The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ผมถ่ายทอดประสบการณ์ จากเหตุการณ์ถ้ำหลวง แฝงด้วยทฤษฎีออกมาเป็นตัวอักษร จนเกิดเป็นหนังสือเล่มนี้ “เบื้องหลังถ้ำหลวง”

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ruchira Chimdee, 2023-06-26 04:11:26

เบื้องหลังถ้ำหลวง

ผมถ่ายทอดประสบการณ์ จากเหตุการณ์ถ้ำหลวง แฝงด้วยทฤษฎีออกมาเป็นตัวอักษร จนเกิดเป็นหนังสือเล่มนี้ “เบื้องหลังถ้ำหลวง”

Keywords: ณรงค์ศักดิ์ โอสถธนากร,เบื้องหลังถ้ำหลวง

48 กำรตัดสินใจในสภำวะวิกฤติ การตัดสินใจในเรื่องต่างๆ มีอยู่ตลอดเวลา และเป็นเรื่องส าคัญ ส าหรับผู้น า การตัดสินใจจะดีหรือไม่ดี ขึ นอยู่กับผู้ตัดสินใจเป็นส าคัญ ผู้ตัดสินใจจ าเป็นต้องมีข้อมูล มีเหตุผล มีค่านิยมที่ถูกต้องสอดคล้องต่อ การบรรลุเป้าหมายและสถานการณ์ การตัดสินใจ ผู้ตัดสินใจต้อง ก าหนดทางเลือก บางครั งการไม่ตัดสินใจ คือ การตัดสินใจประเภท หนึ่งนั่นเอง ในเชิงทฤษฎีก าหนดสภาวการณ์การตัดสินใจมี 3 ประเภท ด้วยกัน คือ 1) การตัดสินใจภายใต้ความแน่นอน เป็นการตัดสินใจที่ทราบ ผลลัพธ์การตัดสินใจล่วงหน้าอย่างแน่นอนแล้วว่า ถ้าเลือกทางเลือก อย่างหนึ่งอย่างใด ผลลัพธ์จะเป็นอย่างไร 2) การตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยง การตัดสินใจจะต้องคาดคะเน ถึงโอกาสหรือความน่าจะเกิดขึ นโดยอาศัยประสบการณ์ร่วมด้วย และจะพิจารณาเลือกทางเลือกที่มีผลตอบแทนสูงสุด และโอกาสที่จะ เกิดทางเลือกภายใต้ความเสี่ยงนั น 3) การตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอน การตัดสินใจที่ไม่ สามารถคาดการณ์ผลลัพธ์และโอกาส หรือความน่าจะเป็นที่เกิดขึ น


49 เหตุการณ์ถ าหลวง ผมตัดสินใจส าคัญๆ 2 เรื่อง คือ 1) กำรตัดสินใจน้ำเด็กๆ ออกมำหรือไม่ เป็นสิ่งที่ยากมาก ไม่มีใครกล้าตัดสินใจ ทุกคนบอก “คนเป็น ผบ.เหตุกำรณ์ เป็นผู้ ตัดสินใจ” คืนวันศุกร์ที่ 6 กรกฎาคม 2561 เราประชุม มีผู้ร่วมประชุม หัวหน้าทีม ประมาณ 30 คน พิจารณาจากข้อมูลทั งหมด เรามี 2 ทางเลือก คือ 1) ให้เด็กอยู่ในถ า ให้ผ่านพ้นหน้าฝนไปแล้ว จึงน าเด็ก ออกมา และ2) ด าน าพาเด็กออกมา จากข้อมูลที่น ามาวิเคราะห์ว่า เรามีเวลาเหลือเพียง 6 วัน “ผลสรุปผมตัดสินใจน้ำเด็กๆ ออกมำ อย่ำงน้อยต้องมีเด็กรอด” 2) กำรตัดสินใจว่ำจะน้ำใครออกก่อนหลัง ในยามวิกฤติที่มี เวลามาก ให้เอาคนที่อ่อนแอออกมาก่อน เพื่อดูแล ปฐมพยาบาล และน าส่งรักษาทางการแพทย์แต่ถ้าในยามวิกฤติหากมีเวลาจ ากัด


50 เราต้องน าคนที่แข็งแรงที่สุดออกก่อน หากต้องตัดสินใจทางการแพทย์ ผมตัดสินใจแนวทางแบบหลังนี นอกจากนี การตัดสินใจของผมในเชิงผู้บริหาร คือ การตัดสินใจ เชิงสังคม คนที่มีความเสี่ยงมากที่สุด คือ คนที่ 1 เพราะถ้าแผนล้มเหลว เราจะหยุดภารกิจและทบทวนใหม่ คนที่ 2, 3, 4 ก็จะปลอดภัย รองลงมาที่มีความเสี่ยงมากคือ คนสุดท้าย เพราะหากออกซิเจนหมด เขาจะสลบ และคนที่เสี่ยงถัดมา เป็นคนที่ 12, 11, 10….ตามล าดับ ส าหรับการตัดสินใจเชิงสังคม คือ คนที่กระทบต่อสังคมน้อยที่สุด เป็นอันดับที่ 1 ที่จะน าออกมา เมื่อผมตัดสินใจและท าบัญชีรายชื่อ ส่งให้คุณหมอ ส่วนทีมหมอก็มีแนวทางการตัดสินใจตามแนวทาง การแพทย์ปรากฏว่า คุณหมอไม่ได้ตัดสินใจตามแนวทางการแพทย์ และไม่ได้ตัดสินใจตามแนวทางของผม คุณหมอได้บอกแผนทั งหมด ให้เด็กๆ ทราบ และให้เด็กๆ ตัดสินใจกันเอง โดยเด็กๆ เขาตัดสินใจ ตามหลักการ บ้านไกลออกก่อน และหมอก็ปฏิบัติตามนั น ฉะนั น “กำรตัดสินใจมีหลำยทำงเลือก ขึ้นอยู่กับตรรกะ ณ ตอนนั้น”


51 Trust and Respect Trust คือ ควำมไว้ใจ เชื่อใจ ในฐานะผู้น าในเหตุการณ์ เมื่อเลือกคน เลือกทีมที่ดีที่สุดมาปฏิบัติการแล้ว และเมื่อได้สั่งการ ไปแล้ว ต้องเชื่อใจ และมั่นใจว่าทีมงานจะต้องประสบความส าเร็จ และ ในการบริหารเหตุการณ์ ตัวผู้น าเองก็ต้องสร้างความไว้ใจ ให้เกิดขึ นด้วย เช่นกัน ในการบริหารจัดการสื่อ ผู้น าต้องสร้างความไว้ใจ เชื่อมั่นให้กับสื่อ เพื่อที่จะควบคุมดูแล ปฏิบัติตามกติการ่วมกัน การสื่อสาร การรายงาน และให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่สื่อ เป็นสิ่งส าคัญ เรามีการจัดระเบียบ การลงทะเบียนสื่อ ประมาณกว่า 1,000 คน สื่อต้องการข้อมูลที่ถูกต้อง หากข้อมูลถูกต้อง รวดเร็ว สื่อเองก็จะมีความน่าเชื่อถือในตัวสื่อนั นด้วย ดังนั นการรายงานความคืบหน้าในถ าหลวง เรารายงานวันละ 2 ครั ง สื่อจะได้รับข้อมูลที่ถูกต้องพร้อมกัน เมื่อมีความไว้ใจระหว่ าง สื่อกับศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ โดยเฉพาะผู้บัญชาการเหตุการณ์ฯ ก็จะเกิดความร่วมมือซึ่งกันและกัน


52 กรณีจากการซ้อมขนย้ายน าส่งเด็กไปโรงพยาบาล เราพบว่า เราเสียเวลาในการขนย้ายไปครึ่งชั่วโมงเนื่องจากการจราจร และความไม่เป็น ระเบียบหน้าถ า จึงต้องมีการจัดระเบียบพื นที่ และจัดระเบียบสื่อ สื่อใด ให้ความร่วมมือก่อน สื่อนั นจะได้เลือกพื นที่ดีๆ ที่จะน าเสนอข่าวเป็น อันดับต้นๆในที่สุดแล้วสื่อต่างๆได้ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี Respect คือ กำรให้ควำมเคำรพซึ่งกันและกัน การปฏิบัติ ภารกิจ ผู้ที่อาสามาช่วยจ านวนหมื่นกว่าชีวิต กว่า 25 ประเทศ สื่อสารมวลชนทั งไทยและต่างประเทศ มากกว่า 1,000 คน หลากหลาย เชื อชาติ ภาษา ความคิด และมีหลายฝ่าย หลายบทบาทหน้าที่ แม้ว่าในฐานะผู้น าแต่ก็ให้ความเคารพกับทุกฝ่าย เช่น กรณีบริหาร จัดการสื่อ การให้ความเคารพในการปฏิบัติหน้าที่ของสื่อ ต่างฝ่ายต่างให้ ความเคารพซึ่งกันและกัน การไม่ละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่ ไม่ละเมิด ในกฎ กติกา ข้อก าหนดที่วางไว้ในส่วนของทีมผู้ปฏิบัติงานด้วยกันเอง ทั งระหว่างผู้บัญชาการเหตุการณ์ หัวหน้าส่วนในแต่ละส่วนต่างให้ ความเคารพซึ่งกันและกัน กลายเป็นความร่วมมือและปฏิบัติตาม ภารกิจหน้าที่ของแต่ละฝ่ายจนเป็นความส าเร็จนี


53 เบื้องหลังควำมส้ำเร็จ 18 วันที่อยู่ในถ า ท่านจะได้เห็นฟันเฟือง กลไก ความสามารถ ของคนเป็นหมื่นคนที่ต่างก็มีส่วนช่วยขับเคลื่อนให้ภารกิจนี นอกจาก เจ้าหน้าที่ทีมผู้ปฏิบัติงานหลัก ยังมีอีกหลายฟันเฟือง และจิตอาสาที่อยู่ เบื องหลังความส าเร็จนี ทีมล้ำเลียงถังออกซิเจน การด าน าเข้าไปในถ าใช้เวลา ประมาณ 6 ชั่วโมง ส่วนการด าน าออกมาใช้เวลาประมาณ 5 ชั่วโมง หากเป็นนักด าน าที่ด าน าเก่ง ออกซิเจน 1 ถังสามารถใช้ได้ประมาณ 1 ชั่วโมงกว่า ดังนั น 11 ชั่วโมงในการด าน าเข้าออกจึงต้องใช้ออกซิเจน หลายถัง เมื่อออกซิเจนหมด นักด าน าจะทิ งถังและเปลี่ยนถังใหม่ จึงต้องมีการวางถังออกซิเจนให้เพียงพอที่จะสามารถเปลี่ยนถังได้ จึงต้องมีทีมสนับสนุนในการล าเลียงถังออกซิเจนเข้า - ออก ทั งกลางวัน และกลางคืน นี่คือ เบื องหลังกลไกของความส าเร็จ


54 รถก๋วยเตี๋ยวจำกแม่สำยที่ระดมทุนมาได้ประมาณ 300,000 บาท ซื อวัตถุดิบมาท าก๋วยเตี๋ยวร้อนๆ ให้ทีมงานหน้าถ าได้ทาน ชำวนำ บอกว่า “นาเขาท่วม ข้าวตายไม่เป็นไร ปลูกใหม่ได้ แต่เด็กตายไม่ได้ พวกเด็กรอดก็คุ้มค่าแล้ว”


55 จิตอาสาที่มาช่วยด้วยความตั งใจ ช่วยในสิ่งที่ตัวเขาเองสามารถ ช่วยเหลือได้ทั งขนสิ่งของอุปกรณ์ ประกอบอาหาร น ามอเตอร์ไซค์ ขับรับส่งเจ้าหน้าที่ รับซักผ้าให้เจ้าหน้าที่ ช่วยขนวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ตามก าลังและความสามารถ ฯลฯ


56 พระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ได้ทรงติดตามการให้ความช่วยเหลือ พระราชทานสิ่งของที่ขาดแคลน แต่จ าเป็นส าหรับภารกิจ เช่น หลอดไฟ LED แบบชาร์จไฟได้, เสื อกันฝน, ยากันยุง, กางเกงชั นใน, ชุดหมีส าหรับลุยน า, ไฟฉายพร้อมหมวก รองเท้าบูท, ชุดด าน า,ถุงด า,ถุงซิปล็อค,ผ้าห่มให้ความอบอุ่น ฯลฯ ทรงพระราชทานก าลังใจให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ ทรงรับศพ จ.อ.สมาน กุนัน (จ่าแซม) ไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์ พระราชทาน ให้จัดโรงครัวพระราชทานเพื่อประกอบอาหารให้เจ้าหน้าที่และทีมกู้ภัย ทุกวัน โดยเฉพาะมื อดึกต้องเป็นของร้อน เพราะ ที่นั่นหนาว


57 ประชาชนตามโครงการจิตอาสาพระราชทาน หมุนเวียน มาช่วยงานจิตอาสา ทั งเก็บขยะ แจกจ่ายอาหาร น าดื่ม ท าอาหาร ขนสิ่งของ และ กิจกรรม Big cleaning Day เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์ โดยรอบของวนอุทยานให้กลับคืนสู่ธรรมชาติดังเดิม โดยมีจิตอาสา กว่า 4,000 คน ช่วยกันเก็บขยะ ใบไม้ รื อถอนเต็นท์ อุปกรณ์ต่างๆ รวมถึงรื อฝายเบี่ยงเบนทางน าบนเเนวเขา และที่ส าคัญที่สุด ถังออกซิเจนที่เราหาได้เพียง 400 ถัง ยังขาด อีก 200 ถัง พระองค์ได้พระราชทานมาจากต่างประเทศส่งตรงถึง หน้าถ าหลวงทันเวลา จึงท าให้ภารกิจนี ส าเร็จได้ นี่คือ สิ่งสูงสุดของ คนไทย


58 ผมได้เป็นตัวแทนทีมปฏิบัติการภารกิจกู้ภัยถ าหลวงไปรับ รางวัล Asia Game Changer Awards ประจ าปี 2018ของ Asia Society ณ นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ใจความตอนหนึ่งผมได้กล่าวถึง พระมหากรุณาธิคุณของสถาบันพระมหากษัตริย์ไว้ ดังนี “ก่อนอื่น ข้าพเจ้าขอขอบคุณ The Asia Society ที่ได้มอบ รางวัลอันทรงคุณค่านี ให้ในค่ าคืนนี ข้าพเจ้าในนามตัวแทนของทีม ปฏิบัติการภารกิจกู้ภัย ขอแสดงความขอบคุณทุกๆ ท่าน ที่ได้ทุ่มเท เสียสละในการปฏิบัติการกู้ภัยครั งนี ขอขอบคุณความช่วยเหลือ และการสนับสนุนทุกภาคส่วน ทั งหน่วยงานภาครัฐ อาสาสมัคร จิตอาสา สื่อมวลชน และผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ จากทุกภูมิภาคทั่วโลก ที่ได้ปฏิบัติงานร่วมกันมาด้วยความเชื่อมั่นและศรัทธา และเหนือสิ่ง อื่นใด ด้วยพระบำรมีปกเกล้ำปกกระหม่อม พวกเรำทีมปฏิบัติภำรกิจ กู้ภัยต่ำงรู้สึกซำบซึ้งในพระมหำกรุณำธิคุณอย่ำงหำที่สุดมิได้ที่ สมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวมหำวชิรำลงกรณ บดินทรเทพยวรำงกูร ตลอดจนพระบรมวงศำนุวงศ์ได้ทรงมีพระเมตตำเกื้อกูลสนับสนุน กำรปฏิบัติงำนอย่ำงต่อเนื่องจนเสร็จสิ้นภำรกิจ พวกเราต้องยอมรับว่าการปฏิบัติการกู้ภัยในเหตุการณ์ครั งนี เป็นภารกิจที่เต็มไปด้วยความกดดันและความยากล าบากอย่างยิ่ง เราต้องท างานแข่งกับเวลาและกายภาพ คือ ปริมาณออกซิเจนที่ลดลง ทุกขณะ ในขณะที่ระดับน ากลับเพิ่มสูงขึ นตลอดเวลา แต่ด้วย


59 ความสามัคคีร่วมแรงร่วมใจเป็นหนึ่งเดียวของทุกฝ่าย ที่มุ่งมั่นที่จะ ช่วยเหลือทีมฟุตบอลเยาวชนหมูป่าอะคาเดมี่ ท าให้พวกเราสามารถ เอาชนะอุปสรรคทุกอย่างและประสบความส าเร็จได้ในที่สุด คงไม่ผิดนัก ที่ข้าพเจ้าจะกล่าวว่า ภารกิจนี ถือเป็นความร่วมมือที่ไม่ค านึงถึง เชื อชาติเผ่าพันธุ์ แต่เป็นความส าเร็จที่เกิดจากความร่วมมือร่วมใจ เป็นหนึ่งเพื่อจุดมุ่งหมายเดียวกัน คือ ความเป็นมนุษยชนจากผู้คน อีกนับหมื่นที่เป็นส่วนส าคัญในการเสียสละช่วยเหลืองานต่างๆ ให้ส าเร็จสมบูรณ์ หากขาดกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งไป ผลส าเร็จคงไม่เป็นเช่นนี ข้าพเจ้าปรารถนาเป็นอย่างยิ่งว่า เหตุการณ์ครั งนี จะเป็น ประสบการณ์และเป็นแรงบันดาลใจให้กับทุกผู้คนได้เรียนรู้และหันมา ใช้ชีวิตเพื่อผู้อื่น และการเปลี่ยนแปลงจากหน่วยเล็กๆ เหล่านี นี่เอง ก็จะเป็นอีกทางหนึ่งที่สามารถเปลี่ยนแปลงโลกได้เช่นกัน”


60 บทสรุป บทเรียนความส าเร็จจากเหตุการณ์ถ าหลวงมิใช่เกิดมาจาก “โชค” แต่เป็นสิ่งที่เราเตรียมความพร้อมมาตลอด ทีมมีความพร้อมใน การแก้ไขปัญหา ทีมที่มีการซ้อม มีการวางแผน การตัดสินใจ สิ่งเหล่านี คือ ความส าเร็จ ส าหรับการเป็นผู้น า เมื่อเกิดเหตุวิกฤติ มีค าถามว่า “ท าไมผู้ว่าฯ ต้องไปเอง” ค าตอบ คือ “ถ้าผู้ว่าราชการ คือ เบอร์หนึ่ง ของจังหวัดไป ณ พื นที่ นั่นคือ การปิดสถานการณ์ทั งปวง” เนื่องจาก การท างานของคนไทยเป็นแบบไซโล อาจสั่งกันไม่ได้และหากปล่อยไว้ อาจแก้ไขสถานการณ์ไม่ได้ ในสภาวะวิกฤติ ผู้น าต้องมีสติต้องประเมิน ให้ได้ว่าเราก าลังเผชิญปัญหาอะไรแล้วจะแก้ปัญหาได้อย่างไร อย่ำให้ปัญหำ กลำยเป็นวิกฤติ นอกจากนี เหตุการณ์ถ าหลวงยังแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของ คนไทย ใครก็สบประมาทว่าภารกิจไม่มีทางส าเร็จได้อย่างแน่นอน และนี่ก็เป็นครั งแรกที่ ภารกิจส าเร็จได้ และจากเหตุการณ์นี เราได้รับ รางวัลใหญ่ๆ มากมาย เช่น Asia Game Changer Awards ประจ าปี 2018 ของ Asia Society ณ นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา,ผลโหวตอันดับ 5 ของTime Magazine,The Wharton School of the University of Pennsylvania ที่ได้ชื่นชมถึงการบริหารจัดการในการกู้ภัยครั งนี


61 และพลเรือโท ฮาร์เวิร์ด จูเนียร์อดีตหน่วยซีลของกองทัพสหรัฐอเมริกา ที่ได้ชื่นชมถึงการเป็นผู้น าที่ยอดเยี่ยม มีแผนที่ดี การปฏิบัติตามแผน และส าเร็จตามแผน การท างานอย่างรอบคอบมาก กำรปฏิบัติกำรกู้ภัยในครั้งนี้คือ ผลงำนของคนไทย ในยามวิกฤติเรามีความสามัคคี เรามีความเสียสละ คนที่ไปช่วย ไม่รู้จักเด็กทั ง 13 คน แต่ไปช่วยด้วยความสามัคคี เห็นเป้าหมายเดียวกัน ไม่ขัดแย้งกัน ผมอยากให้สิ่งเหล่านี มีอยู่ในคนไทยแม้ในยามปกติ


62 ประวัติการศึกษา ผลงาน และประวัติการท างาน นายณรงค์ศักดิ์ โอสถธนากร (Narongsak Osottanakorn) เครื่องรำชอิสริยำภรณ์ มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) พ.ศ. 2560 ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) พ.ศ. 2556 ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) พ.ศ. 2553 ประวัติกำรศึกษำ 1. ประถมศึกษา โรงเรียนเซนต์หลุยส์ ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2520) 2. มัธยมศึกษา โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนีย์) (พ.ศ. 2524) 3. วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (พ.ศ. 2528) 4. นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (พ.ศ. 2536) 5. เทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช (พ.ศ. 2545) 6. รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (พ.ศ. 2555) 7. Master of Science (Geodetic Science and Surveying), The Ohio State University, สหรัฐอเมริกา (พ.ศ. 2531)


63 ปริญญำกิตติมศักดิ์ 1. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา (พ.ศ. 2560) 2. ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัย กรุงเทพธนบุรี(พ.ศ. 2561) 3. ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชารัฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยรังสิต (พ.ศ. 2561) 4. ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (พ.ศ. 2561) 5. ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการจัดการงานวิศวกรรม (ประเภท ทั่วไป) มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต (พ.ศ. 2561) 6. ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (พ.ศ. 2562) กำรอบรมหลักสูตรและประกำศนียบัตรอื่นๆ 1. ประกาศนียบัตรกฎหมายการที่ดินและทรัพย์สิน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (พ.ศ. 2535) 2. นักบริหารงานที่ดินระดับสูง รุ่นที่ 14 กรมที่ดิน (พ.ศ. 2551) 3. นักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 72 ส านักงาน ก.พ. (พ.ศ. 2554) 4. นักบริหารระดับสูงในด้านการพัฒนาโครงสร้างพื นฐาน รัฐบาลสาธารณรัฐเกาหลี (พ.ศ. 2556) 5. ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงภาครัฐ รุ่นที่ 28 กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (พ.ศ. 2559) 6. หลักสูตรผู้ตรวจราชการระดับกระทรวง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 7. หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 29 (พ.ศ. 2562)


64 ประวัติกำรรับรำชกำร 1. วิศวกรรังวัด 3 – วิศวกรรังวัด 8ว กรมที่ดิน (พ.ศ. 2529 - 2546) 2. เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 8 กรมที่ดิน (พ.ศ. 2550) 3. เลขานุการกรม กรมที่ดิน (พ.ศ. 2551) 4. ผู้อ านวยการส านักเทคโนโลยีท าแผนที่ กรมที่ดิน (พ.ศ. 2552 - 2556) 5. ผู้อ านวยการศูนย์ข้อมูลแผนที่รูปแปลงที่ดินแห่งชาติ กรมที่ดิน (พ.ศ. 2552 -2556) 6. ที่ปรึกษาด้านวิศวกรรมส ารวจ (วิศวกรส ารวจทรงคุณวุฒิ) กรมที่ดิน กระทรวง มหาดไทย (พ.ศ. 2556 - 2559) 7. ผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย เขตตรวจราชการที่ 7 (จังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ และตรัง) (ต.ค. 2559 – เม.ย. 2560) 8. ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย (เม.ย. 2560 – มิ.ย. 2561) 9. ผู้ว่าราชการจังหวัดพะเยา (มิ.ย. 2561 – ก.ย. 2562) 10. ผู้ว่าราชการจังหวัดล าปาง (ต.ค. 2562 – ก.ย. 2564) 11. ผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี (ต.ค. 2564 – มิ.ย. 2566) ประวัติกำรท้ำงำน 1. ผู้ทรงคุณวุฒิด้านวิศวกรรมส ารวจ ในคณะท างานด้านระบบดาวเทียมเพื่อ การน าทาง (GNSS) ส านักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) GISTDA 2. กรรมการและเลขานุการ ในคณะกรรมการก าหนดมาตรฐานระวางแผนที่ และแผนที่รูปแปลงที่ดินในที่ดินของรัฐ 3. ผู้แทนกรมที่ดิน ในคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ เกี่ยวกับการปรับปรุง แผนที่แนวเขตที่ดินของรัฐ แบบบูรณาการ มาตราส่วน 1: 4,000 (One Map) จ านวน 4 คณะ ดังนี


65 - คณะกรรมการปรับปรุงแนวเขตที่ดินของรัฐแบบบูรณาการ - คณะอนุกรรมการเทคนิคการปรับปรุงแผนที่แนวเขตที่ดินของรัฐแบบ บูรณาการ มาตราส่วน 1: 4,000 (One Map) - คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการปรับปรุงแผนที่แนวเขตที่ดินของรัฐแบบ บูรณาการ มาตราส่วน 1: 4,000 (One Map) - คณะอนุกรรมการปรับปรุงแผนที่แนวเขตที่ดินของรัฐแบบบูรณาการ มาตราส่วน 1: 4,000 (One Map) กรุงเทพมหานคร 4. อนุกรรมการในอนุกรรมการพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศพื นฐาน ส านักงาน พัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) GISTDA (พ.ศ. 2556 – 2560) 5. กรรมการ ในคณะกรรมการไต่สวนข้อเท็จจริง ของคณะกรรมการ การเลือกตั ง (พ.ศ. 2555 - 2557) 6. อนุกรรมการ ในคณะอนุกรรมการวินิจฉัยค าร้อง และปัญหาหรือข้อโต้แย้ง คณะที่ 24 ของคณะกรรมการการเลือกตั ง (พ.ศ. 2554 - 2557) 7. อนุกรรมการ ในคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบข้อมูลภูมิสารสนเทศ ของ คณะกรรมการ ป.ป.ช (พ.ศ. 2552 - 2556) 8. ประธาน ในคณะอนุกรรมการอ่านภาพถ่ายทางอากาศ ของคณะกรรมการ แก้ไขการบุกรุกที่ดินของรัฐ (กบร.) (พ.ศ. 2552 - 2556) 9. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในคณะ กรรมการบริหารส านักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (DGA) (พ.ศ. 2558) 10. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ นบัญชีของกระทรวงการคลัง ส าหรับการด าเนินการ เกี่ยวกับการให้เอกชนลงทุนในโครงการของรัฐ (พ.ศ. 2557 - 2558)


66 11. กรรมการรัฐวิสาหกิจขึ นบัญชีกระทรวงการคลัง ประจ าปี 2563 ด้านกฎหมาย และด้านวิศวกรรม (พ.ศ. 2563 – ปัจจุบัน) 12. กรรมการปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (พ.ศ. 2563 – ปัจจุบัน) รำงวัลเกียรติยศ 1. ศิษย์เก่าดีเด่น มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (พ.ศ. 2560) 2. รับพระราชทานยศกองอาสารักษาดินแดนเป็น นายกองเอก (พ.ศ. 2561) 3. รางวัลพระราชทานศาสตรเมธี (พ.ศ. 2561) 4. รางวัลและเข็มทองค าเชิดชูเกียรตินักเรียนทุนรัฐบาลไทยดีเด่น สมาคม นักเรียนทุนรัฐบาลไทย (พ.ศ. 2561) 5. รางวัลส าเภาทอง สมาคมหอการค้าไทย (พ.ศ. 2561) 6. รางวัลบุคคลแห่งปี และรางวัลเกียรติคุณ กระทรวงวัฒนธรรม (พ.ศ. 2561) 7. รางวัลนิสิตเก่าวิศวกรรมศาสตร์ดีเด่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (พ.ศ. 2561) 8. รางวัลศิษย์เก่าดีเด่น โรงเรียนเซนต์หลุยส์ ฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2561) 9. เข็มพระพิรุณทองค า “เกษตรศาสตร์ปราดเปรื่อง” รุ่นที่ 18 มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ (พ.ศ. 2561) 10. เข็มพระพิรุณทองค า “เกษตรศาสตร์กล้า” รุ่นที่ 1 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (พ.ศ. 2561) 11. รางวัลเชิดชูเกียรติผู้ปฏิบัติหน้าที่ ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (พ.ศ. 2561) 12. รางวัลคนดีศรีเชียงราย บุคคลดีเด่น ด้านคุณธรรม จังหวัดเชียงราย (พ.ศ. 2561) 13. รางวัล National Geographic Thailand Explorer ‘s Awards 2018 นิตยสาร เนชั่นแนล จีโอกราฟฟิก


67 14. รางวัล Asia Game Changer Awards (ผู้น าการเปลี่ยนแปลงแห่งเอเชีย) (พ.ศ. 2561) 15. รางวัล “Thailand Headlines Person of the year Awards 2018 ครั งที่ 6” 16. รางวัลพิเศษ “Thailand Headlines Person of the year Awards 2018 เชิดชูผู้สร้างคุณงามความดีให้ประเทศไทย” (พ.ศ. 2561) 17. โล่ประกาศเกียรติคุณการช่วยเหลือทีมฟุตบอลเยาวชน “หมูป่าอะคาเดมี่ แม่สาย” สภาวิศวกร (พ.ศ. 2561) 18.ถ้วยผู้ประกอบคุณงามความดี สมาคมศิษย์เก่านักศึกษาวิชาทหาร (พ.ศ. 2561) 19. รับพระราชทานประกาศนียบัตรก ากับเหรียญกาชาด สมนาคุณชั นที่ 1 (พ.ศ. 2561) 20. โล่บุคคลดีเด่นด้านการต่อต้านการทุจริต (พ.ศ. 2562) 21. โล่ประกาศเกียรติคุณบุคคลที่มีผลงานยอดเยี่ยมและดีเด่นในการป้องกันและ แก้ไขปัญหายาเสพติด (พ.ศ. 2562) 22. ประกาศเกียรติคุณ บุคคลต้นบุญต้นแบบในการน าศาสตร์พระราชามา ประพฤติปฏิบัติ (พ.ศ. 2565) 23. รางวัล “THAILAND TOP OF THE Year 2022” นิตยสาร BUSINESS+ ร่วมกับคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ. 2565) 24. ประกาศเกียรติคุณ บุคคลดีเด่นจังหวัดเชียงราย สาขาบริหารจัดการ หนังสือพิมพ์ เชียงรายนิวส์ (พ.ศ. 2566)


Click to View FlipBook Version