The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการวิเคราะห์นักศึกษาใหม่ 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by MiNi MKBclub, 2020-12-20 22:44:48

รายงานการวิเคราะห์นักศึกษาใหม่ 2563

รายงานการวิเคราะห์นักศึกษาใหม่ 2563

มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์

วิทยาเขตปตั ตานี

รายงาน
การวเิ คราะห์นักศึกษาใหม่

มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์
วิทยาเขตปัตตานี

กองยุทธศาสตร์และพัฒนาวิทยาเขตปตั ตานี
ธนั วาคม 2563



รายงานการวิเคราะหน์ กั ศกึ ษาใหม่

มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตปัตตานี
ปกี ารศกึ ษา 2563

กองยทุ ธศาสตรแ์ ละพฒั นาวิทยาเขตปัตตานี
ธนั วาคม 2563

รายงานการวิเคราะห์นักศึกษาใหม่
มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปตั ตานี ปีการศึกษา 2563

ที่ปรึกษา ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อัตชัย เอ้ืออนันตสนั ต์ รองอธกิ ารบดฝี า่ ยระบบสารสนเทศและวางแผน
วิทยาเขตปัตตานี

นายวีระพงค์ อาภารตั นคุณ ผอู้ าํ นวยการกองยทุ ธศาสตร์และพฒั นา
วทิ ยาเขตปตั ตานี

ผู้จดั ทาํ นางปฐมา อาแว นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนชํานาญการ
งานระบบสารสนเทศเพ่ือการบรหิ าร

คาํ นาํ

กองยุทธศาสตรแ์ ละพัฒนาวิทยาเขตปตั ตานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ได้จัดทํา
รายงานผลการวิเคราะห์นักศึกษาใหม่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ปีการศึกษา 2563 โดย
มีวัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษาภูมิหลังด้านต่างๆ ของนักศึกษาใหม่ ซ่ึงประกอบด้วยข้อมูลทั่วไป ข้อมูลด้าน
การศกึ ษาและการสอบเข้ามหาวิทยาลยั และขอ้ มูลด้านครอบครวั ของนักศึกษา เพ่ือเปน็ แนวทางในการกําหนด
นโยบายและวางแผนสําหรับการพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และเพ่ือเป็น
แนวทางให้สถาบันหรือหนว่ ยงานอนื่ ๆ ไดน้ าํ ไปใช้ประโยชนต์ อ่ ไป

กองยุทธศาสตรแ์ ละพัฒนาวิทยาเขตปตั ตานี
มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตปัตตานี

สารบัญ

คํานาํ หนา้
บทสรุปสาํ หรบั ผูบ้ ริหาร
บทท่ี 1 บทนาํ 1
บทที่ 2 ผลการวเิ คราะห์ 7
ภาคผนวก 9
25

สารบัญตาราง

ตารางที่ 1 จํานวนนกั ศึกษาใหม่ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตปัตตานี หนา้
ตารางท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 จําแนกตามคณะและระดบั การศึกษา 1
เปรยี บเทยี บจํานวนนกั ศึกษาใหม่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2
ตารางที่ 3 วทิ ยาเขตปตั ตานี ปกี ารศกึ ษา 2562 และปกี ารศกึ ษา 2563
จาํ แนกตามระดบั การศึกษา 3
ตารางที่ 4 เปรียบเทยี บจาํ นวนนักศึกษาใหม่ กับจํานวนนักศึกษาตามแผนการรับและ
ตารางที่ 5 จาํ นวนนกั ศกึ ษาที่ยนื ยนั รับ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตปตั ตานี 9
ตารางท่ี 6 ปีการศึกษา 2563 จาํ แนกตามระดับการศึกษา 10
จํานวนนักศึกษาใหม่ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 10
ตารางที่ 7 ปกี ารศกึ ษา 2563 จาํ แนกตามระดับการศกึ ษา
จํานวนนักศกึ ษาใหม่ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 11
ตารางท่ี 8 ปีการศึกษา 2563 จําแนกตามคณะและระดับการศึกษา
ตารางที่ 9 เปรียบเทยี บจาํ นวนนักศึกษาใหม่ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 11
ตารางท่ี 10 วิทยาเขตปัตตานี ปกี ารศึกษา 2562 และปกี ารศกึ ษา 2563 12
ตารางที่ 11 จําแนกตามระดับการศกึ ษา 12
ตารางที่ 12 เปรยี บเทียบจาํ นวนนกั ศึกษาใหม่กบั จํานวนนักศึกษาตามแผนการรับและ 13
ตารางท่ี 13 จํานวนนักศกึ ษาท่ียนื ยนั รับ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 13
ตารางที่ 14 วิทยาเขตปตั ตานี ปกี ารศกึ ษา 2563 จาํ แนกตามระดบั การศกึ ษา 14
ตารางที่ 15 จํานวนและร้อยละของนักศกึ ษาใหม่ ปีการศกึ ษา 2563 จาํ แนกตาม 15
เพศ และระดบั การศึกษา 15
จํานวนและรอ้ ยละของนกั ศึกษาใหม่ ปีการศกึ ษา 2563 จาํ แนกตาม
ศาสนา และระดบั การศกึ ษา
จํานวนและร้อยละของนกั ศึกษาใหม่ ปกี ารศึกษา 2563 จําแนกตาม
สญั ชาติ และระดับการศึกษา
จาํ นวนและร้อยละของนักศกึ ษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จาํ แนกตาม
สถานภาพสมรส และระดบั การศึกษา

จํานวนและรอ้ ยละของนักศกึ ษาใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2563 จาํ แนกตาม
กล่มุ อายุ และระดับการศึกษา
จาํ นวนและร้อยละของนกั ศึกษาใหม่ ปกี ารศึกษา 2563 จําแนกตาม
ภูมลิ าํ เนา (ภาค) และระดับการศึกษา
จาํ นวนและรอ้ ยละของนักศึกษาใหม่ ปีการศกึ ษา 2563 จาํ แนกตาม
ภมู ลิ าํ เนา (5 จงั หวัดชายแดนภาคใต)้ และระดับการศกึ ษา
จาํ นวนและรอ้ ยละของนักศึกษาใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2563 จาํ แนกตาม
ประเภทของโรงเรียน สถาบนั และระดบั การศึกษา

สารบญั ตาราง (ตอ่ )

ตารางท่ี 16 จํานวนและรอ้ ยละของนกั ศึกษาใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2563 จาํ แนกตาม หนา้
ตารางท่ี 17 ผลการเรยี นเฉลย่ี สะสม และระดบั การศึกษา 16
ตารางที่ 18 จาํ นวนและร้อยละของนกั ศึกษาใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2563 จาํ แนกตาม 17
ตารางที่ 19 รอบการรับเข้ามหาวิทยาลัย และระดบั การศกึ ษา 17
ตารางที่ 20 จาํ นวนและรอ้ ยละของนกั ศกึ ษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จําแนกตาม 18
ตารางท่ี 21 รายจ่ายต่อเดอื นของนกั ศกึ ษา และระดบั การศึกษา 19
ตารางท่ี 22 จํานวนและรอ้ ยละของนกั ศกึ ษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จาํ แนกตาม 19
ตารางท่ี 23 สถานภาพสมรสของบดิ าและมารดา และระดบั การศกึ ษา 20
ตารางท่ี 24 จาํ นวนและรอ้ ยละของนกั ศึกษาใหม่ ปกี ารศึกษา 2563 จําแนกตาม 21
ตารางท่ี 25 อายุของบิดา และระดับการศึกษา 21
ตารางที่ 26 จํานวนและรอ้ ยละของนักศกึ ษาใหม่ ปีการศกึ ษา 2563 จําแนกตาม 22
ตารางท่ี 27 อายขุ องมารดา และระดับการศกึ ษา 23
ตารางท่ี 28 จํานวนและร้อยละของนกั ศกึ ษาใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2563 จาํ แนกตาม 23
ตารางท่ี 29 วฒุ กิ ารศกึ ษาสูงสดุ ของบิดา และระดบั การศกึ ษา 24
ตารางที่ 30 จาํ นวนและรอ้ ยละของนักศึกษาใหม่ ปกี ารศึกษา 2563 จาํ แนกตาม 26
ตารางที่ 31 วุฒิการศกึ ษาสงู สุดของมารดา และระดับการศกึ ษา 33
ตารางท่ี 32 จาํ นวนและรอ้ ยละของนักศกึ ษาใหม่ ปีการศกึ ษา 2563 จําแนกตาม 40
อาชีพของบิดา และระดบั การศกึ ษา 46
จํานวนและรอ้ ยละของนักศกึ ษาใหม่ ปกี ารศึกษา 2563 จาํ แนกตาม
อาชีพของมารดา และระดบั การศึกษา

จํานวนและร้อยละของนกั ศกึ ษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จาํ แนกตาม
รายไดต้ อ่ เดอื นของบดิ า และระดบั การศกึ ษา

จํานวนและร้อยละของนักศึกษาใหม่ ปกี ารศึกษา 2563 จาํ แนกตาม

รายไดต้ ่อเดือนของมารดา และระดับการศกึ ษา

จํานวนและร้อยละของนกั ศึกษาใหม่ ปกี ารศึกษา 2563 จําแนกตาม

สถานะของผปู้ กครอง และระดบั การศกึ ษา

จํานวนและรอ้ ยละของนกั ศึกษาใหม่ ปกี ารศึกษา 2563 จําแนกตาม

เพศ และศาสนา

จํานวนและรอ้ ยละของนกั ศกึ ษาใหม่ ปกี ารศึกษา 2563 จําแนกตาม

wสัญชาติ และสถานภาพสมรส

จาํ นวนและร้อยละของนกั ศกึ ษาใหม่ ปกี ารศึกษา 2563 จําแนกตาม

กลมุ่ อายขุ องนกั ศึกษา
จํานวนและรอ้ ยละของนกั ศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จําแนกตาม
ภมู ลิ ําเนา (ภมู ภิ าค)

ตารางที่ 33 สารบัญตาราง (ตอ่ ) หนา้
ตารางท่ี 34 53
ตารางที่ 35 จํานวนและร้อยละของนกั ศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จาํ แนกตาม 60
ตารางท่ี 36 ภมู ิลําเนา (5 จงั หวดั ชายแดนภาคใต)้ 66
ตารางท่ี 37 จาํ นวนและร้อยละของนกั ศึกษาใหม่ ปีการศกึ ษา 2563 จําแนกตาม 72
ตารางที่ 38 รอบการรับเขา้ มหาวทิ ยาลัย 78
ตารางท่ี 39 จํานวนและร้อยละของนกั ศึกษาใหม่ ปีการศกึ ษา 2563 จาํ แนกตาม 84
ตารางท่ี 40 ประเภทของโรงเรียน/สถาบัน 90
ตารางที่ 41 จํานวนและร้อยละของนกั ศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จําแนกตาม 96
ตารางท่ี 42 เกรดเฉลี่ยสะสม 102
ตารางที่ 43 จาํ นวนและร้อยละของนกั ศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จําแนกตาม 108
ตารางท่ี 44 รายจ่ายต่อเดอื นของนักศึกษา 114
ตารางที่ 45 จาํ นวนและร้อยละของนกั ศกึ ษาใหม่ ปกี ารศึกษา 2563 จาํ แนกตาม 120
ตารางท่ี 46 สถานภาพสมรสของบิดาและมารดา 126
ตารางที่ 47 จํานวนและรอ้ ยละของนักศึกษาใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2563 จําแนกตาม 132
กลุ่มอายขุ องบิดา 138
จํานวนและรอ้ ยละของนกั ศกึ ษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จําแนกตาม
กลุ่มอายขุ องมารดา
จาํ นวนและร้อยละของนกั ศกึ ษาใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2563 จาํ แนกตาม
ระดบั การศกึ ษาสงู สดุ ของบดิ า
จํานวนและร้อยละของนกั ศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จําแนกตาม
ระดบั การศึกษาสูงสดุ ของมารดา
จาํ นวนและรอ้ ยละของนักศกึ ษาใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2563 จาํ แนกตาม
อาชพี ของบิดา
จํานวนและร้อยละของนกั ศึกษาใหม่ ปกี ารศึกษา 2563 จําแนกตาม
อาชพี ของมารดา
จาํ นวนและรอ้ ยละของนักศึกษาใหม่ ปีการศกึ ษา 2563 จําแนกตาม
รายได้ของบดิ า
จํานวนและร้อยละของนกั ศกึ ษาใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2563 จาํ แนกตาม
รายได้ของมารดา
จํานวนและร้อยละของนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จาํ แนกตาม
สถานะของผปู้ กครอง

สารบัญแผนภมู ิ หน้า

แผนภูมทิ ่ี 1 เปรยี บเทยี บจาํ นวนนักศกึ ษาใหม่ ปกี ารศึกษา 2562 และปีการศึกษา 2563 2
จาํ แนกตามระดับการศึกษา 4
5
แผนภมู ิที่ 2 เปรยี บเทียบจํานวนนักศกึ ษาใหมแ่ ละจํานวนนักศกึ ษาตามแผนการรบั และ
จาํ นวนนักศึกษาที่ยืนยันรบั ปีการศึกษา 2563 จําแนกตามระดับการศกึ ษา

แผนภูมทิ ่ี 3 คณุ ลกั ษณะทั่วไปของนกั ศกึ ษาใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2563

บทสรปุ สําหรบั ผูบ้ รหิ าร

การวิเคราะหข์ อ้ มลู นกั ศกึ ษาใหม่มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปตั ตานี ประจาํ ปีการศึกษา
2563 แบ่งการนําเสนอเป็น 2 ตอน ประกอบด้วย ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ภาพรวมของนักศึกษาใหม่ตามระดับ
การศึกษา คณะ/วิทยาลยั และแผน-ผลการรับนักศกึ ษา ตอนท่ี 2 การวิเคราะห์คุณลกั ษณะท่ัวไปของนักศกึ ษา
ใหม่ ได้แก่ ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลด้านการศึกษาและการสอบเข้ามหาวิทยาลัย และข้อมูลด้านครอบครัว ผลการ
วเิ คราะหส์ รปุ ไดด้ งั น้ี

ตอนท่ี 1 การวเิ คราะหภ์ าพรวมของนกั ศกึ ษาใหม่ ปีการศึกษา 2563

1.1 ภาพรวมของนักศึกษาใหม่

นักศกึ ษาใหม่ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี ปกี ารศึกษา 2563 มจี ํานวนทั้งส้ิน
2,090 คน เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน 1,904 คน แบ่งเป็นหลักสูตร 4 ปี จํานวน 1,902 คน และ
หลักสูตรต่อเน่อื ง 2 ปี จาํ นวน 2 คน ระดบั ปรญิ ญาโท จํานวน 172 คน แบ่งเป็นภาคปกติ จาํ นวน 64 คน ภาค
สมทบ จาํ นวน 108 คน และระดับปรญิ ญาเอก จํานวน 14 คน เมอ่ื พจิ ารณารายคณะ พบวา่ คณะศึกษาศาสตร์
มีนักศึกษาใหม่มากท่ีสุด จํานวน 545 คน รองลงมา คือ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จํานวน 426 คน
และคณะรฐั ศาสตร์ จํานวน 351 คน ตามลาํ ดบั รายละเอยี ดดังตารางที่ 1

ตารางท่ี 1 จาํ นวนนกั ศึกษาใหม่ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี ปีการศกึ ษา 2563
จาํ แนกตามคณะ และระดับการศึกษา

คณะ/วทิ ยาลยั ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก รวม
ศึกษาศาสตร์ 4 ปี 2 ปี รวม ปกติ สมทบ รวม 545
27 108 135 5
405 405

มนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ 515 515 11 11 526

วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 221 221 22 22 4 247
วทิ ยาการอิสลาม 159 159 4 4 5 168

วิทยาการสอื่ สาร 119 119 119

ศลิ ปกรรมศาสตร์ 68 2 70 70

รฐั ศาสตร์ 351 351 351

พยาบาลศาสตร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี 64 64 64

รวม 1,902 2 1,904 64 108 172 22 2,090

นักศกึ ษาใหม่ 2563

2

1.2 เปรียบเทยี บจาํ นวนนักศึกษาใหม่ ปีการศกึ ษา 2562 และปกี ารศึกษา 2563
จากการเปรียบเทียบจํานวนนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2562 และปีการศึกษา 2563 โดยรวม

นักศึกษาลด ร้อยละ 0.9 และเมื่อพิจารณาตามระดับการศึกษา พบว่า นักศึกษาระดับปริญญาตรี และระดับ
ปริญญาโท มีนักศึกษาใหม่เพ่ิมขึ้น ร้อยละ 7.4 และร้อยละ 23.7 ตามลําดับ ระดับปริญญาเอก มีนักศึกษาใหม่
ลดลง ร้อยละ 36.4 รายละเอียดดังตารางที่ 2 ในขณะท่ีนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร ไม่มีการรับเพิ่มในปี
การศึกษาน้ี และแผนภูมิท่ี 1

ตารางที่ 2 เปรยี บเทียบจํานวนนกั ศกึ ษาใหม่ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตปตั ตานี
ปกี ารศึกษา 2562 และปกี ารศึกษา 2563 จาํ แนกตามระดับการศกึ ษา

ระดบั การศกึ ษา จาํ นวนนักศกึ ษาใหม่ เพม่ิ /ลด
ปีกศ.2562 ปีกศ.2563 จํานวน ร้อยละ
131 7.4
ปริญญาตรี 1,773 1,904 129 7.3

- หลกั สตู ร 4 ปี 1,773 1,902 2
-174 -100.0
- หลกั สูตรต่อเนอ่ื ง 2 ปี 2 33 23.7
15 30.6
ประกาศนียยบตั รบัณฑติ 174 18 20.0
-8 -36.4
ปริญญาโท 139 172 -18 -0.9

- ภาคปกติ 49 64

- ภาคสมทบ 90 108

ปริญญาเอก 22 14
2,108 2,090
รวม

แผนภูมิที่ 1 เปรียบเทยี บจํานวนนักศกึ ษาใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2562 และปกี ารศกึ ษา 2563 จาํ แนกตามระดบั
การศึกษา

นักศกึ ษาใหม่ 2563

3

1.3 เปรยี บเทยี บจํานวนนักศึกษาใหมก่ บั จาํ นวนนักศึกษาตามแผนการรบั และจาํ นวนนักศึกษาทีย่ ืนยนั
รับ ปกี ารศกึ ษา 2563

เม่ือเปรียบเทียบจํานวนนักศึกษาตามแผนการรับกับจํานวนนักศึกษาท่ีรับจริง และจํานวนนักศึกษา
ท่ียืนยันรับกับจํานวนนักศึกษาท่ีรับจริง ปีการศึกษา 2563 พบว่า ในภาพรวมจํานวนนักศึกษาท่ีรับจริงตํ่ากว่า
ทั้งจํานวนนักศึกษาตามแผนการรับและจํานวนนักศึกษาที่ยืนยันรับ คิดเป็นร้อยละ 47.0 และร้อยละ 37.9
ตามลําดับ เม่ือพิจารณาตามระดับการศึกษา พบว่า ทุกระดับการศึกษามีจํานวนนักศึกษาที่รับจริงต่ํากว่า
จาํ นวนนกั ศกึ ษาตามแผนและจาํ นวนนกั ศกึ ษาทยี่ นื ยนั รับ รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 3 และแผนภูมิท่ี 2

ตารางท่ี 3 เปรียบเทียบจํานวนนักศึกษาใหม่ กับจํานวนนักศึกษาตามแผนการรับและจํานวนนักศึกษาท่ี
ยืนยันรับ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ปีการศึกษา 2563 จําแนกตามระดับ
การศกึ ษา

จํานวนนกั ศกึ ษา อตั ราสงู /ตา่ํ อตั ราสงู /ตํ่า

ระดบั การศกึ ษา แผนรับ ยืนยนั รับ รับจริง รับจริง : แผนรับ รับจริง : ยนื ยันรับ
3,390 2,760 1,904
ปริญญาตรี 3365 2735 1,902 จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ
- หลกั สูตร 4 ปี 25 25 2 -31.0
- หลักสูตรตอ่ เนื่อง 2 ปี 180 -1,486 -43.8 -856 -30.5
508 413 172 -1,463 -43.5 -833 -92.0
ประกาศนียบตั รบัณฑติ 338 298 64 -23 -92.0 -23
ปริญญาโท 170 115 108 -180 -100.0 -58.4
92 22 14 -336 -66.1 0 -78.5
- ภาคปกติ 4,170 3,195 2,090 -241
- ภาคสมทบ -274 -81.1
ปริญญาเอก -234
รวม
-62 -36.5 -7 -6.1
-78 -84.8 -8 -36.4

-2,080 -49.9 -1,105 -34.6

นกั ศกึ ษาใหม่ 2563

4
แผนภูมิที่ 2 เปรียบเทียบจํานวนนักศึกษาใหม่กับจํานวนนักศึกษาตามแผนการรับและจํานวนนักศึกษาที่

ยนื ยนั รบั ปกี ารศึกษา 2563 จาํ แนกตามระดบั การศึกษา

ตอนท่ี 2 การวิเคราะหค์ ณุ ลกั ษณะทัว่ ไปของนกั ศึกษาใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2563
2.1 ข้อมลู ท่วั ไป
ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี มีนักศึกษาใหม่ จํานวนท้ังสิ้น

2,090 คน จําแนกเป็นเพศหญิง ร้อยละ 74.9 และเป็นเพศชาย ร้อยละ 25.1 อัตราส่วนระหว่างเพศหญิงต่อ
เพศชาย เท่ากับ 4:1 มีเช้ือชาติไทยร้อยละ 99.5 ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ 81.4 มีสถานภาพโสด
ร้อยละ 97.3 โดยนักศึกษาระดับปริญญาตรี มีอายุเฉลี่ย 19 ปี ระดับปริญญาโท มีอายุเฉล่ีย 30 ปี และระดับ
ปริญญาเอก มีอายุเฉลี่ย 38 ปี ตามลําดับ นักศึกษาส่วนใหญ่มีภูมิลําเนาอยู่ในภาคใต้ ร้อยละ 95.0 และจาก
จํานวนนักศึกษาทั้งหมดเป็นนักศึกษาจากห้าจังหวัดชายแดนภาคใต้ (นราธิวาส ปัตตานี ยะลา สงขลา และ
สตูล) ร้อยละ 82.8

2.2 ข้อมลู ดา้ นการศกึ ษาและการสอบเขา้ มหาวิทยาลยั
ปีการศึกษา 2563 นักศึกษาระดับปริญญาตรี ส่วนใหญ่สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 6

จากโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามมากที่สุด ร้อยละ 56.6 รองลงมา คือ โรงเรียนมัธยมสามัญ ร้อยละ
29.8 และเอกชนสามัญ ร้อยละ 2.1 ตามลาํ ดับ

นักศึกษาใหม่ 2563

5
เม่ือพิจารณาตามระดับการศึกษา ในส่วนของระดับปริญญาตรี พบว่า นักศึกษาระดับปริญญาตรี
ส่วนใหญ่มีผลการเรียน โดยเฉลี่ยจากช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 เฉลี่ย 3.12 และสอบเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย
ในรอบที่ 4 (โครงการ Admission) มากที่สดุ คอื ร้อยละ 28.4 รองลงมา คือ รอบที่ 1 ผลการเรียนดี ส่งเสรมิ ผู้
มีคุณธรรมจริยธรรม ศึกษิตศิลปะ นักเรียนกัมพูชา กีฬา รับนักศึกษา ม.ปลายที่สําเร็จการศึกษาจาก
ต่างประเทศ และโครงการPSU สลาตัน) ร้อยละ 17.8 และ รอบท่ี 5 (คณะรับเอง โครงการรับผู้สําเร็จ
การศึกษา ปวส. และทุนอุดมศึกษา สกอ.) ร้อยละ 15.1 ตามลําดับ สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
บัณฑติ วทิ ยาลยั เป็นหน่วยงานท่ีจัดสอบคดั เลือก
2.3 ข้อมูลด้านครอบครวั
นักศึกษาระดับปริญญาตรี มีค่าใช้จ่ายส่วนตัวต่อเดือนเฉล่ีย 2,827 บาท ระดับปริญญาโท 11,738
บาท และระดับปริญญาเอก 12,000 บาท สถานภาพทางสมรสของบิดาและมารดาอยู่ด้วยกัน ร้อยละ 74.6
โดยบิดามอี ายเุ ฉลี่ย 53 ปี สว่ นมารดามีอายเุ ฉลย่ี 47 ปี
ระดับการศึกษาของบิดาและมารดาสําเร็จการศึกษาสูงสุดในระดับประถมศึกษามากท่ีสุด ร้อยละ
41.8 และร้อยละ 43.7
อาชีพและรายได้ของบิดาและมารดา สว่ นใหญ่บิดาประกอบอาชพี เกษตรกร ร้อยละ 23.6 ในขณะท่ี
มารดาประกอบอาชีพค้าขาย ร้อยละ 23.5 รายได้เฉล่ียต่อเดือนของบิดาเท่ากับ 15,084 บาท มารดามีรายได้
เฉลี่ยต่อเดือนของมารดาเท่ากับ 12,740 บาท สําหรับผู้ปกครองของนักศึกษาส่วนใหญ่ เป็นบิดาและมารดา
ร้อยละ 52.2
แผนภมู ิท่ี 3 คณุ ลกั ษณะทว่ั ไปของนกั ศกึ ษาใหม่ ปีการศกึ ษา 2563

นกั ศึกษาใหม่ 2563

6

นักศึกษาใหม่ 2563

บทท่ี 1 บทนาํ

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาของรัฐท่ีมี
ภารกิจหลัก 4 ด้าน คือ การจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรมและจริยธรรม การวิจัยเพ่ือเสริมสร้าง
องค์ความรู้ใหม่และประยุกต์ใช้ในการพัฒนาประเทศ การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และการให้บริการวิชาการ
แก่สังคม

สําหรับภารกิจหลักที่สําคัญเป็นอันดับแรก คือ การผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณภาพตามความต้องการของ
สังคมและประเทศชาติ ดังน้ัน การศึกษาข้อมูลพ้ืนฐานของนักศึกษาในด้านต่าง ๆ ท้ังด้านประชากร สังคม
และเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นภูมิหลังของนักศึกษาใหม่ในแต่ละปีน้ัน มีส่วนสําคัญต่อการนําไปประกอบการพิจารณา
กําหนดแนวทาง วางแผน และพัฒนาการศึกษาของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง เพ่ือเป็นประโยชน์ในการ
จดั การเรยี นการสอน การจัดกิจกรรมเสรมิ หลกั สูตร การจดั สวัสดิการต่าง ๆ อันจะส่งผลใหก้ ารผลิตบัณฑิตของ
สถาบนั การศึกษามคี ณุ ภาพ พรอ้ มทัง้ จรยิ ธรรมและคุณธรรมควบคู่กนั สามารถนําไปรบั ใชส้ งั คมตอ่ ไป

กองแผนงานวิทยาเขตปัตตานี จึงได้จัดทํารายงานการศึกษาข้อมูลพ้ืนฐานของนักศึกษาใหม่
ประจาํ ปกี ารศึกษา 2563 โดยพจิ ารณาจาํ แนกตามระดับการศึกษา

วตั ถุประสงคข์ องการศึกษา

เพื่อศึกษาภูมิหลังในด้านต่าง ๆ ของนักศึกษาใหม่ ซ่ึงประกอบด้วย การวิเคราะห์ภาพรวมของ
นักศึกษาใหม่ตามระดับการศึกษา แผน-ผลการรับนักศึกษา และการวิเคราะห์คุณลักษณะท่ัวไปของนักศึกษา
ใหม่ ไดแ้ ก่ ขอ้ มูลท่ัวไป ข้อมูลด้านการศึกษาและการสอบเข้ามหาวิทยาลยั และขอ้ มูลด้านครอบครัว

วิธีการดําเนนิ การศกึ ษา

การศึกษาข้อมูลนักศึกษาใหม่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ประจําปีการศึกษา
2563 มวี ิธกี ารดาํ เนินการดงั นี้

 ขอบเขตการศกึ ษา
ประชากรที่ศึกษา คือ นักศึกษาใหม่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ประจําปี
การศกึ ษา 2563 ไดแ้ ก่ ระดบั ปรญิ ญาตรี ระดับปรญิ ญาโท และระดบั ปรญิ ญาเอกของทกุ คณะ/วิทยาลยั
 วิธกี ารวเิ คราะห์
1. การเก็บรวบรวมข้อมูล นําข้อมูลจากระบบนักศึกษากรอกข้อมูลส่วนตัว (สน1-2) ผ่านทางระบบ
MIS Center โดยข้อมลู ทน่ี ํามาวเิ คราะห์ดงั กล่าว เป็นขอ้ มลู ณ วันท่ี 7 กนั ยายน 2563
2. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล ดาํ เนินการวิเคราะห์ โดยใชโ้ ปรแกรม Microsoft Excel 2013

นกั ศกึ ษาใหม่ 2563

8

ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะได้รับ
1. ทราบข้อมูลภูมิหลังในดา้ นต่าง ๆ ของนักศึกษาใหม่
2. เปน็ ข้อมูลเพ่ือใชใ้ นการวางแผนและพัฒนา

คํานิยาม
1. นักศึกษาใหม่ หมายถึง นักศึกษาท่ีลงทะเบียนเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วิทยาเขตปตั ตานี ปีการศึกษา 2563
2. ภมู ลิ าํ เนา จาํ แนกเป็น 6 ภูมิภาค ดงั นี้
1) ภาคเหนือ ประกอบด้วย 17 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ ลําพูน ลําปาง อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน

พะเยา เชยี งราย แมฮ่ อ่ งสอน นครสวรรค์ อทุ ยั ธานี กาํ แพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร เพชรบรู ณ์
2) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วย 20 จังหวัด ได้แก่ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์

ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร ชัยภูมิ ขอนแก่น อุดรธานี เลย หนองคาย มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธ์ุ
สกลนคร นครพนม หนองบัวลําภู อาํ นาจเจรญิ มกุ ดาหาร บงึ กาฬ

3) ภาคกลาง ประกอบด้วย 9 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง
ลพบุรี สิงห์บุรี ชยั นาท สระบุรี นนทบรุ ี และปทุมธานี

4) ภาคตะวันออก ประกอบด้วย 9 จังหวัด ได้แก่ ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา
ปราจีนบรุ ี สระแกว้ นครนายก และสมทุ รปราการ

5) ภาคตะวันตก ประกอบด้วย 8 จังหวัด ได้แก่ ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี สมุทรสงคราม
เพชรบรุ ี ประจวบครี ีขันธ์ นครปฐม และสมุทรสาคร

6) ภาคใต้ ประกอบด้วย 14 จังหวัด ได้แก่ นครศรีธรรมราช กระบ่ี พังงา ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี
ระนอง ชมุ พร สงขลา สตูล ตรงั พทั ลุง ปัตตานี ยะลา นราธวิ าส

3. สาขาวิชา หมายถึง สาขาวิชา/วชิ าเอกที่เปิดรับนักศึกษาในปีการศกึ ษา 2563 ทุกระดบั การศกึ ษา
และทกุ ชน้ั ปี

นักศึกษาใหม่ 2563

บทท่ี 2 ผลการวเิ คราะห์

การวิเคราะห์ขอ้ มูลนักศึกษาใหม่มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปตั ตานี ประจําปกี ารศกึ ษา
2563 แบ่งการนําเสนอเป็น 2 ตอน ประกอบด้วย ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ภาพรวมของนักศึกษาใหม่ตามระดับ
การศึกษา คณะ/วิทยาลยั และแผน-ผลการรับนักศึกษา ตอนที่ 2 การวิเคราะหค์ ุณลกั ษณะท่ัวไปของนักศึกษา
ใหม่ ได้แก่ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลด้านการศึกษาและการสอบเข้ามหาวิทยาลัย และข้อมูลด้านครอบครัว ผลการ
วิเคราะหส์ รปุ ไดด้ งั นี้
ตอนท่ี 1 การวิเคราะห์ภาพรวมของนักศกึ ษาใหม่ ปกี ารศึกษา 2563

นักศึกษาใหม่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ปีการศึกษา 2563 มีจํานวนทั้งส้ิน
2,090 คน เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน 1,904 คน ระดับปริญญาโท จํานวน 172 คน และระดับ
ปริญญาเอก จาํ นวน 14 คน รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 4

เม่ือพิจารณารายคณะ พบว่า คณะศึกษาศาสตร์ มีนักศึกษาใหม่มากท่ีสุด จํานวน 545 คน
รองลงมา คือ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จํานวน 426 คน และคณะรัฐศาสตร์ จํานวน 351 คน
ตามลําดับ รายละเอยี ดดังตารางท่ี 5
ตารางท่ี 4 จํานวนนักศึกษาใหม่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ปีการศึกษา 2563 จําแนก

ตามระดับการศกึ ษา

นกั ศึกษาใหม่ 2563

10

ตารางที่ 5 จํานวนนักศึกษาใหม่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ปีการศึกษา 2563
จําแนกตามคณะ และระดับการศึกษา

คณะ/วทิ ยาลยั ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก รวม
4 ปี 2 ปี รวม ปกติ สมทบ รวม

ศึกษาศาสตร์ 405 405 27 108 135 5 545

มนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ 515 515 11 11 526

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 221 221 22 22 4 247

วิทยาการอิสลาม 159 159 4 4 5 168

วทิ ยาการส่อื สาร 119 119 119

ศลิ ปกรรมศาสตร์ 68 2 70 70

รฐั ศาสตร์ 351 351 351

พยาบาลศาสตร์ วทิ ยาเขตปัตตานี 64 64 64

รวม 1,902 2 1,904 64 108 172 22 2,090

เมื่อเปรียบเทียบจํานวนนักศึกษาใหม่ปีการศึกษา 2562 และปีการศึกษา 2563 โดยรวมนักศึกษา
ลดลง ร้อยละ 0.9 และเมื่อพิจารณาตามระดับการศึกษา พบว่า นักศึกษาระดับปริญญาตรี และระดับปริญญา
โท มีนักศึกษาใหม่เพิ่มข้ึน ร้อยละ 7.4 และร้อยละ 23.7ตามลําดับ ระดับปริญญาเอก มีนักศึกษาใหม่ลดลง
ร้อยละ 36.4 ในขณะท่ีนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร ไม่มีการรับเพ่ิมในปีการศึกษาน้ี รายละเอียดดังตาราง
ที่ 6

ตารางท่ี 6 เปรียบเทียบจํานวนนักศึกษาใหม่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ปีการศึกษา
2561 และปีการศึกษา 2562 จําแนกตามระดับการศกึ ษา

ระดบั การศกึ ษา จํานวนนกั ศกึ ษาใหม่ เพิ่ม/ลด
ปีกศ.2562 ปีกศ.2563 จาํ นวน ร้อยละ

ปริญญาตรี 1,773 1,904 131 7.4

- หลกั สตู ร 4 ปี 1,773 1,902 129 7.3

- หลักสตู รตอ่ เนือ่ ง 2 ปี 22

ประกาศนียยบัตรบณั ฑติ 174 -174 -100.0

ปริญญาโท 139 172 33 23.7

- ภาคปกติ 49 64 15 30.6

ปริญญาเอก - ภาคสมทบ 90 108 18 20.0
รวม 22 14 -8 -36.4
2,108 2,090 -18 -0.9

นักศกึ ษาใหม่ 2563

11

เมื่อเปรียบเทียบจํานวนนักศึกษาตามแผนการรับกับจํานวนนักศึกษาที่รับจริง และจํานวนนักศึกษา
ท่ียืนยันรับกับจํานวนนักศึกษาท่ีรับจริง ปีการศึกษา 2563 พบว่า ในภาพรวมจํานวนนักศึกษาท่ีรับจริงต่ํากว่า
ท้ังจํานวนนักศึกษาตามแผนการรับและจํานวนนักศึกษาที่ยืนยันรับ คิดเป็นร้อยละ 49.9 และร้อยละ 34.6
ตามลําดับ เม่ือพิจารณาตามระดับการศึกษา พบว่า ทุกระดับการศึกษามีจํานวนนักศึกษาท่ีรับจริงตํ่ากว่า
จาํ นวนนกั ศกึ ษาตามแผนและจํานวนนกั ศึกษาที่ยืนยันรับ รายละเอียดดังตารางที่ 7

ตารางที่ 7 เปรยี บเทียบจํานวนนักศึกษาใหม่ กบั จํานวนนักศกึ ษาตามแผนการรับและจาํ นวนนกั ศกึ ษาทย่ี ืนยัน

รบั มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี ปีการศกึ ษา 2563 จาํ แนกตามระดบั การศกึ ษา

จาํ นวนนักศกึ ษา อตั ราสงู /ตา่ํ อตั ราสงู /ต่ํา

ระดบั การศกึ ษา รับจริง : แผนรับ รับจริง : ยืนยนั รับ

ปริญญาตรี แผนรับ ยนื ยันรับ รับจริง จาํ นวน ร้อยละ จาํ นวน ร้อยละ
- หลักสูตร 4 ปี -31.0
- หลกั สูตรตอ่ เน่ือง 2 ปี 3,390 2,760 1,904 -1,486 -43.8 -856 -30.5
3365 2735 1,902 -1,463 -43.5 -833 -92.0
ประกาศนยี บัตรบณั ฑติ 25 25 2 -23 -92.0 -23
ปริญญาโท 180 -180 -100.0 -58.4
508 413 172 -336 -66.1 0 -78.5
- ภาคปกติ -241 -6.1
338 298 64 -274 -81.1 -36.4
- ภาคสมทบ -234 -34.6
170 115 108 -62 -36.5
ปริญญาเอก -7
92 22 14 -78 -84.8
รวม -8
4,170 3,195 2,090 -2,080 -49.9
-1,105

ตอนที่ 2 การวิเคราะหค์ ุณลกั ษณะทว่ั ไปของนกั ศึกษาใหม่ ปกี ารศึกษา 2563
2.1 ขอ้ มูลทั่วไป

2.1.1 เพศ
นักศึกษาใหม่ ปีการศกึ ษา 2563 ส่วนใหญเ่ ปน็ เพศหญงิ รอ้ ยละ 74.9 และเพศชาย รอ้ ยละ 25.1
อัตราส่วนระหว่างเพศหญิงต่อเพศชาย เท่ากับ 3:1 เม่ือพิจารณาตามระดับการศึกษา พบว่า นักศึกษาระดับ
ปรญิ ญาตรี และระดับปริญญาโท มีนักศกึ ษาเพศหญิงมากกว่าเพศชาย รอ้ ยละ 76.2 และรอ้ ยละ 63.4 ในขณะ
ท่นี ักศึกษาระดบั ปรญิ ญาเอก มีนักศกึ ษาเพศชายมากกว่าเพศหญิง ร้อยละ 63.4 รายละเอียดดังตารางที่ 8

ตารางท่ี 8 จาํ นวนและร้อยละของนกั ศึกษาใหม่ ปีการศกึ ษา 2563 จําแนกตามเพศ และระดับการศกึ ษา

นักศึกษาใหม่ 2563

12
2.1.2 ศาสนา
นกั ศกึ ษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 81.4 นบั ถือศาสนาอสิ ลาม รองลงมา คอื นับถือศาสนา
พทุ ธ รอ้ ยละ 17.8 เมื่อพจิ ารณาตามระดับการศกึ ษา พบวา่ นกั ศึกษาส่วนใหญน่ ับถือศาสนาอสิ ลาม ทุกระดับ
การศกึ ษา รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 9
ตารางท่ี 9 จาํ นวนและรอ้ ยละของนักศึกษาใหม่ ปีการศกึ ษา 2563 จําแนกตามศาสนา และระดบั การศกึ ษา

2.1.3 สัญชาติ
นักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 99.5 มีสัญชาติไทย เม่ือพิจารณาตามระดับการศึกษา
พบวา่ ทุกระดบั การศึกษานกั ศึกษาใหม่ มสี ญั ชาตไิ ทยมากกว่ารอ้ ยละ 90 รายละเอียดดังตารางท่ี 10
ตารางที่ 10 จาํ นวนและร้อยละของนักศึกษาใหม่ ปีการศกึ ษา 2563 จาํ แนกตามสัญชาติ และระดบั การศึกษา

2.1.4 สถานภาพสมรส
นกั ศึกษาใหม่ ปกี ารศึกษา 2563 ร้อยละ 97.3 มสี ถานภาพโสด รองลงมา คือ สมรสแล้ว ร้อยละ
2.6 และหม้าย/หย่าร้าง ร้อยละ 0.1 ตามลําดับ เม่ือพิจารณาตามระดับการศึกษา พบว่า นักศึกษาระดับ
ปริญญาโท และระดับปริญญาเอก สถานภาพโสด ร้อยละ 100 ส่วนใหญ่นักศึกษาระดับปริญญาตรีมี
สถานภาพโสด รอ้ ยละ 97.1 รายละเอียดดังตารางที่ 11

นักศกึ ษาใหม่ 2563

13
ตารางท่ี 11 จาํ นวนและร้อยละของนกั ศกึ ษาใหม่ ปกี ารศึกษา 2563 จําแนกตามสถานภาพสมรส

และระดับการศกึ ษา

2.1.5 อายุ
นักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 โดยส่วนใหญ่อายุของนักศึกษาใหม่ ระดับปริญญาตรี
มอี ายุ 19 ปี ร้อยละ 64.0 ส่วนระดับปริญญาโท มอี ายุระหวา่ ง 23-30 ปี ร้อยละ 55.2 ในขณะท่รี ะดับปริญญา
เอก มีอายุ 30 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 92.9 เมื่อพิจารณาอายุเฉล่ียตามระดับการศึกษา พบว่า นักศึกษาใหม่ระดับ
ปริญญาตรี มีอายุเฉลี่ย 19 ปี ระดับปริญญาโท มีอายุเฉล่ีย 30 ปี และระดับปริญญาเอก มีอายุเฉล่ีย 38 ปี
รายละเอียดดังตารางท่ี 12
ตารางที่ 12 จํานวนและร้อยละของนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จําแนกตามกลุ่มอายุ และ
ระดับการศกึ ษา

นกั ศึกษาใหม่ 2563

14
2.1.6 ภูมลิ าํ เนา (ภาค)
นักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 ส่วนใหญม่ ภี ูมลิ าํ เนาในภาคใต้ ร้อยละ 95.0 รองลงมา คอื ภาค
กลาง ร้อยละ 2.5 ส่วนภาคอื่นๆ ไม่ถึงร้อยละ 1 เม่ือพิจารณาตามระดับการศึกษา พบว่า ทุกระดับการศึกษา
นักศึกษาใหม่มีภูมิลําเนาอยู่ในภาคใต้เป็นส่วนใหญ่ โดยระดับปริญญาตรี มีภูมิลําเนาในภาคใต้ ร้อยละ 97.0
ระดับปริญญาโท ร้อยละ 75.0 และระดบั ปริญญาเอก ร้อยละ 71.4 รายละเอียดดงั ตารางท่ี 13
ตารางที่ 13 จํานวนและร้อยละของนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จําแนกตามภูมิลําเนา (ภาค) และระดับ
การศึกษา

2.1.7 ภูมลิ ําเนา (5 จังหวัดชายแดนภาคใต้)
ปีการศึกษา 2563 จํานวนนักศึกษาใหม่ที่มีภูมิลาํ เนาใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบด้วย
จังหวัดนราธิวาส ปัตตานี ยะลา สงขลา และสตูล มีท้ังสิ้น 1,730 คน คิดเป็นร้อยละ 82.8 จากนักศึกษาใหม่
ท้ังหมด 2,090 คน โดยมีภูมิลําเนาในจังหวัดปัตตานีมากที่สุด ร้อยละ 34.7 รองลงมา คือ นราธิวาส ยะลา
สงขลา และสตูล คิดเปน็ ร้อยละ 14.2, 14.0, 13.8 และ 6.0 ตามลําดับ
เม่ือพิจารณาตามระดับการศึกษา พบว่า นักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรีมีภูมิลําเนาใน 5 จังหวัด
ชายแดนภาคใต้ ร้อยละ 84.4 ระดับปรญิ ญาโท รอ้ ยละ 66.3 และระดับปริญญาเอก รอ้ ยละ 64.3 รายละเอยี ด
ดงั ตารางที่ 14

นกั ศึกษาใหม่ 2563

15
ตารางที่ 14 จํานวนและร้อยละของนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จําแนกตามภูมลิ ําเนา

(5 จงั หวดั ชายแดนภาคใต)้ และระดับการศึกษา

ตอนที่ 2.2 ขอ้ มลู ด้านการศึกษาและการสอบเขา้ มหาวทิ ยาลยั
2.2.1 ประเภทของโรงเรียน/สถาบัน
ปีการศึกษา 2563 นักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรีจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 จาก

โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามมากท่ีสุด ร้อยละ 56.6 รองลงมา คือ โรงเรียนมัธยมสามัญ ร้อยละ 29.8
และเอกชนสามัญ ร้อยละ 2.1 ตามลําดับ ส่วนระดับปริญญาโท และปริญญาเอก จบการศึกษาระดับปริญญา
ตรีจากมหาวิทยาลยั ของรัฐเปน็ สว่ นใหญ่ รายละเอียดดงั ตารางที่ 15
ตารางที่ 15 จาํ นวนและร้อยละของนกั ศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จําแนกตามประเภทของโรงเรียน

สถาบัน และระดับการศกึ ษา

นักศึกษาใหม่ 2563

16
2.2.2 ผลการเรียนเฉลย่ี สะสม

นักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 โดยรวมมีผลการเรียนเฉล่ียสะสมอยู่ในช่วง 3.01-3.50
มากที่สุด ร้อยละ 35.1 รองลงมา คือ อยู่ในช่วง 2.51-3.00 ร้อยละ 28.7 และผลการเรยี นเฉล่ียสะสม 3.50 ขน้ึ
ไป ร้อยละ 22.9 ตามลําดับ เม่ือพิจารณาตามระดับการศึกษา พบว่า นักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี
มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสมอยู่ในช่วง 3.01-3.50 มากท่ีสุด ร้อยละ 35.2 ระดับปริญญาโท มีผลการเรียนเฉลี่ย
สะสมอยใู่ นช่วง 3.01-3.50 รอ้ ยละ 34.3 และระดับปรญิ ญาเอก มผี ลการเรยี นเฉล่ยี สะสม 3.50 ข้ึนไป ร้อยละ
57.1 โดยรวมนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสมเฉล่ีย 3.13 ระดับปริญญาโท มีผลการ
เรยี นสะสมเฉล่ยี 3.57 และระดบั ปริญญาเอก มผี ลการเรยี นเฉลีย่ สะสมเฉล่ีย 3.69 รายละเอียดดงั ตารางท่ี 16
ตารางท่ี 16 จํานวนและร้อยละของนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จําแนกตามผลการเรียนเฉลี่ยสะสม

และระดบั การศึกษา

2.2.3 วธิ กี ารสอบเขา้ มหาวิทยาลยั
ปีการศึกษา 2563 นักศกึ ษาใหม่ระดับปริญญาตรสี ่วนใหญ่ สอบเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย ใน
รอบที่ 4 มากท่ีสุด ร้อยละ 28.4 รองลงมา คือ รอบที่ 1 ร้อยละ 17.8 และรอบท่ี 5 ร้อยละ 15.1 ตามลําดับ
รายละเอยี ดดังตารางท่ี 17

นักศกึ ษาใหม่ 2563

17
ตารางท่ี 17 จาํ นวนและร้อยละของนกั ศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จาํ แนกตามรอบการรับ

เขา้ มหาวทิ ยาลยั และระดับการศึกษา

ตอนที่ 2.3 ขอ้ มลู ด้านครอบครัว
2.3.1 รายจา่ ยตอ่ เดอื นของนกั ศึกษา
นักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 โดยรวมมีรายจ่ายต่อเดือนอยู่ในช่วง 1,000-3,000 บาท

มากที่สุด ร้อยละ 60.6 รองลงมา คือ รายจ่ายต่อเดือนอยู่ในช่วง 3,001-5,000 บาท ร้อยละ 16.7 และ
รายจ่ายต่อเดือนน้อยกว่า 1,000 บาท ร้อยละ 11.0 ตามลําดับ เม่ือพิจารณารายจ่ายต่อเดือนของนักศึกษาใน
แต่ละระดับการศึกษา พบว่า นักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี มีรายจ่ายเฉล่ียต่อเดือนเฉลี่ยเท่ากับ 3,664 บาท
ระดับปริญญาโท มีรายจ่ายเฉล่ียต่อเดือนเฉล่ียเท่ากับ 3,278 บาท และระดับปริญญาเอก มีรายจ่ายเฉลี่ยต่อ
เดอื นเฉลีย่ เทา่ กับ 2,093 บาท รายละเอียดดงั ตารางที่ 18
ตารางท่ี 18 จํานวนและร้อยละของนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จําแนกตามรายจ่ายต่อเดือน และ

ระดับการศกึ ษา

นักศกึ ษาใหม่ 2563

18
2.3.2 สถานภาพสมรสของบดิ าและมารดา
สถานภาพสมรสของบิดาและมารดาของนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 ทุกระดับการศึกษา
ส่วนใหญ่บิดาและมารดาอยู่ด้วยกัน มากที่สุด ร้อยละ 74.6 รองลงมา คือ บิดาถึงแก่กรรม ร้อยละ 10.0 และ
บดิ ามารดาหยา่ รา้ งกัน ร้อยละ 8.0 ตามลาํ ดับ รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 19
ตารางที่ 19 จํานวนและร้อยละของนกั ศกึ ษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จําแนกตามสถานภาพสมรสของบดิ าและ
มารดา และระดบั การศึกษา

2.3.3 อายุของบิดา
อายุบิดาของนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 ส่วนใหญ่บิดามีอายุระหว่าง 50-59 ปี มากท่ีสุด

ร้อยละ 39.7 รองลงมา คือ มีอายุระหว่าง 40-49 ปี ร้อยละ 31.7 และมีอายุ 60 ปี ข้ึนไป ร้อยละ 16.7
ตามลําดบั

เมื่อพิจารณาอายุเฉล่ียของบิดาตามระดับการศึกษา พบว่า ระดับปริญญาตรี บิดามีอายุเฉลี่ย
52 ปี ระดับปริญญาโท บิดามีอายุเฉล่ีย 62 ปี และระดับปริญญาเอก บิดามีอายุเฉลี่ย 69 ปี รายละเอียดดัง
ตารางที่ 20

นกั ศกึ ษาใหม่ 2563

19
ตารางที่ 20 จํานวนและร้อยละของนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จําแนกตามอายุของบิดา และ

ระดับการศึกษา

2.3.4 อายขุ องมารดา
อายขุ องมารดาของนักศึกษาใหม่ ปกี ารศึกษา 2563 โดยรวมทกุ ระดับการศึกษาส่วนใหญม่ ารดา
มีอายุระหว่าง 40-49 ปี ร้อยละ 50.1 รองลงมา คือ มีอายุระหว่าง 50-59 ปี ร้อยละ 32.3 และมีอายุน้อยกว่า
40 ปี รอ้ ยละ 6.2 ตามลาํ ดับ
เมื่อพิจารณาอายุเฉลี่ยของมารดาตามระดับการศึกษา พบว่า ระดับปริญญาตรี มารดามีอายุ
เฉลี่ย 48 ปี ระดับปริญญาโท มารดามีอายุเฉลี่ย 56 ปี และระดับปริญญาเอก มารดามีอายุเฉล่ีย 66 ปี
รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 21
ตารางท่ี 21 จํานวนและรอ้ ยละของนกั ศึกษาใหม่ ปกี ารศึกษา 2563 จําแนกตามอายุของมารดา
และระดบั การศกึ ษา

นักศกึ ษาใหม่ 2563

20
2.3.5 วุฒิการศึกษาสูงสดุ ของบดิ า

บิดาของนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 มีวุฒิการศึกษาสูงสุดในระดับประถมศึกษามาก
ท่ีสุด ร้อยละ 37.2 รองลงมา คือ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 18.0
และร้อยละ 11.9 ตามลําดับ เม่ือพิจารณาตามระดับการศึกษา พบว่า ทุกระดับการศึกษา ส่วนใหญ่บิดา มีวุฒิ
การศึกษาในระดบั ประถมศกึ ษามากทส่ี ดุ รายละเอยี ดดังตารางท่ี 22
ตารางท่ี 22 จํานวนและร้อยละของนกั ศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จาํ แนกตามวุฒิการศกึ ษาสงู สดุ

ของบิดา และระดบั การศึกษา

2.3.6 วุฒิการศกึ ษาสงู สดุ ของมารดา
มารดาของนักศกึ ษาใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2563 มีวฒุ กิ ารศึกษาสงู สุดในระดับประถมศึกษามากท่ีสุด
ร้อยละ 39.8 รองลงมา คือ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย และระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น รอ้ ยละ 19.5 และร้อย
ละ 13.5 ตามลําดับ เมื่อพจิ ารณาตามระดับการศกึ ษา พบวา่ ทกุ ระดับการศกึ ษา ส่วนใหญม่ ารดาวุฒกิ ารศึกษา
ในระดับประถมศกึ ษามากท่สี ุด รายละเอียดดงั ตารางที่ 23

นกั ศกึ ษาใหม่ 2563

21
ตารางที่ 23 จํานวนและรอ้ ยละของนกั ศึกษาใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2563 จําแนกตามวฒุ ิการศกึ ษาสงู สดุ ของ

มารดา และระดบั การศกึ ษา

2.3.7 อาชพี ของบิดา
บิดาของนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 โดยรวมประกอบอาชีพเกษตรกรมากท่ีสุด ร้อยละ
23.6 รองลงมา คือ ประกอบอาชีพรับจ้าง ร้อยละ 19.9 และข้าราชการ เจ้าหน้าที่ของรัฐ ร้อยละ 14.1
ตามลําดับ เม่ือพิจารณาตามระดับการศึกษา พบว่า ทุกระดับการศึกษามบี ิดาประกอบอาชีพเกษตรกรรม มาก
ทส่ี ุด รายละเอียดดงั ตารางที่ 24
ตารางที่ 24 จํานวนและร้อยละของนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จําแนกตามอาชีพของบิดา และ
ระดบั การศกึ ษา

นักศึกษาใหม่ 2563

22
2.3.8 อาชีพของมารดา
มารดาของนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพค้าขาย ร้อยละ 23.5 รองลงมา
คือ ประกอบอาชีพเกษตรกร ร้อยละ 19.5 และเป็นแมบ่ ้าน/วา่ งงาน รอ้ ยละ 17.8 ตามลาํ ดบั
เมื่อพิจารณาตามระดับการศึกษา พบว่า ระดับปริญญาตรี ส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพค้าขาย มาก
ที่สุด ร้อยละ 24.2 ร้อยละ 28.7 และ ร้อยละ 25.9 ส่วนระดับปริญญาโทและปริญญาเอกน้ัน มารดาส่วนใหญ่
ประกอบอาชีพเกษตรกร ร้อยละ 22.1 และ 28.6 ตามลําดับ รายละเอยี ดดังตารางที่ 25
ตารางที่ 25 จํานวนและร้อยละของนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2562 จําแนกตามอาชีพของมารดา และ

ระดับการศึกษา

2.3.9 รายไดต้ อ่ เดือนของบดิ า
รายได้ต่อเดือนของบิดานักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 พบว่า บิดามีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,084 บาท
ส่วนใหญ่มีรายได้อยู่ระหว่าง 5,000-10,000 บาท ร้อยละ 42.2 รองลงมา คือ รายได้น้อยกว่า 5,000 ร้อยละ
12.8 และรายได้ 20,000 บาท ข้ึนไป ร้อยละ 12.4ตามลาํ ดบั
เมื่อพิจารณารายได้เฉลี่ยต่อเดือนของบิดาตามระดับการศึกษา พบว่า นักศึกษาระดับปริญญาตรี
และระดับปริญญาเอก ส่วนใหญ่บิดามีรายได้อยู่ในช่วง 5,000–10,000 บาทมากที่สุด โดยที่รายได้เฉล่ียของ
บิดาของนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาเอก เฉลี่ยเท่ากับ 14,438 บาท 9,278 บาท
ตามลาํ ดบั สาํ หรับนักศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี มีรายไดเ้ ฉลยี่ 24,620 บาท รายละเอียดดงั ตารางท่ี 26

นกั ศึกษาใหม่ 2563

23
ตารางท่ี 26 จํานวนและร้อยละของนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จําแนกตามรายได้ต่อเดือนของบิดา และ

ระดบั การศกึ ษา

2.3.10 รายได้ต่อเดือนของมารดา
รายได้ต่อเดือนของมารดานักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 พบว่า มารดามีรายได้เฉล่ียต่อเดือน

12,739 บาท ส่วนใหญ่มีรายได้อยู่ในช่วง 5,000-10,000 บาท ร้อยละ 31.5 รองลงมา คือ รายได้น้อยกว่า
5,000 บาท ร้อยละ 28.1 และ รายได้ 20,000 ขึ้นไป รอ้ ยละ 10.6 ตามลาํ ดบั

เม่ือพิจารณารายได้เฉล่ียต่อเดือนของมารดาตามระดับการศึกษา พบว่า นักศึกษาระดับปริญญา
ตรี ส่วนใหญ่ มารดามีรายได้อยู่ในช่วง 5,000–10,000 บาทมากที่สุด และระดับปริญญาโท มารดามีรายได้อยู่
ในช่วง 20,000 บาทขนึ้ ไป เป็นส่วนใหญ่ โดยท่ีรายได้เฉล่ียของมารดาของนักศกึ ษาใหม่ระดับปรญิ ญาตรี ระดับ
ปริญญาโท และระดับปริญญาเอก เฉลี่ยเท่ากับ 11,924 บาท 22,263 บาท และ 10,812บาท ตามลําดับ
รายละเอยี ดดังตารางท่ี 27
ตารางท่ี 27 จํานวนและร้อยละของนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จําแนกตามรายได้ต่อเดือนของมารดา และ

ระดบั การศึกษา

นกั ศกึ ษาใหม่ 2563

24
2.3.11 สถานะของผ้ปู กครอง
นักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 ส่วนใหญ่ผู้ปกครองมีสถานะเป็นบิดาและมารดา ร้อยละ 52.2
รองลงมา คอื มารดา/มารดาบญุ ธรรม ร้อยละ 26.8 และบดิ า ร้อยละ 13.7 ตามลาํ ดับ
เม่ือพิจารณาสถานะของผู้ปกครองตามระดับการศึกษา พบว่า ระดับปริญญาตรี และระดับ
ปริญญาโท นักศึกษาใหม่ส่วนใหญ่ ผู้ปกครองมีสถานะเป็นบิดามาดา ร้อยละ 53.8 และ ร้อยละ 36.6 ส่วน
ปริญญาเอก นักศกึ ษาใหมส่ ่วนใหญ่ จะเปน็ ผู้ปกครองเอง รอ้ ยละ 42.9 รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 28
ตารางท่ี 28 จํานวนและร้อยละของนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 จําแนกตามสถานะของผู้ปกครอง และ
ระดบั การศกึ ษา

นักศกึ ษาใหม่ 2563

ภาคผนวก

นักศึกษาใหม่ 2563

ตารางท่ี 29 จาํ นวนและรอ้ ยละของนกั ศกึ ษาใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2563 จาํ แนกตามเพศและ

ะศาสนา

27

 

ตารางท่ี 29 จาํ นวนและร้อยละของนกั ศกึ ษาใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2563 จําแนกตามเพศและ

7
ะศาสนา (ตอ่ )

28

 

ตารางท่ี 29 จาํ นวนและร้อยละของนกั ศกึ ษาใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2563 จําแนกตามเพศและ

8
ะศาสนา (ตอ่ )

29

 

ตารางท่ี 29 จาํ นวนและร้อยละของนกั ศกึ ษาใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2563 จําแนกตามเพศและ

9
ะศาสนา (ตอ่ )

30

 

ตารางท่ี 29 จาํ นวนและร้อยละของนกั ศกึ ษาใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2563 จําแนกตามเพศและ

0
ะศาสนา (ตอ่ )

31

 

ตารางท่ี 29 จาํ นวนและร้อยละของนกั ศกึ ษาใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2563 จําแนกตามเพศและ

1
ะศาสนา (ตอ่ )

32

 

ตารางท่ี 29 จาํ นวนและร้อยละของนกั ศกึ ษาใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2563 จําแนกตามเพศและ

2
ะศาสนา (ตอ่ )

33

 

ตารางท่ี 30 จาํ นวนและร้อยละของนกั ศึกษาใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2563 จําแนกตามสญั ชาติแ


Click to View FlipBook Version