The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

03-3 อิทธิพลดนตรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nanthanat, 2020-08-04 08:49:17

03-3 อิทธิพลดนตรี

03-3 อิทธิพลดนตรี

อทิ ธิพลดนตรี

เอกสารประกอบการเรยี นรู้
รหสั วชิ า ศ23101 รายวิชาพ้ืนฐานศลิ ปศกึ ษา 5 (ดนตรไี ทย)
ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563

อาจารย์พงศพิชญ์ แกว้ กุลธร
และอาจารยน์ สิ ิตนันทนัช ชาวไรอ่ ้อย

กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ
โรงเรียนสาธติ มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ปทมุ วัน

เอกสารประกอบการเรียนรู้ รายวิชาพนื้ ฐานศิลปศกึ ษา 5 (ดนตรไี ทย) ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563

อทิ ธพิ ลดนตรไี ทย

ดนตรเี ป็นงานศิลป์แขนงหน่ึงที่มนุษย์ได้รับอิทธิพลมาจากธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมอันกว้างใหญ่เป็นแรงบันดาลใจ

ทาให้เกิดความคิดสร้างสรรค์เรียนรู้เลียนแบบธรรมชาติเป็นการตอบสนองความต้องการ (Respones) โดยตรง

โดยใช้วัสดุจากธรรมชาติประดิษฐ์เป็นเคร่ืองดนตรีในการบรรเลงขับกล่อม ตามกิริยาท่าทางของมนุษย์

ทพี่ งึ กระทาได้ ไดแ้ ก่ ดีด สี ตี เป่า

ชนใดไม่มีดนตรกี าล ในสนั ดานเปน็ คนชอบกลนัก

อีกใครฟังดนตรไี มเ่ ห็นเพราะ เขานน้ั เหมาะคดิ กบฏอัปลักษณ์

ถอื อุบายมงุ่ รา้ ยฉมงั นกั มโนหนักมืดมัว เหมือนราตรี

และดวงใจย่อมทาสกปรก ราวนรกกล่าวชนเช่นมาน้ี

ไม่ควรใครไวใ้ จในโลกน้ี เจา้ จงฟงั ดนตรีเถดิ ช่ืนใจ

จากบทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลท่ี 6 นี้ แสดงให้เห็นว่า พระองค์ท่านทรงชี้ประเด็นว่ามนุษย์ไม่ควรขาด

เสียงเพลงหรือดนตรี งานศิลปะแขนงน้ีเป็นเครื่องประเทืองอารมณ์ (ประเทือง มีความหมายว่า ทาให้รุ่งเรืองขึ้น

หรือดีข้ึน) หากขาดหรือไมไ่ ด้สมั ผสั ก็เทา่ กับคนเหล่านน้ั “ขาดสุนทรียศาสตร์”

ดนตรีไทยจึงมีบทบาทต่อชีวิตมนุษย์ เป็นเครื่องมือที่สามารถตอบสนองความต้องการในการประเทือง

อารมณก์ ระตุ้นความร้สู กึ ของเราอยา่ งมาก ถา้ ขาดเสยี งเพลงและเสียงดนตรีแล้ว จะทาให้มนุษย์อยู่อย่างแห้งแล้ง

ไร้อารมณ์ความรู้สึก ไม่มีเคร่ืองประเทืองจิตใจ ไม่ละเอียดอ่อน ไม่เกิดความสุข ความสนุกสนาน ดังประโยคที่ว่า

“เจ้าจงฟงั ดนตรเี ถดิ ช่นื ใจ”

อทิ ธพิ ลของดนตรตี อ่ บคุ คล

ดนตรี (Music) เป็นสุนทรียศาสตร์ทางด้านเสียง ซ่ึง . อิทธิพลของดนตรีท่ีมีต่อร่างกาย คือ เสียงดนตรี
มนุษย์สามารถรับรู้ได้ด้วยการฟัง เสียงดนตรีสามารถทาให้ สามารถทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงของร่างกาย เช่น อัตราการ
คนเราเกิดอารมณ์ความรู้สึก สนุกสนาน เกิดความศรัทธา ฮึก หายใจ อัตราการเต้นของ ชีพจร ความดันโลหิต การ
เหิม หรือแม้กระทั่งเกิดความเศร้าโศกเสียใจ ส่ิงเหล่านี้เป็น ตอบสนองของม่านตา ความตึงตัวของกล้ามเน้ือ และการ
อิทธิพลของดนตรีที่มีต่อมนุษย์มาตั้งแต่ยุคอดีตจนถึงปัจจุบัน ไหลเวียนเลือด เช่น
โดยอทิ ธพิ ลมผี ลตอ่ มนุษย์ สามารถจาแนกได้ 2 ด้าน คอื

อิทธพิ ลดนตรี อาจารยพ์ งศพชิ ญ์ แกว้ กุลธร และอาจารยน์ ิสิตนันทนชั ชาวไรอ่ อ้ ย

2 เอกสารประกอบการเรยี นรู้ รายวิชาพนื้ ฐานศิลปศึกษา 5 (ดนตรไี ทย) ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563

- การฟังเพลงที่มีทานองช้า ๆ ไพเราะ ก็จะ ด น ต รี มี อิ ท ธิ พ ล ต่ อ สั ง ค ม โ ด ย พิ จ า ร ณ า จ า ก

ทาใหร้ า่ งกายเราผอ่ นคลาย ไม่เครง่ เครยี ด ความสัมพนั ธใ์ นด้านตา่ ง ๆ ดังนี้

- การฟังดนตรีที่มีทานองคึกคัก หนักแน่น 1. ดนตรีกับพิธีการ คือ ความสัมพันธ์ของดนตรีที่ใช้

ทาใหห้ ัวใจเราเต้นแรงเพราะความต่ืนเต้น เลือดสูบฉีด มีความ ประกอบพิธีการต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นพิธีการที่เป็นมงคลหรือ

ฮกึ เหิมรา่ งกายมพี ลัง อวมงคล ลักษณะของดนตรีที่บรรเลงในงานต่าง ๆ สามารถ

- การฟังดนตรีที่มีทานองเศร้าหมอง หรือน่า บอกถึงลกั ษณะของงานพิธีได้เปน็ อย่างดี เชน่

กลัว จะทาให้ร่างกายเราห่อเห่ียว หมดเร่ียวแรง หรืออาจเกิด - เพลงมหาชัย ใช้บรรเลงในขณะเปิดพิธีการ

อาการขนลกุ เพราะความกลัว ตา่ ง ๆ โดยเชอ้ื พระวงศ์ชนั้ สูง

อิทธิพลของดนตรีท่ีมีต่อจิตใจ คือ เสียงของดนตรี - เพลงสาธุการ ใช้บรรเลงในพิธีกรรม เม่ือ

สามารถใหม้ นุษยเ์ กิดอารมณ์ความรู้สกึ ต่าง ๆ ภายในจิตใจและ บูชาหรืออัญเชิญพระรัตนตรัย เทพยดา สิ่งศักด์ิสิทธ์ิ และใช้

สมอง สามารถทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงของ อารมณ์ เพ่อื แสดงกิรยิ าน้อมไหว้

สติสัมปชัญญะ จินตนาการ การรับรู้สภาพความเป็นจริง และ - เพลงมอญในวงดนตรีป่ีพาทย์มอญ ใช้

การส่อื สารทางอวัจนะภาษา เชน่ บรรเลงในการประกอบพธิ งี านศพ

- การฟังเพลงช้าผ่อนคลาย จะทาให้จิตใจ 2. ดนตรีกับกิจกรรมบันเทิง คือ ความสัมพันธ์

สงบ ระหว่างดนตรีกับกิจกรรมท่ีเก่ียวกับความบันเทิง สนุกสนาน

- การฟังเพลงที่โหยหวน จะทาให้อารมณ์ เช่น

ของเราเศรา้ โศก หดหู่ใจ - ดนตรีประกอบการเต้นรา เช่น ดนตรี

- การฟังเพลงท่ีมีจังหวะเร้าใจ จะทาให้ พื้นบ้าน ดนตรีชนเผ่า ท่ีมีการเต้นกันอย่างสนุกสนาน หรือ

สนุกสนาน ทาใหร้ สู้ กึ ตนื่ เต้น ดนตรปี ระกอบระบา รา ฟอ้ น ตา่ ง ๆ

- ดนตรีประกอบการแสดง เช่น ดนตรีท่ี

อทิ ธพิ ลของดนตรตี อ่ สงั คม ประกอบการแสดงโขน ละคร ต่าง ๆ

เน่ืองจากบุคคลไม่สามารถแยกตนเองออกจากสังคม 3. ดนตรกี ับการแพทย์ คอื ความสัมพันธ์ของดนตรีที่

ได้ เพราะโดยธรรมชาติมนุษย์จะอยู่ร่วมกันเป็นสังคม ทา มีส่วนช่วยในการบาบัดรักษาผู้ป่วย เนื่องจากดนตรีช่วยทาให้

กิจกรรมรว่ มกนั เชน่ ร่วมประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อ ร่วม ร่างกายและจติ ใจผอ่ นคลายได้ โดยตวั อย่างกิจกรรมทางดนตรี

เฉลิมฉลองงานประเพณีทางศาสนา เป็นต้น การรวมตัวกัน ทีช่ ่วยบาบดั รกั ษาผู้ป่วย ได้แก่

ลักษณะนี้ช่วยให้ทุกคนในกลุ่มมีโอกาสแสดงตัวตนต่อสังคม - ให้ผู้ป่วยฟังเพลงบรรเลง หรือเพลง

และแสดงอารมณ์ต่าง ๆ ออกมา เพื่อส่ือสารความรู้สึกนึกคิด ประกอบบทร้อง ให้เหมาะกับสภาวะของผู้ป่วย และให้ปฏิบัติ

กับบุคคลอื่น โดยในทุกกิจกรรมจะมีการบรรเลงดนตรีหรือขับ กิจกรรมอื่นควบคู่กันไป เช่น วาดภาพ ปั้นดิน ระบายสี ใน

ร้อง เพือ่ ช่วยส่อื สารความเขา้ ใจระหว่างกันของสมาชิกในสังคม รูปแบบง่าย ๆ เพ่ือให้ผู้ป่วยรู้สึกผ่อนคลาย ผ่อนอารมณ์ และ

ด้วย เปน็ การสังเกตสมาธขิ องผูป้ ่วยว่ามมี ากน้อยเพียงใดด้วย

อนึ่งดนตรีคือศิลปะที่บุคคลในสังคมสร้างสรรค์ข้ึนมา - ให้ผูป้ ่วยขับรอ้ งเพลง หรอื ฝึกเลน่ ดนตรีง่าย

ใช้ร่วมกัน ในบางคร้ังอาจมีผู้เต้นราเข้ามาอีก ซ่ึงทุกคนล้วน ๆ เพื่อเป็นการระบายอารมณ์ ผ่อนคลายความเครียด บริหาร

ต้องมีอารมณ์ร่วมกับเสียงดนตรีทั้งสิ้น ดนตรีจึงกลายเป็น ปอด หรอื รา่ งกายในสว่ นต่าง ๆ ให้กลับมาทางานได้อย่างปกติ

วัฒนธรรมอีกอย่างหน่ึงของมนุษย์ และวัฒนธรรมดนตรีของ อีกท้งั เป็นการฝึกสมาธอิ กี ด้วย

แ ต่ ล ะ สั ง ค ม ล้ ว น เ ป็ น เ ค รื่ อ ง ช่ ว ย ชี้ บ อ ก ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง 4. ดนตรีกับการกีฬา คือ ดนตรีมีสามารถให้มนุษย์

ขนบธรรมเนียมประเพณี กิจกรรม และชาติพันธ์ุท่ีกลุ่มบุคคล เคลื่อนไหวไปตามจังหวะได้ จึงเป็นตัวช่วยอย่างดีที่จะทาให้

ในสงั คมน้นั ๆ ปฏบิ ัติ กิจกรรมทางกีฬา เป็นไปอย่างสม่าเสมอและพร้อมเพรียงกัน

เช่น การเต้นแอโรบิก การรามวยจีน การฝึกโยคะ เป็นต้น

อทิ ธพิ ลดนตรี อาจารย์พงศพิชญ์ แกว้ กุลธร และอาจารยน์ ิสติ นนั ทนชั ชาวไร่อ้อย

3 เอกสารประกอบการเรียนรู้ รายวชิ าพืน้ ฐานศิลปศึกษา 5 (ดนตรีไทย) ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563

5. ดนตรีกับการศึกษา คือ ในกระบวนการ
ของการเรียนการสอน สามารถนาดนตรีเข้ามามีส่วนร่วมใน
การทากิจกรรม เพ่ือให้เกิดความรู้ ความจา ได้ง่ายข้ึน เช่น
การท่องจาคาศัพท์หรือสูตรการคานวณต่าง ๆ เป็นบทเพลง
การใช้ดนตรีเพื่อเสริมสร้างจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์
เป็นตน้

อิทธพิ ลดนตรี เอกสารอา้ งอิง
ราสิยศ วงศศ์ ลิ ปกลุ และ ศริ ิรตั น์ วุฐิสกุล. (2557). ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3. กรุงเทพฯ :

บรษิ ัทพัฒนา คณุ ภาพวชิ าการ (พว.) จากัด.
สุมนมาลย์ นมิ่ เนติพันธ์ และคณะ. (2551). ค่มู ือครดู นตร-ี นาฏศิลป์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3.

พิมพ์ครัง้ ที่ 3. กรงุ เทพฯ : อักษรเจริญทัศน์ อจก. จากัด.
สรุ พล สวุ รรณ. (2551). ดนตรีไทยในวฒั นธรรมไทย. พมิ พ์คร้ังท่ี 2. กรงุ เทพฯ : บริษัมแอคทฟี

พริ้นท์ จากัด.

อาจารยพ์ งศพชิ ญ์ แกว้ กุลธร และอาจารย์นิสติ นนั ทนชั ชาวไร่ออ้ ย


Click to View FlipBook Version