The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กองบัญชาการศึกษา, 2022-06-05 06:23:06

พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง

พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง

การแกไ ขขอบกพรอ งของคําสงั่ ทางปกครอง

คําส่งั ทางปกครองท่อี อกโดยการฝา ฝน หรือไมป ฏิบัติตามหลกั เกณฑดังตอไปน้ี
ไมเ ปนเหตใุ หค ําส่ังทางปกครองนน้ั ไมสมบรู ณ (มาตรา 41)

1) การออกคาํ สง่ั ทางปกครองโดยยงั ไมมผี ูย นื่ คําขอในกรณที เี่ จา หนา ท่ีจะดําเนินการเองไมได
นอกจากจะมีผูย่นื คําขอ ถาตอ มาในภายหลงั ไดมกี ารยนื่ คาํ ขอเชน น้ันแลว

2) คาํ สั่งทางปกครองทต่ี อ งจดั ใหม ีเหตผุ ล
ถา ไดมกี ารจดั ใหมเี หตผุ ลดังกลา วในภายหลัง

3) การรบั ฟง คกู รณที ี่จําเปนตอ งกระทําไดดาํ เนนิ การมาโดยไมส มบูรณ
ถาไดม กี ารรบั ฟง ใหสมบูรณในภายหลงั

4) คําส่ังทางปกครองท่ีตอ งใหเจา หนาที่อ่นื ใหค วามเหน็ ชอบกอ น
ถา เจาหนา ท่นี ้นั ไดใ หความเห็นชอบในภายหลัง

ใชส้ ําหรับการบรรยายหลักสตู ร ฝอ.ตร. ร่นุ ที่ 43 วันที่ 7 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 เทา่ น้นั 51

• เม่ือมีการดําเนินการครบถวนแลว และเจาหนาท่ีผูมีคําส่ัง
ประสงคใหผลเปนไปตามคําสั่งเดิมใหเจาหนาที่ผูน้ันบันทึก

ขอเท็จจริงและความประสงคของตนไวในหรือแนบไวกับ

คําสั่งเดิม และตองมีหนังสือแจงความประสงคของตน

ใหค ูกรณีทราบดว ย

• กรณีตาม 2) 3) และ 4) จะตองกระทํากอนส้ินสุดกระบวนการ
พิจารณาอุทธรณ หรือกอนมีการนําคําส่ังทางปกครองไปสู
การฟองคดตี อ ศาล แลว แตก รณี

• สวนคําสั่งทางปกครองท่ีมีขอผิดพลาดเล็กนอยหรือผิดหลง
เลก็ นอ ยน้นั เจาหนาที่อาจ แกไ ขเพิ่มเติมไดเสมอ (มาตรา 43)

ใชส้ าํ หรบั การบรรยายหลกั สตู ร ฝอ.ตร. รนุ่ ท่ี 43 วันที่ 7 กุมภาพนั ธ์ 2565 เทา่ น้ัน 52

การทบทวน
คําส่งั ทางปกครอง

การอุทธรณค าํ สั่ง การขอพิจารณาใหม

การเพกิ ถอน
คําสง่ั ทางปกครอง
โดยเจาหนาท่ผี อู อกคําส่งั

ใช้สําหรบั การบรรยายหลกั สตู ร ฝอ.ตร. รุ่นที่ 43 วนั ท่ี 7 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 เทา่ นน้ั 53

การอทุ ธรณค าํ ส่งั

ในกรณที ค่ี าํ สง่ั ทางปกครองไมไดอ อกโดยคณะกรรมการ
หรือรัฐมนตรี และไมมกี ฎหมายกําหนดข้ันตอนอทุ ธรณภายใน

ฝา ยปกครองไวเปนการเฉพาะ
ใหค ูกรณอี ุทธรณคาํ ส่ังทางปกครองน้นั โดยย่นื ตอ เจาหนาท่ี
ผทู าํ คาํ สงั่ ทางปกครองภายในสิบหาวันนับแตว ันทไ่ี ดร ับแจง คาํ สั่ง

(ม. 44 วิฯ ปฏิบตั ิ)

ใช้สาํ หรับการบรรยายหลักสตู ร ฝอ.ตร. รุ่นที่ 43 วันที่ 7 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 เทา่ นน้ั 54

การเพกิ ถอนคาํ สงั่ ทางปกครองโดยเจา หนา ทผ่ี อู อกคําส่ัง

• ก า ร เ พิ ก ถ อ น คํ าส่ั ง ท า ง ป ก ค ร อ ง เ ปน อํ า น า จ ข อ ง เ จ า ห น า ที่ผู อ อ ก คํา ส่ั ง
หรอื ผูบงั คบั บญั ชา (มาตรา 49 วรรคหนงึ่ )

• การเพิกถอนจะกระทําเม่ือใดก็ได แมจะพนกําหนดระยะเวลาอุทธรณ หรือการฟองคดี
ตอศาลแลวก็ตาม และการเพิกถอนน้ันเปนดุลพินิจของเจาหนาที่ โดยไมตองมีผูใดรองขอ
และจะเพิกถอนท้ังหมดหรือบางสวนก็ได ใหมีผลยอนหลังหรือไปในอนาคตก็ได
(มาตรา 49 วรรคหน่ึง มาตรา 50 และมาตรา 53)

• การเพิกถอนคําสั่งทางปกครองท่ีใหประโยชนตองกระทําภายใน 90 วัน นับแตรูถึง
เหตุเพิกถอน เวนแต คําส่ังไมชอบดวย กม. เพราะแสดงขอความอันเปนเท็จ ปกปด
ขม ขู หรือจูงใจ เพิกถอนไดไ มจ ํากดั เวลา (มาตรา 49 วรรคสอง และมาตรา 51)

• ตอ งจา ยคา ทดแทนความเสยี หาย โดยคํานึงถึงประโยชนและความสจุ ริต (มาตรา 52)

ใชส้ ําหรับการบรรยายหลักสตู ร ฝอ.ตร. ร่นุ ท่ี 43 วนั ท่ี 7 กุมภาพันธ์ 2565 เท่านั้น 55

เม่ือมติท่ีประชุมคณะกรรมการคัดเลือกขาราชการตํารวจท่ีมี
คุณสมบัติเหมาะสมที่จะตองไดรับการเล่ือนตําแหนงใหสูงข้ึน ซ่ึงเปน
กระบวนการพิจารณาอันเปนสาระสําคัญกอนมีคําสั่งแตงต้ังขาราชการ
ตํารวจ ทําข้ึนโดยไมชอบดวยกฎหมาย เปนเหตุใหคําส่ังแตงตั้ง
ขา ราชการตาํ รวจตามมตดิ ังกลา วเปน คาํ ส่ังทีไ่ มช อบดว ยกฎหมาย

เมื่อคําส่ังดังกลาวไมชอบดวยกฎหมาย ผูมีอํานาจออกคําสั่ง
ทางปกครองสามารถจึงเพิกถอนคําส่ังน้ันได ตามมาตรา 49 วรรคหน่ึง
แหง พ.ร.บ. วิธีปฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ. 2539

(คําพพิ ากษาศาลปกครองสงู สดุ ที่ อ. 827/2561)

ใชส้ าํ หรบั การบรรยายหลักสูตร ฝอ.ตร. รุน่ ที่ 43 วนั ท่ี 7 กุมภาพนั ธ์ 2565 เทา่ น้ัน 56

การขอพิจารณาใหม

เม่ือคูกรณมี คี ําขอ เจา หนา ที่อาจเพิกถอนหรอื แกไ ขเพมิ่ เตมิ คาํ ส่ังทางปกครองทพ่ี นกําหนด
อุทธรณไ ดในกรณีดังนี้

1 มพี ยานหลกั ฐานใหม อันอาจทาํ ใหขอ เทจ็ จริงที่ฟง เปนยุตแิ ลว นน้ั เปลยี่ นแปลงไปในสาระสาํ คัญ

2 คูกรณีท่ีแทจริงมิไดเ ขา มาในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง หรอื ไดเขา มาแลว
แตถ ูกตัดโอกาสโดยไมเ ปน ธรรม

3 เจา หนาท่ีไมมอี ํานาจที่จะทาํ คาํ ส่งั ทางปกครองในเรือ่ งนั้น

4 ถา คาํ สง่ั ทางปกครองไดอ อกโดยอาศยั ขอ เท็จจริงหรือขอ กฎหมายใดและตอมาขอ เท็จจรงิ
หรือขอ กฎหมายนัน้ เปลี่ยนแปลงไปในสาระสําคัญในทางทจ่ี ะเปนประโยชนแ กค กู รณี

การยน่ื คําขอตามวรรคหนงึ่ 1) 2) หรือ 3) ใหก ระทําไดเฉพาะเมื่อคกู รณไี มอ าจทราบถงึ เหตุน้ัน
ในการพจิ ารณาครงั้ ที่แลวมากอ น โดยไมใชค วามผิดของผนู นั้

ตอ งกระทาํ ภายในเกาสิบวันนบั แตผนู ัน้ ไดรูถึงเหตุซึ่งอาจขอใหพจิ ารณาใหม

ใชส้ ําหรบั การบรรยายหลักสูตร ฝอ.ตร. รนุ่ ที่ 43 วันที่ 7 กุมภาพนั ธ์ 2565 เท่านั้น 57

เ ม่ื อ ตํ า ร ว จ ภู ธ ร จั ง ห วั ด ร า ช บุ รี ไ ด มี คํ า สั่ ง ล ง โ ท ษ ไ ล ผู ฟ อ ง ค ดี อ อ ก จ า ก ร า ช ก า ร
และอนุกรรมการ ก.ตร. เก่ียวกับการอุทธรณ มีมติยกอุทธรณของผูฟองคดีโดยรับฟง
พยานหลักฐานวา ผูฟ องคดกี ระทําผิดวินยั อยา งรา ยแรงฐานกระทําการอนั ไดชื่อวาเปนผูประพฤติชั่ว
อยา งรา ยแรง ตามมาตรา 79 (5) แหง พ.ร.บ. ตํารวจแหง ชาติ พ.ศ. 2547

ดังน้ัน แมตอมาศาลฎีกาจะมีคําพิพากษายกฟองในความผิดฐานพยายามฆาผูอื่น เนื่องจาก
เห็นวาพยานหลักฐานยังมีเหตุเคลือบแคลงสงสัยตามสมควรวาผูฟองคดีไดกระทําความผิดฐาน
พยายามฆาผูเสียหายทั้งสามตามฟองหรือไม จึงใหยกประโยชนแหงความสงสัยให ตามมาตรา
227 วรรคสอง แหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ซึ่งเปนผลอันสืบเนื่องมาจาก
บทบัญญัติของกฎหมายที่บัญญัติใหการลงโทษผูถูกกลาวหาในคดีอาญาตองกระทําโดยมี
พยานหลักฐานอนั ประจักษแ จงโดยปราศจากขอ สงสัยเทานัน้

กรณีจึงมิไดหมายความวาผูฟองคดีไมไดกระทําผิดวินัยอยางรายแรงตามขอกลาวหา
แตอยางใด กรณีดังกลาวจึงมิไดเปนผลใหขอเท็จจริงท่ีใชในการพิจารณาออกคําส่ังลงโทษ
ไลผูฟองคดีออกจากราชการและขอเท็จจริงที่ใชพิจารณายกอุทธรณของผูฟองคดีเปล่ียนแปลงไป
ในสาระสําคัญในทางที่เปนประโยชนแกผูฟองคดีในอันท่ีจะทําใหผูฟองคดีมีคําขอใหเจาหนาที่
เพิกถอนหรือแกไขเพ่ิมเติมคําส่ังทางปกครองท่ีพนกําหนดอุทธรณได ตามมาตรา 54 วรรคหนึ่ง (4)
แหง พ.ร.บ. วิธปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539

(คาํ พพิ ากษาศาลปกครองสูงสดุ ที่ อ. 755/2561)

ใชส้ าํ หรบั การบรรยายหลกั สตู ร ฝอ.ตร. รุ่นที่ 43 วนั ที่ 7 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 เท่านน้ั 58

จบการบรรยาย
ขอบคุณครบั

ใช้สําหรับการบรรยายหลกั สตู ร ฝอ.ตร. ร่นุ ท่ี 43 วันที่ 7 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 เทา่ นัน้ 59


Click to View FlipBook Version