The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กองบัญชาการศึกษา, 2022-06-05 06:23:06

พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง

พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง

พระราชบญั ญตั ิ
วธิ ปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙

การอบรมหลกั สูตรฝายอาํ นวยการตํารวจ รุน ท่ี ๔๓

วทิ ยาลัยการตาํ รวจ กองบัญชาการศึกษา

วันจนั ทรท ี่ ๗ กมุ ภาพันธ ๒๕๖๕ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น.
ผา นระบบออนไลน

โดย ... ดร. เย่ียม อรุโณทัยววิ ัฒน

ตลุ าการศาลปกครองกลาง

ขอบเขตของการบรรยาย

การใชอาํ นาจของฝายปกครอง 2
เจา หนา ทีผ่ ูมีอํานาจพิจารณาทางปกครอง

สิทธิของคกู รณี
รูปแบบและผลของคาํ ส่งั ทางปกครอง
การแกไขขอ บกพรอ งและการทบทวนคําสงั่ ทางปกครอง

ใช้สาํ หรบั การบรรยายหลกั สตู ร ฝอ.ตร. รุ่นท่ี 43 วนั ที่ 7 กมุ ภาพันธ์ 2565 เท่าน้นั

องคกรของรฐั

(ตามรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย
พทุ ธศกั ราช 2560)

นิติบญั ญัติ บรหิ าร ตุลาการ

วุฒิสภา / สภาผแู ทนราษฎร คณะรฐั มนตรี ศาลยุตธิ รรม/ศาลปกครอง/
ศาลทหาร

ศาลรัฐธรรมนญู - คณะกรรมการการเลอื กตง้ั
องคก รอสิ ระ - ผตู รวจการแผนดิน
องคกรอยั การ - คณะกรรมการปอ งกันและปราบปราม

การทจุ ริตแหง ชาติ
- คณะกรรมการตรวจเงินแผน ดิน
- คณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแหงชาติ

ใชส้ ําหรบั การบรรยายหลักสตู ร ฝอ.ตร. รนุ่ ท่ี 43 วันท่ี 7 กุมภาพนั ธ์ 2565 เทา่ น้นั 3

สว นราชการ

สวนภูมภิ าค สวนทองถิ่น

กระทรวง พ.ร.บ. ระเบยี บบริหาร เทศบาล
ราชการแผน ดินฯ อบจ.
กรม อบต.
จงั หวดั
สว นราชการ อาํ เภอ กรงุ เทพมหานคร
ทีเ่ รยี กชื่ออยางอนื่
พ.ร.บ. ลกั ษณะปกครอง เมอื งพัทยา
และมีฐานะ ทอ งทฯ่ี
เทยี บเทากรม 4

- สาํ นักเลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี ตําบล
- สาํ นักเลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี หมบู า น
- สํานักงบประมาณ

ฯลฯ

ใช้สําหรบั การบรรยายหลกั สตู ร ฝอ.ตร. รุ่นท่ี 43 วนั ท่ี 7 กุมภาพนั ธ์ 2565 เท่านัน้

รฐั วสิ าหกิจ

พ.ร.บ. พ.ร.ฎ. ป.พ.พ. ระเบียบ/
คาํ สั่ง
(ออกตามความใน พ.ร.บ. วาดวย
การจดั ตัง้ องคการของรฐั บาลฯ) - โรงงานไพ
- โรงพมิ พต ํารวจ
- การกีฬาแหง ประเทศ - สถาบนั การบินพลเรอื น - ธนาคารกรุงไทย - สํานักงาน
ไทย - องคก ารขนสงมวลชน จาํ กัด (มหาชน) ธนานุเคราะห
- การเคหะแหง ชาติ - องคการสุรา
- การทอ งเที่ยวแหง กรุงเทพ - บริษทั โทรคมนาคม
ประเทศไทย - องคก ารคลังสินคา แหง ชาติ จํากดั ฯลฯ
- การไฟฟา ฝายผลติ / (มหาชน) (NT)
นครหลวง/ภูมิภาค ฯลฯ - บรษิ ัท ทาอากาศยาน 5
- การประปานครหลวง/ ไทย จาํ กัด (มหาชน)
ภูมภิ าค (AOT)
- การยาสูบแหง - บริษัท การบนิ ไทย
ประเทศไทย จาํ กัด (มหาชน)

ฯลฯ ฯลฯ

ใชส้ ําหรับการบรรยายหลกั สตู ร ฝอ.ตร. รุ่นท่ี 43 วนั ที่ 7 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 เทา่ นั้น

หนว ยงานอื่นของรัฐ

หนวยธุรการ องคก ารมหาชน ต้ังขึ้นตาม พ.ร.บ.

ฝายนติ บิ ัญญตั ิ จัดตง้ั ขน้ึ ตาม พ.ร.บ. - สถาบันคุมครองเงนิ ฝาก

- สํานกั งานเลขาธิการวุฒิสภา - กองทนุ บาํ เหน็จบาํ นาญ - สาํ นกั งาน คปภ.
/ สภาผูแทนราษฎร ขาราชการ - สํานักงาน กลต.
- กองทนุ สนับสนนุ การสรา งเสรมิ - ธนาคารแหงประเทศไทย
ฝายตลุ าการ สขุ ภาพฯ - สํานักงาน กสทช.
- สาํ นกั งานศาลปกครอง / - สาํ นกั งานคณะกรรมการ
ศาลรฐั ธรรมนูญ / ศาลยตุ ธิ รรม จัดต้ังขึ้นตาม พ.ร.ฎ. กํากับกิจการพลงั งาน
- องคการกระจายเสียง
องคก รอสิ ระและองคก รอนื่ (ออกตามความใน พ.ร.บ. องคการมหาชนฯ) และแพรภาพสาธารณะ
- สาํ นักงานผตู รวจการแผน ดนิ แหง ประเทศไทย
/ กกต. / ปปช. / สตง./ - สถาบนั เทคโนโลยปี องกนั ประเทศ
กสม. / อยั การ (องคก ารมหาชน) ฯลฯ

- สํานกั งานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศฯ
(องคการมหาชน)

มหาวิทยาลัยในกํากับของรฐั

- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยสี รุ นารี

- มหาวิทยาลัยวลยั ลกั ษณ

ฯลฯ

ใช้สาํ หรับการบรรยายหลกั สูตร ฝอ.ตร. ร่นุ ท่ี 43 วนั ที่ 7 กุมภาพันธ์ 2565 เท่านั้น 6

หนวยงานอนื่

(หนวยงานทไี่ ดร บั มอบหมายใหใ ชอํานาจทางปกครอง
หรอื ใหด ําเนินกิจการทางปกครอง)

องคกรวิชาชพี องคก รอืน่

สภาทนายความ NT

แพทยสภา AOT

สภาวิศวกร ชางรงั วัดเอกชน

สภาสถาปนิก สถาบันการศกึ ษาเอกชน

ใช้สําหรับการบรรยายหลกั สตู ร ฝอ.ตร. รุ่นท่ี 43 วนั ที่ 7 กุมภาพันธ์ 2565 เท่าน้ัน 7

ขาราชการ พนักงาน ลูกจา ง

ขา ราชการการเมือง พนกั งานราชการ ลูกจางประจํา
ลูกจางชว่ั คราว
ขาราชการประจาํ พนักงานรฐั วิสาหกจิ
8
ขาราชการฝายทหาร พนกั งานในหนว ยงานอ่ืน

- ขา ราชการทหาร ของรัฐ

- ขาราชการกลาโหม

พลเรอื น พนักงาน

ขาราชการฝายพลเรอื น ในสถาบันอุดมศกึ ษา

- ขาราชการพลเรอื น

- ขา ราชการตาํ รวจ

- ขา ราชการฝายศาลปกครอง

ฯลฯ

ใชส้ าํ หรับการบรรยายหลกั สตู ร ฝอ.ตร. รุน่ ที่ 43 วนั ท่ี 7 กุมภาพนั ธ์ 2565 เทา่ นน้ั

คณะกรรมการ คณะ
วินิจฉยั ขอ พิพาท บคุ คล

คณะกรรมการซ่ึงมีกฎหมายใหอํานาจ 9
ในการออกกฎ คาํ สัง่ หรือมตใิ ดๆ
ที่มผี ลกระทบตอ บคุ คล

ใชส้ าํ หรับการบรรยายหลกั สตู ร ฝอ.ตร. รนุ่ ท่ี 43 วนั ท่ี 7 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 เท่าน้นั

พระราชบญั ญัตวิ ิธปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ. 2539

วิธปี ฏบิ ัตริ าชการทางปกครองตามกฎหมายตาง ๆ
ใหเ ปน ไปตามทีก่ าํ หนดในพระราชบัญญตั ิน้ี

# เวนแตในกรณีท่ีกฎหมายใดกําหนด 1.รฐั สภาและคณะรฐั มนตรี
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองเรื่องใด 2. องคก รทใี่ ชอ าํ นาจตาม รธน. โดยเฉพาะ
ไวโดยเฉพาะ 3. การพจิ ารณาของนายกรัฐมนตรหี รอื รฐั มนตรี

- มหี ลักเกณฑท ี่ประกนั ความเปนธรรม ในงานทางนโยบายโดยตรง
- มีมาตรฐานในการปฏิบตั ิราชการ 4. การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลฯ
5. การดําเนนิ งานเกยี่ วกบั นโยบายการตางประเทศ
*** ไมตํ่ากวาหลักเกณฑที่กําหนด 6. การดาํ เนนิ งานเก่ยี วกับราชการทหารฯ
ในพระราชบัญญตั ิน้ี *** 7. กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
8. การดาํ เนินกิจการขององคก ารทางศาสนา
# ไมใชกับข้ันตอนและระยะเวลาอุทธรณ 9. การอ่นื ทกี่ ําหนดใน พ.ร.ฎ.
หรือโตแ ยง ท่กี ําหนดในกฎหมาย

ใชส้ ําหรับการบรรยายหลักสูตร ฝอ.ตร. รุน่ ที่ 43 วนั ท่ี 7 กุมภาพนั ธ์ 2565 เท่านั้น 10

วธิ ีปฏิบตั ิราชการ การพิจารณา
ทางปกครอง กฎ ทางปกครอง

เจาหนา ที่ คูก รณี

การเตรยี มการและการ คกก. วนิ ิจฉยั ขอพพิ าท การเตรยี มการและการ
ดาํ เนินการของ ดาํ เนนิ การ

เจา หนา ท่ีเพื่อจดั ใหม ี ของเจา หนาท่ี
คําส่ังทางปกครองหรอื เพ่อื จัดใหม คี าํ สั่งทาง

กฎ และรวมถงึ การ ปกครอง
ดําเนินการใด ๆ
ในทางปกครอง

คาํ นยิ าม

ใช้สาํ หรบั การบรรยายหลกั สูตร ฝอ.ตร. รุ่นที่ 43 วันท่ี 7 กุมภาพนั ธ์ 2565 เท่าน้นั 11

การกระทาํ ของฝา ยปกครอง

การกระทาํ ทางปกครอง การกระทําท่ไี มไ ดเกดิ จาก
การใชอ าํ นาจทางปกครอง
เชน การดาํ เนนิ การทางแพง

หรอื ทางอาญา

กฎ คาํ สง่ั การกระทาํ อ่นื การปฏบิ ัตงิ าน
ทางปกครอง ประจาํ ที่ไมได
เปน การใชอํานาจ
คําส่งั อนื่ ตามกฎหมาย

และแนวนโยบาย
ในการใชดลุ พนิ ิจ

ตาม พ.ร.บ. วิธปี ฏิบัตฯิ สัญญาทางปกครอง

ตามกฎกระทรวง ฉบับท่ี 12 12

ใชส้ าํ หรบั การบรรยายหลกั สตู ร ฝอ.ตร. รนุ่ ท่ี 43 วนั ท่ี 7 กมุ ภาพันธ์ 2565 เทา่ นัน้

กฎ

พระราชกฤษฎกี า บทบญั ญัติอื่น
กฎกระทรวง ที่มผี ลบงั คับเปนการ

ประกาศกระทรวง ทั่วไป
ขอบัญญัติทอ งถ่นิ
ไมม ุงหมายใหบังคับแก
ระเบียบ “กรณใี ดหรอื บคุ คลใด”
ขอ บังคับ
เปนการเฉพาะ

ใช้สําหรับการบรรยายหลกั สตู ร ฝอ.ตร. ร่นุ ท่ี 43 วันท่ี 7 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 เท่าน้นั 13

คาํ สงั่ ทางปกครอง การใชอํานาจตามกฎหมายของเจาหนาท่ี เชน
ตาม พ.ร.บ. การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัย
วิฯ ปฏบิ ัติ อุทธรณ การรับรอง การรับจดทะเบียน

- มผี ลสรา งนติ ิสมั พนั ธระหวางบุคคล
(กอ / เปลี่ยนแปลง / โอน / สงวน / ระงบั )
-มีผลกระทบสถานภาพของสิทธหิ รือหนาท่ีของบุคคล

มผี ลเฉพาะ “กรณใี ด หรอื บคุ คลใด”

ใชส้ าํ หรบั การบรรยายหลกั สตู ร ฝอ.ตร. รนุ่ ที่ 43 วันท่ี 7 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 เทา่ นน้ั 14

คาํ สั่งทางปกครอง การดําเนินการเก่ียวกับการจัดหาหรือใหสิทธิ
ตามกฎกระทรวง ประโยชนในกรณดี ังตอไปน้ี

ฉบบั ท่ี 12 1) การสั่งรับหรือไมรับคําเสนอขาย รับจาง
(พ.ศ. 2543) แลกเปลย่ี น ใหเชา ซ้อื เชา หรอื ใหสทิ ธปิ ระโยชน
2) การอนุมัติส่ังซ้ือ จาง แลกเปล่ียน เชา ขาย
ใหเ ชา หรือใหสิทธิประโยชน
3) การสั่งยกเลิกกระบวนการพิจารณาคําเสนอ
หรือการดําเนนิ การอืน่ ใดในลักษณะเดียวกัน
4) การสง่ั ใหเปนผูทง้ิ งาน

การใหหรือไมใหทนุ การศึกษา

ใชส้ าํ หรับการบรรยายหลกั สูตร ฝอ.ตร. รุ่นที่ 43 วนั ท่ี 7 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 เทา่ นน้ั 15

เกิดผลเฉพาะ เปน การ มลี ักษณะ
กรณี กระทาํ โดย เปน การใช
เจา หนา ที่ อาํ นาจทาง
ปกครอง
คาํ สั่งทาง
ปกครอง

มผี ลออกไป มีวตั ถปุ ระสงค
ภายนอก เพ่อื กําหนด
โดยตรง สถานภาพทาง
กฎหมาย

ใชส้ ําหรับการบรรยายหลกั สูตร ฝอ.ตร. รนุ่ ที่ 43 วันที่ 7 กมุ ภาพันธ์ 2565 เท่านนั้ 16

ผบู งั คับบัญชา - ภาคทัณฑ
- ตดั เงนิ เดือน
- ลดเงินเดอื น
- ปลดออก
- ไลอ อก

เจา หนาท่ี ออกคําส่งั ลงโทษ มีผลกระทบตอ คําสง่ั ทาง
ทางวินัย สถานภาพของ ปกครอง
สทิ ธหิ รือหนาท่ี
ของขา ราชการ

ใชอ าํ นาจตาม - เงินเดือน
- บําเหน็จบํานาญ
กฎหมาย - คารกั ษาพยาบาล
- คาเชาบา น
-เครื่องราชอสิ ริยาภรณ
ใช้สาํ หรับการบรรยายหลักสูตร ฝอ.ตร. รุ่นที่ 43 วนั ท่ี 7 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 เทา่ น้ัน 17

กฎหมายวาดวยวินัยขาราชการตํารวจไดกําหนดอํานาจหนาท่ี
แ ล ะ วิ ธี ก า ร ส อ บ ส ว น พิ จ า ร ณ า โ ท ษ ท า ง วิ นั ย ไ ว เ ป น ส ว น ห นึ่ ง
แยกตางหากจากการดําเนินคดีอาญา โดยการดําเนินคดีอาญา
เปนการดําเนินการเพ่ือนําตัวผูกระทําผิดมาลงโทษ และโทษท่ีจะลง
แกผูกระทําผิดมีผลกระทบตอสิทธิและเสรีภาพของผูกระทําผิด
ก า ร ล ง โ ท ษ ใ น ค ดี อ า ญ า จึ ง ต อ ง ก ร ะ ทํ า โ ด ย มี พ ย า น ห ลั ก ฐ า น
อันประจักษแจง หากมีความสงสัยตามสมควรวาผูถูกกลาวหา
ไดกระทําความผิดหรือไม จึงใหยกประโยชนแหงความสงสัยน้ัน
ใหผูถูกกลาวหา สวนการรับฟงพยานหลักฐานเพื่อจะลงโทษ
ทางวินัยผูฟองคดี ผูบังคับบัญชาไมจําเปนตองมีพยานหลักฐาน
ชัดแจง โดยปราศจากขอ สงสยั ดังเชนคดีอาญา

(คําพพิ ากษาศาลปกครองสูงสดุ ท่ี อ. 755/2561)

ใชส้ าํ หรบั การบรรยายหลักสูตร ฝอ.ตร. ร่นุ ท่ี 43 วนั ที่ 7 กมุ ภาพันธ์ 2565 เทา่ นั้น 18

• คําส่ังลงโทษทางวินัยไลออกจากราชการเปนการใชอํานาจทางปกครองกระทบถึง
สิทธิและหนาที่ของผูฟองคดี จึงเปนคําสั่งทางปกครอง (คําส่ังศาลปกครองสูงสุด
ที่ 876/2548 ท่ี 727/2552 ที่ 13/2553 ที่ 18/2553 และที่ 335/2557)

• คําสั่งลงโทษทางวินัยขาราชการ เปนการใชอํานาจตามกฎหมายขอผูบังคับบัญชา
ซึ่งมีผลกระทบตอสถานภาพของสิทธิหรือหนาท่ีของผูใตบังคับบัญชา จึงเปนคําสั่ง
ทางปกครอง (เรอ่ื งเสร็จท่ี 205/2541 และท่ี 399/2546)

• คําส่ังลงโทษทางวินัยไลออกจากราชการ เปนคําสั่งทางปกครอง (คําวินิจฉัยช้ีขาด
อํานาจหนา ท่รี ะหวา งศาลท่ี 43/2548)

ใชส้ ําหรับการบรรยายหลักสตู ร ฝอ.ตร. รุ่นที่ 43 วนั ท่ี 7 กุมภาพันธ์ 2565 เท่านัน้ 19

การออกคาํ ส่งั การออกคําส่ัง การออกคําส่ัง
ใหข าราชการ ใหส อบสวนขอเท็จจรงิ ใหดาํ เนนิ การ
ชว ยราชการ ตามอาํ นาจหนาท่ี
ชแ้ี จงหรือรายงาน
ขอเทจ็ จรงิ

คาํ สงั่ อื่น
และแนวนโยบาย
ในการใชด ุลพินิจ

ใชส้ าํ หรับการบรรยายหลกั สตู ร ฝอ.ตร. รุ่นท่ี 43 วนั ที่ 7 กมุ ภาพันธ์ 2565 เทา่ นั้น 20

การกระทําอืน่

การกระทําทางกายภาพที่ การกระทาํ ทางกายภาพที่
เกิดจากการใชอ ํานาจทางปกครอง ไมไดเ กิดจากการใชอํานาจทางปกครอง

(ปฏิบัติการทางปกครอง)

มาตรการบังคับทางปกครอง การประกอบวชิ าชีพเวชกรรม

เชน ยดึ อายดั ทรัพยสิน / รอื้ ถอนอาคาร

การกอสรางถนน/ทางระบายนํ้า การขบั รถประจําทางของ
ของ กทม. หรือเทศบาล พนกั งาน ขสมก.

การเก็บกวาดรกั ษาความสะอาด
ของเทศบาล

ใช้สําหรบั การบรรยายหลกั สูตร ฝอ.ตร. ร่นุ ท่ี 43 วนั ที่ 7 กมุ ภาพันธ์ 2565 เทา่ น้ัน 21

การพิจารณาทางปกครอง

การเตรยี มการและการดําเนินการของเจาหนา ท่ี
เพอื่ จดั ใหมคี ําส่ังทางปกครอง (มาตรา 5)

ผบู ังคับบัญชา / ไมม ผี ลกระทบตอ
เจาหนาที่อื่นทเ่ี กย่ี วของ สถานภาพของสทิ ธิ

เจา หนา ท่ี หรอื หนา ทข่ี อง
ขาราชการ

เตรียมการ/
ดาํ เนนิ การ

จัดใหมี
คําสงั่

- การสอบสวนขอเท็จจรงิ การพิจารณา
- การสอบสวนวนิ ัย ทางปกครอง
- การทําความเห็นของเจา หนาท่ี
ตามสายบงั คับบญั ชา

ใชส้ าํ หรบั การบรรยายหลักสตู ร ฝอ.ตร. รุน่ ท่ี 43 วนั ที่ 7 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 เทา่ นัน้ 22

การพจิ ารณาทางปกครอง

การเตรยี มการและการดาํ เนนิ การของเจา หนาที่
เพ่ือจดั ใหมีคําสง่ั ทางปกครอง (มาตรา 5)

ขั้นตอนในการสอบสวนดําเนินการทางวินัยเปนการเตรียมการและการดําเนินการ
ของเจาหนาที่เพ่ือจัดใหมีคําสั่งทางปกครอง ซึ่งเปนการพิจารณาทางปกครอง
(คําพพิ ากษาศาลปกครองสงู สุดท่ี อ.4/2559)

มติของผูถูกฟองคดีท่ี 2 และท่ี 3 ที่มีความเห็นตามคณะกรรมการสอบสวนใหลงโทษ
ปลดผูฟ อ งคดอี อกจากราชการไมถ อื วาเปน คาํ สั่งทางปกครอง เปนเพียงการพิจารณา
ทางปกครอง (คําสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ 42/2553)

เม่ือคําสั่งลงโทษทางวินัยหรือคําสั่งยืนยันวามิไดมีการกระทําผิดทางวินัยเปนคําส่ัง
ทางปกครอง เน่ืองจากมีผลกระทบตอสถานภาพของสิทธิหรือหนาที่ของผูถูกกลาวหา
การสอบสวนทางวินัยซ่ึงเปนการเตรียมการและดําเนินการเพ่ือจัดใหมีคําส่ังทางปกครอง
ดังกลาว จงึ เปน การพิจารณาทางปกครอง (เรอ่ื งเสรจ็ ที่ 205/2541)

ใช้สําหรบั การบรรยายหลกั สตู ร ฝอ.ตร. รุ่นท่ี 43 วันที่ 7 กุมภาพนั ธ์ 2565 เท่านั้น 23

การ เจา หนา ที่ ความเปน
ทบทวน ตองมี กลาง
คําสง่ั อํานาจ
สิทธขิ อง
การแกไข วิธปี ฏิบัติ คกู รณี
ขอ บกพรอ ง ราชการทาง
ปกครอง

ผลของ รูปแบบ
คําสั่ง และเน้อื หา
ของคําส่ัง

ใช้สาํ หรบั การบรรยายหลักสูตร ฝอ.ตร. รุ่นที่ 43 วันท่ี 7 กุมภาพนั ธ์ 2565 เทา่ น้นั 24

หลักกฎหมายวิธปี ฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง

คาํ สงั่ ทางปกครองตองทําโดยเจา หนาผูมีอํานาจ

- คําส่ังทางปกครองจะตองกระทําโดยเจาหนาท่ีซ่ึงมีอํานาจหนาท่ี
ในเร่อื งนัน้ (มาตรา 12)

- บุคคล คณะบุคคล หรอื นติ ิบุคคล
- ใชอํานาจหรือไดรับมอบใหใชอํานาจทางปกครองใหดําเนินการ
ตามกฎหมาย
- ราชการ รฐั วิสาหกิจ หรือกิจการอื่นของรัฐ
- เอกชน

ใช้สาํ หรบั การบรรยายหลักสูตร ฝอ.ตร. รนุ่ ที่ 43 วันที่ 7 กุมภาพนั ธ์ 2565 เทา่ นนั้ 25

การออกคําส่ังแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนวินัยอยางรายแรง เปนข้ันตอนเร่ิมตนของ
การใชอ ํานาจตามกฎหมายของผบู ังคบั บัญชาในการดําเนนิ การทางวนิ ัยเพื่อนําไปสูการลงโทษ
ทางวินัย การท่ีกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการหรือพนักงานของรัฐไดกําหนดตําแหนงของ
ผูบังคับบัญชาท่ีจะเปนผูมีอํานาจส่ังแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนวินัยอยางรายแรง
ไวโ ดยเฉพาะ

เปนกรณีที่แสดงใหเห็นถึงเจตนารมณของกฎหมายวา ประสงคจะกําหนดใหเฉพาะ
ผูบังคับบัญชาในระดับหรือตําแหนงที่กฎหมายกําหนดไวเทานั้น เปนผูมีอํานาจออกคําสั่ง
แตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนวินัยอยางรายแรง ท้ังนี้ เพื่อเปนหลักประกันสิทธิของ
ผูใตบังคับบัญชาที่เปนผูถูกกลาวหาวา จะไดรับความเปนธรรมจากการถูกดําเนินการทางวินัย
ดงั กลา วโดยไมถ ูกกล่ันแกลงจากผไู มม อี ํานาจตามกฎหมาย

จึงทําใหปญหาการแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนวินัยอยางรายแรงแกขาราชการหรือ
พนักงานของรัฐโดยผูไมมีอํานาจตามกฎหมาย เปนปญหาขอกฎหมายอันเก่ียวดวยความสงบ
เรียบรอยของประชาชนที่ศาลปกครองสูงสุดจะยกขึ้นวินิจฉัย แลวพิพากษาหรือมีคําสั่งไปก็ได
ตามขอ 92 แหงระเบียบของท่ีประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุด วาดวยวิธีพิจารณา
คดีปกครอง พ.ศ. 2543
(คําพิพากษาศาลปกครองสงู สดุ ที่ อ. 1435/2558 ประชุมใหญ)

ใช้สําหรบั การบรรยายหลกั สตู ร ฝอ.ตร. รุน่ ท่ี 43 วันที่ 7 กมุ ภาพันธ์ 2565 เท่านั้น 26

ผูฟองคดีเปนขาราชการตํารวจ ถูกจับกุมโดยถูกกลาวหาวา กระทําผิดวินัย
อยางรายแรง เน่ืองจากตองหาคดีอาญา ขอหานําหรือพาคนตางดาวเขามา
ในราชอาณาจักรโดยผิดกฎหมาย หรืออุปการะชวยเหลือ หรือใหความสะดวก
แกค นตา งดา วใหเ ขามาในราชอาณาจักรโดยผิดกฎหมาย

พันตํารวจโท ส. รองผูกํากับการหัวหนาสถานีตํารวจนครบาลสายไหม
มีคําสั่งลงวันท่ี 31 กรกฎาคม 2544 แตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัย
อยา งรายแรงผูฟองคดี

พันตํารวจโท ส. ไมเคยไดรับมอบหมายจากผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ
ใหม ีอํานาจแตงตัง้ คณะกรรมการสอบสวนวนิ ัยอยางรายแรง

การดําเนนิ การสอบสวนทางวินัยอยางรายแรงแกผูฟองคดี จึงไมเปนไปตาม 27
มาตรา 61 แหง พ.ร.บ. ระเบียบขาราชการตํารวจ พ.ศ. 2521 ประกอบกับ
มาตรา 102 แหง พ.ร.บ. ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 คําส่ังแตงตั้ง
คณะกรรมการสอบสวนทางวินัยแกผูฟองคดีจึงไมชอบดวยกฎหมาย อันมีผล
ทําใหค ําสั่งลงโทษทางวินยั แกผ ฟู องคดไี มช อบดวยกฎหมายดวย (อ. 57/2559)

ใช้สําหรับการบรรยายหลักสตู ร ฝอ.ตร. รุ่นท่ี 43 วนั ท่ี 7 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 เทา่ นนั้

ความเปนกลางของเจา หนา ที่

สภาพภายนอก (มาตรา 13) สภาพภายใน (มาตรา 16)

เปน คูกรณีเอง มีสภาพรายแรงอนั อาจทาํ ใหก าร
พิจารณาทางปกครองไมเ ปน กลาง

เปน คหู มั้น/คูสมรสของคกู รณี ฉนั ทาคติ

เปนญาตขิ องคกู รณี โมหาคติ หลกั โทสาคติ
อนิ ทภาษ
(บุพการ/ี ผสู บื สนั ดาน/พน่ี อ ง/ญาตจิ ากการสมรส) 28

เปน ผแู ทนโดยชอบธรรม/ผพู ิทักษ

ผูแทน/ตัวแทนตาม ป.พ.พ.

ภยาคติ

ใชส้ าํ หรบั การบรรยายหลักสตู ร ฝอ.ตร. รุ่นที่ 43 วนั ที่ 7 กุมภาพันธ์ 2565 เท่าน้ัน

ขอเท็จจริงปรากฏวา ในการสืบสวนขอเท็จจริงเก่ียวกับพฤติการณของ
ผูฟองคดี พันตํารวจโท บ. ในฐานะประธานกรรมการ และรอยตํารวจเอก ย.
ในฐานะกรรมการมีความเห็นวา พฤติการณของผูฟองคดีมีมูลเปนการกระทํา
ผดิ วนิ ยั อยางรา ยแรง

เม่ือบุคคลท้ังสองไดรับแตงต้ังใหเปนคณะกรรมการสอบสวนวินัย
อยา งรายแรงอีก โดยพนั ตาํ รวจโท บ. เปน ประธานกรรมการและรอ ยตํารวจเอก ย.
เปนกรรมการเชนเดิม ประกอบกับคณะกรรมการสอบสวนวินัยอยางรายแรง
มีเพียง 3 คน บุคคลทั้งสองจึงเปนเสียงขางมาก ทําใหผลการสอบสวนทางวินัย
อยางรายแรงยอมคาดหมายไดอยูแลววาไมอาจแตกตางไปจากผลการสืบสวน
ขอ เท็จจรงิ

การท่ีผูถูกฟองคดีที่ 1 มีคําสั่งแตงตั้งพันตํารวจโท บ. และรอยตํารวจเอก ย.
เปนกรรมการสอบสวนวินัยอยางรายแรงผูฟองคดีอีก จึงทําใหการพิจารณา
ทางปกครองของพันตํารวจโท บ. และรอยตํารวจเอก ย. ไมมีความเปนกลาง
ตามมาตรา 16 วรรคหนึง่ แหง พ.ร.บ. วิธปี ฏบิ ัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539

(คาํ พพิ ากษาศาลปกครองสูงสดุ ที่ อ. 834/2555) 29

ใชส้ ําหรบั การบรรยายหลักสตู ร ฝอ.ตร. รุ่นที่ 43 วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2565 เท่าน้ัน

การดําเนินการสอบสวนวินัยและการแตงต้ังคณะกรรมการสอบสวนวินัย
อยางรายแรงเปนการพิจารณาทางปกครองเพื่อที่จะมีคําสั่งลงโทษทางวินัยอันเปนคําสั่ง
ทางปกครอง บุคคลที่จะไดรับการแตงตั้งใหไปพิจารณาทางปกครองดังกลาวจึงตองมีความ
เปนกลาง เวนแตกรณีจะเขาขอยกเวนของกฎหมาย ทั้งน้ี ตามกฎหมายวาดวยวิธีปฏิบัติ
ราชการทางปกครอง

เม่ือขอเท็จจริงปรากฏวา มีการแตงต้ังบุคคลคนเดียวกันเปนทั้งกรรมการสืบสวน
ขอเท็จจริงและกรรมการสอบสวนวินัยอยางรายแรง โดยไมปรากฏเหตุวาเปนกรณีท่ีมีความ
จําเปนเรงดวน หากปลอยใหลาชาออกไปจะเสียหายตอประโยชนสาธารณะหรือสิทธิของ
บุคคลจะเสียหายโดยไมมีทางแกไขได หรือไมมีเจาหนาท่ีอ่ืนปฏิบัติหนาที่แทนผูน้ันได
ประกอบกับองคประกอบของคณะกรรมการสอบสวนวินัยอยางรายแรงมีเพียง 3 คน แตผูที่
ไดรับการแตงต้ังเปนกรรมการทั้ง 2 ชุด มีถึง 2 คน บุคคลทั้งสองจึงเปนเสียงขางมากและ
ยอมคาดหมายไดวาผลการพิจารณาในชั้นกรรมการสอบสวนวินัยอยางรายแรงยอมไม
แตกตา งไปจากผลการสบื สวนขอเทจ็ จริง

ดังนั้น เม่ือการแตงต้ังคณะกรรมการสอบสวนวินัยอยางรายแรงตามคดีนี้ไมชอบ
การที่ผูมีอํานาจพิจารณาลงโทษทางวินัยนําผลการสอบสวนและการพิจารณาดังกลาว
มาใชพิจารณาลงโทษทางวินัยจึงไมชอบดวยกฎหมาย (อ.834/2555 ที่ อ.600/2555
และท่ี อ.87/2556)

ใชส้ ําหรบั การบรรยายหลักสตู ร ฝอ.ตร. รุ่นที่ 43 วันท่ี 7 กุมภาพนั ธ์ 2565 เท่านนั้ 30

• การพิจารณากรณีมีผูถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยอยางรายแรงของ อ.ก.พ. กรม
ถือเปนการพิจารณาทางปกครอง ตามมาตรา 5 แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติ
ราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ผูทําการพิจารณาจึงตองมีความเปนกลางหรือไมมีสวน
ไดเสียในเร่ืองที่พิจารณาตามมาตรา 13 ประกอบกับมาตรา 16 วรรคหนึ่ง และมาตรา
18 แหง พระราชบัญญัติเดยี วกนั

• เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวา ผูที่เคยเปนประธานกรรมการสอบสวนทางวินัยอยาง
รายแรงไดเขารวมประชุม อ.ก.พ. กรม ในวาระการพิจารณาความผิดทางวินัย
อยางรายแรงของขาราชการที่ตนเปนประธานกรรมการสอบสวนฯ ในฐานะ
อ.ก.พ. กรม ถือไดวามีสภาพรายแรงอันอาจทําใหการพิจารณาทางปกครอง
ในวาระการพิจารณาดงั กลา วไมเปนกลาง

• มีผลทําใหมติ อ.ก.พ. กรม ท่ีเห็นควรใหไลขาราชการออกจากราชการ คําส่ังของ
ผูมีอํานาจพิจารณาโทษทางวินัยท่ีส่ังตามความเห็นหรือมติของคณะกรรมการ
สอบสวนวินัยรายแรง และคําวินิจฉัยใหยกอุทธรณจึงไมชอบดวยกฎหมาย
(อ. 795/2555)

ใช้สําหรบั การบรรยายหลกั สูตร ฝอ.ตร. รนุ่ ที่ 43 วนั ท่ี 7 กมุ ภาพันธ์ 2565 เท่าน้ัน 31

คกู รณี

01 ผูยน่ื คําขอ
02 ผคู ัดคา นคําขอ

03 ผอู ยใู นบังคับหรอื จะอยูในบงั คบั ของคําส่ังทางปกครอง

04 ผซู งึ่ ไดเขา มาในกระบวนการพจิ ารณาทางปกครองเน่ืองจากสิทธิ
ของผูน ั้นจะถกู กระทบกระเทอื นจากผลของคาํ ส่ังทางปกครอง

ใชส้ ําหรับการบรรยายหลักสูตร ฝอ.ตร. ร่นุ ที่ 43 วนั ที่ 7 กมุ ภาพันธ์ 2565 เท่านัน้ 32

สิทธไิ ดรบั สิทธิ มาตรา 13 มาตรา 23
มาตรา 40 แจงวิธีการ คัดคา น และมาตรา 16 และมาตรา 24
เจา หนาที่
อทุ ธรณ สิทธิในการ
มที ป่ี รกึ ษา
หรือผูแทน

มาตรา 37 สทิ ธิได สทิ ธขิ อง สิทธไิ ดรับ มาตรา 27
รบั ทราบ คูกรณี คาํ แนะนํา
เหตุผล

มาตรา 33 สิทธไิ ดร บั สทิ ธิไดรบั มาตรา 28
และมาตรา 39/1 การพิจารณา การพจิ ารณา และมาตรา 29
โดยสมบูรณ
โดยเร็ว สิทธิได 33

สทิ ธิขอดู รบั ทราบ
มาตรา 31 เอกสาร
และมาตรา 32 ขอเทจ็ จรงิ มาตรา 30
และโตแยง
ใช้สําหรบั การบรรยายหลกั สตู ร ฝอ.ตร. ร่นุ ที่ 43 วันท่ี 7 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 เท่านนั้

สิทธิคดั คา นความไมเปน กลางของเจา หนาท่ี

การคัดคา นเจา หนาที่ การคดั คา นกรรมการ
ในคณะกรรมการท่ีพิจารณา

“คูกรณคี ัดคา น” หรือ “เจา หนา ทีเ่ หน็ เอง” “คกู รณคี ดั คาน” หรอื “กรรมการเห็นเอง”
เจาหนา ท่ตี อ งหยุดพิจารณาเรื่องไวก อน กรรมการตอ งหยดุ พจิ ารณาเรอ่ื งไวก อ น

และออกจากทป่ี ระชุม

แจงผูบ งั คบั บญั ชาเหนอื ตนขน้ึ ไปชนั้ หนึ่ง แจง ประธานกรรมการทราบ
เพ่อื ใหผ บู งั คบั บญั ชามีคาํ ส่งั เพือ่ ใหประธานเรียกประชุม คกก.

ยุตกิ ารปฏิบัติ ปฏบิ ัติหนา ท่ี ยุติการปฏิบัติ ปฏบิ ัตหิ นา ที่
หนาท่ี ตอไป หนาที่ ตอ ไป

ใช้สาํ หรับการบรรยายหลักสูตร ฝอ.ตร. รนุ่ ที่ 43 วนั ที่ 7 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 เทา่ นัน้ 34

การกระทําใด ๆ ของเจาหนาที่หรือกรรมการในคณะกรรมการท่ีมีอํานาจ
พิจารณาทางปกครองที่ไดกระทําไปกอนหยุดการพิจารณายอมไมเสียไป เวนแต
เจาหนาที่ผูเขาปฏิบัติหนาที่แทนผูถูกคัดคานหรือคณะกรรมการที่มีอํานาจ
พิจารณาทางปกครองแลวแตกรณีจะเห็นสมควรดําเนินการสวนหนึ่งสวนใด
เสียใหมก ไ็ ด (มาตรา 17)

“หลักความเปนกลาง” ไมใชกับกรณีท่ีมีความจําเปนเรงดวน หากปลอยให
ลาชาไปจะเสียหายตอประโยชนสาธารณะหรือสิทธิของบุคคลจะเสียหาย
โดยไมมที างแกไขได หรือไมมีเจาหนา ทอ่ี ่นื ปฏบิ ัติหนา ที่แทนผนู น้ั ได (มาตรา 18)

ถาปรากฏภายหลังวาเจาหนาที่หรือกรรมการในคณะกรรมการท่ีมีอํานาจ
พจิ ารณาทางปกครองใด ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามหรือการแตงตั้ง
ไมชอบดวยกฎหมาย อันเปนเหตุใหผูนั้นตองพนจากตําแหนงการพนจาก
ตําแหนงเชนวาน้ี ไมกระทบกระเทือนถึงการใดท่ีผูนั้นไดปฏิบัติไปตามอํานาจ
หนาท่ี (มาตรา 19)

ใช้สาํ หรบั การบรรยายหลกั สตู ร ฝอ.ตร. รนุ่ ท่ี 43 วนั ที่ 7 กมุ ภาพันธ์ 2565 เท่านั้น 35

สิทธใิ นการมที ปี่ รกึ ษาหรอื ผแู ทน

ในการพิจารณาทางปกครอง คกู รณมี สี ทิ ธิตงั้ ตัวแทน
หากคกู รณตี อ งมาปรากฏตัว ใหกระทําการแทนในการ
พิจารณาทางปกครองได
ตอ หนาเจาหนา ที่ คกู รณี
มีสทิ ธนิ ําทนายความหรอื
ท่ปี รกึ ษาเขา มาในการ
พิจารณาทางปกครองได

ใช้สาํ หรบั การบรรยายหลักสูตร ฝอ.ตร. ร่นุ ท่ี 43 วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2565 เท่านั้น 36

การท่ีกฎหมายบัญญัติใหสิทธิแกคูกรณี
ในการนําทนายความหรือที่ปรึกษาเขามา
ในการพิจารณาทางปกครองได ก็ไมไดบัญญัติ
ใหเปนหนาที่ของเจาหนาท่ีหรือคณะกรรมการ
สอบสวนท่ีตองจัดหาทนายความใหดวย
ดงั เชนกรณจี ําเลยในคดีอาญา

ดังนั้น การท่ีคณะกรรมการสอบสวน
ไมไดแจงสิทธิหรือจัดหาทนายความใหแก
ผูฟองคดี จึงไมไดทําใหกระบวนการสอบสวน
ไมชอบดว ยกฎหมาย (อ.682/2556)

ใชส้ ําหรับการบรรยายหลกั สูตร ฝอ.ตร. รนุ่ ที่ 43 วันท่ี 7 กมุ ภาพันธ์ 2565 เทา่ นั้น 37

สิทธิท่ีจะไดรบั คําแนะนํา
จากเจาหนา ท่ี

เจา หนาท่ีตองแจงสิทธแิ ละหนา ที่ เจา หนาท่ตี อ งแนะนําใหผ ูยืน่ คาํ ขอ
ในกระบวนการพิจารณา ดาํ เนนิ การใหถ ูกตอ ง และใหย ื่น
ทางปกครองใหคูกรณีทราบ เอกสารเพม่ิ เติมไดภายในกําหนด

ใชส้ าํ หรบั การบรรยายหลกั สูตร ฝอ.ตร. รนุ่ ที่ 43 วนั ท่ี 7 กุมภาพนั ธ์ 2565 เทา่ นนั้ 38

สทิ ธไิ ดรบั
การพจิ ารณา
โดยสมบรู ณ

ในการพิจารณาทาง เจาหนาท่ีตองพิจารณา
พ ย า น ห ลั ก ฐ า น ที่ จํ า เ ป น
ปกครอง เจาหนาที่อาจ แกการพสิ จู นข อเท็จจรงิ

ตรวจสอบขอเท็จจริง - แสวงหาพยานหลักฐาน
ไดตามความเหมาะสม ทกุ อยา งทเ่ี ก่ียวของ
ในเร่ืองนั้นๆ โดยไมตอง
- รับฟงพยานหลักฐาน
ผูกพันอยูกับคําขอหรือ ของคกู รณี
พ ย า น ห ลั ก ฐ า น ข อ ง
คูกรณี - ข อ ข อ เ ท็ จ จ ริ ง ห รื อ
ความเห็นจากผูเกยี่ วของ

- ขอเอกสาร
- ออกไปตรวจสถานท่ี

ใช้สําหรับการบรรยายหลกั สตู ร ฝอ.ตร. รุ่นท่ี 43 วนั ที่ 7 กมุ ภาพันธ์ 2565 เทา่ น้ัน 39

รบั ทราบ

คาํ สง่ั ตอ ง
กระทบ ใหโ อกาส
สิทธิ
!!!

ในกรณีที่คําสั่งทางปกครองอาจกระทบถึงสิทธิของคูกรณี โตแ ยง
เจาหนาที่ตองใหคูกรณีมีโอกาสท่ีจะไดทราบขอเท็จจริง
อยางเพียงพอ และมีโอกาสไดโตแยงและแสดงพยานหลักฐาน 40
ของตน (มาตรา 30)

ใชส้ ําหรับการบรรยายหลกั สตู ร ฝอ.ตร. รนุ่ ท่ี 43 วนั ที่ 7 กุมภาพนั ธ์ 2565 เทา่ นั้น

1 เม่อื มีความจําเปนรบี ดวนหากปลอ ยใหเ นนิ่ ชาไปจะกอ ใหเ กดิ ความเสยี หาย
อยางรา ยแรงแกผหู น่งึ ผูใด หรือจะกระทบตอประโยชนสาธารณะ

2 เมอื่ จะมีผลทําใหระยะเวลาท่ีกฎหมายหรือกฎกาํ หนดไวใ นการทาํ
คาํ สง่ั ทางปกครองตองลาชาออกไป

3 เมอ่ื เปน ขอเท็จจรงิ ทีค่ ูกรณนี น้ั เองไดใหไวใ นคาํ ขอ คาํ ใหการ หรือคาํ แถลง

4 เมอ่ื โดยสภาพเหน็ ไดชัดในตัววา การใหโอกาสดังกลาวไมอาจกระทําได

5 เมื่อเปนมาตรการบังคับทางปกครอง

6 กรณีอ่ืนตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวง

หามมใิ หเ จาหนาท่ีใหโอกาสตามวรรคหนงึ่ ถา จะกอใหเกิดผลเสยี หาย 41
อยางรายแรงตอ ประโยชนส าธารณะ

ใช้สาํ หรับการบรรยายหลักสตู ร ฝอ.ตร. รนุ่ ที่ 43 วันที่ 7 กมุ ภาพันธ์ 2565 เท่านัน้

กฎกระทรวง ฉบบั ที่ 2 (พ.ศ. 2540)ฯ

• การบรรจุ การแตงต้งั การเล่ือนข้นั เงนิ เดอื น การสัง่ พกั งาน หรือสงั่ ใหออกจากงาน
1 ไวกอ น หรอื การใหพนจากตาํ แหนง

2 • การแจง ผลการสอบหรอื การวัดผลความรหู รือความสามารถของบคุ คล

3 • การไมอ อกหนังสอื เดนิ ทางสาํ หรบั การเดนิ ทางไปตางประเทศ

4 • การไมตรวจลงตราหนังสอื เดินทางของคนตา งดา ว

5 • การไมอ อกใบอนุญาตหรือการไมต ออายุใบอนญุ าตทํางานของคนตางดาว

6 • การสัง่ ใหเนรเทศ 42

ใช้สําหรับการบรรยายหลกั สตู ร ฝอ.ตร. ร่นุ ที่ 43 วันท่ี 7 กุมภาพนั ธ์ 2565 เทา่ น้ัน

• นายอําเภอไดตรวจสอบสถานบริการแลวพบวามีการกระทําความผิดตาม
กฎหมาย จึงไดมีหนังสือแจงผูฟองคดีวา จะเสนอใหผูวาราชการจังหวัด สั่งเพิกถอน
ใบอนุญาต โดยระบุวา หากประสงคจะโตแยงหรือแสดงพยานหลักฐาน ใหแจง

ภายในวันรุงข้ึน ซ่ึงในวันเดียวกันนั้น ผูวาราชการจังหวัดก็ไดมีคําสั่งเพิกถอน
ใบอนญุ าตตั้งสถานบรกิ ารของผูฟอ งคดี

• แมวาพ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 จะไมไดกําหนดระยะเวลา
ในการใหโอกาสแกคูกรณีไดโตแยงแสดงพยานหลักฐานไวอยางชัดแจงก็ตาม
แตผูพิจารณาออกคําสั่งทางปกครองก็ควรกําหนดระยะเวลาที่เหมาะสมและ

เพียงพอที่คูกรณีจะไดรวบรวมพยานหลักฐานและโตแยงประเด็นในเรื่องพิพาท
ดังน้ัน การกําหนดใหผูฟองคดีไดมีโอกาสโตแยงแสดงพยานหลักฐานเพียงแควันเดียว

ถือวาเปนระยะเวลาท่ีเรงรัดจนเกินไปและไมมีความเหมาะสมตามสภาพ
ความเปนจริง อันกอใหเกิดความไมเปนธรรม ซึ่งถือไดวายังมิไดใหโอกาสผูฟองคดี

ไดรับทราบขอเท็จจริงและมีโอกาสไดโตแยงแสดงพยานหลักฐานของตนได
อยางเพียงพอและเปน ธรรม (อ. 825/2558)

ใช้สาํ หรบั การบรรยายหลักสตู ร ฝอ.ตร. รุ่นท่ี 43 วันที่ 7 กุมภาพนั ธ์ 2565 เท่าน้นั 43

เมื่อกรณีมีมูลกลาวหาวาขาราชการตํารวจกระทําผิดวินัย ใหสอบสวนเพื่อใหไดความจริง
และความยุติธรรมโดยไมชักชา โดยจะตองแจงขอกลาวหาและสรุปพยานหลักฐานท่ีสนับสนุน
ขอกลาวหาเทาท่ีมีใหผูถูกกลาวหาทราบ และตองใหโอกาสผูถูกกลาวหาช้ีแจงและนําสืบแกขอ
กลาวหา

แตหากขาราชการตํารวจผูน้ัน กระทําผิดฐานละทิ้งหนาท่ีราชการติดตอในคราวเดียวกัน
เปนเวลาเกินกวาสิบหาวัน การกระทําดังกลาวเปนกระทําผิดวินัยอยางรายแรง และเปนความผิด
ที่ปรากฏชัดแจง ซ่ึงผูบังคับบัญชาผูมีอํานาจไดดําเนินการสืบสวนขอเท็จจริงแลว เห็นวาไมมี
เหตุผล อันสมควรหรือมีพฤติการณอันแสดงถึงความจงใจไมปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ
ผูบังคับบัญชาผูมีอํานาจจะสั่งลงโทษปลดออก หรือไลออก โดยไมตองสอบสวนก็ได กลาวคือ
ผูบังคับบัญชาผูมีอํานาจสามารถดําเนินการสืบสวนขอเท็จจริง โดยไมจําตองใหโอกาส
ผูถ กู กลาวหาไดท ราบเร่อื งทถี่ ูกกลา วหา หรือใหโอกาสผูถูกกลาวหาช้ีแจงและนําสืบแกขอกลาวหา
กอนจะมีการออกคําส่ังลงโทษดังกลาวแตอ ยางใดไม

แตอยางไรก็ดี การสืบสวนขอเท็จจริงดังกลาวจักตองรวบรวมขอเท็จจริง พฤติการณ
พยานหลกั ฐานและพยานแวดลอม รวมทั้งบุคคลท่ีใกลชิดกับผูฟองคดี เพ่ือสืบสวนโดยใหไดความ
จริงเปนท่ียุติวา ผูถูกกลาวหาละทิ้งหนาท่ีราชการ ไมมาปฏิบัติหนาที่ราชการ และไมสามารถ
ติดตามตัวไดนับต้ังแตวันแรกที่ไมมาปฏิบัติหนาที่ราชการและตองเปนเวลาติดตอในคราว
เดียวกัน เกินกวาสิบหาวัน โดยหาสาเหตุของการละทิ้งหนาท่ีราชการวามีเหตุผลสมควรหรือไม
หรือมีพฤตกิ ารณอ นั แสดงถงึ ความจงใจไมปฏิบตั ิตามระเบียบของทางราชการหรือไม

(คาํ พิพากษาศาลปกครองสงู สดุ ที่ อ. 808/2558) 44
ใชส้ าํ หรับการบรรยายหลกั สตู ร ฝอ.ตร. รุ่นที่ 43 วันท่ี 7 กมุ ภาพันธ์ 2565 เท่านน้ั

สิทธิในการขอดเู อกสาร

คูกรณีมสี ทิ ธขิ อตรวจดเู อกสารทจ่ี ําเปนตอ งรเู พ่อื การโตแยง หรอื ชแ้ี จง
หรอื ปองกันสิทธิของตนได แตถ ายงั ไมไดท ําคาํ สั่งทางปกครองในเร่ืองนั้น

คูก รณไี มม สี ิทธขิ อตรวจดูเอกสารอันเปน ตนรา งคําวนิ ิจฉยั

เจา หนาทอ่ี าจไมอ นญุ าตใหตรวจดูเอกสารหรือพยานหลกั ฐานได
ถาเปน กรณที ี่ตอ งรกั ษาไวเปนความลับ

ใชส้ าํ หรบั การบรรยายหลกั สูตร ฝอ.ตร. รนุ่ ท่ี 43 วันท่ี 7 กุมภาพันธ์ 2565 เท่านนั้ 45

สทิ ธิไดร ับการพจิ ารณาโดยเรว็

เพื่อประโยชนในการอํานวยความสะดวกแกประชาชน ความประหยัดและ
ความมีประสิทธิภาพในการดําเนินงานของรัฐ ใหคณะรัฐมนตรีวางระเบียบ
กําหนดหลักเกณฑและวิธีการเพื่อใหเจาหนาที่กําหนดเวลาสําหรับการพิจารณา
ทางปกครองข้ึนไวตามความเหมาะสมแกกรณี ท้ังนี้ เทาท่ีไมขัดหรือแยงกับ
กฎหมายหรอื กฎในเร่อื งนัน้

ในกรณีท่ีการดําเนินงานในเรื่องใดจะตองผานการพิจารณาของเจาหนาท่ี
มากกวาหน่ึงราย เจาหนาที่ ที่เกี่ยวของมีหนาที่ตองประสานงานกันในการ
กาํ หนดเวลาเพ่อื การดาํ เนนิ งานในเรื่องนน้ั

การออกคําสง่ั ทางปกครองเปนหนังสือในเร่ืองใด หากมิไดมีกฎหมายหรือกฎ
กําหนดระยะเวลาในการออกคําส่ังทางปกครองในเรื่องนั้นไวเปนประการอื่น
ใหเจาหนาท่ีออกคําส่ังทางปกครองน้ันใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแต
วันทีเ่ จา หนาทีไ่ ดรบั คาํ ขอและเอกสารถูกตอ งครบถวน

ใช้สาํ หรับการบรรยายหลักสตู ร ฝอ.ตร. รุ่นท่ี 43 วันท่ี 7 กมุ ภาพันธ์ 2565 เท่านั้น 46

สทิ ธไิ ดร บั ทราบเหตผุ ลของการวนิ ิจฉัยสั่งการ

คาํ สั่งทางปกครองจะตอ งแสดงเหตผุ ลของคําส่งั ไวเพื่อความ
ชัดเจนและเพ่ือประโยชนใ นการโตแ ยง คาํ ส่ัง เวน แตเ ปนกรณที ่ี

กฎหมายกาํ หนดยกเวน วาไมต องใหเ หตุผล

ใช้สําหรับการบรรยายหลักสูตร ฝอ.ตร. รุ่นท่ี 43 วันที่ 7 กมุ ภาพันธ์ 2565 เท่าน้ัน 47

สิทธไิ ดรบั แจง วธิ ีการอุทธรณโ ตแ ยง

กฎหมายไดก าํ หนดข้นั ตอนการอุทธรณค าํ ส่ังทางปกครองไว ดงั นัน้ เจา หนาท่ี
จึงตอ งระบกุ รณีทีอ่ าจอทุ ธรณโ ตแยง การยืน่ อทุ ธรณ และระยะเวลาการ
อุทธรณไวใ นคําสัง่ ทางปกครองดวย
(คาํ แนะนําในการแจงสทิ ธิอุทธรณข องคณะกรรมการ
วิธีปฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง ท่ี 1/2540)

ใชส้ ําหรบั การบรรยายหลักสตู ร ฝอ.ตร. รุ่นท่ี 43 วันที่ 7 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 เท่านนั้ 48

รปู แบบและเนอ้ื หาของคําสงั่ ทางปกครอง

• คําส่ังทางปกครองที่ทําเปนหนังสืออยางนอยตอง
ระบุ วัน เดือนและปท่ีทําคําสั่ง ช่ือและตําแหนง
ของเจาหนาท่ีผูทําคําส่ัง พรอมท้ังมีลายมือช่ือของ
เจาหนา ท่ีผทู าํ คําส่ังนั้น (มาตรา 36)

• คําส่ังทางปกครองที่ทําเปนหนังสือและการยืนยัน
คําสั่งทางปกครองเปนหนังสือตองจัดใหมีเหตุผล
ไวดวย และเหตุผลน้ันอยางนอยตองประกอบดวย
ขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญ ขอกฎหมายท่ีอางอิง
ขอพิจารณาและขอสนับสนุนในการใชดุลพินิจ
(มาตรา 37 วรรคหนงึ่ )

ใช้สําหรับการบรรยายหลักสูตร ฝอ.ตร. รนุ่ ที่ 43 วนั ที่ 7 กุมภาพนั ธ์ 2565 เทา่ น้นั 49

ผลของคําสงั่ ทางปกครอง

คําสงั่ ทางปกครองใหม ผี ลใชยนั ตอบุคคลตัง้ แต
ขณะทีผ่ ูน ั้นไดร ับแจง เปนตนไป

การแจง เปนหนงั สอื ใหส งหนังสอื แจง ตอผูนั้น
หรือถาไดส งไปยงั ภูมิลาํ เนาของผูนัน้ ก็ใหถ อื วา

ไดร ับแจงตง้ั แตในขณะที่ไปถงึ

วธิ แี จง ไดแก นําไปสง สง ทางไปรษณยี ตอบรบั
และประกาศหนงั สือพมิ พ

ใชส้ าํ หรับการบรรยายหลักสูตร ฝอ.ตร. รุ่นท่ี 43 วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2565 เท่านั้น 50


Click to View FlipBook Version