The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กายภาพบำบัดในผู้ป่วยมะเร็งเต้านม ตอนที่ 2 ภาวะข้อไหล่ติด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by RehabNCIThailand, 2021-06-28 04:18:40

กายภาพบำบัดในผู้ป่วยมะเร็งเต้านม ตอนที่ 2 ภาวะข้อไหล่ติด

กายภาพบำบัดในผู้ป่วยมะเร็งเต้านม ตอนที่ 2 ภาวะข้อไหล่ติด

การดูแล
ทางกายภาพบาบดั

ใน ผู้ป่ วยมะเร็งเต้านม

งานเวชศาสตร์ฟื้ นฟู
กล่มุ งานเวชศาสตร์ประคบั ประคอง

ตอนท่ี 2 ภาวะข้อไหล่ตดิ

ภายหลงั การผ่าตดั เต้านม

ภาวะข้อไหล่ตดิ

สาเหตุของขอ้ ไหล่ติด
ในปัจจุบนั ยงั ไม่ทราบสาเหตุท่ีแน่ชดั
แต่จากการศึกษาทางพยาธิสรีรวทิ ยา

พบการอกั เสบของเยอ่ื หุม้ ขอ้
และมีการหนาตวั ของเยอื่ หุม้ ขอ้ เป็นพงั ผืดตามมา

ทาใหเ้ คลื่อนไหวขอ้ ไดน้ อ้ ยลง

อาการของไหล่ติด สามารถแบ่งได้ท้งั หมด 3 ระยะ

ระยะที่ 1 : ระยะปวด ระยะนีม้ กั นาน 2 เดือน ถึง 9 เดือน

มอี าการปวดไหล่มาก เคลื่อนไหวข้อไหล่ได้น้อยลง

ระยะท่ี 2 : ระยะข้อตดิ ระยะนีม้ ักนาน 4 เดือน ถงึ 12 เดือน
dgf

มอี าการปวดไหล่น้อยลง เคลื่อนไหวข้อไหล่ได้ลาบากมากขนึ้

ระยะท่ี 3 : ระยะฟื้ นตวั ระยะนีม้ กั นาน 5 เดือน ถงึ 2 ปี
อาการปวดทุเลาลง เคล่ือนไหวข้อไหล่ได้ดมี ากขนึ้

ระยะปวด

 ผปู้ ่ วยจะรู้สึกวา่ อาการปวดค่อยๆเป็นมากข้ึน
 ปวดเมื่อมีการเคล่ือนไหว
 ปวดมากตอนกลางคืนจนรบกวนการนอน
 การเคลื่อนไหวของขอ้ จะค่อยๆลดลง
 ระยะน้ีมกั นาน 2 เดือน ถึง 9 เดือน

ระยะข้อตดิ

 อาการปวดจากระยะแรกเริ่มลดลง
 การเคลื่อนไหวขอ้ ไหล่ในทุกทิศทาง ลดลงชดั เจน
 ส่งผลต่อกิจวตั รประจาวนั อยา่ งมาก เช่น เอ้ือมหยบิ

ของจากที่สูงลาบาก หวีผมไดย้ าก ฯลฯ
 ระยะน้ีมกั นาน 4 เดือน ถึง 12 เดือน

ระยะฟื้ นตัว

 อาการปวดลดลง
 การเคล่ือนไหวขอ้ ไหล่เร่ิมดีข้ึน
 ทากิจวตั รประจาวนั ไดด้ ีข้ึน
 ระยะมกั นาน 5 เดือน ถึง 2 ปี

ภาวะข้อไหล่ตดิ ในผู้ป่ วยหลงั ผ่าตดั เต้านมเกดิ จาก

ปวดแผลผา่ ตดั
ไม่กลา้ เคลื่อนไหวแขน

กลวั แผลผา่ ตดั ฉีก

ไม่หากผู้ป่ วย บริหารข้อไหล่

ยกแขนได้ไม่สุด

ภาวะข้อไหล่ตดิ

คาแนะนาในการบริหารข้อไหล่
สาหรับผู้ป่ วยทเี่ ข้ารับการผ่าตดั มะเร็งเต้านม

 เริ่มบริหารข้อไหล่ทนั ทีภายหลงั การผ่าตัดครบ 24 ชั่วโมง
 การบริหารในแต่ละท่าควรทาในจงั หวะทชี่ ้า นุ่มนวล

และเคลื่อนไหวในจุดทเ่ี จบ็ ตงึ พอทนได้
 การบริหารแต่ละท่า ค้างไว้ 10 วนิ าที /คร้ัง ควรเริ่มทาทีละน้อยคร้ัง

( 3 – 5 คร้ัง ) หากไม่มอี าการปวดมากขนึ้ ให้เพมิ่ จานวนคร้ัง
สูงสุดไม่เกนิ 10 คร้ัง
 ท่าบริหารทุกท่า ทา 3 รอบต่อวนั (เช้า / กลางวนั / เยน็ )

หยุดหากมอี าการดงั ต่อไปนีใ้ ห้ บริหารข้อไหล่

มีไข้
ปวดแผลผ่าตดั Scale 10 / 10
แพทย์ผ่าตดั ให้ งดการเคล่ือนไหวข้อไหล่



ภายหลงั การผ่าตัดครบ 24 ช่ัวโมง
เริ่มออกกาลงั กายท่าไต่ฝาผนัง





ภายหลงั การผ่าตัดครบ 3 วนั
สามารถออกกาลงั กายได้
เท่าทไ่ี ม่มอี าการปวดตึง















ควรบริหารข้อไหล่เป็ นประจาอย่าง
ต่อเน่ือง เพ่ือป้องกนั

ภาวะข้อไหล่ติด

ท่าบริหารป้องกนั ข้อไหล่ติด
ในผู้ป่ วยผ่าตดั เต้านม

หากมีข้อสงสัยสามารถสอบถามเพมิ่ เติมได้ที่

งานเวชศาสตร์ฟื้ นฟู สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

โทร.02-202-6800 ต่อ 1602

จัดทาโดย

งานเวชศาสตร์ฟื้ นฟู


Click to View FlipBook Version