดต้ังศาลปกครองและวิธพี จิ ารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542. (ออนไลน์) สืบค้นจาก
https://www.krisdika.go.th/librarian/get?sysid=648543&ext=pdf. (1 มีนาคม 2564)

พระราชบัญญัติวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539. (ออนไลน)์ สืบค้นจาก
https://www.krisdika.go.th/librarian/get?sysid=720250&ext=pdf. (1 มีนาคม 2564)

พระราชบญั ญัติวธิ ีปฏิบตั ริ าชการทางปกครอง (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2562. (ออนไลน)์ สืบคน้ จาก
https://www.krisdika.go.th/librarian/get?sysid=834307&ext=pdf. (1 มีนาคม 2564)

ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเก่ียวกับความรับผิดทางละเมิด
ของเจ้าหน้าท่ี พ.ศ. 2539. (ออนไลน์) สบื คน้ จาก https://www.krisdika.go.th/librarian/
get?sysid=762097&ext=pdf. (1 มนี าคม 2564)

สานักงานศาลปกครอง.สานกั วิจยั และวิชาการ. 2552. หลักกฎหมายพ้นื ฐานความรบั ผิดทางละเมดิ
ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี พ.ศ. 2539. พิมพ์ครั้งที่1.
กรุงเทพฯ: ธรรมดาเพรส.

สุษม ศภุ นติ ย์. 2543. คาอธบิ ายประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ ละเมิด. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์
นิตบิ รรณการ.

เอกสารคาสอน วชิ ากฎหมาย หนา้ 40


Click to View FlipBook Version