The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือฝึกอบรมหลักสูตรแนวทางการเป็นพี่เลี้ยง Vision Zero

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chalikor Pasertadisor, 2022-04-06 02:58:56

คู่มือฝึกอบรมหลักสูตรแนวทางการเป็นพี่เลี้ยง Vision Zero

คู่มือฝึกอบรมหลักสูตรแนวทางการเป็นพี่เลี้ยง Vision Zero

เกยี่ วกับหนงั สือ

ช่ือหนังสอื : คมู ือการฝกอบรม หลักสตู รแนวทางการเปน พี่เลย้ี ง VISION ZERO
(VISION ZERO MENTOR GUIDELINES)

เจา ของลิขสทิ ธ์ิ : สมาคมสง เสริมความปลอดภยั และอนามัยในการทำงาน (ประเทศไทย) ในพระราชปู ถัมภ ฯ
141 ถนนบรมราชชนนี แขวงฉิมพลี เขตตล่งิ ชนั กรุงเทพฯ 10170

เลขมาตรฐานสากล สำนกั หอสมุดแหงชาติ : ISBN 978-616-8306-01-7

จดั ทำโดย : สมาคมสงเสริมความปลอดภยั และอนามยั ในการทำงาน (ประเทศไทย) ในพระราชูปถัมภ ฯ

ทีป่ รกึ ษา : นางสาวนิลวดี เลยี งสนุ ทรสทิ ธิ์

บรรณาธกิ าร : ฝา ยบริหารโครงการพิเศษ เครอื ขาย และสมาชิกสัมพันธ
นางสาวพรทพิ ย สขุ พลาย
นางสาวธนภรณ ทะศรแี กว
นางสาวนฤมล กลนิ่ ดวง
นางสาวซินด้ี วี พุฒทาจู

พิมพที่ : โรงพมิ พ วีแคนดู
ตดิ ตอ /รายละเอียดเพ่ิมเติม: สมาคมสงเสรมิ ความปลอดภัยและอนามยั ในการทำงาน (ประเทศไทย)

ในพระราชูปถมั ภ ฯ โทรศัพท 02-884-1852 ตอ 313, 314
E-mail : [email protected]

สารบัญ

หนา้

หลกั สูตรที่ 1: VISION ZERO สำหรบั พเ่ี ล้ยี ง (INTRODUCTION TO VISION ZERO FOR MENTOR)

VISION ZERO 1

จุดเร่ิมตน้ ของวิสัยทศั น์ของอุบตั เิ หตุเป็นศนู ย์และอันตรายเปน็ ศูนย์ 2

VISION ZERO หมายถึง 2

หลัก 4 ประการ ของ VISION ZERO (THE FOUR PRINCIPLES OF VISION ZERO) 3

การแพร่หลายของ VISION ZERO 5

VISION ZERO อุบัติเหตเุ ป็นศนู ย์ - การทำงานอยา่ งมีสุขอนามัยที่ดี กลยุทธข์ ององค์กร 7

เป้าหมาย 7 ประการของ VISION ZERO 8

คูม่ อื VISION ZERO แนะนำกฎทอง 7 ประการ สำหรบั การนำไปดำเนนิ การในสถานทท่ี ำงาน 11

ทิศทางทีเ่ รากำลงั จะไป 15

หลกั สูตรที่ 2: กฎทอง 7 ประการ สำหรับพเ่ี ล้ียง (7 GOLDEN RULES FOR MENTOR) 17
ผู้นำ (LEADER) 18
ภาวะผนู้ ำ (LEADERSHIP) 20
แนวปฏบิ ัติ VISION ZERO 20
การใช้แนวปฏิบัติตามรปู แบบกฎทอง 7 ประการ 21
กฎทองขอ้ ที่ 1-7

หลักสตู รที่ 3: แบบประเมินตนเอง 110 ข้อ สำหรับพ่ีเลย้ี ง (ASSESSMENT 110 FOR MENTOR) 63
การใช้คู่มือ 63
วิธกี ารประเมนิ กฎทอง 7 ประการ 64
กฎทองขอ้ ท่ี 1 -7 97
แนวทางการตรวจประเมิน

หลกั สูตรที่ 4: 14 ตวั ชีว้ ัดนำเชิงรุก ระดับเบื้องต้น สำหรับพเี่ ล้ยี ง 111
(INTRODUCTION TO 14 PROACTIVE LEADING INDICATORS FOR MENTOR) 113
ความเปน็ มา VISION ZERO 115
ความปลอดภัย สุขภาพ และความผาสุก (Safety, Health and Wellbeing) 116
ความผาสกุ (Wellbeing) 117
กฎทอง 7 ประการสำหรับ VISION ZERO (The 7 Golden Rules for VISION ZERO)
118
ตัวชวี้ ดั นำ และตวั ชวี้ ัดตาม คอื อะไร (What are leading indicators and lagging indicators?)

ทำไมตัวช้วี ดั นำเชิงรกุ จึงนำมาใชส้ ำหรบั VISION ZERO

(Why progressive leading indicators for VISION ZERO?)

หลักสูตรที่ 5: แนวทางการเป็นพ่ีเล้ียง VISION ZERO (VISION ZERO FOR MENTOR) 120
ความปลอดภัยและสุขภาพต้องการภาวะผ้นู ำ 123
ตอนที่ 1 - ก่อนเร่มิ การอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร (workshop) 125
ตอนท่ี 2 - ระหว่างการทำการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร (workshop)
ตอนที่ 3 - ระหว่างการทำ workshop กลยุทธ์ Vision Zero (กฎทอง 7 ประการ) 140
(Vision Zero_7 Golden Rules)

หลักสตู รที่1: VISIONZERO สำหรบั พ่ีเลยี้ ง
(INTRODUCTION TO VISION ZERO FOR MENTOR)

สภาพการทำงานที่ปลอดภัย และการมีสุขภาพดีของผู้ปฏิบัติงาน ไม่เพียงแต่เป็นเรื่องที่ต้องปฏิบัติ
ตามกฎหมายและจริยธรรมเท่าน้ัน แต่ส่งผลถึงด้านเศรษฐกิจด้วย จากผลการวิจัยระดับนานาชาติ เกี่ยวกับ
ผลตอบแทนที่ได้จากการลงทุนเชิงป้องกันอุบัติเหตุ พิสูจน์ให้เห็นว่า เงินที่ลงทุนในด้านความปลอดภัย
และสุขภาพทุก ๆ หนึ่งดอลลาร์ ได้รับผลตอบแทนมากกว่าสองดอลลาร์ ซึ่งส่งผลกระทบต่อธุรกิจในด้าน
บวก สภาพการทำงานที่ดีมีส่วนช่วยให้ธุรกิจดีด้วย แนวคิด VISION ZERO ของ ISSA มีความยืดหยุ่นและ
สามารถปรับเปล่ียนเพื่อนำไปใช้ให้เหมาะสมกับลกั ษณะและความสำคัญของงานความปลอดภัย สุขอนามัย
และความผาสุก เฉพาะสำหรับแต่ละบริบทขององค์กรน้ัน ๆ ความยืดหย่นุ ในการนำ VISION ZERO ไปปรับ
ใชง้ าน จึงเป็นประโยชน์ตอ่ สถานประกอบกิจการต่าง ๆ วสิ าหกิจ หรืออตุ สาหกรรมในทกุ ภมู ภิ าคของโลก

VISION ZERO (วิสัยทศั น์ความปลอดภัย)

VISION ZERO ในการทำงาน ต้ังบนสมมตฐิ านวา่ อบุ ัตเิ หตุ อันตราย และสุขภาพทีไ่ ม่ดจี ากการทำงาน
ท้ังหมดสามารถป้องกันได้ VISION ZERO คือความใฝฝ่ ัน และความม่งุ ม่ันท่ีจะสร้างและทำให้มั่นใจว่างานที่
ทำนั้นปลอดภัย และมีสุขภาวะที่ดี โดยการป้องกันอุบัติเหตุ อันตราย และโรคที่เกี่ยวเนื่องจากการทำงาน
พร้อมทั้งส่งเสริมความเป็นเลิศอย่างต่อเนื่องในด้านความปลอดภัย สุขภาพ และความผาสุก ทั้งนี้ควรทำ
ความเข้าใจว่า VISION ZERO เป็นการเดินทาง เป็นกระบวนการไปสู่อุดมคติ นอกจากนี้ยังเป็นวิสัยทัศน์ที่
องิ คณุ คา่ ซึ่งหมายความว่า งานไมค่ วรส่งผลเสียตอ่ ความปลอดภยั สขุ ภาพ และความผาสุก ของผู้ปฏบิ ตั ิงาน
และถ้าเป็นไปได้ ควรช่วยเหลือพวกเขาธำรงรักษา หรือปรับปรุงความปลอดภัย สุขภาพ และความผาสุก
ของพวกเขา และพฒั นาใหเ้ ขามคี วามมัน่ ใจในตนเอง มีความสามารถ และใหไ้ ด้รบั การจา้ งงาน

องค์กรสามารถมุ่งมั่นต่อ VISION ZERO ในระดบั ใด ๆ ของประสิทธภิ าพดา้ นความปลอดภัย สุขภาพ
และความผาสุกก็ได้ ความมุ่งมั่นอย่างจริงจังต่อ VISION ZERO สามารถทำให้เกิดการริเริ่มและรักษา
กระบวนการ และการสนับสนุนทางสังคมที่จำเป็นสำหรับการเดินทางของ VISION ZERO ได้ VISION ZERO ไม่ใช่
สิ่งที่คุณมีหรือบรรลุแต่เป็นสิ่งที่คุณต้องทำ VISION ZERO ไม่ใช่สำหรับองค์กรที่ดีที่สุด หรือองค์กรขนาด
ใหญ่ที่มีผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัย สุขภาพ และความผาสุก เป็นของตนเองเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับ
องค์กรขนาดเล็กที่ไม่มีประสบการณ์มากนักในการบูรณาการความปลอดภัย สุขภาพ และความผาสุก ให้
เป็นส่วนหนงึ่ ของกลยุทธท์ างธรุ กจิ

สิ่งสำคัญคือต้องตระหนักว่า วิสัยทัศน์ (ความคิด จินตภาพที่สดใสว่าอนาคตจะเป็นอย่างไร หรือเป็น
เช่นไร) หมายถึง ความใฝ่ฝันในระยะยาว มันไม่ได้หมายความว่าเป้าหมายจะต้องเป็น ‘ศูนย์’ หรือควรจะ
เป็น ‘ศูนย์’ แต่เป็นความทะเยอทะยานบนพื้นฐานของความเข้าใจวา่ อุบัติเหตุ อันตราย และสุขภาพที่ไมด่ ี
จากการทำงาน สามารถป้องกันได้โดยการออกแบบ การวางแผน การกำหนดขั้นตอน และการปฏิบัติท่ี
เหมาะสม และทนั ทว่ งที

1

จดุ เรมิ่ ตน้ ของวิสัยทศั นข์ องอุบตั เิ หตุเป็นศูนย์และอนั ตรายเป็นศูนย์

ในปี ค.ศ.1799 Eleuthere Irenee Du Pont de Nemours หรอื ชอื่ ที่รู้จกั กันวา่ ดปู องต์ (ค.ศ.1771
- 2377) ได้ออกเดินทางไปยังสหรัฐอเมริกา โดยได้ตั้งรกรากอยู่ในเมืองวิลมิงตัน รัฐเดลาแวร์
ซึ่งไม่ไกลจากเมืองฟิลาเดลเฟีย ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1802 ได้ลงทุน 36,000 ดอลลาร์ เพื่อตั้งโรงงาน
ดินปืนบนฝั่งของแม่น้ำแบรนดีไวน์ ได้จ้างพนักงาน 18 คน ดินปืนของดูปองต์ถูกใช้เพื่อระเบิดทางสำหรับ
สร้างถนนและทางรถไฟ และมีบทบาทสำคัญอย่างรวดเร็วในการจัดตั้ง และการขยายตัวของชาติใหม่
ในไม่ช้าดูปองต์ก็พบด้วยตัวเองว่า การผลิตดินปืนไม่ใช่กิจกรรมที่ปลอดภัยที่สุด ในวันที่ 19 มีนาคม
ค.ศ.1818 เกิดการระเบิดซึ่งได้สร้างความเสียหายต่อการผลิตดินปืนเป็นอย่างมาก คนงาน 36 คนเสียชีวิต
รวมถึงเพื่อนของดูปองต์ด้วย การดำรงอยู่ของโรงงานของเขาตกอยู่ในอันตราย โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากการ
ประท้วงอย่างอื้ออึงของคนเก่าแก่ และชาวเมืองในวิลมิงตัน การที่พวกเขาไม่อาจทนกับโรงงานที่เป็น
อันตรายไดก้ ลายเป็นหนึ่งในความคดิ ริเรม่ิ ครง้ั แรกของชาวเมือง

จากผลกระทบที่เกิดตามมาของอบุ ตั ิเหตุ ดปู องต์ได้กำหนดปรัชญาความปลอดภยั ขึ้นมาใหม่ซึ่งเป็นสิ่ง
ท่ีเรยี กว่าวัฒนธรรมองค์กรของเขา เขายืนยนั วา่ ตัวเขาเองและผู้จัดการฝ่ายผลติ ต้องพักอาศัยอยู่ในพื้นท่ีของ
บริษัทใกล้กับโรงงานผลิตดินปืน ซึ่งดูเหมือนว่าจะเป็นมาตรการที่รุนแรงหากนำมาใช้ในทุกวันนี้ แต่มันก็มี
ประสิทธภิ าพเพียงพอ เพราะตอนน้ีพวกเขาไดร้ ับผลกระทบโดยตรงอย่างแน่นอน จึงทำให้พวกเขาตระหนัก
ถึงความรับผิดชอบต่อความปลอดภัยของโรงงาน นอกจากนี้เขายังวางกฎระเบียบด้านความปลอดภัยฉบับ
แรกและลงทุนในผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยกว่า และเทคโนโลยีการผลิตที่ปลอดภัย นี่คือเหตุผลที่ถือได้ว่า
ดูปองต์เป็นบิดาแห่งปรัชญาความปลอดภัยที่ลายความคิดแบบเดิมลง ซึ่งปัจจุบันเรารู้จักในชื่อกลยุทธ์
VISION ZERO

VISION ZERO หมายถึง

VISION ZERO ไมใ่ ช่อะไรอน่ื ไกล แตเ่ ปน็ เรือ่ งเก่ียวกับชีวติ และสุขภาพของเรา ซึ่งถือว่าเป็นทรัพย์สิน
ที่มีค่ามากที่สุดของเรา แต่ไม่เพียงแค่น้ัน มันยังเกี่ยวกับความสำเร็จขององค์กร การผลิตที่มีประสิทธิภาพ
และพนักงานที่มีแรงบันดาลใจ และมีประสิทธิผล แม้ว่าบางครั้งจะเรียกว่า วิสัยทัศน์ หรือ ปรัชญา
VISION ZERO เป็นกลยุทธ์สำหรับการป้องกันที่มีประสิทธิภาพมากที่ขึ้นอยู่กับผลลัพธ์และโดดเด่นด้วย
คุณค่า กลยุทธ์นี้ซึ่งกลายเป็นที่รู้จักในนาม VISION ZERO ในช่วงไม่กี่ทศวรรษท่ีผ่านมา มีต้นกำเนิดในทวีป
ต่าง ๆ และในยุคตา่ ง ๆ แต่อย่างที่เราเหน็ ในท้ายทสี่ ุด VISION ZERO กถ็ กู นำกลบั ไปใช้ท่อี ตุ สาหกรรมเคมี

ความเชื่อที่ว่าทุก ๆ อุบัติเหตุสามารถป้องกันได้นั้น ได้ถูกพิสูจน์แล้วว่าเป็นตัวขับเคลื่อนที่มี
ประสิทธิภาพ และเป็นการสร้างแรงจูงใจสำหรับการป้องกันนับตั้งแต่ต้นกำเนิดที่บริษัทดูปองต์ แม้แต่ใน
วันนี้ บริษัทดูปองต์ยังคงถือว่าเป็นผู้นำระดับโลกในการดูแลสุขภาพ และความปลอดภัยของพนักงาน หน่ึง
ในความสำคญั ของวฒั นธรรมความปลอดภัยน้ี คือไดส้ ร้างสภาพการทำงานทผี่ คู้ นสามารถทำผิดพลาดได้โดย
ไมต่ ้องเส่ียงตอ่ การบาดเจบ็ หรอื เสียชวี ติ VISION ZERO จึงตัง้ อย่บู นหลกั การ 4 ประการ

2

หลกั 4 ประการ ของ Vision Zero (THE FOUR PRINCIPLES OF VISION ZERO)

หลกั การข้อที่ 1 ชีวติ ไม่สามารถต่อรองได้ (The first principle: Life is not negotiable.)

ไม่มีสิ่งใดสำคัญและมีคุณค่ามากกว่าชีวิตมนษุ ย์ สิทธิในการมีชีวิตและความสมบูรณ์ทางรา่ งกายเป็น
หลักพื้นฐานสำคัญของกฎหมายของทกุ ประเทศ และ VISION ZERO เป็นสิ่งที่ไม่ต้องลงทุนมาก แต่ก่อนอ่ืน
ต้องมาดูว่าเรายืนอยู่ที่ใดของสิทธิขั้นพื้นฐานนี้ ประเทศไทยมีประชากรที่เป็นผู้อยู่ในกำลังแรงงานหรือผู้ท่ี
พร้อมจะทำงานจำนวน 38.41 ล้านคน ประกอบด้วยผู้มีงานทำ 33.63 ล้านคน จากรายงานของกลุ่มงาน
พัฒนามาตรฐานระบบเงินทดแทนในปี พ.ศ. 2563 สำนักประกันสังคมมีผู้ประกันตนที่อยู่ในระบบจำนวน
11,055,513 คน มีสถานประกอบกิจการจำนวน 485,053 แห่ง มีอุบัติเหตุเนื่องมาจากการทำงาน จำนวน
85,561 ราย เป็นอุบัติเหตุขั้นเสียชีวิต 589 ราย ทุพพลภาพ 14 ราย สูญเสียอวัยวะบางส่วน 1,000 ราย
ร้ายแรงซึ่งส่งผลให้หยุดงานมากกว่า 3 วัน 25,695 ราย และหยุดงานไม่เกิน 3 วัน 58,623 ราย สำหรับ
อุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทยถึงวันที่ 14 ธันวาคม 2563 มีจำนวน 753,823 ครั้ง มีผู้เสียชีวิตจำนวน
6,946 ราย บาดเจบ็ จำนวน 744,568 ราย และทพุ พลภาพ จำนวน 2,309 ราย

ในระดับนานาชาติ องค์กรแรงงานระหว่างประเทศ หรือ ILO ประมาณการว่ามีอุบัติเหตุร้ายแรงถึง
ชวี ิต ประมาณ 360,000 ราย และมากกวา่ 19.5 ล้านราย เสยี ชวี ิตจากโรคท่เี กดิ เนื่องมาจากสภาพแวดล้อม
การทำงานที่ไม่ดี มีการสัมผัสสารก่อมะเร็งหรือไม่ก็สารที่เป็นอันตราย ดังนั้นเมื่อคำนึงถึงสิทธิมนุษย์ข้ัน
พน้ื ฐานแลว้ พบว่ายังห่างไกลกับคำว่ากา้ วหนา้ เป็นอย่างมาก

การปกป้องสทิ ธิข้ันพนื้ ฐานน้เี ป็นหน้าที่ของทุกคน ไมว่ า่ จะเป็นหนว่ ยงานราชการ เอกชน รัฐวิสาหกิจ
บริษัทประกันอุบัติเหตุ หรือบริษัท ผู้จัดการ และพนักงาน มิสเตอร์วอลเตอร์ ไอเชินดอร์ฟ
(Mr. Walter Eichendof) ประธานสภาความปลอดภัยทางถนน (DVR) ของเยอรมันได้ทำการทดลองทาง
ความคิดซึ่งเปน็ ที่น่าสนใจ โดยถามคำถามตอ่ ไปน้ี “ลองจินตนาการวา่ อไี อ ดูปองต์ (E.I Du Pont) ประกอบ
ธุรกิจจากปี ค.ศ. 1802 จนถึงปัจจุบัน และสมมติว่าไม่ได้มีการคิดค้นรถยนต์ขึ้นมา จนถึงเวลานี้ดูปองต์
พร้อมแล้ว และบอกกล่าวนักการเมือง สื่อมวลชน และสาธารณชนในประเทศเยอรมนีว่าจากการที่ได้มีการ
ผลติ ดินปนื อย่างสมบูรณแ์ บบ ตอนนเ้ี ขาไดค้ ดิ คน้ เทคโนโลยีใหม่เอย่ี มซึง่ จะปฏวิ ัตกิ ารเคลอ่ื นที่ส่วนบคุ คลโดย
ใช้ยานพาหนะส่วนบคุ คลที่ขับเคลือ่ นด้วยมอเตอร์โดยเฉพาะ อย่างไรก็ตาม การนำเทคโนโลยีใหม่น้ีมาใช้จะ
ทำให้เกิดอุบัติเหตุอีกรูปแบบหนึ่งเกิดขึ้น นั่นคืออุบัติเหตุทางถนน เขาประมาณว่าจะมีการเสียชีวิตเฉลี่ย
10 รายตอ่ วัน

แน่นอนว่าเทคโนโลยีนี้จะไม่ถูกให้นำไปใช้ และข้อเสนอของนักประดิษฐ์ก็จะถูกโจมตีหรือต่อต้าน
เพราะ แน่นอนว่าไม่มีใครต้องการที่จะรับผิดชอบสำหรับการนำเทคโนโลยีใหม่มาใช้ที่ทำให้ทุกวันมีคนต้อง
เสียชีวิตถึง 10 คน นักการเมือง สังคม และสื่อมวลชนคงจะพร้อมใจกันปฏิเสธการทำให้เกิดการเสียชีวิต
ดังกล่าว นี่คือตัวอย่างที่ยกขึ้นมาประกอบ เพราะแม้แต่ดูปองต์ก็ไม่สามารถจินตนาการได้ว่าการประดิษฐ์
ของเขาจะสง่ ผลระยะยาวอย่างไร อย่างไรก็ตาม แสดงให้เห็นถงึ ความประนีประนอมที่เราต้องทำ เพื่อรักษา
สทิ ธขิ น้ั พ้ืนฐานในการดำรงชีวติ และความสมบูรณ์ของรา่ งกาย

3

หลักการข้อที่ 2 มนุษย์ทุกคนมีโอกาสทำผิดพลาด (The Second Principle: People makes
mistakes.)

VISION ZERO ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความจริงที่ว่า ความผิดพลาดในการทำงานและบนท้องถนน
สามารถเกิดขนึ้ ได้ ไมส่ ามารถทจี่ ะหลีกเล่ยี งได้อย่างสิ้นเชิง จากการศกึ ษารถยนตบ์ ังคับท่ีใช้เซ็นเซอร์แสดงให้
เห็นถึงข้อจำกัดของความสามารถในการรับรู้ข้อมูลจากสภาพแวดล้อม การประมวลผลและเปรียบเทียบ
ข้อมูลต่อข้อมูลที่ถูกจดจำ เป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ว่าปริมาณและความหนาแน่นที่แท้จริงของข้อมูล
หมายความว่าทุกอย่างมีข้อจำกัด ข้อผิดพลาดของมนุษย์นั้นเป็นกฎที่ไม่อาจมีข้อยกเว้นได้ เช่นเดียวกับคน
ทำผดิ พลาดเนอื่ งมาจากกระบวนการทางอารมณ์ แรงจูงใจ และความเครียดท่เี กี่ยวข้อง

น่นั เปน็ เหตผุ ลวา่ ทำไมจึงไม่นา่ แปลกใจว่า ถ้าทำการวจิ ัยถงึ อบุ ตั เิ หตบุ นท้องถนนและในทท่ี ำงานก็จะ
ยืนยันว่าสาเหตุหลักของการเกิดอุบัติเหตุสามารถพบได้ในความผิดพลาดของมนุษย์ กล่าวในอีกนัยหนึ่งคือ
การกระทำของพนักงาน แต่เป็นที่แน่ชัดว่านี่เป็นวิธีคิดที่ผิด เพราะถ้ามนุษย์ซึ่งมีทักษะในการเคลื่อนไหว
การประสานงาน ทักษะการรบั ร้แู ละการประมวลผลข้อมูล ซ่ึงเป็นสง่ิ ทีว่ ิวัฒนาการมา ยงั คงไมส่ ามารถรับมือ
กับความต้องการของสถานที่ทำงานหรือถนนสมัยใหม่ได้ ดังนั้นเราไม่สามารถตำหนิหากทำผิดพลาดขึ้น
เช่นเดียวกับเรื่องนี้ การตระหนักในความรับผิดชอบและปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์จริงของวัฒนธรรมเชิง
ป้องกันของผู้บริหารจำเป็นจะต้องมี มักถูกละเลย การตรวจสอบสาเหตุของอุบัติเหตุอย่างละเอียด มักจะ
แสดงให้เหน็ ว่ากฎระเบียบด้านความปลอดภัยที่มีไว้เพื่อช่วยชีวิตนั้นถูกละเลยโดยเจตนาหรอื จงใจ หรือไม่ก็
ระบบที่มีอยู่ไม่ได้ถูกออกแบบให้ทำงานได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย ทั้งสองกรณีนี้ ถ้ามีการจัดการ
แทรกแซงไดท้ ันเวลาก็จะช่วยปอ้ งกนั ไมใ่ ห้เกดิ อบุ ัติเหตุได้

อย่างไรก็ตาม นี่หมายความว่าด้วยอุบัติเหตุทางจราจรเกือบทั้งหมด และอุบัติเหตุจำนวนมากในที่
ทำงาน เราสามารถพบข้อผิดพลาดของมนุษย์ในหลาย ๆ แห่งในห่วงโซ่ของเหตุการณ์ที่นำไปสู่การเกิด
อบุ ัตเิ หตุ ถงึ กระน้ัน VISION ZERO กย็ ังยนื ยันวา่ ความผิดพลาดจะต้องไมท่ ำให้มีการเสยี ชีวติ

หลกั การข้อท่ี 3 ความสามารถในการทนต่อแรงกดดันทางรา่ งกายและจติ ใจเปน็ ส่ิงสำคัญ

(The Third Principle: The ability to cope with physical and mental pressure is crucial.)

เป็นที่ชัดเจนว่าเรายอมรับว่าผู้คนจะทำผิดพลาดได้ เราต้องมั่นใจว่าเมื่อใดที่อุบัติเหตุเกิดขึ้น ต้องไม่
ก่อให้เกิดการบาดเจ็บขั้นรุนแรง “ทุกคนต้องได้รับความปลอดภัยและมีสุขภาพอนามัยที่ดี” เป็นวิธีที่สภา
ความปลอดภัยทางถนนของเยอรมนี (DVR) กำหนดไว้เมื่อเลือกใช้กลยุทธ์ VISION ZERO จึงมุ่งมั่นที่จะ
พัฒนาหลักการออกแบบสำหรับยานพาหนะและโครงสร้างพื้นฐานซึ่งลดการบาดเจ็บให้น้อยที่สุด รวมถึง
ระบบความปลอดภัย และการช่วยเหลอื เชน่ ถุงลมนริ ภัย เป็นต้น

ในสถานที่ทำงาน ระบบความปลอดภัย และการช่วยเหลือมีความสำคัญมากยิ่งขึ้นเมื่อพิจารณาถึง
การที่อุปกรณ์ต่าง ๆ สิ่งต่าง ๆ ได้ถูกเชื่อมโยงทุกสิ่งทุกอย่างสู่โลกอินเทอร์เน็ต ทำให้มนุษย์สามารถสั่งการ
ควบคุมการใช้งานอุปกรณ์ต่างๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet of Things) ตัวอย่างเช่น มนุษย์
และเคร่ืองจักรอจั ฉรยิ ะจะทำงานเคียงข้างกนั ในสถานท่ที ำงานหลายแหง่ โดยไม่มีสงิ่ กดี ขวาง หรือป้องกนั

4

หลักการข้อที่ 4 การป้องกันต้องมาก่อนสิ่งอื่นใด (The fourth principle: Situational prevention
comes first.)

ผูใ้ ช้ถนน และคนทำงานไม่สามารถสร้างสภาพการทำงานหรือระบบการจราจรท่ีปลอดภัยด้วยตนเอง
ซงึ่ หมายความวา่ เราจะต้องคดิ ต่อไป: สถานทีท่ ำงานและระบบการจราจรต้องได้รับการปรับให้เหมาะสมกับ
ธรรมชาติของมนุษย์ ไม่ใช่วิธีตรงข้ามกัน ในแนวคิดด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัยแบบดั้งเดิม เรา
เรียกสิ่งน้วี ่า เปน็ การให้ลำดบั ความสำคัญต่อการป้องกันตามสถานการณ์ อยา่ งไรกต็ าม มันไมไ่ ด้ทำให้บุคคล
อยเู่ หนือความรับผดิ ชอบของตนเอง ในทางตรงกันข้าม ทุกคนตอ้ งตระหนักถึงความเส่ียงต่อตนเอง และผอู้ ่ืน
อันเป็นผลมาจากสิ่งที่ทำ และสิ่งที่ไม่ได้ทำ ในประเทศสวีเดน เขาเรียกสิ่งนี้ว่า “ความรับผิดชอบร่วมกัน”
บุคคลมีหน้าที่รับผิดชอบต่อการปฏิบัติตามกฎหมายและข้อบังคับ ขณะที่ผู้ออกแบบระบบต้องมั่นใจว่ า
ระบบทง้ั หมดปลอดภยั ผ้อู อกแบบระบบ ส่วนใหญ่เป็นนายจ้าง ผู้จดั การ ผ้ผู ลติ เครอื่ งจกั ร นักวางแผน และ
เจ้าหนา้ ทีร่ ัฐ

บางครั้งนักวิจารณ์อ้างว่า VISION ZERO ไม่สามารถนำไปใช้ได้จริง แต่มีคำตอบที่ชัดเจนในเรื่องน้ี
ใครบ้างต้องการบอกกับบุคคลซึ่งได้รับบาดเจ็บถาวรจากอุบัติเหตุว่าโศกนาฏกรรมเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
และเหตุการณ์นี้มีโอกาสเกิดขึ้นไม่มากก็น้อย อย่างนั้นหรือ ถ้าท่านต้องการประสบผลสำเร็จที่ดีที่สุด และ
สามารถทำได้จริง ทา่ นตอ้ งมเี ปา้ หมายสำหรับสงิ่ ท่ดี เู หมอื นเป็นไปไม่ได้ และเร่อื งราวของความสำเร็จ ในการ
บินและการขนส่งทางรถไฟ VISION ZERO นับเป็นมาตรฐานทองที่ใช้กันมายาวนาน และผู้คนที่นำไปใช้
บรรลผุ ลสำเร็จอย่างกว้างขวาง และในการเกดิ ท่ีไม่บ่อยคร้ังของอุบตั ิเหตรุ ้ายแรงจากการเดินทางทางอากาศ
หรือรถไฟ แต่เมื่อเกิดขึ้นจะถูกนักการเมือง สื่อมวลชน และสาธารณชนเรียกร้องให้มีการสอบสวนเพื่อมิให้
อุบัติเหตุเช่นนี้เกิดขึ้นอีก ในทางตรงกันข้าม ภัยพิบัติเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่เกิดขึ้นทุกวันในที่ทำงานและบนท้อง
ถนนแทบจะไม่ได้รบั ความสนใจ

แต่เมื่อนักวิจารณ์หันไปใช้เหตุผลเรื่องค่าใช้จ่าย ก็มักมีเหตุผลเพียงพอที่จะชี้ให้เห็นว่าความ
เสียหาย 30 พันลา้ นยโู ร ท่มี สี าเหตจุ ากอุบตั ิเหตุบนท้องถนนในแตล่ ะปีมีผลต่อเศรษฐกจิ ของเยอรมนี ความ
เสียหายที่เกิดจากอุบัติเหตุในการทำงานจะน้อยกว่ามาก เนื่องจากการจ่ายเงินโดยบริษัทประกันอุบัติเหตุ
เพียงอย่างเดียวอยู่ที่ประมาณ 10 พันล้านยูโร ในแต่ละปี ในระดับโลก องค์การแรงงานระหว่างประเทศ
ประมาณการว่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของโลกประมาณ 4% สูญเสียไปเป็นค่าใช้จ่ายของการ
บาดเจ็บ การเสียชีวิต และโรคภัยไข้เจ็บจากการขาดงาน การรักษาความเจ็บป่วย ความทุพพลภาพ
และประโยชนท์ ดแทนสำหรบั ผ้ทู ี่ยังมีชวี ติ อยู่

การแพร่หลายของ VISION ZERO

ในยุโรป แนวคิดเรื่อง “อุบัติเหตุเป็นศูนย”์ ไม่ก้าวหน้าขึ้นเลยในการพัฒนากลยุทธ์ทางการเมืองเพอ่ื
ความปลอดภัยทางถนนจนถึงปี ค.ศ.1990 ในสวีเดน ที่ซึ่งมีการหารือเก่ียวกับความเสี่ยงของอุตสาหกรรม
เคมีอย่างเข้มข้นภายหลังจากพิบัติภัยเซเวโซ (การรั่วไหลของสารเคมีในกลุ่มสารประกอบ dioxin ที่เมือง
เซเวโซ ประเทศอิตาลี ซึ่งมีคนบาดเจ็บกว่า 250 คน) และภัยพิบัติโภปาล (เกิดขึ้นเนื่องจากอุบัติเหตุท่ี
โรงงานผลิตยาฆ่าแมลงของบริษัทยูเนียนคาร์ไบด์ซึ่งตั้งอยู่ที่เมืองโภปาล เมืองหลวงของรัฐมัธยประเทศ

5

ประเทศอินเดีย เมื่อกลางดึกของวันที่ 2 เดือนธันวาคม ค.ศ.1984 ทำให้ก๊าซเมทิลไอโซไซยาไนด์ และ
สารพิษอื่น ๆ รั่วไหลออกจากโรงงาน และส่งผลกระทบถึงประชาชนมากกว่า 500,000 คน) และมีการ
พิจารณาสั้น ๆ ว่าห้ามใช้ในอุตสาหกรรมโดยสิ้นเชิง กระทรวงคมนาคมได้รวมหลักการพื้นฐานของปรัชญา
อุบัติเหตุเป็นศูนย์ไว้ในด้านความปลอดภัยทางถนนอย่างเป็นทางการ ใช้ชื่อว่า “VISION ZERO” ตามการ
โฆษณาของสำนักงานกลางของสวีเดนสำหรับการจราจรบนท้องถนน “VISION ZERO คือวิสัยทัศน์แห่ง
อนาคต ณ ที่ซึ่งไม่มีใครเสียชีวิตบนท้องถนนหรือได้รับบาดเจ็บสาหัสที่ต้องรักษาอาการบาดเจ็บไปตลอด
ชวี ติ ”

หลังจากเปลี่ยนสหัสวรรษ กลยุทธ์ใหม่ของ VISION ZERO เริ่มต้นในประเทศอื่น ๆ อีกมากมาย
รวมถึงเดนมารค์ นอร์เวย์ ฟนิ แลนด์ สวิสเซอรแ์ ลนด์ และสหราชอาณาจักร และ VISION ZERO ยงั คงหมุน
เคลื่อนตัวต่อไป: เนื่องในโอกาสที่มี “ฟอรั่ม Sécurité-Santé” เมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ.2016 ประเทศ
ลักเซมเบิร์กได้ประกาศนำกลยุทธ์การป้องกันของ VISION ZERO ไปปรับใช้ โดยผู้แทนพนักงาน
และกระทรวงแรงงานได้ลงนามในข้อตกลงตอ่ หนา้ แกรนด์ดยุกแห่งลกั เซมเบิร์ก

ภายนอกยโุ รป ผู้บุกเบกิ ในการนำกลยทุ ธ์ VISION ZERO สำหรับอาชวี อนามยั และความปลอดภัยไป
ใช้ รวมถึงสิงคโปร์ นวิ ซีแลนด์ เกาหลี ออสเตรเลยี และ แคนาดา ตั้งแต่ปลายปี ค.ศ.2007 สภาความปลอดภัย
ทางถนนของเยอรมนี (DVR) ได้ประชาสมั พันธ์ VISION ZERO อย่างจริงจัง และโฆษณากลยุทธ์ กระแสตอบรับ
เชงิ บวกเป็นทถี่ กู ใจมาก

ในเดือนตุลาคม ค.ศ.2008 การประชุมรัฐมนตรีคมนาคมของสหพันธรัฐได้ประกาศว่า: “การประชุม
รัฐมนตรีคมนาคมเรื่อง VISION ZERO เป็นพื้นฐานที่เหมาะสมในการตอบสนองเป้าหมายด้านคุณภาพใน
ระยะยาวเพื่อความปลอดภยั ทางถนน” ตงั้ แต่นั้นเปน็ ตน้ มา คณะกรรมาธิการสหภาพยโุ รปได้ให้คำม่ันสัญญา
อย่างชดั เจนตอ่ VISION ZERO ในเอกสารสำหรบั พ้ืนทีก่ ารขนส่งเดยี วในยุโรป

ประกันอุบัติเหตุทางสังคมของเยอรมนี (DGUV) ให้คำมั่นสัญญาที่ชัดเจน ครั้งแรกในปี ค.ศ.2008
โดยการรวม VISION ZERO เข้าไปในในหลักการป้องกัน เมื่อวันที่ 28 เดือนพฤศจิกายน ค.ศ.2008 ผู้แทน
คนงาน และพนักงานเห็นด้วยเป็นเอกฉันท์ในที่ประชุมใหญ่ของประกันอุบัติเหตุทางสังคมของเยอรมันบน
เอกสารนโยบาย ซึ่งเหตุผลท่ีมีอยู่นน้ั มีอยู่ในช่ือเร่ือง “การจา่ ยเพื่อป้องกัน” เอกสารนโยบายใหม่น้ีเก่ียวข้อง
กับสถานที่ทำงานตลอดจนสถาบันการศึกษา ในการคำแนะนำได้ส่งข้อความชัดเจน: “สถานที่ทำงาน
และสถาบันการศึกษาต้องได้รับการออกแบบการใช้วิธีการที่เหมาะสมเพื่อป้องกันอุบัติเหตุในการทำงาน ที่
โรงเรียน หรือ เส้นทางไป และกลับจากที่ทำงาน หรือโรงเรียน เช่นเดียวกับโรคจากงานอาชีพ และความ
เสี่ยงต่อสขุ ภาพทเี่ กีย่ วเนือ่ งจากการทำงาน (VISION ZERO)”

6

VISION ZERO อุบัติเหตุเปน็ ศนู ย์ - การทำงานอย่างมีสุขอนามัยท่ดี ี กลยุทธ์ขององค์กร

ตัวอย่างเชิงปฏิบัติที่ดีของการนำกลยุทธ์ VISION ZERO ไปใช้อย่างเป็นระบบ โดยบริษัทประกัน
อุบัติเหตุเป็นการริเริ่มการป้องกันของสถาบันประกันอุบัติเหตุทางสังคมของเยอรมันสำหรับวัตถุดิบ
และอุตสาหกรรมเคมี (BG RCI) ในระหว่างการจัดโครงสร้างใหม่ของส่วนการป้องกัน หลังจากการควบรวม
กิจการของสถาบันประกันอุบัติเหตุทางสังคม 6 แห่ง เพื่อจัดรูปแบบเป็นสถาบันประกันอุบัติเหตุทางสังคม
ของเยอรมนี สำหรับวัตถุดิบ และอุตสาหกรรมเคมี ไม่เพียงแต่เป็นการจัดรูปแบบองค์กรใหม่ตามที่กำหนด
เท่านั้นแต่การอภิปรายเชิงกลยุทธ์เกิดขึ้นบนหลักการซึ่งการจัดรูปแบบของโครงสร้างองค์กรต้องสะท้อน
วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธด์ ้วย

หลังจากการอภิปรายอย่างเข้มข้น ผู้แทนบริษัทในคณะกรรมการของสถาบันประกันอุบัติเหตุทาง
สังคมของเยอรมันสำหรับวัตถุดิบและอุตสาหกรรมเคมี (BG RCI) และการประชุมของผู้แทนของสถาบันได้
ตกลงกันว่า โรคจากงานอาชีพ และอุบัติเหตุในที่ทำงาน หรือบนท้องถนนไม่ใช่เหตุการณ์บังเอิญ
หรือหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่มีสาเหตุ “หากเราทุกคนพยายามขจัดสาเหตุเหล่านี้แล้ว อุบัติเหตุ และโรคจากการ
ทำงานสามารถป้องกันได้” เปน็ คำกล่าวแถลงการณ์ร่วมของนายจ้างและลูกจ้าง ดงั นัน้ พวกเขาจึงตกลงที่จะ
ทำให้กลยุทธ์ VISION ZERO เป็นแนวทางสำหรับปฏิบัติที่สถาบันประกันอุบัติเหตุทางสังคมของเยอรมัน
สำหรบั วัตถดุ บิ และอุตสาหกรรมเคมี (BG RCI) กลางปี ค.ศ.2014 คณะกรรมการบริหารระดับสูงได้ตกลงกัน
ใหใ้ ชก้ ลยุทธ์เชิงป้องกัน “VISION ZERO อบุ ัตเิ หตเุ ป็นศูนย์ - การทำงานอย่างมีสุขอนามัยท่ีดี” เป็นการเริ่มต้น
ของยุคใหม่เพ่ือการป้องกัน โดยมคี วามเห็นตรงกันวา่ ไมส่ ามารถขจัดความเสย่ี งในการทำงานได้ทงั้ หมด สิ่งนี้
เป็นเหตุผลว่าทำไม VISION ZERO จึงมิได้หมายความว่า “ความเสี่ยงเป็นศูนย์”แต่ต้องใช้มาตรการท่ี
เหมาะสมเพ่อื ลดและควบคมุ ความเสี่ยงเพ่ือไม่ให้เกดิ การบาดเจ็บ หรือโรค

ในคำกล่าวเปิดในงานให้ข้อมูลเกี่ยวกับ VISION ZERO สำหรับสมาคมนายจ้าง เมื่อวันที่ 4 เดือน
พฤศจิกายน ค.ศ.2015 ในเมืองเบอร์ลิน ฮานส์ พอล เฟรย์ (Hans Paul Frey) ประธานคณะกรรมการของ
สถาบันประกันอุบัติเหตุทางสังคมของเยอรมันสำหรับวัตถุดิบและอุตสาหกรรมเคมี (BG RCI) ได้อธิบายว่า
เหตุใดจงึ จำเป็นตอ้ งมีแนวทางใหม่: เนื่องจากเป็นหน้าท่ตี ามกฎหมายของเราในเรื่องการปอ้ งกัน แตเ่ หนือส่ิง
อื่นใดเป็นความเชื่อมั่นส่วนตัวของเราที่มุ่งมั่นจะสร้างความมั่นใจในสภาพการทำง านที่ปลอดภัยในบริษัท
สมาชิกของเรา และลดความเส่ียงจากอุบตั ิเหตแุ ละโรคอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ความสำเร็จของกจิ กรรมการป้องกันใน
อดีตตั้งอยู่บนพื้นฐานของความมุ่งมั่นร่วมกันของทุกคนที่เกี่ยวข้องมาโดยตลอด - นายจ้างและพนักงาน
สมาคมนายจ้าง สภาพนักงาน และสหภาพแรงงาน ร่วมกันลดจำนวนอุบัติเหตุและโรคจากการทำงาน
และบรษิ ัทสมาชกิ ของเรามมี าตรฐานด้านอาชีวอนามยั และความปลอดภยั สงู บางคนอาจถามวา่ ทำไมเราไม่
ทำเหมอื นเมอ่ื ก่อน ในการตอบคำถามน้ี น่คี ือตวั เลขบางสว่ น:

• ทุก ๆ ปี 78% ของค่าใช้จ่ายของเรา ซึ่งอยู่ราว 1,000 ล้านยูโร ถูกจ่ายเป็นค่าการดูแลทาง
การแพทย์ การฟนื้ ฟสู มรรถภาพ และเงินชว่ ยเหลอื

• ปีค.ศ.2014 คนจำนวน 94,000 คนรับเงินช่วยเหลือจากสถาบันประกันอุบัติเหตุทางสังคมของ
เยอรมนั สำหรบั วตั ถุดิบ และอตุ สาหกรรมเคมี (BG RCI)

7

• คนเหล่าน้ีไดร้ ับเงินสงเคราะห์ รวมท้ังหมด 64 ล้านยูโร ทกุ ๆ เดอื น
• ทุก ๆ ปี มีจำนวนอุบัติเหตุราว 65,000 ราย - ซึ่งหมายความว่าหนึ่งในยี่สิบคนที่เป็นผู้เอา

ประกันภยั กับเรา ประสบอุบัติเหตใุ นการทำงานหรอื ในการเดนิ ทางไปทำงาน
• ทุก ๆ ปี คนจำนวน 840 คนจากบริษัทของเราได้รับบาดเจ็บสาหัสจนได้รับผลกระทบไปตลอดชีวิตของ

เขา
• ทุก ๆ ปี คนจำนวน 20 คนจากบริษทั ของเรา เสยี ชวี ิตจากอุบตั ิเหตจุ ากการทำงาน
และตอนนี้ผมขอถามคุณว่า “เราพอใจกับสิ่งนี้หรือ เราจะยอมรับมันได้หรือ ผมมั่นใจว่าเราเห็นพ้อง
ต้องกันว่า: ไม่ - เราต้องทำได้ดีกว่านี้ อุบัติเหตุไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้น - มันมีสาเหตุ เราสามารถที่จะลดจำนวน
อุบัติเหตุ และโรคจากการทำงานไดอ้ ย่างตอ่ เนอ่ื ง”

เปา้ หมาย 7 ประการของ VISION ZERO
จากที่เป็นส่วนหนึง่ ของการริเริ่มเมื่อ 10 ปีก่อน สถาบันประกันอุบัติเหตุทางสงั คมของเยอรมนีสำหรบั

วัตถุดิบ และอุตสาหกรรมเคมี (BG RCI) ได้ตั้งเป้าหมายเฉพาะ 7 ประการสำหรับกลยุทธ์ VISION ZERO
เพื่อให้บรรลุในปี ค.ศ.2024 และเป็นครั้งแรกที่ไม่ได้มีเพียงเป้าหมายเชิงคุณภาพเท่านั้นแต่ยังรวมถึงเชิง
ปริมาณดว้ ย
เปา้ หมาย 1 ลดความเสยี่ งของอบุ ัติเหตุจากการทำงานลง 30% ในปคี .ศ.2014
เปา้ หมาย 2 ลดจำนวนของเงินช่วยเหลือกรณีอบุ ตั ิเหตุจากการทำงานลง 50%
เปา้ หมาย 3 ลดอุบตั ิเหตุจากการทำงานข้นั เสยี ชีวิตลงอย่างน้อย 50%
เป้าหมาย 4 ลดโรคจากการทำงาน
เป้าหมาย 5 เพิ่มจำนวนบริษัทท่ีอบุ ตั ิเหตเุ ปน็ ศนู ย์
เปา้ หมาย 6 จดั แนวทางการบรกิ ารเพ่ือการป้องกนั ใหใ้ กลก้ บั ความต้องการที่แท้จรงิ
เปา้ หมาย 7 เพิม่ การใช้บรกิ ารเพือ่ การปอ้ งกนั

สำหรับเป้าหมายที่ 4 ต้องมีมาตรการการป้องกัน เพื่อลดจำนวนกรณีที่ได้รับการยืนยัน และชดเชย
กรณีโรคจากการทำงานรายใหม่ เน่อื งจากการสัมผสั ในสถานท่ที ำงาน

เพื่อบรรลุเปา้ หมายทีป่ รารถนาอย่างแรงกล้าเหล่านีภ้ ายในปีค.ศ.2024 สถาบันประกันอุบัติเหตุทาง
สังคมของเยอรมนีสำหรับวัตถดุ บิ และอุตสาหกรรมเคมี (BG RCI) ตงั้ ใจที่จะดำเนนิ การทั้งหมด 10 มาตรการ
หรือการรวบรวมมาตรการอย่างแม่นยำมากข้ึน นค่ี อื สกรทู เี่ ราตอ้ งขนั จะพดู เช่นน้ันกไ็ ด้

8

มาตรการ 1: วิเคราะห์ให้ดีข้ึนเพื่อระบลุ ำดับความสำคญั

แนวทางในการดูที่ผลลัพธ์ ต้องดูรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับสถิติการเกิดอุบัติเหตุ การวิเคราะห์
อย่างละเอียดมากขึ้น หมายความว่าสามารถระบุรายละเอียดได้มากขึ้นเพื่อให้คุ้มค่ากับการลงทุนในการ
ปอ้ งกนั โดยตอ้ งคำนงึ ถึงปจั จยั พเิ ศษ ความเส่ียงใหม่ และการพัฒนาในปจั จุบันด้วย

ตวั อยา่ งของผลลัพธ์: มาตรการแรกคือ ทำการประเมนิ ผู้เสยี ชวี ิตจากการทำงาน 303 คนอีกคร้ัง

(ปีค.ศ.2004 - ค.ศ.2015) ทำให้เกิด “12 LIFESAVERS” สำหรบั ผู้จดั การและ “12 LIFESAVERS” สำหรับ
พนักงาน ทงั้ สองขดุ ครอบคลุม 12 สาเหตทุ พี่ บบอ่ ยของการเสียชีวิตและอธิบายขอ้ เท็จจริง ตลอดจนคำแนะนำที่
รดั กมุ ในการปอ้ งกนั

มาตรการ 2: ความต้องการของลกู ค้าเป็นสงิ่ ทีช่ ขี้ าด

เพ่ือให้ระบไุ ดด้ ขี ้นึ ว่าอะไรคือความต้องการของบริษทั ที่เป็นสมาชิก และเพอ่ื สือ่ สารโดยตรงให้มากข้ึน
สถาบันประกันอุบัติเหตุทางสังคมของเยอรมนีสำหรับวัตถุดิบ และอุตสาหกรรมเคมี (BG RCI) ดำเนินการ
สำรวจลูกคา้ ตามปกตใิ นบรกิ ารเชงิ ปอ้ งกนั ในเร่ืองความต้องการ และคุณภาพ

ตัวอย่างของผลลัพธ์: มาตรการแรกคือ การสำรวจอย่างเป็นระบบได้ถูกดำเนินการเพื่อค้นหาข้อกำหนด
เฉพาะ สำหรับกลุม่ เปา้ หมายทีแ่ ตกตา่ งกนั ในบริษัท เชน่ พนกั งานรุ่นเยาว์

มาตรการ 3: บรกิ ารเชิงป้องกันทมี่ ีคุณภาพทดี่ ีกวา่

บนหลักการการตอบสนองของลูกค้า และการวิเคราะห์อุบัติเหตุและโรคจากการทำงาน สถาบัน
ประกันอุบัติเหตุทางสังคมของเยอรมนีสำหรับวัตถุดิบ และอุตสาหกรรมเคมี (BG RCI) ตั้งใจที่จะจัดระบบ
เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพและและนำเสนอผลิตภณั ฑ์ป้องกันใหม่ ๆ และเมอื่ จำเปน็ ต้องขยาย หรอื ทำให้เลก็ ลงหากมี
ความต้องการเพียงเล็กนอ้ ยอยา่ งชดั เจน สิ่งนจ้ี ะชว่ ยใหบ้ ริษัทเลอื กบรกิ ารไดถ้ ูกตอ้ ง

ตัวอย่างของผลลัพธ์: มาตรการแรกคือ โปรแกรมสำเร็จของการป้องกันที่หลากหลาย และช่องทางการ
สื่อสารใหม่ ๆ ได้ถูกสร้างสรรค์ขึ้นเพื่อปรับปรุงข้อมูลให้มีประสิทธิภาพขึ้นเป็นรูปแบบที่ต้องการ ตัวอย่าง
คือ สายสื่อสาร “โดยสังเขป” การสรุปข้อเท็จจริงหลักในวิธีที่ง่ายต่อการเข้าใจ และเปิดใช้งานสำหรับการ
ดำเนินการตามเป้าหมายในระยะเวลาอันส้นั

มาตรการ 4: ต้ังคา่ ลำดบั ความสำคัญท่ถี กู ต้อง

ลำดับความสำคัญของงานป้องกันในอนาคตระบุได้โดยการวิเคราะห์อบุ ัติเหตุ และโรคจากการทำงาน
การตอบสนองจากลูกค้า และความเสี่ยงใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้น เป็นที่ชัดเจนแล้วว่าหัวข้อสุขภาพในการทำงาน
และการหลีกเลี่ยงหรือลดความเครียดทางจิตใจในการทำงานจะมีความสำคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อให้บรรลุ
ความคืบหน้าเกี่ยวกับอุบัติเหตุระหว่างทางไป และกลับจากที่ทำงาน โครงการร่วมกับสภาความปลอดภัย
ทางถนนของเยอรมนี (DVR) ไดจ้ ดั ทำข้ึนเพอ่ื ปอ้ งกนั อบุ ัตเิ หตุระหวา่ งทางไปถงึ จดุ หมายปลายทาง

9

ตวั อย่างของผลลัพธ์: มาตรการแรกคือ โปรแกรมความปลอดภยั บนทอ้ งถนนถกู รวมเข้าไปกับโปรแกรมการ
ป้องกันของสถาบันประกันอุบัติเหตุทางสังคมของเยอรมนีสำหรับวัตถุดิบ และอุตสาหกรรมเคมี (BG RCI) อย่าง
เปน็ ระบบ ชว่ ยใหผ้ ขู้ ับขี่สามารถพฒั นาทกั ษะด้านความปลอดภยั ในโปรแกรมการฝึกสอนในการจราจร

มาตรการ 5: ความชว่ ยเหลือพเิ ศษสำหรับองค์กรขนาดเล็กและขนาดกลาง

การสอบสวนได้เผยให้เห็นแนวโน้มว่า ยิ่งบริษัทมีขนาดเล็กมากเท่าใดก็ยิ่งเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
มากเท่านั้น สถานประกอบกิจการที่มีขนาดกลาง และขนาดเล็กยังมีแนวโน้มที่จะขาดดุลมากขึ้น เมื่อพูดถึง
องคก์ รภายในด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัยสิ่งนี้หมายความว่ากลยุทธ์ VISION ZERO ควรจัดตั้งข้ึน
เป็นลำดบั ต้น ๆ

ตัวอย่างของผลลัพธ์: มาตรการแรกคือ การสื่อสารได้รับการยกระดับ ในส่วนนี้ ได้มีการเปิดตัวสายสื่อเพ่อื
ส่ือสารประเดน็ รอ้ นในรปู แบบทีก่ ะทดั รดั และปรับเปลีย่ นไดง้ า่ ย

มาตรการ 6: พัฒนาทกั ษะและความเช่ียวชาญ

ข้อกำหนดสำหรับการป้องกันเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ - และเป็นไปตามธรรมชาติ ผู้เชี่ยวชาญด้านการ
ปอ้ งกนั ของบริษัทประกันอุบตั ิเหตตุ ้องตระหนักถึงพฒั นาการลา่ สุดอยู่เสมอ นคี่ อื เหตผุ ลท่ีให้ความสำคัญกับ
การตรวจสอบให้แน่ใจว่าที่ปรึกษามีการผสมผสานคุณสมบัติที่ทันสมัย และพัฒนาความเชี่ยวชาญของพวก
เขา ซึ่งหมายถึงการฝึกอบรมท่ีเฉพาะเจาะจงในเรอื่ งที่เปน็ ปจั จบุ ัน และการพัฒนา

ตัวอย่างของผลลัพธ์: มาตรการแรกคือ ทีมป้องกันมากกว่า 500 คนได้รับการจัดแนวทางในขณะที่ข้อมูล
และการสื่อสารกำลงั ปรับปรุงความสามารถในการดำเนนิ การ

มาตรการ 7: ปรากฏตวั ณ สถานทที่ ำงาน

งานเอกสารสามารถรอได้ ท้ายที่สุดแล้วการป้องกันจะประสบความสำเร็จได้ก็ต่อเมื่อที่ปรึกษาไป
เยี่ยมสถานที่ทำงานและแสดงจดุ ที่สามารถปรับปรุงได้ ในอนาคตจะต้องคำนึงถึงความเสีย่ งที่อาจเกิดขึ้นใน
อตุ สาหกรรม และบริษัทท่ีแตกตา่ งกันเมอ่ื ตัดสินใจถึงความถ่ีในการเข้าเยีย่ มชม

ตัวอย่างของผลลัพธ์: มาตรการแรกคือ บริษัทประกันภัยประมาณ 35,000 แห่งได้รับมอบหมายให้อยู่ใน
กลุ่มความเสี่ยงที่แตกต่างกัน กำหนดความถี่ในการตรวจสอบและให้คำปรึกษาตามกลุ่มความเสี่ยงที่ได้รับ
มอบหมาย ความเสี่ยงทสี่ งู ขึน้ - การเขา้ ไปเกย่ี วข้องใกล้ชิดข้นึ

มาตรการ 8: คณุ สมบตั ติ ามเปา้ หมาย

การฝึกอบรมผู้รับผิดชอบในที่สถานทำงานเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาความเชี่ยวชาญของ
บริษัทในการป้องกัน สถาบันประกันอุบัติเหตุทางสังคมของเยอรมันสำหรับวัตถุดิบและอุตสาหกรรมเคมี
(BG RCI) กำลังเพิ่มความสามารถในการสัมมนาเพื่อตอบสนองต่อความต้องการจำนวนมาก นอกจากน้ีการ
สัมมนาจะเชื่อมตอ่ กบั การบริการเชิงป้องกันใกล้ชิดมากขึ้น และเพม่ิ เติมการสมั มนาในเร่อื ง VISION ZERO เข้าไป
ด้วย มงุ่ เนน้ โดยเฉพาะที่ผ้จู ัดการฝกึ อบรม

10

ตัวอย่างของผลลัพธ์: มาตรการแรกคือ เพิ่มการสัมมนา VISION ZERO สำหรับผู้บริหารระดับสูงขึ้น หรือ
ระดับกลางในบริษัทผู้ประกันตนตลอดจนสภาผู้ปฏิบัติงาน นอกจากนี้ผลงานการสัมมนาโดยรวมกำลังอยู่
ระหวา่ งการแกไ้ ขและขยายเวลา

มาตรการ 9: ปรบั ปรงุ การสื่อสาร

การป้องกันที่ประสบความสำเร็จเป็นไปไม่ได้ หากไม่มีการไหลเวียนของข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ สิ่งน้ี
เป็นเหตุผลว่าทำไมการสื่อสารกับสมาชิกของบริษัทและผู้ที่อยู่ในพื้นที่ได้รับการออกแบบให้เข้มข้นขึ้น เร็ว
ขึ้นและเนน้ มากข้ึน โดยเฉพาะอย่างยง่ิ จะต้องขยายชอ่ งทางการสื่อสารทางอิเลก็ ทรอนิกส์

ตัวอยา่ งของผลลัพธ์: มาตรการแรกคือ จดั ทำจดหมายขา่ ว VISION ZERO ให้ไปถึงสมาชิกหลายพันคนใน
ฉบบั พมิ พ์ครัง้ แรกแลว้

มาตรการ 10: การขยายความรว่ มมือ - ได้มาเพ่ิมทวคี ณู

เพื่อให้แน่ใจว่า VISION ZERO ได้ถูกปฏิบัติทุก ๆ ที่ สถาบันประกันอุบัติเหตุทางสังคมของเยอรมัน
สำหรับวัตถุดิบและอุตสาหกรรมเคมี (BG RCI) อาศัยความร่วมมือกับบริษัท และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มี
ข้อตกลงความร่วมมือเพิ่มมากขึ้นกับสมาคมนายจ้าง สหภาพการค้า ธุรกิจ กลุ่มผู้สนใจภายใน และผู้ที่เพ่ิม
ทวคี ณู อนื่ ๆ ท่จี ะตกลงในวัตถปุ ระสงคแ์ ละกจิ กรรมร่วมกนั

ตวั อยา่ งของผลลพั ธ์: มาตรการแรกคือ มีการลงนามข้อตกลงความรว่ มมอื กับบริษัท 30 แหง่ และสมาคม
การค้าและสหภาพแรงงานทเ่ี กีย่ วขอ้ ง

คมู่ ือ VISION ZERO แนะนำกฎทอง 7 ประการ สำหรบั การนำไปดำเนนิ การในสถานที่ทำงาน

การนำ VISION ZERO ไปดำเนินการให้เกดิ ผลสำเร็จในสถานทีท่ ำงานได้อย่างไร อะไรบ้างที่นายจ้าง
ผู้จัดการ ตัวแทนพนักงาน หัวหน้าคนงาน หรือหัวหน้าแผนกสามารถทำได้ คำถามนี้ได้ถูกพูดคุยกันเป็น
ประจำ - ไม่ว่าที่ใดในโลกนี้ ความจำเป็นสำหรับแนวทางใหม่คือจะต้องเข้าใจ และได้รับการยอมรับ
บ่อยครง้ั สง่ิ ทตี่ อ้ งทำคือการปฏบิ ตั ิอย่างรอบคอบและการจัดการที่สมำ่ เสมอ

คู่มือ VISION ZERO ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อให้ข้อแนะนำ และแรงบันดาลใจ ว่าทุกคนสามารถทำอะไร
ได้บ้างในส่วนงานความรับผิดชอบของตนเอง สิ่งหนึ่งคือความชัดเจนในเบื้องต้น: คุณไม่จำเป็นต้องจ่ายเงิน
จำนวนมากเสมอไปในการปรับปรุงความปลอดภัยและสุขภาพในการทำงาน บ่อยครั้งเพียงแค่ใช้ประโยชน์
จากบริการท่ีเสนอโดยหน่วยงานผใู้ หบ้ ริการประกันสังคม

ในการพัฒนาคู่มือ VISION ZERO มสี ง่ิ ใหม่ ๆ เกดิ ขึ้นมากมาย พนักงาน ผู้จดั การ และผู้เชี่ยวชาญใน
สถานที่ทำงาน 700 คน ถูกถามในการประชุมเชิงปฏิบัติการว่ามีมาตรการง่าย ๆ อะไรที่พวกเขามี
ประสบการณ์เชิงบวก และมาตรการอะไรที่มีประสิทธิภาพ ยิ่งไปกว่านั้นผูเ้ ช่ียวชาญด้านการปอ้ งกัน 300 คนถูก
ถามว่าจากประสบการณ์ของพวกเขาอะไรเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญท่ีสุดเพือ่ สถานท่ีทำงานที่ปลอดภัยและ
มีสุขภาพดี คำตอบของพวกเขารวมอยู่ในคู่มือ - ดังนั้นสามารถกล่าวได้ว่ามีผู้เขียนที่หลากหลายจำนวน
1,000 คน จุดมุ่งหมายคือการสร้างเครื่องมือที่ปรับลด หรือตัดกระบวนการที่ไม่จำเป็นหรือสิ้นเปลือง

11

และสามารถจัดการได้ เพราะมีหนังสือเรียนและเอกสารทางกฎหมายหนาเพียงพออยู่แล้ว เป้าหมายของ
ค่มู ือน้ีอยู่ท่นี ายจ้างและผจู้ ัดการ และแบ่งออกเป็นเจ็ดกลมุ่ หัวขอ้ เรยี กวา่ กฎทอง 7 ประการ:
กฎทองขอ้ ที่ 1 มีความเปน็ ผนู้ ำ - แสดงให้เห็นถงึ ความมุ่งม่ัน
กฎทองข้อที่ 2 ชบ้ี ง่ อนั ตราย - ควบคมุ ความเส่ยี ง
กฎทองข้อที่ 3 กำหนดเปา้ หมาย - จดั ทำแผนงาน
กฎทองขอ้ ที่ 4 มรี ะบบการจดั การความปลอดภยั และสขุ ภาพอนามัย - ทไี่ ดม้ ีการจดั การทด่ี ี
กฎทองขอ้ ท่ี 5 เครื่องจกั ร อปุ กรณ์ และสถานท่ีทำงานมีความปลอดภยั และไมม่ ีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย
กฎทองข้อท่ี 6 ปรับปรุงคุณสมบัติของบุคลากร - พฒั นาความรูค้ วามสามารถ
กฎทองขอ้ ท่ี 7 ลงทุนในดา้ นบุคลากร - สรา้ งแรงจูงใจโดยการให้มสี ว่ นร่วม

สำหรับแตล่ ะข้อของกฎทอง 7 ประการ คู่มอื ประกอบดว้ ยคำนำโดยย่อ ตามดว้ ยเคล็ดลับง่าย ๆ เพื่อ
ตรวจสอบว่า สิ่งใดนำไปใช้ในสถานที่ทำงานแล้วประสบความสำเร็จ และมีที่สิ่งที่สามารถปรับปรุงได้อีก
จัดทำภาพรวมที่ง่าย และรวดเร็วของสภาพการณ์ ในเรื่องความปลอดภัยของบริษัท ซึ่งนำไปสู่รายการที่จัด
ความสำคัญของมาตรการทข่ี ้ึนอยูก่ บั การประเมนิ คำถามตา่ ง ๆ

กฎทองข้อท่ี 1 มคี วามเป็นผนู้ ำ - แสดงให้เหน็ ถึงความมุ่งม่ัน
เป็นผู้นำและแสดงให้เห็น การที่ท่านทำตัวเป็นผู้นำนั้น คือการชี้ขาดความสำเร็จ หรือความล้มเหลว

เรอื่ งความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยใหแ้ กอ่ งคก์ รของทา่ น
นายจ้างทกุ คน ผูบ้ รหิ ารทกุ คน และผจู้ ัดการทุกคน มีหน้าทรี่ ับผดิ ชอบต่อความปลอดภัยและสุขภาพ

ในองค์กรของตน คุณภาพของผู้นำไม่เพียงแต่กำหนดวิธีปฏิบัติด้านความปลอดภัย และสุขภาพในองค์กร
เท่าน้ันแต่ยังตอ้ งทำอย่างไรท่ีจะน่าสนใจ ประสบความสำเรจ็ และยงั่ ยนื ความเป็นผู้นำต้องการการสื่อสารท่ี
เปิดกว้างและวัฒนธรรมการบริหารที่ชัดเจน ความเป็นผู้นำที่ดีแสดงให้เห็นเป็นตัวอย่าง โดยความสามารถ
ในการคาดการณ์ ความสมำ่ เสมอ และความเอาใจใส่

ผู้บริหาร และผู้จัดการเปน็ ตน้ แบบ: นำโดยทำเป็นตัวอย่าง สร้างกฎและปฏบิ ัติตามกฎ ตรวจสอบให้
แน่ใจว่าทุกคนรู้กฎ และปฏิบัติตามการละเมิดกฎจะต้องได้รับการแก้ไขทันที - สังเกตดูสิ่งต่าง ๆ การ
ชี้ให้เห็นถึงสภาวะที่เป็นอันตรายจะได้รับรางวลั สิ่งที่ผูจ้ ดั การทำ อดทน และประสงค์ เป็นการตั้งมาตรฐาน
สำหรับพนักงานคนอน่ื ๆ

12

กฎทองขอ้ ท่ี 2 ชบี้ ่งอันตราย - ควบคมุ ความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยง เป็นเครื่องมือที่จำเป็นเพื่อใช้ในการชี้บ่งอันตรายและความเสี่ยง ในจังหวะ

เวลาที่เหมาะสมและอย่างเป็นระบบ และเพื่อปฏิบัติการป้องกันต่าง ๆ ได้ ทั้งอุบัติเหตุ การบาดเจ็บ และ
เหตุการณเ์ กอื บเกิดอบุ ัตเิ หตุทเ่ี กิดขึ้น ต้องได้รบั การประเมนิ ด้วยเชน่ กัน

คุณเป็นคนฉลาด คุณใช้การประเมินความเสี่ยงที่ช่วยคุณในการชี้บ่งอันตราย และความเสี่ยงก่อนที่
อุบตั ิเหตุ และการหยดุ ทำงานของการผลิตเกิดขนึ้ และชว่ ยคณุ ในการประเมินความเสยี่ งท่ีอาจเกิดข้นึ รวมทั้ง
กำหนดและจัดทำเอกสารมาตรการปอ้ งกนั ท่จี ำเปน็ น่นั คือเหตผุ ลที่เครอ่ื งมอื นีใ้ ช้กนั ทว่ั โลกในปัจจุบนั

เมื่อทำอย่างถูกต้องแล้ว การประเมินความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ เป็นแบบอย่างที่ดีสำหรับการเรียน
การสอนของพนักงานในองค์กรของคุณ การประเมินอุบัติเหตุ การบาดเจ็บ และเหตุการณ์ที่เกือบเป็น
อบุ ตั ิเหตจุ ากการทำงานเปน็ สง่ิ สำคญั สำหรบั การระบจุ ดุ มุ่งเน้นหลักหรือการปรบั ปรุงท่เี ป็นไปได้

กฎทองข้อท่ี 3 กำหนดเปา้ หมาย - จัดทำแผนงาน
ความสำเร็จในเร่ืองความปลอดภัย และอาชีวอนามัย จำเป็นต้องมีเป้าหมายชัดเจน และขั้นตอนการ

ดำเนนิ งานท่เี ปน็ รูปธรรมสามารถนำไปปฏิบตั ไิ ด้ ซ่งึ ควรจัดทำเป็นรูปแบบของแผนงานโครงการ
ความปลอดภัย และอาชีวอนามัยมีหลายแง่มุม จัดลำดับความสำคัญกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน

สำหรับความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในสถานประกอบกิจการของท่าน และมุ่งมั่นที่จะนำไปใช้ใน
ระยะกลาง ตัวอย่างเชน่ ในโปรแกรม 3 ปี

กฎทองข้อที่ 4 มรี ะบบการจดั การความปลอดภยั และสขุ ภาพอนามยั - ทีไ่ ด้มกี ารจัดการทดี่ ี
การจัดการเรื่องความปลอดภัย และอาชีวอนามัยในสถานประกอบกิจการอย่างเป็นระบบเป็นสิ่งที่ดี

เปน็ เร่ืองทีด่ ำเนินการไดไ้ มย่ าก และคุ้มค่าตอ่ การลงทุน
ด้วยการจัดการด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัยอย่างดี ทุก ๆ สถานประกอบกิจการจะทำงาน

ได้อย่างราบรื่นมากขึ้น เพราะการหยุดชะงัก การหยุดทำงานของการผลิต และปัญหาคุณภาพลดลง สิ่ง
เหล่านี้เป็นเหตุผลที่ดีสำหรับคุณในการตรวจสอบให้แน่ใจว่าองค์กรด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยมี
ประสิทธิภาพ - เป็นสิ่งคุ้มค่า รายการตรวจสอบสามารถช่วยคุณได้ ผู้ที่ต้องการทำมากขึ้นควรดำเนินการ
ตามระบบการจัดการอาชีวอนามยั และความปลอดภยั ท่ชี ่วยใหม้ ีการปรบั ปรุงอย่างต่อเนื่อง เม่ือทุกอย่างเข้า
ท่แี ลว้ การตรวจสอบที่ประสบความสำเร็จจะไดร้ ับใบรบั รอง และการยอมรบั

13

กฎทองข้อที่ 5 เครื่องจักร อุปกรณ์ และสถานที่ทำงานมีความปลอดภัยและไม่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
อนามัย

สิ่งอำนวยความสะดวกในการผลิต เคร่อื งจกั ร และสถานท่ที ำงานท่ีปลอดภัยเป็นส่ิงสำคญั สำหรับการ
ทำงานทป่ี ราศจากอุบตั ิหตุ ผลกระทบต่อสขุ ภาพจะต้องไดร้ บั การพจิ ารณาเชน่ กัน

กลยุทธ์ความปลอดภัย และอาชีวอนามัยที่มีประสิทธิภาพรวมถึง มาตรการทางเทคนิค การจัดการ
องคก์ รและบคุ ลากรทดี่ ี ควรให้ความสำคญั กบั มาตรการทางเทคนิคก่อน ดังนน้ั จำเปน็ อยา่ งยิ่งที่จะต้องทำให้
เครื่องจักร สิ่งอำนวยความสะดวก อุปกรณ์ต่าง ๆ และสถานที่ทำงานเป็นไปตามมาตรฐานด้านความ
ปลอดภัยและอาชีวอนามัยปัจจุบัน อีกทั้งยังกำจัดหรือลดสิ่งที่มีแนวโน้มว่าจะเป็นอันตรายต่อสุขภาพ
โดยธรรมชาตแิ ล้วไมส่ ามารถใช้เทคโนโลยีล่าสุดได้เสมอไป นี่คือสิง่ ท่ีจำเป็นตอ้ งมกี ารปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเตมิ
การแจ้งฝ่ายจัดซื้อว่าความปลอดภัยมาก่อน และหลักการที่ได้พิสูจน์ตัวเองแล้วว่าอุปกรณ์ความปลอดภัย
ต้องเป็นสว่ นหนง่ึ ของกจิ กรรม ควรระลกึ ไว้เสมอวา่ อุบตั ิเหตุสว่ นใหญ่มักเกิดขนึ้ ระหวา่ งการแก้ไขปัญหา เช่น
การซ่อมแซม หรือการบำรุงรักษา เพราะการออกแบบ และการก่อสร้างมักไม่ได้คำนึงถึงในงานเหล่าน้ี
รวมทั้งอุปกรณ์ความปลอดภัยมกั ถูกข้ามหรือไม่สามารถทำงานได้ การป้องกันนี้เปน็ ความรับผิดชอบของฝ่าย
บรหิ ารจัดการ

กฎทองข้อท่ี 6 ปรับปรุงคุณสมบตั ิของบคุ ลากร - พัฒนาความร้คู วามสามารถ

ลงทุนในการฝึกอบรมและทักษะของพนกั งานของท่าน และตรวจสอบให้แน่ใจว่าความรู้ที่จำเป็นมีอยู่
ในสถานท่ที ำงานทุกแห่ง

หลงั จากเกิดอุบัติเหตใุ คร ๆ ก็มกั จะถามวา่ : สง่ิ นเ้ี กิดขน้ึ ไดอ้ ยา่ งไร ส่ิงอำนวยความสะดวกด้านเทคนิค
และเครื่องจักรการผลิตมีประสิทธิผลมากขึ้น และเร็วขึ้นแต่ยังซับซ้อนมากขึ้นและมีแนวโน้มที่จะทำงาน
ผิดพลาด ส่ิงนี้ทำให้การปรับใช้บุคลากรที่ผ่านการรับรอง และผ่านการฝึกอบรมมาอย่างเป็นระบบมี
ความสำคัญมากขึ้นในสถานทท่ี ำงาน เป็นความรบั ผดิ ชอบของผู้บริหารสูงสดุ ทจ่ี ะตรวจสอบให้แน่วา่ ได้จัดทำ
คำอธิบายโดยละเอยี ดของข้อกำหนดคุณสมบัติสำหรบั ทกุ ตำแหน่งงานในสถานประกอบกจิ การของท่านและ
คนทำงานทุกคนสามารถทีจ่ ะปฏบิ ัตงิ านในหนา้ ท่ตี ามตำแหน่งได้

สถานที่ทำงานเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ครึ่งชีวิตของความรู้สั้นลงเรื่อย ๆ และทักษะของคนทำงาน
จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูเป็นระยะ ๆ การให้การฝึกอบรม และการศึกษาต่อเนื่องเป็นสิ่งจำเป็นมากข้ึน
กวา่ เดิม ในขณะท่ีความเป็นผ้นู ำและการบริหารก็ต้องเรียนรเู้ ชน่ กนั

กฎทองข้อที่ 7 ลงทุนในด้านบคุ ลากร - สรา้ งแรงจูงใจโดยการให้มีส่วนรว่ ม

จงู ใจพนักงานของท่านโดยใหม้ ีสว่ นรว่ มในเรื่องความปลอดภัยและสุขภาพท้ังหมด การลงทุนเชน่ นี้คุม้ คา่

การจูงใจพนักงานของท่านใหป้ ฏิบัติตนอย่างปลอดภยั และดีต่อสุขภาพ ถือเป็นความรับผิดชอบในการเป็น
ผู้นำที่สำคัญที่สุดประการหนึ่งของท่าน สถานประกอบกิจการที่แสดงความขอบคุณพนักงาน และยังมีส่วน

14

รว่ มกบั พนักงานอย่างแข็งขันในด้านความปลอดภัย และสขุ ภาพภายในองค์กรกำลังเข้าถึงศกั ยภาพที่สำคัญ:
ความรู้ ความสามารถ และความคดิ ของพนกั งาน

เมื่อมีการปรึกษาพนักงาน ตัวอย่างเช่น ในขณะที่ดำเนินการประเมินความเสี่ยงหรือในการพัฒนา
คำแนะนำการใชง้ าน พนักงานก็จะเต็มใจที่จะปฏิบตั ิตามกฎ ส่งเสริมแรงจงู ใจผ่านกิจกรรมโต้ตอบปกตหิ รือ
วนั แห่งการรบั รูท้ ี่ซึง่ ความปลอดภัย และสุขภาพสามารถ “อยู่” หรือ “ไดป้ ระสบการณ์” ไม่เสยี คา่ ใชจ้ า่ ยใด ๆ
ในการยกย่องพนักงานสำหรับพฤติกรรมท่ปี ลอดภัย ถามพวกเขาเก่ียวกับความคดิ แสดงความสนใจในงานท่ี
ยาก และเพื่อจัดการกับการกระทำทไ่ี มป่ ลอดภัยหรือเหตุการณ์เกือบเปน็ อบุ ตั ิเหตุทนั ที สง่ิ นส้ี ามารถกำหนด
ทัศนคติส่วนตัวของพนักงานได้ และจูงใจให้ทำงานอย่างปลอดภัย และมีความตระหนัก และเหนือสิ่งอื่นใด
ดว้ ยความมั่นใจ

เป้าหมายคือใหท้ ุกคนดูแลเพ่ือนร่วมงานและตวั เอง “หนึ่งคนเพ่ือคนท้ังหมด - คนท้ังหมดเพ่ือคนทุกคน”

ทิศทางที่เรากำลังจะไป

โรคจากการทำงาน และอุบัติเหตุในสถานที่ทำงานหรือบนท้องถนนไม่ใชเ่ กดิ ข้นึ ด้วยความบังเอิญหรือ
หลีกเลี่ยงไม่ได้ - มันมีสาเหตุเสมอ กลยุทธ์ VISION ZERO เข้าใจข้อเท็จจริงนี้และมุ่งหวังที่จะสร้าง
สภาพแวดล้อมการทำงานที่ไม่มีใครได้รับบาดเจ็บ เจ็บป่วย หรือตาย กลยุทธ์นี้ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความ
เชื่อมน่ั ท่วี า่ ทุกอุบัตเิ หตุสามารถป้องกนั ไดห้ ากทำสิ่งท่ีถูกต้องในเวลาท่ีเหมาะสม ประโยชน์ของการทำงานที่
ปลอดภัย และมีสุขภาพดีนั้นชดั เจน การป้องกันอุบัติเหตุที่ประสบความสำเร็จไมเ่ พียงแต่ป้องกันความทุกข์
ทรมานของมนุษย์เท่านั้น แต่ยังปกป้องสิ่งที่มีค่าที่สุดที่เรามี: สุขภาพของเรา การป้องกันที่ประสบ
ความสำเร็จยังส่งผลดีต่อแรงจูงใจของพนักงาน คุณภาพของงาน และผลิตภัณฑ์ ภาพลักษณ์ของบริษัท
ความพงึ พอใจของพนักงาน ผู้จดั การ และลูกค้า

VISION ZERO เป็นที่รู้จักกันดีในอุตสาหกรรมเหมืองแร่ระหว่างประเทศ และในบริษัทที่เป็นสมาชกิ
ของสถาบันประกันอุบตั ิเหตุทางสังคมของเยอรมนั สำหรับวัตถุดิบและอตุ สาหกรรมเคมี (BG RCI) เป็นท่ีน่า
ยกย่องอย่างยิ่งในเรื่องความชัดเจนว่าการทำความเข้าใจกลยุทธ์นั้นง่ายเพียงใด และมาตรการที่น่าเชื่อซ่ึง
ประกอบด้วยกฎทอง 7 ประการ เหตุผลหลักสำหรับการแพร่กระจายอย่างต่อเนื่องของกลยุทธ์ และการใช้
งานโดยบริษัทประกันอื่น ๆ และทุกภาคส่วนของ ISSA คือ สร้างกรอบการทำงานที่ชัดเจนและให้โอกาส
สำหรับผู้ที่เกี่ยวข้องกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เพื่อให้พูดเป็นเสียงเดียวกันเมื่อพูดถึงการป้องกัน
สง่ิ น้ีจะช่วยเพิ่มการรบั รู้ขา่ วสารของสาธารณชนไดอ้ ยา่ งมากอย่างมนี ัยสำคัญ

สำหรับผมู้ ีอำนาจตัดสินใจ - ทำใหง้ า่ ย

ผลในเชิงบวกอีกประการหนึ่งคือผู้มีอำนาจตัดสินใจในบริษัทต่าง ๆ อีกนัยหนึ่งคือผู้รับผิดชอบ
ด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัยควรจะเข้าถึงได้ง่ายขึ้นด้วยข้อความที่ชัดเจน และสม่ำเสมอ และ
แนวคดิ ในการดำเนินการท่ีเรียบง่ายกว่าการใชก้ ฎระเบียบทมี่ ีรายละเอยี ดมากมาย อาจกลา่ วได้ว่าเม่ือเร็ว ๆ
นเ้ี ราไดป้ ลอ่ ยให้หัวข้อสุขภาพ และความปลอดภัยในการทำงานอยู่ในมือของผู้เช่ยี วชาญมากเกินไป และลืม
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร นายจ้างและผู้จัดการไปเล็กน้อย ในการดำเนินกลยุทธ์ VISION ZERO อย่าง

15

ต่อเนื่อง เราจึงควรให้ความสำคัญเพื่อเน้นย้ำมากขึ้นของประเด็นที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์เกี่ยวกับการรักษา
ชวี ติ และสขุ ภาพ และม่งุ เน้นไปทเ่ี ครอ่ื งมอื การดำเนนิ การทใี่ ชง้ านง่าย
การพูดเปน็ เสียงเดยี วกนั ของทกุ ภาคสว่ นการปอ้ งกันของ ISSA

หลังจากที่ VISION ZERO และกฎทอง 7 ประการ ได้รับการปรับใช้อย่างเป็นทางการ โดยทุกภาค
ส่วนการปอ้ งกนั ของ ISSA ในเดอื นมถิ นุ ายน ค.ศ.2015 ISSA ได้พัฒนาเวป็ ไซด์การสัมมนา และ “ค่มู อื ” ขึ้น
มีการเปิดตัววิธีการเข้าถึง VISION ZERO ที่งานชุมนุมด้านความปลอดภัยและสุขภาพในการทำงานทั่วโลก
ครั้งที่ 21 ในเดือนกันยายน ปี ค.ศ.2017 ณ ประเทศสิงคโปร์ โดยแนะนำให้รู้จักกับผู้เชี่ยวชาญด้านการ
ปอ้ งกันหลายพันคนจากท่วั โลก
VISION ZERO - ใช่ เราสามารถทำได้

การสรา้ งกลยุทธ์ VISION ZERO เป็นโครงการท่ีมีความปรารถนาอย่างแรงกล้า ต้องอาศยั ความมุ่งมั่น
การทำงานหนัก และความร่วมมือระหว่างคนจำนวนมาก แต่สิ่งหนึ่งที่ชัดเจนอยู่แล้ว คือท้ายที่สุดแล้วไม่วา่
จะประสบความสำเร็จหรือล้มเหลวขึ้นอยู่กับนายจ้างที่มุ่งมั่น ผู้จัดการ และผู้บริหารที่มีแรงบันดาลใจ และ
พนักงานที่มีความตื่นตัวในบริษัท เราต้องทำให้ทั่วโลกกระจ่างชัดว่า การป้องกันที่มีประสิทธิภาพไม่ได้เป็น
เพียงหน้าที่ด้านมนุษยธรรมเท่านั้นแต่ยังเป็นการลงทุนที่สมเหตุสมผลในอนาคตที่มีมนุษยธรรม พร้อมด้วย
สภาพการทำงานท่ีเหมาะสม และการรับประกันความสำเร็จของบริษัท โดยส่วนตัวเราเชื่อมั่นว่า VISION
ZERO เป็นไปได้ มาทำให้โลกของเราดขี ึ้น - มันอย่ใู นมอื ของเรา

16

หลกั สูตรท่ี 2: กฎทอง 7 ประการ สำหรบั พเี่ ลี้ยง (7 GOLDEN RULES FOR MENTOR)

อุบัติเหตุจากการทำงานรวมทั้งการเจ็บป่วยที่เกี่ยวข้องกับการทำงานไม่ได้เกิดจากโชคชะตา ด้วย
ความบังเอิญ หรือหลีกเลี่ยงไม่ได้ แท้จริงแล้วสิ่งเหล่านี้ล้วนมีสาเหตุด้วยกันทั้งสิ้น การสร้างวัฒนธรรมเชิง
ป้องกันที่เข้มแข็งสามารถลดหรือกำจัดสาเหตุเหลา่ นี้เพือ่ ป้องกันไม่ให้เกดิ อุบัติเหตุและการเจ็บป่วยจากการ
ทำงานได้

VISION ZERO คอื ความใฝฝ่ นั และความมุ่งมัน่ ที่จะสร้างและทำให้มัน่ ใจว่างานทีท่ ำนัน้ ปลอดภัย และ
มีสุขภาวะทดี่ ี โดยการป้องกันอุบตั ิเหตุ อนั ตราย และโรคท่ีเก่ยี วเนื่องจากการทำงาน พร้อมทั้งส่งเสริมความ
เป็นเลิศอย่างต่อเนื่องในด้านความปลอดภัย สุขภาพ และความผาสุก ทั้งนี้ควรทำความเข้าใจว่า VISION
ZERO เป็นการเดินทาง เป็นกระบวนการไปสู่อุดมคติ นอกจากนี้ยังเปน็ วิสัยทศั น์ท่ีอิงคณุ ค่า ซึ่งหมายความ
ว่า งานไม่ควรส่งผลเสียต่อความปลอดภัย สุขภาพ และความผาสุก ของผู้ปฏิบัติงาน และถ้าเป็นไปได้ ควร
ช่วยเหลือพวกเขาธำรงรักษา หรือปรับปรุงความปลอดภัย สุขภาพ และความผาสุก ของผู้ปฏิบัติงาน และ
พฒั นาให้ผปู้ ฏิบตั ิงานมีความมัน่ ใจในตนเอง มีความสามารถ และให้ได้รับการจ้างงาน

VISION ZERO หรือวิสัยทัศน์ความปลอดภัยสู่คุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน เป็นแนวคิดในการจัดกา ร
อาชีวอนามัย และความปลอดภัยที่เป็นระบบ โดยการเปลี่ยนแปลงจากการตั้งรับไปสู่การสร้างวัฒนธรรม
การป้องกันซึ่งรวมท้ัง 3 มติ ขิ องความปลอดภัย สขุ ภาพอนามัยและความผาสุก ในทกุ ระดับงาน VISION ZERO
มีความยืดหยุ่นสามารถปรับใช้ได้ตามระดับความสำคัญที่เฉพาะเจาะจงในด้านความปลอดภัย สุขภาพ
อนามัยและความผาสุก เพื่อให้เกิดการป้องกันในบริบทต่าง ๆ ความยืดหยุ่นของ VISION ZERO นี้จึงมี
ประโยชน์ต่อสถานที่ทำงาน สถานประกอบกิจการ องค์กรทุกขนาด ทุกประเภทอุตสาหกรรมที่อยู่ในทุก
ภูมิภาคของโลก

ความมุ่งมั่นอย่างจริงจังต่อ VISION ZERO สามารถทำให้เกิดการริเริ่มและรักษากระบวนการ และ
การสนับสนุนทางสังคมที่จำเป็นสำหรับการเดินทางของ VISION ZERO ได้ VISION ZERO ไม่ใช่สิ่งที่คุณมี
หรือบรรลุแต่เป็นสิ่งที่คุณต้องทำ VISION ZERO ไม่ใช่สำหรับองค์กรที่ดีที่สุด หรือองค์กรขนาดใหญ่ที่มี
ผู้เชี่ยวชาญด้านประสบการณ์มากนักในการบูรณาการความปลอดภยั สุขภาพ และความผาสุก ให้เป็นส่วน
หนง่ึ ของกลยทุ ธท์ างธุรกิจ

ผนู้ ำ (LEADER)

ตามพจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2530 คำว่า “ผู้นำ” เป็นนามหมายถึง “หัวหน้า” ผู้นำ
เป็นปัจจัยที่สำคัญย่ิงประการหนึ่งต่อความสำเร็จของสถานประกอบกิจการหรือองค์กร เพราะผู้นำมี
ภาระหน้าที่และความรับผิดชอบโดยตรงที่ต้องวางแผนงาน สั่งการ ดูแลและควบคุมให้บุคลากรในสถาน
ประกอบกิจการหรอื องค์กรของตนปฏบิ ตั ิงานตามบทบาทหน้าที่ท่ไี ดร้ บั มอบหมายให้ประสบความสำเรจ็

ความผูกพันกับงาน ท่มุ เทความร้คู วามสามารถ และทำงานสำเร็จตามเป้าหมายขององคก์ รที่ได้วางไว้
รว่ มกันด้วยความเตม็ ใจ โดยยึดหลักคณุ ธรรมและจริยธรรมในการบริหารจดั การ

17

ผบู้ ริหาร และผู้นำอาจเป็นบุคคลคนเดยี วกนั หรือเหมือนกนั หรือไม่ก็ได้ โดยพิจารณาจากคุณลักษณะ
คือ ผู้บริหารจะเกี่ยวข้องกับงานเดิมที่ทำเป็นประจำ และจุดมุ่งหมายเพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่าง
ถูกต้อง (Do things right) ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) ในการใช้ทรัพยากรให้บรรลุจุดหมายของ
องคก์ รไดด้ ี ในขณะท่ี ผนู้ ำจะมงุ่ ก่อให้เกิดการเปลยี่ นแปลงเชิงนวตั กรรม ในทศิ ทางทถ่ี ูกต้อง (Do the right
things) ความมีประสิทธิผล (Effectiveness) และความสามารถจูงใจให้ผู้ปฏิบัติเกิดแรงบันดาลใจใช้
ความสามารถพเิ ศษไดอ้ ย่างเตม็ ท่ี
ผนู้ ำแบง่ ออกเปน็ 2 ลกั ษณะท่ีแตกตา่ งกัน คอื

1) ผู้นำแห่งการจัดการ (transactional leader) หมายถึง ผู้นำที่จูงใจให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติงาน
ในระดับที่คาดหวัง โดยให้ตระหนักถึงความรับผิดชอบในงาน ความชัดเจนในจุดหมายการทำงาน ความ
มั่นใจในการปฏิบัติงานให้บรรลุจุดหมายที่ต้องการ ให้เข้าใจถึงความเชื่อมโยงระหว่างความต้องการ
และรางวลั ท่ีจะได้รบั การตอบสนองกับการทำงานให้บรรลผุ ลสำเร็จ

2) ผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลง (transformational leader) เป็นผู้จูงใจให้บุคคลปฏิบัติงานเกินกว่า
ความคาดหวังตามปกติ มุ่งไปที่ภารกิจงานอย่างกว้างๆ ด้วยความสนใจที่เกิดขึ้นภายในตน มุ่งบรรลุความ
ต้องการในระดับสูง เช่น ความสำเร็จของงาน มากกว่าความต้องการในระดับต่ำ เช่น ความปลอดภัยหรือ
ความมั่นคง และทำให้พวกเขามีความมั่นใจในการที่จะใช้ความสามารถปฏิบัติงานให้บรรลุผลสำเร็จใน
ภารกจิ ทีเ่ กินปกตินนั้

การเป็นผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลงนี้ไม่ได้มาแทนที่การเป็นผู้นำแห่งการจัดการ แต่จะช่วยเสริมหรือ
กอ่ ใหเ้ กดิ ผลทเี่ พ่ิมข้ึน (add-on effect) จากการเป็นผนู้ ำแห่งการจัดการ
ภาวะความเป็นผ้นู ำ (LEADERSHIP)

ภาวะผู้นำ หมายถึงความสามารถของบุคคลในการนำพาผู้ติดตามหรือสมาชิกในองค์กรให้ประสบ
ความสำเร็จ ผู้นำที่ดีต้องมีความสามารถในการตัดสินใจที่ดี สามารถสร้าง และสื่อสารวิสัยทัศน์ที่ชัดเจนได้
และสามารถชักจงู ผู้ติดตามไปสเู่ ป้าหมายรว่ มทผ่ี ู้นำคนเดียวไมส่ ามารถทำได้

ผนู้ ำทีด่ ีต้องมคี วามม่ันใจ รับฟังความคิดเหน็ ของผตู้ ิดตาม ตดั สนิ ใจไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะใน
การสื่อสารสูง และสามารถชักจูงผูอ้ ่นื ได้ ความสำคญั ของทักษะเหล่าน้ีข้ึนอย่กู บั วัฒนธรรมขององคก์ ร ความ
คาดหวงั ของผู้ตดิ ตาม และชนิดของงานด้วย

18

แนวคิดจากบทความของจิม คอลลินส์ เรื่องชัยชนะแห่งความอ่อนน้อมถ่อมตน และการแก้ไขความ
รนุ แรง ไดจ้ ัดลำดับชน้ั ของผูน้ ำไว้ 5 ระดับ

ระดบั ท่ี 1 บคุ คลทีม่ คี วามสามารถสงู (Highly Capable Individual)
ทำใหเ้ กิดผลงานท่ีมีประสทิ ธิภาพด้วยความสามารถ ความรู้ ทักษะ และนิสยั การทำงานท่ดี ี
ระดบั ที่ 2 สมาชกิ ทมี ทส่ี ร้างผลงาน (Contributing Team Member)
มีส่วนช่วยในการบรรลุวัตถุประสงค์ของกลุ่ม ทำงานร่วมกับผู้อื่นไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพในการจัดตั้ง
กลุม่
ระดับท่ี 3 ผจู้ ดั การทมี่ คี วามรู้ความสามารถ (Competent Manager)
จดั ระเบียบคน และทรัพยากรไปสปู่ ระสิทธิภาพ การดำเนินการตามวัตถปุ ระสงค์ที่กำหนดไว้ล่วงหน้า
อยา่ งมปี ระสิทธผิ ล
ระดับท่ี 4 ผู้นำทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ (Effective Leader)
กระตุ้นให้เกิดความมุ่งมัน่ และจรงิ จงั ในการดำเนินการของวิสยั ทัศน์ทชี่ ัดเจนและผูกมัด กระตุ้นกลุ่ม
นำไปสมู่ าตรฐานสมรรถนะสงู
ระดับที่ 5 ผบู้ ริหารระดับ 5 (Level 5 Executive)
สร้างความยิ่งใหญ่ที่ยืนยง สามารถผสมผสานความขัดแย้งกัน ด้วยความอ่อนน้อมถ่อมตนและ
ปณิธานในวิชาชพี

19

แนวปฏบิ ัติ VISION ZERO
การปรับปรุงด้านความปลอดภัย และสุขภาพอนามัยในสถานประกอบกิจการ ไม่ได้หมายถึงการตอ้ ง

เพ่ิมคา่ ใช้จ่ายเสมอไป ส่งิ สำคญั คือการทน่ี ายจ้าง ผบู้ ริหารหรือผนู้ ำองคก์ รมคี วามตระหนัก และจิตสำนกึ ของ
ความเป็นผูน้ ำสมำ่ เสมอตลอดเวลา สรา้ งบรรยากาศของความไว้เน้ือเช่ือใจกนั มีการส่ือสารอย่างเปิดเผยทุก
ระดับภายในองค์กร การนำกลยุทธ์เชิงป้องกันของ VISION ZERO ไปดำเนินการสู่การปฏิบตั ิต้องการการมี
ส่วนร่วมจากบุคลากรในองค์กรอย่างมากมายทุกระดับ ความสำเร็จหรือความล้มเหลวของการนำ
VISION ZERO ไปใช้พจิ ารณาได้จากนายจา้ ง ผู้บรหิ ารหรอื ผู้นำองคก์ ร

เพื่อสนับสนุนให้นายจ้าง ผู้บริหารหรือผู้นำองค์กรสามารถปรับปรุงด้านความปลอดภัยและสุขภาพ
อนามัยในสถานประกอบกิจการตามแนวทาง VISION ZERO หน่วยงาน ISSA ได้มีการสำรวจและสอบถาม
เกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติที่ดีที่สุด กลุ่มนายจ้าง ผู้บริหารระดับสูง ผู้จัดการ ผู้เชี่ยวชาญด้านการป้องกัน ผู้แทน
ลูกจ้าง และเจ้าหน้าทีต่ รวจแรงงาน รวมกว่า 1,000 ราย ซึ่งผลการวิจยั นี้ได้นำมาสู่การพฒั นาเครื่องมือการ
บริหารเชิงปฏิบัติขึ้นเพื่อใช้ในการเสริมสร้าง VISION ZERO ในรูปแบบของกฎทอง 7 ประการ
(7 Golden Rules)

ทำไมต้องเรียกว่า “กฎทอง” (Golden Rules) เพราะ “กฎ” คือความจริงที่แน่แท้แน่นอน และที่ใช้
“ทอง” ก็เพ่ือมาเน้นว่ามีคุณค่ามาก เป็นความจรงิ ที่ทรงคุณค่า เป็น “กฎของคุณธรรม” (Mindset) ท่ีต้องมี
เพอื่ ตวั เอง ครอบครวั เพ่อื นร่วมงาน และสงั คมโดยรวม กำหนดเป็นวิสัยทศั นส์ ว่ นตน
การใช้แนวปฏิบตั ติ ามรูปแบบกฎทอง 7 ประการ

กฎทองแต่ละข้อในแนวปฏิบัตินี้มีคำอธิบายภาพรวมโดยย่อ และลำดับชุดของหลักการ รวมถึง
คำแนะนำกิจกรรมหรือวิธีดำเนินการที่เป็นรูปธรรมในแต่ละเรื่อง เพื่อเป็นแนวทางในการนำ VISION ZERO ไป
ประยุกต์ใช้หรือบูรณาการในปฏิบัติการ ซึ่งทำให้สามารถทราบได้ว่าแนวปฏิบัติในกฎทอง 7 ประการข้อ
ใดบ้างที่ได้ดำเนินการแล้วในสถานประกอบกิจการของท่านในปัจจุบัน มีความจำเป็นต้องดำเนินการแก้ไข
หรอื ยังสามารถปรบั ปรุงเพิม่ เตมิ ได้อกี หรอื ไม่

20

กฎทองขอ้ ท่ี 1 : มีความเปน็ ผู้นำ - แสดงใหเ้ ห็นถึงความมงุ่ มัน่
เป็นผู้นำและแสดงให้เห็น การที่ท่านทำตัวเป็นผู้นำนั้น คือ การชี้ขาดความสำเร็จ หรือความล้มเหลว
เรอ่ื งความปลอดภยั และสขุ ภาพอนามัยใหแ้ กอ่ งคก์ รของท่าน

1.1 ข้าพเจ้า (ในฐานะผู้บริหาร) ได้แสดงใหผ้ ู้ปฏิบัติงานภายใตก้ ารบังคับบัญชาของขา้ พเจ้า ได้เห็นถึงความ
เป็นผู้นำของข้าพเจ้าในด้านความปลอดภัยและสุขภาพอนามัย โดยข้าพเจ้าได้มีการวางมาตรฐานและ
ขั้นตอนการปฏิบัติงานด้านความปลอดภัย และได้ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ผู้ร่วมงานทุกระดับของ
ขา้ พเจา้

1.1.1 ข้าพเจ้ามีหน้าที่รับผิดชอบในเรื่องความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยสำหรับผู้ปฏิบัติงานของ
ข้าพเจ้า ซ่ึง ขา้ พเจา้ ตระหนักดีในเร่ืองน้ี และพรอ้ มรบั หนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบดังกล่าว ผู้บริหารแสดงความ
มุ่งมั่นในความรับผิดชอบต่อการบริหารจัดการความปลอดภัย สุขอนามัยและสภาพแวดล้อม
ในการทำงานของผู้ปฏิบัติงาน (ลูกจ้างหรือคนทำงาน) เพื่อให้ทำงานด้วยความปลอดภัย และมีสุขอนามัยที่ดี
ตวั อยา่ งเชน่

• กำหนดหน้าที่รับผิดชอบเรื่องความปลอดภัยและสุขอนามัยในการทำงานของพนักงานทุก
ระดับ ตั้งแต่ผู้บริหาร หัวหน้างาน และผู้ปฏิบัติงาน ไว้ในระเบียบปฏิบัติ ข้อปฏิบัติงาน
หรือขอ้ บงั คบั ขององคก์ รหรือหน่วยงาน

• อำนวยการหรือจดั การให้สถานท่ีทำงาน หรือสภาพแวดลอ้ มในการทำงานของหน่วยงานให้
มคี วามปลอดภยั เหมาะสมต่อการทำงาน

• จัดสรร และสนบั สนุนทรพั ยากรต่าง ๆ ในการบริหารงานดา้ นความปลอดภยั ของหนว่ ยงาน
เพียงพอและเหมาะสม ทัง้ ดา้ นบุคลากร เทคโนโลยี งบประมาณ และอปุ กรณ์เคร่อื งมือ

• ทบทวนผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยและสุขอนามัยในการทำงานกับผู้ปฏิบัติงาน
ในหนว่ ยงานเป็นประจำ และสนับสนนุ ให้มกี ารปรับปรงุ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง

1.1.2 ขา้ พเจ้าได้จดั ทำเป้าประสงค์ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (รวมถงึ พันธกิจ และหลกั การตา่ ง ๆ ที่
เกี่ยวข้อง) สำหรับหน่วยงานของข้าพเจ้า และสื่อสารให้ผู้ปฏิบัติงานรับทราบตัวอย่างการดำเนินการ ของ
ผบู้ รหิ าร ดงั น้ี

• กำหนดเรื่องความปลอดภัย และอาชีวอนามัยไว้ในวิสัยทัศน์ พันธกิจ หรือนโยบายของ
องคก์ ร หรอื หน่วยงาน

• ตั้งวัตถุประสงค์/เป้าหมายด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยขององค์กร หรือหน่วยงานที่
ชัดเจนและวัดผลได้ เช่น จำนวนกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย ฯ จำนวนการรายงาน
อบุ ัติการณเ์ พ่ิมข้ึน 5% ทุกไตรมาส ลดจำนวนรายของอุบัตเิ หตุทุกกรณีหรือลดจำนวนราย
ของอุบตั ิเหตขุ ้ันหยุดงานลง 10% เทยี บกบั ปกี ่อนหน้า รายการแกไ้ ขปรับปรุงทุกกรณีเสร็จ
สมบรู ณต์ ามกำหนด เปน็ ต้น

• ได้มีการสื่อสารวัตถุประสงค์/เป้าหมายด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัยขององค์กร
หรือหน่วยงานให้ผู้ปฏิบัติงาน และ/หรือผู้เกี่ยวข้องทุกคนในหน่วยงานได้รับทราบโดย

21

ช่องทางต่าง ๆ เช่น กระดานข่าว บอร์ดประชาสัมพันธ์ เว็บไซต์ การประชุมพนักงาน
ประจำไตรมาส ฯลฯ

1.1.3 ความปลอดภัย และสุขภาพอนามัย เปน็ เรอ่ื งท่ีขา้ พเจ้าถือว่าสำคญั และตอ้ งมาก่อนเรื่องอืน่ เสมอ
กรณีที่ไม่แน่ใจว่ามีความปลอดภัยหรือไม่ ข้าพเจ้าจะบอกว่า "หยุด" (จนกว่าจะมีการตรวจสอบก่อนที่จะ
ดำเนินการต่อไป) สถานประกอบกจิ การมีข้อกำหนดการรายงานสภาพไม่ปลอดภัย หรือให้ผู้ปฏิบัติงานหยุด
การทำงานได้ถา้ ไม่ปลอดภัย จนกวา่ มกี ารปรับปรุงหรอื ตรวจสอบ มปี า้ ยหา้ ม หรือกจิ กรรม “หยุด เรียก รอ”
หรอื “Stop and Think” หรอื 4 Stops เป็นตน้

ผู้บริหารหรือหัวหน้างานหยุดหรือสั่งให้หยดุ ปฏบิ ัติงานนัน้ ๆ ทันทีเมื่อพบเหตุการณ์ต่อไปนี้ถึงแม้วา่
การส่งั หยดุ งานอาจทำให้การผลิตล่าช้าก็ตาม ตัวอยา่ งเช่น

• สั่งให้ผู้ปฏิบัติงานที่ทำงานโดยไม่สวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลตามที่
กำหนดในขณะทำงานอนั ตราย หยดุ ทำงานจนกว่าจะปฏิบตั ถิ ูกต้อง

• อุปกรณ์เครื่องมือในการทำงานของผู้ปฏิบัติงานอยู่ในสภาพไม่ปลอดภัย ชำรุด สึกหรอ
หรือไม่ไดค้ ณุ ภาพ หรือการใช้ผดิ ประเภท ผิดวิธี

• ผู้ปฏิบัติงานฝ่าฝืนกฎความปลอดภัยในการทำงาน กฎระเบียบการทำงาน หรือไม่ปฏิบัติ
ตามวธิ ีการทำงานท่ีถูกตอ้ ง

• ผปู้ ฏบิ ัติงานหยอกล้อเลน่ กันขณะทำงาน หรือทำงานลัดข้ันตอน
• สขุ ภาพร่างกายของผูป้ ฏบิ ัติงานไม่ปกติ หรือเจ็บป่วย
• สงิ่ แวดลอ้ มในการทำงานไม่ไดม้ าตรฐานตามกฎหมาย

1.1.4 ความปลอดภัย และสุขภาพอนามัยเป็นเรื่องที่อยู่ในวาระแรกของการประชุม (ที่เกี่ยวกับการ
ปฏิบัติงาน) ในที่ทำงานของขา้ พเจ้าเสมอ ความปลอดภัย และสุขภาพอนามยั เป็นเรื่องท่ีอยู่ในวาระของการ
ประชุมหรอื การคุยพดู กนั ตัวอยา่ งเช่น

• การกำหนดให้หรือบรรจุประเด็นความปลอดภัย และอาชีวอนามัยในการทำงานเป็นวาระ
แรกในการประชุม/การพดู คุยขององค์กรหรอื หนว่ ยงาน

• การแจ้ง ชแ้ี จง หรอื สื่อสารขอ้ มลู ข่าวสาร กฎระเบียบ ขอ้ บังคับเรือ่ งความปลอดภัย ฯ ของ
องค์กรหรือหน่วยงานในท่ปี ระชุมผู้เก่ียวขอ้ งท้งั ภายในและภายนอกก่อนเรม่ิ ประชุมเสมอ

• การทบทวนหรือพูดคยุ ประเดน็ เกี่ยวกับความปลอดภัย และการดูแลสุขภาพอนามัยในการ
ทำงานก่อนเร่มิ งานหรอื เร่มิ ประชุมภายในหน่วยงาน

• การเปดิ หรอื ฉายวิดโี อความปลอดภัย และอาชวี อนามยั ในการทำงานก่อนเริ่มประชุมวาระ
อ่ืนของหน่วยงาน

22

1.1.5 ข้าพเจ้าตระหนักดีว่า ข้าพเจ้าตอ้ งทำตวั ให้เป็นแบบอยา่ งท่ีดี ข้าพเจา้ จงึ ปฏิบัติตามกฎระเบียบ
และใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลตามที่กำหนด เมื่อข้าพเจ้าเห็นว่ามีการกระทำใดที่ไม่
ปลอดภัย ข้าพเจ้าจะเข้าไปดำเนนิ การเก่ยี วกบั การกระทำน้นั ทนั ที และพูดกบั ผู้ทีเ่ กย่ี วข้องผู้บริหารประพฤติ
และปฏิบัติตนเป็นต้นแบบ หรือเป็นผู้นำด้านความปลอดภัย และสุขภาพอนามัยของสถานประกอบกิจการ
องคก์ รหรอื หนว่ ยงาน ตัวอย่างเชน่

• ปฏิบัตติ ามกฎระเบียบ ข้อบงั คับการทำงาน และข้อปฏิบัตเิ พ่ือความปลอดภัยในการทำงาน
อย่างเคร่งครัด

• แสดงความเป็นผู้นำในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของหน่วยงานโดยพิจารณาเรื่องความ
ปลอดภยั ฯ ผนวกเป็นส่วนหน่งึ ของปฏิบัติการทำงาน

• ตรวจสอบสภาพก่อนการสวมใส่ และสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยทุกครั้ง เม่ือ
เขา้ ไปในสถานทีท่ ำงานที่กำหนดใหส้ วมใส่

• ตรวจตราและตรวจสอบความปลอดภัยในสถานท่ที ำงาน และสงั่ หยุดงาน ตกั เตือน แนะนำ
หากพบผปู้ ฏิบัติกระทำไม่ปลอดภัย

• ดำเนินการทันทที ่พี บสภาพแวดลอ้ ม หรอื การกระทำท่ีไม่ปลอดภัย
1.1.6 ข้าพเจ้าเข้าร่วมในทุกโอกาสที่มีการอบรมเรื่องความปลอดภัย และอาชีวอนามัยสำหรับผู้นำ
และผู้ปฏิบัติงานระดับบริหาร เพื่อรับทราบข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่ในปัจจุบัน ผู้บริหารหรือผู้นำได้เข้ารับการ
อบรมดา้ นความปลอดภัยอาชีวอนามัยที่เกย่ี วข้องทุกครงั้ ทมี่ ีโอกาส ในรปู แบบตา่ ง ๆ ได้แก่ การสมั มนา การ
เรยี นบนระบบออนไลน์ การอบรมในชนั้ เรียน เป็นตน้ ตวั อย่างเชน่

• การอบรมหลักสูตรความปลอดภัยในการทำงานตามกฎหมาย เช่นการอบรมหลักสูตร
เจ้าหน้าที่ ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร หลักสูตรการป้องกัน และระงับอัคคีภัย
ฯลฯ

• การฟังบรรยายความรู้หรือร่วมสัมมนาเกี่ยวกับความปลอดภัย และสุขอนามัยในการ
ทำงานในโอกาสตา่ ง ๆ

• การอบรมหลักสูตรอื่น ๆ เกี่ยวกับการบริหารจัดการความปลอดภัย สุขอนามัยและ
สงิ่ แวดลอ้ มในการทำงาน

• การอบรมมาตรฐานแรงงานไทย ระบบการบรหิ ารจัดการความปลอดภัย และอาชวี อนามัย
• กฎหมายข้อบงั คับท่ีเก่ียวข้อง กฎเกณฑ์หรอื จรรยาบรรณทางธุรกิจ เป็นต้น

23

1.2 ความสำคัญเกี่ยวกับความปลอดภัย และสุขภาพอนามัยเป็นเรื่องที่รับทราบโดยผู้ปฏิบัติงานทุกคนของ
ขา้ พเจา้ และเรามีการพูดคยุ เกี่ยวกบั เรื่องน้กี นั อย่างเปิดเผย

1.2.1 สถานประกอบกิจการของเรามกี ฎระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ด้านความปลอดภยั ในการทำงานท่ีชัดเจน
เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนทำงานได้อย่างปลอดภัย จัดให้มีเอกสารกฎระเบียบ ข้อบังคับด้านความปลอดภยั
ในการทำงาน เร่อื งตา่ ง ๆ ได้แก่

• ระเบียบปฏิบัติมาตรฐานความปลอดภัยในการทำงาน (Standard Operating Procedure หรือ
SOP) เช่น โปรแกรมการบริหารความปลอดภัย สุขอนามัยและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน
ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้า ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับ
เครื่องจักร ความปลอดภัยในการทำงานยกยา้ ยดว้ ยรถยก เครื่องจักรหนกั เป็นตน้

• คู่มือปฏิบัติการในการทำงาน (Process Instruction หรือ PI) หรือ (Work Instruction
หรือ WI) เช่น คู่มือการบำรุงรักษาเครื่องจักรคู่มือการทำความสะอาดชิ้นงาน คู่มือการ
บรรจุผลิตภัณฑ์

• ข้อบังคับการทำงาน (Work Rule & Regulation)
• วิธปี ฏิบตั งิ าน (Work Practices)

ผ้ปู ฏิบตั ิงานรบั ทราบระเบียบปฏิบัติมาตรฐาน คู่มือปฏิบตั ิงาน ข้อบงั คบั การทำงาน หรอื วิธีการทำงาน
โดยชอ่ งทางการอบรบ การสอนงาน การส่ือสาร การติดบอร์ด การติดท่ีบรเิ วณทำงาน และอนื่ ๆ

1.2.2 ข้าพเจ้าทำให้แน่ใจว่าผู้ปฏิบัติงานทุกคนรับทราบกฎระเบียบ ข้อบังคับด้านความปลอดภัยใน
การทำงานในสถานที่แห่งนี้ สถานประกอบกิจการจัดทำระบบจัดการหรือบันทึกสิ่งที่ดำเนินการ เพ่ื อช่วย
ตรวจสอบภายในองคก์ รหรอื หน่วยงาน ตวั อยา่ งเชน่

• บันทึกหลักสูตรการอบรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทำงานสำหรบั พนกั งานใหมห่ รือพนกั งานท่เี ปล่ยี นงาน

• บันทึกการอบรมด้านความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำงานเรื่องอืน่ ๆ
• บนั ทกึ ทผ่ี ปู้ ฏบิ ัตงิ านลงลายมอื ช่ือรับทราบคำช้แี จงหรอื คำส่ัง
• บันทกึ การลงลายมอื ช่อื ของผู้ปฏบิ ตั งิ านเมื่อมีการสอนงาน (On the Job Training)

1.2.3 ขา้ พเจ้ามกี ารพูดคุยเกี่ยวกบั เร่อื งความปลอดภยั และสขุ ภาพอนามัยกบั ผู้ปฏบิ ตั ิงานของขา้ พเจ้า
สถานประกอบกิจการจัดทำโครงการหรือกิจกรรมในการพบปะ พูดคุย ประชุม กับผู้ปฏิบัติงาน
เพื่อทบทวน และแลกเปลย่ี นความคดิ เห็น

• การพูดคุยเรื่องความปลอดภัย ฯ ในการทบทวนประจำวันก่อนเริ่มงาน (Daily Brief, Toolbox
Talks)

• การสอ่ื สารกจิ กรรมหรอื ข้อมลู จากการประชุมของคณะกรรมการความปลอดภยั ฯ
• การสื่อสาร แลกเปลี่ยน แบ่งปัน ข้อมูลหรือประสบการณ์เกี่ยวกับความปลอดภัย ฯ ท่ี

เกี่ยวขอ้ งกับผู้ปฏบิ ัตงิ าน (Learn & Share)

24

• การแจ้งข้อมูลข่าวสารและการรับฟังความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย ฯ ภายใน
องค์กรหรือหน่วยงานกับผู้ปฏิบัติงาน หรือการพบปะพูดคุยกับผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งอาจอยู่ใน
รปู แบบทั้งทีเ่ ป็น ทางการ และทไ่ี ม่เปน็ ทางการกไ็ ด้

1.2.4 ผู้ปฏิบัติงานของข้าพเจ้าทราบเสมอว่า ใครบ้างที่มีหน้าที่รับผิดชอบดา้ นความปลอดภัยในการ
ทำงานสถานประกอบกิจการ องค์กรหรือหน่วยงาน มีการสื่อสารให้ผู้ปฏิบัติงานทราบถึงกำหนดหน้าท่ี
รับผิดชอบงาน และการมอบหมายงานด้านความปลอดภัยในงานแตล่ ะดา้ น ตวั อยา่ ง เช่น

• ระบุความรับผดิ ชอบดา้ นความปลอดภัยไว้ในงานภาระหน้าทเี่ รือ่ งท่ีเก่ียวข้องในการทำงาน
• ผู้ปฏบิ ตั ิงานทุกระดบั ทำหนา้ ทแ่ี ละรบั ผิดชอบดา้ นความปลอดภัยในการทำงานของตนเอง

ตามทไี่ ดร้ ับมอบหมาย
• ผู้ปฏิบัติงานทราบว่าใครเปน็ คณะกรรมการความปลอดภยั ฯ มีหน้าที่รับผิดชอบอะไร บน

กระดานข่าว

1.2.5 ข้าพเจ้าติดตามความคิดเห็นจากผู้ปฏิบัติงานของข้าพเจ้า เพื่อดูว่าข้าพเจ้าได้ทำหน้าที่สมกับ
บทบาทของการเป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่องความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ผู้บริหารต้องใจกว้างมากพอใน
การรบั ฟังความคดิ เห็นจากผู้ปฏิบัติงาน (Openness) โดยใช้วิธกี าร หรือ ชอ่ งทางตา่ ง ๆ ตวั อยา่ ง เช่น

• การสอบถามความคิดเห็นจากผปู้ ฏิบตั ิงานโดยตรง (Direct interview)
• การเปดิ ใหแ้ สดงความคิดเห็นอยา่ งกวา้ งขวาง (Open discussion)
• การใหผ้ ปู้ ฏิบตั งิ านทำแบบสำรวจความคดิ เหน็ (Survey)
• การสังเกตพฤติกรรมการลอกเลยี นแบบของผปู้ ฏบิ ตั งิ าน (Behavior Observation)

1.3 ข้าพเจ้าปฏิบตั ติ นอย่างสม่ำเสมอ และแสดงใหท้ ุกคนได้เหน็ วา่ ความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการ
ทำงานเป็นเรอ่ื งทม่ี คี วามสำคญั

1.3.1 ก่อนที่บุคลากรใดในสถานประกอบกิจการของข้าพเจ้าจะเข้ารับตำแหน่งผู้บังคับบัญชา ต้อง
ผ่านการอบรมเกย่ี วกบั ความเปน็ ผนู้ ำในด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัยด้วย

สถานประกอบการกำหนดเป็นนโยบายหรือมาตรฝึกอบรมหลักสูตรต่าง ๆ สำหรับผู้นำหรือผู้บริหาร
โดยมีหลกั สตู รการบรหิ ารจดั การความปลอดภัยและอาชวี อนามยั เป็นหลกั สูตรฝกึ อบรมทีจ่ ำเป็น (Training
needs) เพื่อเตรยี มพรอ้ มสำหรับการรับตำแหนง่ ทส่ี ูงข้ึน ตวั อย่างเชน่

• ความรู้เบื้องตน้ เก่ียวกับการบรหิ ารจัดการความปลอดภยั และอาชวี อนามยั ในการทำงาน
• หลักสตู รเจา้ หนา้ ท่ีความปลอดภยั ในการทำงานระดบั หวั หน้างาน หรอื ระดบั บริหาร
• ข้อกำหนดในการบริหารจดั การความปลอดภยั และอาชีวอนามัยของสถานประกอบกิจการ

องคก์ รหรือหน่วยงาน
• การอบรมระบบมาตรฐานการจัดการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทำงาน

เช่น ISO45001 มาตรฐานแรงงานไทย (มรท.8001) เป็นตน้

25

1.3.2 ผู้ใต้บงั คับบญั ชาระดบั บริหารของข้าพเจา้ ทุกคนทราบดีวา่ ข้าพเจ้าให้ความสำคัญในเร่ืองความ
ปลอดภัยในการทำงานเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้น ผู้ใต้บังคับบัญชาระดับบริหารรวมทั้งผู้ปฏิบัติงานทุกคนต้อง
ปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับ และมาตรฐานด้านความปลอดภัยในการทำงานอย่างเท่าเทียมกันโดยไม่มี
ยกเว้น สถานประกอบกิจการ องค์กร หรือหน่วยงาน มีนโยบาย ระเบียบปฏิบัติ หรือกฎระเบียบในเรื่อง
ความเสมอภาคหรอื ความเทา่ เทยี มของพนกั งานทกุ คนทุกระดบั ในเรื่องขอ้ ปฏิบตั ิต่าง ๆ

• ประกาศนโยบายหรือระเบียบข้อบังคับในการทำงานชัดเจนใน เรื่องการปฏิบัติตาม
กฎระเบียบดา้ นความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน

• บันทึกการลงลายมือชื่อรับทราบนโยบาย หรือกฎระเบียบในเรื่องความปลอดภัยและ
สขุ อนามัยในการทำงาน

• การสังเกตพฤติกรรมผู้ใต้บังคับบัญชาที่เป็นระดับบริหารที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ
ความปลอดภยั และสขุ อนามัยในหนว่ ยงานของตนเอง

• ไม่มีข้อร้องเรียนจากผู้ปฏิบตั ิในเรือ่ งการเลอื กปฏิบัติของผูบ้ รหิ ารในสถานประกอบกิจการ
องค์กร หรือหนว่ ยงาน

1.3.3 ข้าพเจ้ายกย่องชมเชยการกระทำที่ปลอดภัย และว่ากล่าวตักเตือนพฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัยอย่าง
สมำ่ เสมอ

ข้าพเจ้าไม่ยอมรับการไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบ/ข้อบังคับเรื่องความปลอดภัย หรือความไม่เป็น
ระเบยี บในสถานทท่ี ำงานของข้าพเจ้า

สถานประกอบกิจการ องค์กร หรือหน่วยงาน มีนโยบาย หรือโครงการในการยกย่องชมเชย
ผู้ปฏิบัติงานที่ทำดี มีการส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน และกำหนดบทลงโทษผู้ที่ละเลยต่อ
กฎระเบียบ หรอื ข้อบงั คบั วา่ ดว้ ยความปลอดภยั ในการทำงาน

• ให้การชมเชยผู้ปฏิบัติงานที่ประพฤติปฏิบัติตามกฎระเบียบความปลอดภัยในการทำงาน
เป็นวาจาทั้งต่อหน้าและลับหลังบุคคลอื่น การติดประกาศเกียรติคุณ หรือการให้รางวัล
เพ่อื แสดงความขอบคณุ ผ้ปู ฏิบัติงานท่ีสง่ เสริมความปลอดภยั ในการทำงานเปน็ ประจำ

• การให้หยุดพฤติกรรมที่ไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับเรื่องความปลอดภัยของ
ผ้ปู ฏิบัตงิ าน และบอกกลา่ วตักเตอื นเพือ่ การปรับปรุง ทุกครง้ั ทีพ่ บ

1.3.4 ข้าพเจ้าให้ความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของผู้รับเหมา/คู่สัญญาด้วยมี
นโยบายด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทำงานครอบคลุมถึงผู้รับเหมา คู่ค้า ผู้จัดจำหน่ายและ
ลกู ค้า หรือดำเนินการข้อหนึ่งข้อใดหรือหลายข้อดงั ต่อไปน้ี

• มีกฎระเบยี บหรือข้อกำหนดด้านความปลอดภยั สำหรับผู้รบั เหมา ลูกค้า และผู้มาเยี่ยมเยยี น

• มีการสื่อสาร ปฐมนิเทศ ชี้แจง หรือแจ้งเกี่ยวกับความปลอดภัย และอาชีวอนามัยในการ
ทำงานใหแ้ ก่ ผ้รู บั เหมา ลูกค้า และผู้มาเย่ียมเยยี นใหร้ ับทราบ

• มีการกำกับดูแลความปลอดภัยในการทำงานของผู้รับเหมาเช่นเดียวกับผู้ปฏิบัติงานของ
สถานประกอบกิจการ องค์กรหรอื หนว่ ยงาน

• มรี ะเบียบปฏิบตั เิ ก่ียวกับความปลอดภยั และอาชวี อนามัยในการทำงานของผรู้ บั เหมา

26

1.4 ข้าพเจ้าลงทุนเรื่องความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในส่วนของการปฏบิ ัติการ
1.4.1 ผู้ปฏิบัติงานของข้าพเจ้าได้รับเวลาอย่างเพียงพอ เพื่อปฏิบัติงานได้อย่างระมัดระวังและ

ปลอดภัยสถานประกอบกจิ การมีการดำเนินการเพอื่ ให้พนกั งานทำงานในเวลาที่เหมาะสม ตวั อยา่ งเช่น
• มกี ารจัดลักษณะงาน ชว่ั โมงการทำงาน และเวลาพกั ระหว่างการทำงานอย่างเหมาะสมกับ
ผู้ปฏิบตั ิงาน
• มีการคำนวณจำนวนชิ้นงานต่อบุคคลที่สมเหตุสมผล ไม่มากเกินไปจนทำให้ผู้ปฏิบัติงาน
ตอ้ งเรง่ รีบทำผลงาน
• มีการออกแบบวิธีการทำงานและขั้นตอนการทำงานที่เหมาะสม สอดคล้องกับผลการ
ประเมนิ ความเส่ียง
• จัดการไหลของงาน (work flow) ที่ดี ทำให้ผู้ปฏิบัติงานมีความคล่องตัว และจัดพื้นที่ใน
การทำงานให้เคลือ่ นไหวได้คล่อง และสอดคล้องกบั การไหลของงาน

1.4.2 ผู้ปฏิบัติงานของข้าพเจ้าทราบถึงสิทธิและหน้าที่ของเขาที่สามารถหยดุ ทำงานได้ ถ้าหากว่าไม่
สามารถทำงานนน้ั ได้อยา่ งปลอดภยั

สถานประกอบกิจการ องค์กร หรือหน่วยงาน มีการประกาศสิทธิ และหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง
และสอื่ สารผ่านสอื่ ตา่ ง ๆ และเพอ่ื ให้แนใ่ จว่าผ้ปู ฏิบัติงานไดร้ บั ทราบสามารถตรวจสอบได้จากชอ่ งทาง ดงั น้ี

• บันทึกการรับทราบสิทธิ และหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้างขององค์กร หรือหน่วยงาน
เพอื่ ให้แน่ใจว่าผปู้ ฏบิ ตั งิ านได้รับทราบแลว้

• การพูดคุย หรือสอบถามผู้ปฏบิ ัตงิ าน
• ผู้ปฏิบัติงานปฏิเสธการทำงาน กรณีที่ผู้บริหารหรือหัวหน้างานมอบหมายงานที่อาจเสี่ยง

ต่ออันตราย มีการดำเนินการแก้ไขปรับปรุง และมีมาตรการความปลอดภัยก่อนให้ลงมือ
ปฏบิ ตั งิ าน

1.4.3 ขา้ พเจ้า และผ้ปู ฏิบัตงิ านระดับบริหารทุกคนทำการตรวจสอบเปน็ ประจำว่าไดม้ ีการปฏิบัติตาม
ขั้นตอนที่ปลอดภัยแล้ว เช่น ในช่วงที่มีการตรวจตราหรือการตรวจประเมินความปลอดภัย และการตรวจ
ประเมินข้ามสายงาน ตามหลักการของการควบคุมแบบคู่กัน (ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหา
ปจั จุบนั และเรียนรูส้ ่งิ ใหม่เพ่อื ทำการป้องกันดว้ ยกนั

สถานประกอบกิจการ องค์กรหรือหน่วยงานจัดทำแผนตรวจสอบความปลอดภัยและตรวจประเมิน
ความปลอดภัย และได้ดำเนินการตามแผนงาน ดังนี้

• มีการเดินตรวจตราความปลอดภัยในพื้นที่ทำงานร่วมกันของผู้บริหารสูงสุด และหัวหน้า
หน่วยงานส่วนต่าง ๆ เป็นประจำ (อาจเป็น รายสัปดาห์ หรือรายเดือน) และดำเนินการ
แก้ไขปรับปรงุ หรือกำหนดมาตรการความปลอดภยั ร่วมกนั

• มีการตรวจประเมินตามข้อกำหนดความปลอดภัย ฯ ร่วมกันระหว่างผู้บริหารสูงสุด และ
หัวหน้าหน่วยงานในพื้นที่ของหัวหน้าหน่วยงานคนอื่น (ข้ามสายงาน) และดำเนินการปรับปรุง
ร่วมกัน

27

• มกี ารตรวจตราสภาพการทำงาน และการทำงานของผู้ปฏิบตั ิงาน ร่วมกนั ระหว่างผู้บริหาร
สงู สดุ และผบู้ ริหารหนว่ ยงานทุกหนว่ ยงาน

• การสงั เกตพฤตกิ รรมความปลอดภยั ของพนักงาน และแก้ไขปรบั ปรงุ ร่วมกันหากพบปัญหา

1.4.4 ข้าพเจ้าทำให้แน่ใจว่า ได้มีการจัดให้มีอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร และมาตรการต่าง ๆ
รวมถึงงบประมาณอยา่ งเพียงพอในเรอื่ งความปลอดภยั และสขุ ภาพอนามยั

ผู้บริหารสถานประกอบกิจการ หรือหัวหน้าหน่วยงาน ได้จัดสรรทรัพยากรอย่างเหมาะสม และ
เพยี งพอต่อการบริหารจดั การความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ในการทำงานครอบคลมุ ด้านตา่ ง ๆ ดงั น้ี

• ด้านบุคลากร มีการจัดสรรจำนวนผู้ปฏิบัติงานที่เพียงพอต่อปฏิบัติการของหน่วยงาน การ
จัดตั้งคณะทำงานด้านความปลอดภัย ฯ (เช่น คณะกรรมการความปลอดภัย ฯ ทีม
ปฏิบตั ิการฉกุ เฉนิ ฯลฯ) และมอบหมายหน้า

• กำหนดระเบียบปฏิบัติงาน ขั้นตอนหรือวิธีการทำงาน เช่น การติดป้ายและล็อคอุปกรณ์
ไฟฟา้ ความปลอดภยั ในการทำงานกบั สารเคมี ขอ้ กำหนดในการขับรถโฟล์คลิฟท์ เปน็ ตน้

• อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร ที่ถูกต้องเหมาะสมกับงาน มีสภาพปลอดภัยต่อการใช้งาน
และจัดให้ มกี ารบำรงุ รักษา

• เตรยี มงบประมาณในการจดั หาอปุ กรณ์ เครือ่ งมือ เครื่องจักร การจัดฝกึ อบรม และการจัด
กจิ กรรมส่งเสรมิ ความปลอดภัย เป็นต้น

• สนับสนนุ และสง่ เสริมการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ และอ่ืน ๆ

กฎทองข้อที่ 2 : ชีบ้ ง่ อนั ตราย - ควบคมุ ความเสีย่ ง
การประเมินความเสี่ยง เป็นเครื่องมือที่จำเป็นเพื่อใช้ในการชี้บ่งอันตรายและความเสี่ยงในจังหวะเวล า
ที่เหมาะสมและอย่างเป็นระบบ และเพื่อปฏิบัติการป้องกันต่าง ๆ ได้ ทั้งอุบัติเหตุ การบาดเจ็บ
และเหตุการณ์เกือบเกิดอบุ ัตเิ หตทุ ีเ่ กิดขนึ้ ตอ้ งไดร้ ับการประเมินดว้ ยเช่นกนั

2.1 ข้าพเจ้าทำให้แน่ใจว่า มีการจัดเตรียมการประเมินความเสี่ยงในสถานที่ทำงานของข้าพเจ้าโดยทำเป็น
เอกสาร และได้รับการปรบั ปรุงแก้ไขใหท้ นั สมยั เป็นระยะ ๆ อยา่ งสม่ำเสมอ

2.1.1 ผู้ใต้บังคับบัญชาระดับบริหารของข้าพเจ้าทราบดีว่าพวกเขามีหน้าที่ต้องจัดให้มีการประเมิน
ความเสี่ยงโดยนำเอาความเสี่ยง และอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้ทั้งหมดมาพิจารณาสถานประกอบกิจการ
องค์กรหรอื หน่วยงานดำเนนิ กิจกรรมในการชี้บ่งอันตราย และควบคมุ ความเสย่ี งอนั ตราย ดังตวั อยา่ งต่อไปน้ี

• สถานประกอบกิจการจัดให้มีระเบียบหรือขั้นตอนในการประเมินความเสี่ยงและอันตราย
ในการทำงานครอบคลุมทุกกจิ กรรม และดำเนนิ การตามระเบียบหรือขั้นตอนดังกลา่ ว โดย
มกี ารทำบัญชีและบันทึกความเสย่ี งของทกุ กจิ กรรมพร้อมการควบคุม และการดำเนินการเพ่ือ
ลดความเสย่ี ง

28

• การประเมินความเสี่ยง และอันตรายที่อาจเกิดขึ้นของสถานประกอบกิจการ องค์กรหรือ
หน่วยงานของตนควรครอบคลุมทุกกิจกรรมการทำงาน และผลกระทบทั้งภายในและ
ภายนอกหน่วยงาน

• ผู้บริหารหรอื หัวหน้าหน่วยงานทราบว่าหน่วยงานของตนเองมีกระบวนการทำงานอย่างไร
และดำเนินการประเมินความเสี่ยงและอันตรายของแต่ละขั้นตอนการทำงานของทุกงานท่ี
เกี่ยวข้อง และมีจัดทำบัญชีความเสี่ยงและการควบคุมอันตราย และการเฝ้าระวัง/
ตรวจสอบ

• สถานประกอบกิจการ องค์กร หรือหน่วยงานมีการประเมินความเสี่ยงและอันตราย
ครอบคลุมทุกกิจกรรมในครั้งแรก และมีการทบทวนสม่ำเสมอ และมีการประเมินเมื่อมี
กระบวนการทำงานการเปลย่ี นแปลงหรอื เขา้ มาใหม่

2.1.2 ผูป้ ฏบิ ตั ิงานของข้าพเจ้า คณะกรรมการบรหิ าร เจ้าหน้าท่ดี า้ นความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
แพทย์ในสถานที่ทำงาน และผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย อื่น ๆ (ถ้ามี) มีส่วนเกี่ยวข้องใน
การประเมนิ ความเสย่ี ง

• เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย แพทย์ พยาบาล และผู้ชำนาญการด้านความปลอดภัยอื่นๆ เข้า
ร่วมในการชี้บ่งอันตรายและประเมินความเสี่ยงกิจกรรมงานในหน่วยงานของตนเอง หรือ
ทำข้ามสายงานครอบคลุมทุกด้าน และร่วมกันทบทวนรายการประเมินความเสี่ยงของ
หนว่ ยงานอ่นื ท้ังหมดขององคก์ ร

• เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย แพทย์ พยาบาล และผู้ชำนาญการด้านความปลอดภัยอื่นๆ มี
ส่วนร่วมให้คำชีแ้ นะในการชี้บ่งอันตราย และประเมินความเสี่ยงด้านการยศาสตร์ ด้านสุข
ศาสตรอ์ ุตสาหกรรม จิตวทิ ยา ปัจจัยมนษุ ย์ ฯลฯ

2.1.3 ขา้ พเจ้าได้จดั ทำวธิ ีการพน้ื ฐานเพื่อเตรียมการประเมินความเสี่ยง ดังน:้ี
1. ทำบนั ทกึ โครงสรา้ งองค์กรการจัดการของธุรกิจ
2. ระบแุ ละกำหนดลกั ษณะกิจกรรมตา่ ง ๆ ทดี่ ำเนินการตามโครงสรา้ ง
3. พจิ ารณาสิ่งทีท่ ำให้เกดิ อันตรายและความเส่ียงตา่ ง ๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ งกับกิจกรรมนั้น
4. ทำการประเมินส่ิงทที่ ำใหเ้ กิดอนั ตราย และความเสี่ยง
5. จัดทำมาตรการป้องกันต่าง ๆ
6. ดำเนินการนำมาตรการปอ้ งกันไปปฏิบตั ิ

29

7. ทำการตรวจสอบประสิทธิผลของมาตรการป้องกันท่ีนำไปใช้แนวทางต่อไปนี้เป็นวิธีพ้ืนฐาน
ในการเตรียมการประเมินความเสี่ยง

• สถานประกอบกิจการ องค์กร หรือหน่วยงานมีขั้นตอนหรือวิธีการเพื่อเตรียมการประเมิน
ความเส่ยี งด้านความปลอดภยั และอาชวี อนามัย

• จดั การอบรมหรอื ให้ความรู้ในการช้บี ง่ และประเมนิ ความเสีย่ งด้านความปลอดภยั และอาชวี อนามยั

• มีการรวบรวมข้อมลู ตอ่ ไปนี้ เพือ่ ใชป้ ระกอบการชีบ้ ง่ และประเมินความเสีย่ ง
- แผนงานและกระบวนการทำงาน รวมถึงระบบทอ่ และแบบเคร่ืองจักร
- ปัจจยั ปอ้ นเขา้ เชน่ ประเภทและปรมิ าณของวตั ถดุ ิบ พลงั งานไฟฟ้า และนำ้
- ผลผลิต เช่น ประเภทและปริมาณของผลิตภัณฑ์ ผลิตภณั ฑ์รอง ของเสีย การปล่อยอากาศเสีย
น้ำเสีย และเสยี งรบกวน ฯลฯ
- ขน้ั ตอนการทำงานรวมถึงวิธกี ารในการจัดเกบ็ เคลอื่ นยา้ ย และการจัดการวสั ดุ สารเคมี เป็นต้น
- ขอ้ มูลอ่นื ๆ เช่น สถติ อิ ุบตั ิการณ์/อุบตั ิเหตุ ขอ้ ทไี่ มป่ ฏบิ ตั ิตาม ขอ้ มูลการหยดุ งาน เปน็ ต้น
- คมู่ อื การใชง้ าน หรือคมู่ อื ปฏิบตั งิ านกับเคร่ืองจักร
- ขอ้ มูลความปลอดภัยของสารเคมี
- ขอ้ มลู การตรวจวดั หรือเฝา้ ระวงั ด้านความปลอดภยั และอาชีวอนามยั
• ในการประเมินความเสี่ยงคำนึงถึงหลักเกณฑ์ โอกาสที่จะเกิดขึ้น ความรุนแรง ข้อ
กฎหมาย และ ผลกระทบตอ่ ธรุ กจิ

2.1.4 งานบำรงุ รักษา งานดแู ลทำความสะอาด งานซอ่ มแซม งานของผู้ท่มี ารับเหมา และขั้นตอนการ
ดำเนินงาน ในกรณีเหตุฉุกเฉินจากงานดังกล่าวต่าง ๆ ได้ถูกนำมาพิจารณาในการประเมินความเสี่ยงด้วย
เงื่อนไขหรอื สภาวะทจี่ ะต้องทำการช้บี ่งและประเมนิ ความเส่ียงด้านความปลอดภยั และอาชวี อนามยั
ครอบคลุมเร่อื งต่าง ๆ ดังนี้

• กิจกรรมงานทุกชนิดที่ทำประจำวัน หรือไม่ได้ทำเป็นประจำ เช่น งานบำรุงรักษา งาน
ซ่อมแซม งานทำสะอาด เปน็ ต้น

• กิจกรรมของบุคคลทั้งหมด (ผู้รับเหมา ผู้เยี่ยมเยือน และผู้มีส่วนได้เสียอื่น ๆ) ที่เข้าไปใน
สถานทท่ี ำงาน

• พฤติกรรมมนุษย์ ความสามารถและปจั จัยมนษุ ยอ์ นื่ ๆ
• อันตรายที่มีแหล่งกำเนิดจากภายนอกสถานที่ทำงานที่สามารถส่งผลกระทบต่อความ

ปลอดภัย และสุขภาพของบคุ คลภายใต้การควบคมุ ของหนว่ ยงานภายในสถานทที่ ำงาน
• โครงสร้างพื้นฐาน เครื่องจักร อุปกรณ์ วัสดุภายในสถานที่ทำงาน การเปลี่ยนแปลง/การ

ปรับเปลย่ี นองคก์ ร กจิ กรรม วัตถุดิบ ผลิตภณั ฑ์ ฯลฯ
• ภาวะปกติและสภาวะเมอื่ เกิดเหตฉุ กุ เฉนิ

• กฎหมายหรือข้อกำหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินความเสี่ยง และการดำเนินการ
ควบคมุ ที่จำเป็น

30

• การออกแบบสถานที่ทำงาน กระบวนการทำงาน การติดตั้งเครื่องจักร/อุปกรณ์ ระเบียบ
ปฏิบัติการและการทำงานขององค์กร รวมถึงการปรับใหเ้ ขา้ กับความสามารถของมนุษย์

2.1.5 การประเมินความเสี่ยงของเรา ครอบคลุมเรื่องสุขภาพอนามัย รวมทั้งด้านสุขภาพจิตด้วย (ถ้ามี)
และมกี ารตรวจวัดสารเคมีอันตราย ความรอ้ น แสง เสียง และความสัน่ สะเทือนตามทจ่ี ำเป็น

การชบ้ี ่ง และประเมนิ ความเสยี่ งดา้ นความปลอดภัย และอาชีวอนามัย ควรครอบคลุมข้อมลู ต่อไปนี้
• แผนงาน และกระบวนการทำงาน รวมถงึ ระบบท่อ และแบบเครือ่ งจักร
• ปัจจัยป้อนเข้า เช่น ประเภท และปรมิ าณของวัตถุดบิ พลังงานไฟฟา้ และนำ้
• ผลผลติ เชน่ ประเภทและปริมาณของผลิตภัณฑ์ ผลติ ภัณฑร์ อง ของเสีย การปล่อยอากาศ
เสียน้ำเสยี และเสียงรบกวน
• ขนั้ ตอนการทำงานรวมถึง วิธกี ารในการจดั เกบ็ เคล่ือนยา้ ย และการจัดการวัสดุ สารเคมเี ปน็ ต้น
• ขอ้ มลู อนื่ ๆ เช่น สถติ อิ ุบัติการณ์/อบุ ัติเหตุ ข้อท่ไี มป่ ฏบิ ัติตาม ขอ้ มลู การหยดุ งาน เปน็ ต้น
• ค่มู ือการใช้งาน หรือคู่มือปฏบิ ตั งิ านกับเคร่อื งจักร
• ข้อมูลความปลอดภยั ของสารเคมี และผลการตรวจวดั การสัมผัสสารเคมี
• ข้อมูลการตรวจวัดหรือเฝ้าระวังความปลอดภัย และอาชีวอนามัยด้านกายภาพ เช่น เสียง
แสง รังสี ความสน่ั สะเทอื น เปน็ ต้น

2.1.6 ขา้ พเจ้าไดก้ ำหนดให้มีชว่ งเวลาสำหรับการทบทวนการประเมนิ ความเสี่ยงเปน็ ระยะ ๆ
สถานประกอบกิจการ มีระเบียบปฏิบัติหรือคู่มือขั้นตอนการชี้บ่ง และประเมินความเสี่ยงซึ่งควรกำหนด
ช่วงเวลาในการทบทวนดว้ ย เช่น

• ระบุว่าทบทวนการชี้บ่งและประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ทุกปี
กรณีที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ระหว่างนั้น หรือทบทวนทุกครั้งเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
ความเสยี่ ง/อันตรายตอ่ ความปลอดภยั และอาชวี อนามยั

• ตวั อย่างการเปลี่ยนแปลงใดๆ ครอบคลมุ เรอ่ื งตอ่ ไปนี้
- การเปลี่ยนแปลงกระบวนการทำงานและเทคโนโลยี และการนำกระบวนการทำงานใหม่ ๆ เข้ามา
- การขยายหรือเพ่มิ และลดสมรรถนะการผลิต
- มีผูจ้ ัดจำหน่าย ผ้รู ับเหมา และผูใ้ ห้บริการรายใหม่
- ขยายโรงงานเพิม่ เติม หรอื ย้ายตำแหน่งท่ตี ้งั โรงงาน
- การเปลย่ี นแปลงชุมชนแวดล้อม
- การเปล่ียนแปลงกฎหมายและข้อบงั คบั ดา้ นความปลอดภัย ฯ ทเี่ กี่ยวข้อง
- โครงการชวั่ คราว เชน่ การก่อสรา้ ง การติดตง้ั สายการผลติ หรือเครอ่ื งจักร และอ่ืน ๆ

31

2.2 อุบัติเหตจุ ากการทำงาน เหตุการณ์เกือบเกดิ อุบัติเหตุ และอุบัติการณ์รา้ ยแรง มีการรายงาน จัดทำเปน็
สถิติ และประเมนิ ระดบั ความเส่ียงเพ่อื นำมาพจิ ารณาปรับปรงุ แก้ไข

2.2.1 ข้าพเจ้าได้รับการแจ้งทันทีทุกครั้งที่มีการเกิดอุบัติเหตุ เหตุการณ์เกือบเกิดอุบัติเหตุ และ
อุบัติการณ์ร้ายแรงในสถานประกอบกิจการ รวมถึงสิ่งใดก็ตามที่มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของ
ผู้ปฏบิ ัตงิ านของข้าพเจา้ สิง่ ท่คี วรดำเนนิ การเพื่อใหแ้ น่ใจว่ามีการแจง้ หรือรายงานอุบตั ิการณ์ต่าง ๆ
ต่อผูบ้ ริหาร หรอื หวั หนา้ งาน

• สถานประกอบกิจการ องค์กรหรือหน่วยงานมีระเบียบปฏิบัติ ขั้นตอน หรือระบบในการ
แจง้ /ส่ือสาร/รายงานอุบัตกิ ารณ์ อบุ ตั เิ หตุ หรือเหตวุ กิ ฤตตา่ ง ๆ

• ได้ชี้แจง สื่อสารให้พนักงาน/ผู้ปฏิบัติงานทราบระเบียบปฏิบัติ ขั้นตอน หรือระบบในการ
รายงานว่าเหตุการณ์อะไรบา้ งที่ตอ้ งรายงาน จะรายงานเม่ือไร และอย่างไร

• การแจ้ง/สื่อสาร/รายงานอุบัติการณ์ อุบัติเหตุ หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ นั้น โดยอาจเป็นวาจา
หรอื ไมเ่ ปน็ ทางการ หรอื รายงานเป็นลายลักษณ์อกั ษรโดยช่องทางหรือเครื่องมือสื่อสารต่าง ๆ

• มีการบนั ทึกการรายงานอุบัติการณ์ อบุ ัตเิ หตุหรอื เหตกุ ารณต์ ่าง ๆ ต่อผ้บู ริหารทันทีทุกครั้ง
ตามขัน้ ตอน วธิ กี าร หรอื ชอ่ งทางท่กี ำหนดให้ เพื่อให้มกี ารรบั ทราบ

• ผู้บริหารต้องทำให้ผู้ปฏิบัติงานรู้สึกมั่นใจว่าการรายงานอุบัติการณ์ หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ
เป็นเรื่องสำคัญ และจำเป็นที่ผู้บริหารต้องทราบ และตอบสนองในเชิงสร้างสรรค์ และ
ผ้รู ายงานจะไมถ่ ูกตำหนิ หรอื ไดร้ บั การลงโทษ

2.2.2 อบุ ตั เิ หตจุ ากการทำงาน รวมถงึ อบุ ตั เิ หตขุ ้นั ปฐมพยาบาลท่ีมีการจดบนั ทึก เหตกุ ารณ์เกือบเกิด
อบุ ตั เิ หตุ และอบุ ตั ิการณ์ร้ายแรง ไดร้ ับการสอบสวนอย่างถี่ถว้ น เพอื่ คน้ หาสาเหตุทีเ่ ป็นต้นเหตุและให้มีการ
ดำเนนิ การปอ้ งกนั

• สถานประกอบกิจการ องค์กรหรือหน่วยงานมีระเบียบปฏิบัติ ขั้นตอน หรือระบบในการ
แจ้ง/สื่อสาร/รายงานอุบัติการณ์ อุบัติเหตุ หรือเหตุวิกฤตต่าง ๆ รวมถึงการสอบสวน
วิเคราะห์หาสาเหตุ การปรับปรุงแก้ไข และการติดตามความคืบหน้า และความสำเร็จ ซึ่ง
ผบู้ รหิ ารสามารถทบทวน ให้ความคดิ เห็น และข้อเสนอแนะได้

• ผู้บริหาร หรือ หัวหน้างาน และบุคลากรที่เกี่ยวข้องควรแน่ใจว่าอุบัติการณ์/อุบัติเหตุทุก
กรณี ได้มีการรายงานตามขั้นตอนหรือระบบตามที่ระบุไว้ในระเบียบปฏิบัติของสถาน
ประกอบกจิ การ

• อุบัติการณ์และอุบัติเหตุทุกรายควรได้รับการบันทึกและรายงาน ผู้เกี่ยวข้องร่วมกัน
สอบสวนเพื่อหาสาเหตุที่แท้จริง วางแผนงานแก้ไขปรับปรุงแต่ละสาเหตุ ดำเนินการ
ปอ้ งกันตามแผนงาน และตดิ ตามผลการปรับปรงุ จนเสร็จสมบรู ณ์

32

2.2.3 สถานประกอบกิจการของเราได้จัดเก็บสถิติการเกิดอุบัติเหตุ เหตุการณ์เกือบเกิดอุบัติเหตุ
และอุบัติการณ์ร้ายแรง เพื่อชี้บ่งแนวโน้มและประเด็นที่สำคัญของการเกิดอุบัติเหตุ เหตุการณ์เกือบเกิด
อุบตั ิเหตุ และอุบตั ิการณ์ร้ายแรง

• สถานประกอบกิจการ องค์กร หรือหน่วยงานมีการจัดเก็บสถิติการประสบอันตรายใน
รูปแบบต่าง ๆ อาจแยกตามประเภท ลักษณะการประสบอันตราย อวัยวะส่วนที่ประสบ
อันตราย สาเหตุ จำนวนวันที่หยุดงาน ความเสียหายหรอื คา่ ใชจ้ า่ ยโดยประมาณ

• สถานประกอบกิจการ องค์กร หรือหน่วยงาน นำข้อมูลหรือสถิติการประสบอันตรายท่ี
รวบรวมบันทึกไว้มาวิเคราะห์ดูแนวโน้ม และประเด็นหรือปัจจัยที่เกี่ยวข้อง โดย
เปรียบเทียบกับข้อมลู หรือสถติ ทผ่ี า่ นมาตามชว่ งเวลาหน่ึง ๆ

• ใช้ประโยชน์จากสถิติในการกำหนดแนวทางปรับปรุงให้สถานท่ีทำงาน และผู้ปฏิบัติงานมี
ความปลอดภัยย่งิ ข้นึ

2.2.4 ข้าพเจ้าทราบถึงสาเหตุของอุบัติเหตุในการทำงานที่เกิดขึ้นมากที่สุด 3 อันดับแรก รวมถึงผล
เสียหายของอุบัติเหตุเหล่านั้นผู้บริหารสถานประกอบกิจการ องค์กร หรือหน่วยงาน สามารถทราบข้อมูล
อุบตั ิการณ์ การเกิดอบุ ัติเหตุและสาเหตกุ ารเกดิ อบุ ตั เิ หตไุ ด้จากช่องทางต่าง ๆ เช่น

• ระบบการรายงานอุบัติการณ์ อุบตั เิ หตุ การสอบสวน การวิเคราะห์และการปรับปรุงแก้ไข
(Incident Report and Investigation System)

• การทบทวนผลการปฏิบตั งิ านประจำเดือน (Management Review)
• รายงานการประชมุ คณะกรรมการความปลอดภัยฯ ประจำเดอื น
• รายงานการปฏิบตั งิ านของ จป.บรหิ าร จป.หวั หน้างาน
• รายงานผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัย ฯ ของหน่วยงานต่าง ๆ ของสถานประกอบ

กิจการ

2.2.5 ผลของการวิเคราะห์นี้ (ตามข้อ 2.2.1-2.2.4) ได้ถกู นำมาใช้ในการประเมินความเสี่ยง และการ
จัดทำ แผนงานปอ้ งกัน

• สถานประกอบกิจการ หรือองค์กรได้ระบุหรือกำหนดไว้ในระเบียบวิธีปฏิบัติงานให้นำผล
การวิเคราะห์อุบัติการณ์และการแก้ไขปรับปรุง ไปพิจารณาในขั้นตอนการประเมินความ
เสี่ยงรวมถึงมาตรการควบคุมเพื่อปอ้ งกนั

• ผู้บริหาร หรือหัวหนา้ หน่วยงานทำให้แน่ใจวา่ อุบัติเหตุหรืออุบตั ิการณ์ที่เกิดข้ึนไดถ้ ูกนำไป
พิจารณาในบญั ชีรายการชี้บง่ และการประเมินความเส่ียงในกิจกรรมนั้นๆ และนำแผนการ
ปรบั ปรงุ แกไ้ ขมาบรรจุไวใ้ นมาตรการควบคุม (Control Measures) ตัวอยา่ งดงั ในตาราง
ด้านลา่ ง

33

2.2.6 ข้าพเจ้าตระหนักว่า จำนวนเหตุการณ์เกือบเกิดอุบัติเหตุ และอุบัติการณ์ร้ายแรง ที่ได้รับการ
รายงานจากผู้ปฏบิ ัติงาน แสดงถึงการมวี ฒั นธรรมของความไว้วางใจกันในสถานประกอบกิจการของข้าพเจ้า

ผู้บริหารควรต้องตระหนักถึงสาเหตุที่ผู้ปฏิบัติงานหลายคนละเลย ไม่อยากรายงานอุบัติการณ์ หรือ
อุบัติเหตุ แม้ว่าเล็กน้อยและไม่มีทรัพย์สินเสียหายก็ตาม อาจเป็นเพราะประสบการณ์ด้านลบหลังจากการ
รายงานหรอื บอกกลา่ วผู้รับผดิ ชอบเพื่อให้แก้ไขหรือปรบั ปรุง ความไว้วางใจระหว่างกันจะทำให้ผู้ปฏิบัติงาน
รายงานอบุ ตั กิ ารณ์หรอื เหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ดว้ ยความเต็มใจทกุ ครง้ั

การสร้างวฒั นธรรมความไวว้ างใจเกิดจาก
• การทำให้ผู้ปฏิบัติงานรู้สึกมั่นใจว่าการรายงานอุบัตกิ ารณ์ หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ เป็นเรื่อง
สำคัญและเป็นสิ่งที่ผู้บริหารชื่นชมผู้ปฏิบัติงานถึงความใส่ใจในการดูแลสภาพแวดล้อมใน
การทำงานรว่ มกัน
• ผรู้ ายงานจะไมถ่ กู ตำหนิหรือได้รับการลงโทษจากผูบ้ ริหารหรือบคุ คลรอบข้าง เมื่อรายงาน
อบุ ัติการณ์ หรือ เหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ อย่างถูกตอ้ งเหมาะสม
• ผู้บริหาร หรือหัวหน้าหน่วยงาน ตอบสนองต่อการรายงานของผู้ปฏิบัติงานในเชิง
สร้างสรรค์ และการสง่ เสริมสนับสนุนให้มีดำเนินการแก้ไขปรับปรงุ จนเสรจ็ สมบรู ณ์

2.3 สถานประกอบกิจการของเราใช้ประโยชน์จากสิ่งที่เราได้รับจากการประเมินความเสี่ยง และจากการ
วิเคราะห์อบุ ัตเิ หตุ เพอื่ นำไปใชใ้ นการปรับปรงุ ใหเ้ กิดความปลอดภัยในการทำงาน

2.3.1 ข้าพเจา้ มมี าตรการตรวจสอบ โดยอาจใช้วิธีการส่มุ ตวั อย่าง เพื่อดูว่ามาตรการป้องกันที่กำหนด
ไวน้ นั้ มีประสิทธผิ ลหรอื ไม่
ในการตรวจสอบว่ามาตรการที่กำหนดเพื่อการปรับปรุงหรือป้องกันได้ประสิทธิผลดีหรือไม่ ผู้บริหารหรือ
หัวหนา้ หน่วยงานอาจใช้วิธกี ารตรวจสอบในรูปแบบต่างๆ ทงั้ ทางตรงและทางอ้อมได้ เชน่

• การติดตั้งการ์ดปิดครอบจุดหมุนจุดหนีบเพื่อมิให้ผู้ปฏิบัติงานยื่นมือหรืออวัยวะส่วนอื่นใด
ของร่างกายเข้าไปบริเวณอันตราย ในระหว่างเดนิ ตรวจอาจดำเนินการดงั นี้
1) ส่มุ ตรวจสอบดูวา่ มกี าร์ดครอบปิดตามท่ีกำหนดหรอื ไม่ ผูป้ ฏิบตั งิ านสามารถเอื้อมมือหรือ
ย่นื อวัยวะสว่ นหนงึ่ สว่ นใดของร่างกายเข้าไปไดห้ รอื ไม่
2) สอบถามจากผ้ปู ฏิบัตงิ านถึงผลภายหลังการติดตงั้
3) สังเกตพฤติกรรมการทำงานของผู้ปฏิบัติงานว่ามาตรการติดตั้งการ์ดป้องกันได้ผลดี
หรอื ไม่

2.3.2 ผลของการประเมินความเสี่ยงได้ถูกนำไปใช้ เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานในสถานประกอบ
กจิ การการประเมินความเส่ยี งด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามยั ทำได้หลายรปู แบบ หลายวธิ กี าร ไดแ้ ก่
การประเมินทางสุขศาสตร์อุตสาหกรรม การประเมินทางการยศาสตร์ ฯลฯ ตัวอย่างการนำผลการประเมนิ
ความเส่ยี งไปปรับปรุงการทำงาน ดังนี้

• การจัดการไหลของวัสดุ และพื้นที่ทำงานที่ทำให้ผู้ปฏิบัติงาน หมุนตัว หรือเคลื่อนไหวได้
สะดวกโดยไม่ต้องเอียงตวั หรือเอี้ยวตวั ขณะทำงาน

34

• การติดตั้งแผ่นลดแสงสะท้อนบริเวณหน้าจอมอนิเตอรข์ องสถานีควบคุม หรือการเพิ่มแสง
สวา่ งบรเิ วณทค่ี วามเขม้ ของการส่องสว่างต่ำกวา่ มาตรฐาน

• การลดเสียงดังของเครื่องจักรบริเวณทำงานที่เกินมาตรฐาน ด้วยการเพิ่มการบำรุงรักษา
หรอื การลดเสยี งโดยปิดกน้ั แหลง่ กำเนดิ เสยี ง การตดิ ตั้งแผ่นดดู ซับเสยี ง เป็นต้น

• การปรับความสูงของสถานีทำงานให้ผู้ปฏิบัติงานทำงานได้สะดวกโดยไม่ต้องก้มตัว
หรือ เขย่งตวั ขณะทำงาน

2.3.3 มีการสอนงานให้แก่ผู้ปฏิบัติงานเป็นรายบุคคล และวิธีปฏิบัติงานที่ใช้สอนงานได้มาจาก
พ้ืนฐานของกระบวนการประเมินความเสย่ี ง

• นำผลการประเมินความเสี่ยงไปปรับปรุง และจัดทำเป็นวิธีการปฏิบัติงาน
(Work Instruction หรือ Process Instruction) ตดิ ไว้บรเิ วณทำงาน

• นำวิธีการ/ขั้นตอนการควบคุมความเสี่ยงในการทำงาน ไปสอนผู้ปฏิบัติงานแต่ละบุคคล
ก่อนการมอบหมายงาน (On the Job Training)

กฎทองข้อที่ 3 : กำหนดเป้าหมาย - จดั ทำแผนงาน
ความสำเร็จในเรื่องความปลอดภัย และอาชวี อนามัย จำเป็นตอ้ งมเี ปา้ หมายชดั เจน และขั้นตอน
การดำเนินงานท่เี ป็นรูปธรรม สามารถนำไปปฏิบัติได้ ซ่ึงควรจัดทำเปน็ รูปแบบของแผนงานโครงการ

3.1 ขา้ พเจ้าไดก้ ำหนดเป้าหมายทีช่ ัดเจนด้านความปลอดภยั และอาชีวอนามัย
3.1.1 สถานประกอบกจิ การของเรามีเปา้ ประสงคห์ ลายดา้ นโดยรวมถงึ ความมุ่งมนั่ ที่ใหค้ วามสำคัญใน

เร่อื งการคุ้มครองด้านความปลอดภยั และอาชีวอนามัยดว้ ยความมุ่งมั่นหรือวัตถุประสงค์ของผู้บริหารในการ
คุ้มครองความปลอดภยั และสง่ เสรมิ สุขอนามัยในการทำงานของสถานประกอบกิจการ อาจแสดงใหท้ ราบโดย

• นโยบายความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำงาน ครอบคลมุ ผูป้ ฏิบัติงาน
ผูร้ ับเหมา คคู่ า้ และลกู ค้า การลด/ควบคุมความเสี่ยง การปฏิบัติตามกฎหมาย ฯลฯ

• วัตถปุ ระสงค์ วสิ ัยทศั น์ หรือกลยุทธ์การดำเนินปฏบิ ตั กิ ารของสถานประกอบกิจการ
3.1.2 ข้าพเจ้าได้กำหนดระดับความสำเร็จด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยที่เป็นรูปธรรมอย่าง
ชัดเจน เพื่อให้ประสบความสำเร็จในการปรับปรุงงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยทั้งในระยะส้ัน
และระยะกลาง

35

ตวั อยา่ งการกำหนดระดับความสำเรจ็ ด้านความปลอดภยั และอาชวี อนามัยทีเ่ ป็นรูปธรรมชัดเจน

วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และ มาตรวัด ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา
ปี 2564 ทกุ เดอื น
การตรวจตราฝา่ ย/พื้นท่ี 1.เพ่ือปฏบิ ัตติ ามกฎหมายและข้อกาหนดทเ่ี กยี่ วข้อง 1. พื้นทไี่ ดร้ ับการตรวจตราครบทกุ พื้นที่ (100%) หัวหนา้ หนว่ ย
ประธานคปอ
2.เพ่ือคน้ หาอนั ตรายและป้องกันหรือลดอุบตั กิ ารณ/์ อุบตั เิ หตุ 2. รายการปรับปรุงเสร็จ 100% ภายในเวลา 1 เดอื น

• อัตราการเกิดอุบัติเหตุขั้นร้ายแรงลดลง 10% เทียบกับอัตราการเกิดอุบัติเหตุปีก่อนหน้า
หรืออตั ราการเกดิ อบุ ตั เิ หตุท้ังปี ไมเ่ กิน 0.1 ต่อช่วั โมงทำงาน 200,000 ชวั่ โมง

• % ผู้รับการอบรมด้านความปลอดภัยฯ บนระบบออนไลน์ของแต่ละหน่วยงานมากกว่า
80% ในแต่ละหลกั สตู รเทียบกบั จำนวนทีว่ างแผน/กำหนดไว้

3.1.3 ข้าพเจ้าได้มีการตกลงเรื่องเป้าหมายรายบุคคลด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยกับ
ผู้ใต้บังคับบัญชาระดับบริหาร และผู้ปฏิบัตงิ านของข้าพเจา้ มีการบูรณาการเป้าหมายด้านความปลอดภัยและอาชี
วอนามัยเป็นหนงึ่ ในเป้าหมายทางธรุ กจิ ของสถานประกอบกิจการ หรือองค์กร เช่น

COST ลดคา่ ใช้จ่ายและของเสยี ในกระบวนการผลิต = 10%
QUALITY ส่งมอบสินค้าทมี่ ปี ญั หาดา้ นคณุ ภาพใหล้ ูกคา้ = 0
DELIVERY ส่งมอบสนิ คา้ ตรงเวลา และความต้องการของลูกคา้
SAFETY & SUSTAINABILITY ส่งเสริมความปลอดภัย สุขภาพอนามัย และความยั่งยืนได้ตาม
มาตรวัด

เป้าหมายรายบุคคลด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของผู้บริหารสอดคล้องกับเป้าหมายของ
สถานประกอบกิจการ และเป้าหมายรายบุคคลของผู้ปฏิบัติงานสอดคล้องกับผู้บังคับบัญชา และ
บรู ณาการในระบบประเมนิ ผลการปฏิบัติงานรายบคุ คล

3.1.4 ข้าพเจ้าสื่อสารให้ผู้ใต้บังคับบัญชาระดับบริหาร ผู้ปฏิบัติงาน ผู้รับเหมา/คู่สัญญา และลูกค้า
ทง้ั หมด รวมท้งั สาธารณชนทวั่ ไปให้รับทราบ เกี่ยวกับเป้าประสงค์ และระดบั ความสำเร็จด้านความปลอดภัย
และอาชวี อนามัยของสถานประกอบกิจการตามช่วงเวลาท่ีเหมาะสม

36

ผ้บู ริหารอาจสือ่ สารเป้าหมายและผลปฏิบัติการของสถานประกอบกิจการให้พนักงานและผู้เกี่ยวข้อง
ทราบโดยการประชุม พูดคุย ติดบอร์ดประชาสัมพันธ์ หรือสื่อสังคมช่องทางต่าง ๆ ตามช่วงเวลาของ
กจิ กรรมในรูปแบบต่าง ๆ เชน่

• มาตรวดั ผลการดำเนินงาน ความสำเร็จของกจิ กรรมเทียบกับเป้าหมายท่ตี ้งั ไว้
• กราฟแสดงเปรยี บเทียบสถติ กิ ารเกิดอุบตั ิเหตุ
3.2 ข้าพเจ้าวางแผนการกำหนดกิจกรรมที่ชัดเจน และเป็นรูปธรรม เพื่อให้บรรลุเป้าหมายด้านความ
ปลอดภยั และอาชวี อนามัย
3.2.1 ข้าพเจ้ากำหนดให้มีแผนปฏิบัติงานประกอบด้วยกิจกรรมด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยที่
เป็นรูปธรรม และมาตรการอ่ืนๆ ที่จะทำใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย พรอ้ มทั้งจัดทำตารางเวลาการดำเนนิ งานด้วย
ตวั อย่างแผนกิจกรรมด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ผรู้ ับผิดชอบ และตารางเวลา

3.2.2 ข้าพเจ้ามอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบในการดำเนินกิจกรรมแผนงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนา
มัย เช่น งานสัปดาห์ความปลอดภัย งานวันเพื่อสุขภาพ รวมถึงงานต่างๆ ที่วางแผนไว้อย่างชัดเจนและเป็น
รปู ธรรม ตวั อย่างการมอบหมายผู้รับผดิ ชอบในการดำเนินการจดั กิจกรรมงานความปลอดภัย และสขุ อนามัย
ประจำปี

37

3.2.3 ข้าพเจ้าสื่อสารในช่วงเวลาที่เหมาะสมกับผู้ใต้บังคับบัญชาระดับบริหาร ผู้ปฏิบัติงาน
ผู้รับเหมา/คู่สัญญา ลูกค้าทั้งหมด และสาธารณชนทั่วไป ให้ทราบเกี่ยวกับกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย
และอาชีวอนามัย เชน่ งานสปั ดาหค์ วามปลอดภยั ฯ หรอื งานวันเพื่อสุขภาพ และเชญิ ชวนพวกเขาเหล่าน้ีให้
มาร่วมงานด้วย

• สถานประกอบกิจการอาจมีมาตรสื่อสารขององค์กรทั้งภายในและภายนอก ซึ่งครอบคลุม
ทกุ ด้านรวมถงึ ดา้ นความปลอดภัย และอาชวี อนามัยด้วย

• กรณีที่สถานประกอบกิจการไม่มีมาตรสื่อสารขององค์กร อาจสื่อสารโดยการประชุม การแนะนำ
ออกบัตรเชิญ จดหมาย ติดบอร์ดประชาสัมพันธ์ พูดคุยหรือคำเชิญด้วยวาจา ขึ้นกับ
ช่วงเวลาของกจิ กรรม และโอกาส

3.2.4 ข้าพเจ้าเชญิ ชวนครอบครวั ของผ้ปู ฏิบตั ิงานใหม้ าร่วมกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย และอาชีวอนามัย
เช่น งานความปลอดภัยและสุขภาพอนามัย รวมถึงงานวันเพื่อสุขภาพด้วย จุดประสงค์ของการเชิญ
ครอบครัวของผู้ปฏิบัติงานเพื่อมาร่วมกิจกรรมต่าง ๆ รวมถึงงานความปลอดภัยและสุขภาพอนามัย เพื่อให้
ไดค้ รอบครัวไดร้ บั ทราบถงึ การจดั การสภาพการทำงานทป่ี ลอดภยั และมสี ุขอนามยั ของผปู้ ฏบิ ตั ิงาน

• กรณีที่สถานประกอบกิจการมีข้อจำกัดในเรื่องพื้นที่จัดงาน เวลาทำงาน และกะทำงาน
ของผู้ปฏิบัติงาน และเงื่อนไขอื่น ๆ อาจดำเนินการโดยเชิญครอบครัวพนักงานตามกลุ่ม
งาน อายุงาน หรืออื่น ๆ หมุนเวียนกันเข้าร่วมกิจกรรมงานความปลอดภัย และสุขภาพ
อนามัย

• บางสถานประกอบกิจการมีการจัดงานวันครอบครัวและเชิญครอบครัวผู้ปฏิบัติงานเข้า
ร่วมงานด้วย อาจควบรวมงานความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยเข้าไว้ด้วยกันในคราว
เดียว

3.3 ข้าพเจ้ากำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานเพื่อตรวจสอบประสิทธิผลของมาตรการความปลอดภัย ฯ ที่
ข้าพเจา้ ใชอ้ ยู่

3.3.1 ข้าพเจ้าใชส้ ถติ /ิ ข้อมลู ต่าง ๆ ในการวดั ผลความสำเร็จตามเป้าหมายดา้ นความปลอดภยั ฯ ของ
สถานประกอบกิจการ เช่น จำนวนอุบตั ิเหตุ จำนวนผ้เู ขา้ ร่วมอบรม จำนวนผ้มู ารว่ มกิจกรรมในวันทม่ี ีการจัด
กิจกรรมตามโครงการสง่ เสริมสุขภาพ ฯลฯ และมีการแจง้ ผลความสำเรจ็ ให้ผู้ปฏิบัตงิ านทกุ คนรับทราบ

38

• สถานประกอบกิจการตั้งเป้าหมายและมาตรวัดผลสำเร็จของการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ
เชน่

• อนามัย (จำนวนผอู้ บรม ผ้รู ่วมกิจกรรม ขอ้ คิดเหน็ หรอื ข้อเสนอแนะเพ่ือการปรบั ปรุง) ฯลฯ

• จัดให้มีการประเมินผลการฝึกอบรม ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย
และอาชีวอนามัย

• สื่อสารหรือแจ้งผู้ปฏิบัติงานโดยการประชุม สื่ออิเล็กทรอนิกส์ บอร์ดประชาสัมพันธ์
และอนื่ ๆ

3.3.2 ข้าพเจ้ามีการประเมินผลสำเร็จที่จะบรรลุเป้าประสงค์ขององค์กร โดยพิจารณาจากอัตราการ
ประสบอนั ตราย อัตราการเจ็บป่วย ความถ่ี และความรุนแรงของการเกดิ อุบตั ิเหตุหรือการเจ็บป่วย

เปา้ หมายในการดำเนนิ กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยของสถานประกอบกิจการกเ็ พ่ือลดการประสบ
อนั ตราย การบาดเจ็บ หรือ การเจบ็ ป่วยจากการทำงาน และเพือ่ สุขภาวะท่ีดขี องผปู้ ฏบิ ตั ิงานการ
ประเมินผลสำเรจ็ ของโครงการต่าง ๆ สามารถวัดได้จาก

• จำนวนรายอุบตั ิเหตุหรอื การเจ็บป่วยลดลงหรือไม่เพม่ิ ข้ึน เมอ่ื เทยี บกับเปา้ หมาย
• อัตราการประสบอันตรายขั้นรนุ แรง หรือหยุดงาน ลดนอ้ ยลง
• บันทึกจำนวนวนั ทป่ี ลอดการประสบอนั ตรายข้นั หยุดงาน
• จำนวนการรายงานอุบัตกิ ารณ์ หรือสงิ่ ท่ีไมป่ ลอดภยั มากขน้ึ ในระยะแรก และเมื่อได้รับการ

แก้ไขปรับปรุงแล้วจำนวนลดนอ้ ยลงเมอื่ เวลาผ่านไป

39

3.3.3 ถ้าผลลัพธ์ที่ได้รับไม่เป็นที่น่าพอใจ ข้าพเจ้าจะดำเนินการทบทวนกิจกรรม และแผนงานของ
ข้าพเจา้ ใหม่

สถานประกอบกิจการสว่ นใหญ่ใช้เดมมิ่งโมเดล (Deming Model) ในการบรหิ ารจัดการด้านคุณภาพ
ของปฏิบัติการผลิตเพื่อการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (Plan-Do-Check-Act) ให้ลูกค้าพึงพอใจและ
ความยัง่ ยนื ของธรุ กจิ

• การบริหารจัดการความปลอดภัยฯ เป็นการบริหารคุณภาพอย่างหนึ่ง ซึ่งหากผลลัพธ์ไม่
เป็นไปตามเปา้ ประสงค์แล้ว ผู้บริหารสถานประกอบกจิ การควรบริหารจัดการเช่นเดยี วกนั
คือปรบั กจิ กรรมหรอื แผนงาน เพื่อให้เกดิ ผลสำเร็จและการปรบั ปรงุ อย่างตอ่ เนื่อง

• ผู้บริหาร หรือหัวหน้าหน่วยงาน สามารถประยุกต์ใช้กระบวนการของเดมมิ่งโมเดลในการ
บริหารจดั การด้านความปลอดภยั ฯ เชน่ เดยี วกบั ระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพ

3.3.4 ข้าพเจ้าเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยฯ ในสถานประกอบกิจการของ
ข้าพเจา้ กับหน่วยงานอ่นื ในอตุ สาหกรรมประเภทหรือขนาดใกล้เคยี งกัน เท่าท่จี ะเปน็ ไปได้

สถานประกอบกิจการ หรือองค์กรมีการศึกษาเปรียบเทียบข้อมูลการจัดการด้านความปลอดภัย และ
อาชีวอนามัยในการทำงานของตนกบั สถานประกอบกจิ การอืน่ ทีอ่ ย่ใู นอตุ สาหกรรมคลา้ ยกนั และ
ขนาดใกล้เคียงกัน (ถ้าสามารถทำได้) หรือเทียบกับผู้นำหรือกลุ่มอุตสาหกรรมเดียวกัน ตัวอย่างการ
เปรียบเทียบ เช่น ในเรื่องหลักเกณฑ์หรือมาตรวัดผลการปฏิบัติงานที่ใช้ และผลการดำเนินงานในแต่ละ
เกณฑ์

• สถติ อิ บุ ตั เิ หตุหรอื การเจ็บปว่ ย (อัตรา ราย ประเภท อวัยวะ สาเหตุ หรอื อ่ืน ๆ)
• ประเดน็ เก่ียวกบั ปัญหาสขุ ภาพและการให้บริการ

• ประเดน็ เก่ียวกับผลการตรวจวดั สภาพแวดล้อมในการทำงาน

3.3.5 ขา้ พเจา้ สอื่ สารผลงานและผลสำเรจ็ ตามเป้าประสงคด์ ้านความปลอดภยั ฯ ใหผ้ ปู้ ฏิบัติงานและ
ผู้ใต้บังคับบัญชาระดับบริหารของข้าพเจ้ารับทราบอย่างสม่ำเสมอ ตัวอย่างเช่น แจ้งในที่ประชุม หรือ
ประกาศบนกระดานข่าวในสถานประกอบกิจการ เป็นต้น

ผู้บริหารควรใชโ้ อกาสที่มีการสือ่ สารเรื่องต่าง ๆ ให้กับผู้ปฏิบัติงานและผู้ใต้บังคับบัญชา ครอบคลุม
เร่ือง ผลงานและผลสำเรจ็ ดา้ นความปลอดภยั ฯ ดว้ ยในคราวเดียวกนั ตวั อย่างเชน่

• การประชุมประจำสัปดาห์ ประจำเดือน หรือประจำไตรมาสของผู้บริหารสถานประกอบ
กิจการ

• การประชมุ ชีแ้ จงผลประกอบการของสถานประกอบกจิ การให้กบั บคุ ลากรทุกภาคส่วนของ
องค์กรทกุ ไตรมาส

• การประชุมพนกั งานประจำเดอื นหรอื ประจำไตรมาส

• การประชุมคณะกรรมการความปลอดภยั
• การตดิ ประกาศบนบอร์ดประชาสมั พันธ์

• การลงเว็บไซด์ของสถานประกอบกจิ การ และการส่งจดหมายอิเลก็ ทรอนกิ ส์

40

กฎทองขอ้ ท่ี 4 : มีระบบการจัดการความปลอดภัยและสขุ ภาพอนามัย - ทไี่ ดม้ ีการจัดการท่ีดี
การจดั การเร่ืองความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ในสถานประกอบกิจการอยา่ งเป็นระบบเปน็ สิ่งที่ดี
เป็นเรือ่ งทดี่ ำเนนิ การได้ไมย่ ากและคุ้มคา่ ต่อการลงทุน

4.1 สถานประกอบกจิ การของข้าพเจา้ มีการจดั การที่ดีในเรื่องความปลอดภัย และอาชีวอนามัย โดยการจัด
ให้มโี ครงสร้างองค์กร บทบาทหนา้ ทีค่ วามรับผิดชอบ สมรรถนะ ระเบยี บปฏบิ ัติงาน และกระบวนการทำงาน

4.1.1 มกี ารจดั โครงสรา้ งองค์กรด้านความปลอดภยั และอาชีวอนามัย พรอ้ มท้งั กำหนดสมรรถนะ และบทบาท
หน้าทีค่ วามรบั ผดิ ชอบ

• สถานประกอบกิจการจัดโครงสร้างองค์กรตามสายบังคับบัญชาโดยตรงหรือหน่วยงาน
สนับสนุนปฏิบัติการ รวมถึงหน่วยงานความปลอดภัยฯ ซึ่งมีการประกาศแต่งตัง้ พร้อมกบั
กำหนดบทบาทหนา้ ท่คี วามรบั ผดิ ชอบดา้ นความปลอดภัยฯ

• ประกาศ หรือคำสั่งแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับบริหาร ระดับหัวหน้า
งาน และระดบั วิชาชีพ พรอ้ มกำหนดบทบาท หนา้ ท่คี วามรับผิดชอบดา้ นความปลอดภยั ฯ

• ประกาศ หรือคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงานด้านความปลอดภัย ฯ ตาม
ความรคู้ วามสามารถ พรอ้ มกำหนดบทบาท หน้าท่ีความรบั ผดิ ชอบ

4.1.2 ข้าพเจ้าได้กำหนดให้มีการจัดทำลักษณะงาน บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบ และสมรรถนะ
ของ ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านระดบั บรหิ ารในดา้ นความปลอดภัยและสุขภาพอนามยั โดยกำหนดเปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษร

ลกั ษณะงาน บทบาท หน้าท่ีความรับผิดชอบ และสมรรถนะของพนักงานระดับต่าง ๆ ซ่ึงสถาน
ประกอบกิจการมอี ยแู่ ลว้ นน้ั กำหนดให้ครอบคลมุ งานดา้ นความปลอดภัยและสุขภาพอนามยั บรู ณาการโดย
เพม่ิ หน้าท่ีของ จป.บริหารเข้าไป

• มีการประกาศแต่งตั้ง จป.บริหาร ซึ่งรวมถึงบทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบด้านความ
ปลอดภัย ฯ

• การแต่งตั้งพนกั งานระดับบริหารหรอื หัวหน้าหน่วยงานให้รับผดิ ชอบโครงการต่าง ๆ ด้านความ
ปลอดภัย ฯ เช่น ประธานโครงการตรวจประเมินความปลอดภัย ฯ ภายใน ประธานโครงการ
ความปลอดภยั ของเครอื่ งจกั รและอปุ กรณ์ ประธานระบบบริหารจดั การอาชีวอนามัย และความ
ปลอดภัย เป็นต้น ตัวอย่างดงั ตารางด้านล่าง

41

4.1.3 สถานประกอบกิจการ มีผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัย และสุขภาพอนามัย (เจ้าหน้าที่ความ
ปลอดภยั ในการทำงาน วศิ วกรความปลอดภัย แพทย์ พยาบาล นกั จิตวทิ ยาอุตสาหกรรม หรือนักสุขศาสตร์
อุตสาหกรรม และอื่น ๆ) ให้การสนับสนุน และให้คำแนะนำด้านความปลอดภัย และสุขภาพอนามัย พร้อม
ทั้งรายงานตรงต่อผู้บริหารระดับสูง สถานประกอบกิจการ มีบุคลากรด้านความปลอดภัยฯ อย่างใดอย่าง
หน่ึง ทง้ั หมดหรือเกือบท้ังหมด ดังกลา่ วข้างตน้ บคุ ลากรดา้ นความปลอดภยั ฯ ที่มอี ยู่ปฏบิ ัตงิ านโดย

• ใช้ความรู้ความสามารถมาประยุกต์ใช้ในการทำงาน โดยให้การสนับสนุน และคำแนะนำ
ดา้ นความปลอดภัย ฯ ต่อผบู้ ริหารของสถานประกอบกจิ การ หรือองค์กรได้

• มีการรายงานเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภยั และอาชีวอนามัยต่อผู้บังคับบัญชา
ตามสายงาน หรือตามข้อกำหนดขององคก์ ร

4.1.4 ในองค์กรได้มีการกำหนดว่าเรื่องความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยนั้น จะต้องรายงานให้ใคร
ทราบบา้ งและอย่างไร

• โดยทั่วไป สถานประกอบกิจการ หรือองค์กรกำหนดระบบ/ขั้นตอนในการรายงานเรื่อง
ต่าง ๆ ต่อ หัวหน้าหรอื ผบู้ รหิ ารตามสายงานหรอื การบังคับบัญชา

• เพิ่มเติมจากทั่วไป สถานประกอบกิจการ หรือองค์กรอาจกำหนดขั้นตอนการรายงานเรื่องอื่น ๆ
เชน่ การรายงานอุบัตภิ ัยรา้ ยแรง หรือภาวะฉุกเฉิน อาจมีระเบยี บปฏบิ ตั ทิ ี่เฉพาะเจาะจง

4.1.5 กระบวนการประเมินความเสี่ยง และวิธีการปฏิบัติอย่างปลอดภัยได้รับการปรับปรุงอยู่เสมอ
และพนักงานทกุ คนของข้าพเจา้ ไดร้ บั การแจง้ ใหท้ ราบและได้รบั การสอนให้ปฏิบตั เิ ป็นประจำ

สถานประกอบกิจการที่มีการขอรับรองระบบมาตรฐาน เช่น ISO มาตรฐานแรงงานไทย และระบบ
อื่น ๆ มักกำหนดความถี่ และเงื่อนไขในการปรับปรุงบัญชีความเสี่ยง และวิธีการปฏิบัติงานตามความ
เหมาะสม และมกี ารดำเนนิ การอยา่ งเปน็ ระบบ ตัวอยา่ งบนั ทกึ การเปลี่ยนแปลงดังตารางดา้ นลา่ ง

• กำหนดให้มีการปรับปรุงทุกครั้งเฉพาะส่วนงานที่ได้รับผลกระทบ และมีการสื่อสารหรือ
สอนงาน (On the Job Training) ให้แก่ผู้ปฏิบัติงานทุกครั้งที่มีการปรับปรุงตามการ
เปลย่ี นแปลง

• กำหนดให้มีการปรับปรุงปีละครัง้ กรณีทีไ่ ม่มีการเปลีย่ นแปลง มีบันทึกการเปลี่ยนแปลง
(Change log) และมกี ารสื่อสาร หรอื การอบรมทบทวน (Refresher Training) แกผ่ ู้ปฏิบัติงาน
เช่นกนั

ตัวอยา่ งบันทึกการเปลย่ี นแปลง

42

4.1.6 มีจำนวนผู้แทนลูกจ้างด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ผู้ทำหน้าที่ปฐมพยาบาลและผู้ทำ
หนา้ ทดี่ า้ นการปอ้ งกนั และระงบั อัคคภี ยั ทเ่ี พียงพอ และไดร้ บั การฝกึ อบรมอยา่ งตอ่ เนือ่ ง

สถานประกอบกิจการหลายแห่ง มีการจัดตั้งคณะทำงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยต่าง ๆ
เพ่ือสนบั สนนุ กจิ กรรมดา้ นความปลอดภยั โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ งานด้านการป้องกัน และระงับอัคคีภยั

• สถานประกอบกิจการส่วนใหญ่ได้จัดตั้งทีมปฏิบัติฉุกเฉินซึ่งมาจากผู้ปฏิบัติงานจากสายงาน
ฝ่ายต่าง ๆ จำนวนที่เหมาะสม ทำหน้าที่ในการตอบโต้หรือระงับสถานการณ์ฉุกเฉินเรื่อง
ต่าง ๆ อย่างปลอดภัย โดยบุคลากรกลุ่มนี้ได้รับการอบรมความรู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น การตรวจ
ตรา การปอ้ งกนั และระงับอัคคีภัย การปฐมพยาบาล การเคลือ่ นย้ายผู้บาดเจ็บ และอ่ืน ๆ

• มีการจัดแผนฝึกอบรมและการฝึกซอ้ มประจำปี และใหค้ วามรู้ทบทวนต่อเน่อื งเปน็ ประจำ
** กรณที สี่ ถานประกอบกิจการ มีแผนปฏิบัติฉกุ เฉนิ ซงึ่ ครอบคลุมการแต่งตั้งทมี ปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉิน
พร้อมกำหนดหน้าที่รับผิดชอบ และรวมถึงแผนอบรมประจำปีสำหรับทีมปฏิบัติการฉุกเฉิน และมีการ
ดำเนินการตามแผนสม่ำเสมอ กล่าวได้ว่าไดป้ ฏิบัตคิ รบถว้ น

4.1.7 มีการวางแผนและดำเนินการตรวจสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานตามปัจจัยเสี่ยง และมีการทบทวน
การตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงอย่างสมำ่ เสมอ ผู้บริหาร หรือหัวหน้าหน่วยงาน ต้องเข้าใจเสียก่อนว่าการ
ตรวจสุขภาพประจำปีท่ีสถานประกอบกจิ การ จดั ใหผ้ ู้ปฏบิ ัติงานทวั่ ไปไม่ใช่การตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยง
แต่สถานประกอบกิจการสามารถจัดให้มีการตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงเพิ่มเติมจากการตรวจสุขภาพ
ประจำปีตามปกติได้

• งานเกย่ี วกบั ปจั จัยเสีย่ ง หมายถึงงานทสี่ ัมผัสกับ
- สารเคมีอันตรายตามที่รฐั มนตรกี ำหนด
- จุลชพี (ไวรัส แบคทเี รีย รา หรอื สารชีวภาพอน่ื ตามที่รัฐมนตรกี ำหนด)
- ความร้อน ความเย็น เสียง แสง กัมมันตรังสี ความสั่นสะเทือน หรืออื่น ๆ ที่อาจเป็น
อันตรายตามทร่ี ฐั มนตรีกำหนด
• มีการนำผลการประเมินความเสี่ยงและผลการตรวจวัดสิ่งแวดล้อมในการทำงานของ
ผู้ปฏิบัติงานในแต่ละปฏิบัติการมากำหนดโปรแกรม และแผนตรวจสุขภาพให้ผู้ปฏิบัตงิ าน
รวมถึงการแจง้ ผลตรวจแกผ่ ้ปู ฏิบัตงิ านทราบด้วย
• กรณีที่ผู้ปฏิบัติงานมีการหมุนเวียนงานหรือมีการเปลี่ยนงาน ซึ่งมีปัจจัยเสี่ยงแตกต่างกัน
ตอ้ งมกี ารทบทวนโปรแกรม และแผนตรวจสขุ ภาพสมำ่ เสมอ เป็นระยะ ๆ

4.2 ความปลอดภัย และสุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญ ในการพิจารณาบรรจุบุคลากรในตำแหน่ง
ผบู้ ริหาร

4.2.1 ผ้ทู จี่ ะไดร้ ับการแต่งตั้งเปน็ ผู้บริหารจะต้องมีคุณสมบัติท่สี ำคัญประการหน่ึง คือ การปฏิบัติตาม
กฎระเบียบดา้ นความปลอดภยั และสุขภาพอนามยั อย่างสม่ำเสมอ

• การเคารพและปฏบิ ัติตามกฎระเบียบด้านต่าง ๆ ของสถานประกอบกิจการ เป็นข้อกำหนด
ท่ีพนกั งานขององค์กรทกุ คนพึงปฏบิ ตั ไิ ม่มขี ้อยกเวน้ สำหรบั ผู้บรหิ าร หรือหัวหน้าหน่วยงาน

43

• โดยทั่วไปกฎระเบียบหรือข้อบังคับในการทำงานครอบคลุมด้านแรงงาน รวมถึงด้านความ
ปลอดภยั และอาชวี อนามัยในการทำงานด้วย

• ผบู้ รหิ าร หรอื หวั หน้าหน่วยงานทุกคนในสถานประกอบกิจการ ควรประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นตาม
บทบาทหนา้ ท่ีท่ีรับผดิ ชอบภายใต้กฎระเบียบและข้อบังคับในการทำงาน เป็นแบบอย่างที่ดี
ใหก้ ับพนกั งาน ตัวอย่างเชน่
- การสบู บุหรี่ในบรเิ วณท่ีกำหนดไว้ เช่นเดยี วกับบุคคลอื่น ๆ
- การสวมอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยที่จำเป็นและเหมาะสม เมื่อเข้าไปในบริเวณที่มี
ความเสยี่ งอันตราย ตามทก่ี ำหนด
- การไมเ่ ข้าไปในพ้นื ที่ควบคมุ (Restricted Area) โดยไม่มอี ำนาจหนา้ ที่
- การเดนิ บนช่องทางท่กี ำหนด เปน็ ตน้

4.2.2 กอ่ นทีข่ ้าพเจ้าจะแตง่ ต้ังผู้บรหิ ารคนใหม่ ได้มีแผนกำหนดให้อบรมหลักสูตรความปลอดภัยและ
อาชีวอนามัยทีก่ ำหนดสำหรับผ้บู ริหาร

• บางสถานประกอบกิจการมีกำหนดไว้ในมาตรฝึกอบรม (Training matrix) หรือความ
จำเป็นในการอบรม (Training needs) เรื่องที่เกี่ยวข้อง ครอบคลุมเรื่องความปลอดภัย
และอาชีวอนามัยสำหรับพนักงานแต่ละระดับเพื่อเตรียมตัวสำหรับโยกย้ายตำแหน่งเพ่ือ
ความก้าวหนา้ ในงานหนา้ ท่หี รือการเล่อื นตำแหนง่ งานทส่ี งู ขนึ้ ในอนาคต (Career Path)

• บางสถานประกอบกิจการอาจไม่มีการจัดอบรมเรื่องความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
สำหรับผู้บรหิ าร เพื่อเตรียมตัวสำหรับการเลื่อนตำแหนง่ ที่สูงขึ้น เนื่องจากเหมือนเป็นการ
สัญญาว่าจะให้ตำแหนง่ ซ่ึงขัดกบั ระเบยี บปฏิบัติของสถานประกอบกิจการ

** การท่ีผู้บริหารสถานประกอบกิจการจัดให้บุคคลได้รับการอบรมหลักสูตรเจ้าหน้าที่
ความปลอดภัยในการทำงานระดับผู้บริหารภายหลังการแต่งต้ังเป็นผู้บริหารคนใหม่ และแต่งตั้งเป็นจป.
บรหิ าร ตามกฎหมายน้ัน นบั ไดว้ ่ามีการดำเนินการในขอ้ น้ี

4.2.3 ข้าพเจ้ากำหนดให้ผู้ที่เป็นผู้บังคับบัญชาต้องมีการประชุมชี้แจงเรื่องความปลอดภัยกับ
ผู้ปฏบิ ตั ิงานก่อน เรม่ิ การปฏิบัติงานการดำเนนิ การประชมุ ช้ีแจงเรือ่ งความปลอดภัย ฯ ทำได้ดงั นี้

มีระบุหน้าที่ความรับผิดชอบไว้ในข้อบังคับการทำงานหรือระเบียบปฏิบัติ ให้ผู้บังคับบัญชาหรือ
หวั หนา้ งานช้แี จงข้อปฏิบตั ิตา่ ง ๆ เกีย่ วกับการทำงาน จดั ใหม้ กี ารแนะนำและการฝึกอบรมความปลอดภัยอา
ชวี อนามยั ให้ผู้ปฏบิ ตั งิ านของตนก่อนท่จี ะเรมิ่ ปฏบิ ตั งิ าน

• โดยทั่วไปแล้ว สถานประกอบกิจการมักกำหนดให้ผู้บังคับบัญชาหรือหัวหน้างานประชุม
ชี้แจงเรื่องที่เกี่ยวข้องกับทำงานต่าง ๆ ให้แก่ผู้ปฏิบัติงานก่อนเริ่มปฏิบัติงานอยู่แล้ว
ผู้บริหารสามารถบูรณาการเรื่องความปลอดภัย และอาชีวอนามัยเข้าไปในการประชุมใน
คราวเดียวกันได้

44

4.2.4 ผปู้ ฏิบัติงานระดับบริหารของข้าพเจา้ ทำการตรวจดา้ นความปลอดภยั ในพน้ื ท่ที ี่รบั ผิดชอบอย่าง
สม่ำเสมอ โดยใหค้ วามสนใจเป็นพิเศษในเรอื่ งความสะอาด และความเปน็ ระเบยี บ

ความสะอาดและความเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อยหรือ 5 ส เป็นพื้นฐานของความปลอดภัย ซึ่งเป็นเรื่องที่
ควรเน้นหรือใหค้ วามสนใจเปน็ พิเศษในการเดนิ ตรวจตราด้านความปลอดภัยในพน้ื ทีท่ ีร่ ับผิดชอบ เช่น

• พื้นทีท่ ำงานและทางเดนิ ปราศจากน้ำ หรอื สิ่งอนั ตรายท่ีเป็นสาเหตุให้เกิดการลืน่ สะดดุ หรอื หกลม้
• มกี ารรกั ษาความสะอาดในพืน้ ท่ี และแยกขยะของเสีย ท้งิ อยา่ งถูกตอ้ ง
• ประตขู องต้คู วบคมุ ไฟฟา้ ปิดเรยี บร้อยตลอดเวลา

• สายไฟไมร่ ะโยงระยาง มกี ารมัดรวบใหเ้ รยี บร้อยหรือเกบ็ ในทอ่ รอ้ ยสายไฟ
• ไม่วางวัสดุ/อุปกรณ์ในโซนสีแดงที่ห้ามวาง หรือกีดขวางอุปกรณ์ดับเพลิง ทางเดินของ

บันไดหนีไฟรวมถึงทางพัก และใตบ้ นั ได
• ไม่มีสง่ิ ของวางกีดขวางประตูทางออกฉุกเฉนิ

• มกี ารจดั วางวัสดุ และสิง่ ของต่าง ๆ บนชัน้ อยา่ งเปน็ ระเบยี บ

4.2.5 ข้าพเจ้าพูดคุยเป็นประจำกับผู้ปฏิบัติงานระดับบริหารของข้าพเจ้า เกี่ยวกับความรับผิดชอบ
ดา้ นความปลอดภัยและอาชวี อนามัย และใหม้ กี ารติดตามการปฏิบัตหิ น้าท่ผี บู้ ริหารในฐานะท่ีเป็นเจ้าหน้าที่
ความปลอดภัยระดบั บรหิ าร มีหนา้ ทีร่ ับผิดชอบในการกำกับ ดแู ล เจ้าหนา้ ท่ีความปลอดภัยในการทำงานทุก
ระดับท่อี ย่ใู นการบงั คับบัญชา ซง่ึ ครอบคลุมถึง

• การพูดคุย และติดตามการดำเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภัย และอาชีวอนามัยให้เป็นไป
ตามแผนงาน และโครงการของสถานประกอบกิจการ

• การกำกับ ดูแล ติดตามให้มีการแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ตามข้อเสนอแนะหรือที่ได้รับ
รายงาน เพ่อื ความปลอดภัยของผ้ปู ฏบิ ัติงานในการพูดคุยเพื่อทบทวนผลการปฏิบัติงานกับ
ผู้ใต้บังคับบัญชาในเรื่องผลการปฏิบัติงานตามเป้าหมายของสถานประกอบกิจการเป็น
ระยะ ๆ ใหร้ วมเร่ืองการพูดคยุ เก่ียวกบั หนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบดา้ นความปลอดภัยและอาชวี อนา
มัยเข้าไปด้วย

4.3 การจดั องค์กรด้านความปลอดภยั และสขุ ภาพอนามยั ในสถานประกอบกจิ การเปน็ ไปตามท่ีกฎหมายกำหนด
4.3.1 ขา้ พเจา้ ทบทวนในทุกดา้ นเพอื่ ดวู ่ามกี ารจัดองค์กรใหเ้ ป็นไปตามท่ีกฎหมายกำหนดแล้วหรอื ไม่
• สถานประกอบกจิ การควรมกี ารทบทวนกฎหมายหรือข้อกำหนดใหมๆ่ อยเู่ ปน็ ประจำ (อาจ
กำหนดเปน็ ทุกสปั ดาห์ ทุกเดือน หรือ ทุกไตรมาส)
• มีการตรวจสอบภายในว่าการปฏิบัติของสถานประกอบกิจการสอดคล้องตามข้อกำหนด
ของกฎหมายและข้อบงั คับตา่ งๆ (Legal & Regulatory Compliance Audit) หรอื ไม่
• ในการทบทวนว่ามีการปฏิบัติสอดคล้องกบั กฎหมาย หรือไม่ อาจดำเนินการในการประชุม
คปอ. (Safety Committee Meeting) การประชุมผู้บริหาร (Management Staff
Meeting) หรือ การประชุมเพื่อทบทวนการบริหาร (Management Review) ก็ได้
ทัง้ นข้ี ้ึนอยู่กบั วา่ สถานประกอบกิจการไดร้ ะบุวิธกี ารและการดำเนนิ การไว้อย่างไร

45

4.3.2 ข้าพเจา้ เขา้ รว่ มสมั มนาท่ีจัดใหแ้ ก่ผ้ปู ระกอบกิจการ หรอื ผู้บริหารระดับสงู ด้วยตนเอง
การที่หน่วยงานภายนอกจัดสัมมนาเรื่องต่าง ๆ และเชิญผู้ประกอบกิจการหรือผู้บริหาร

ระดับสูงขององค์กร เพื่อให้เข้าร่วมการสัมมนานั้น เมื่อผู้บริหารระดับสูงพิจารณาว่าเป็นเรื่องที่สำคัญและ
เกี่ยวข้องกับการดำเนินกจิ กรรมในสถานประกอบกิจการแล้ว ผู้บริหารระดับสูงขององค์กรควรที่จะเข้าร่วม
การสัมมนานั้นดว้ ยตนเอง ดว้ ยเหตผุ ลดังนี้

ได้รับข้อมูลข่าวสารใหม่ ๆ ที่เป็นปัจจุบัน เป็นการเปิดโลกทัศน์หรือมุมมองใหม่ ๆ ทั้งในเชิงธุรกิจ
นวตั กรรม หรือเร่อื งทวั่ ๆ ไปทีจ่ ะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การบรหิ ารจัดการสถานประกอบกิจการ

• ความเข้าใจ และทักษะความสามารถของการถ่ายทอดข้อมูลหรือสาระสำคัญของผู้ได้รับ
มอบหมาย หรอื ผ้แู ทนไม่เทา่ กัน

• ผไู้ ดร้ บั มอบหมายหรอื ผแู้ ทน อาจมมี ุมมองท่ีตา่ งออกไป ประเด็นที่สนใจไม่เหมอื นกนั
• ไดเ้ ครอื ขา่ ยจากการพบปะบคุ คลซึ่งอาจอยใู่ นกลุ่มธุรกิจเดยี วกัน หรอื ต่างธุรกิจ
กรณีที่ได้รับเอกสารการสัมมนาจากช่องทางใด ๆ โดยตรงหรือโดยอ้อม และตอบรับเข้าร่วมการ
สมั มนาดว้ ยตนเอง นบั ว่าได้ดำเนินการในข้อนเี้ ช่นกนั

4.3.3 ผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยของข้าพเจ้า มีส่วนร่วมในกระบวนการ
ตัดสินใจที่เก่ียวข้องกับความปลอดภยั และสขุ ภาพอนามัย ในบางคร้ังและหลายครัง้ ทีส่ ถานประกอบกิจการ
มปี ระเดน็ เก่ยี วกับความปลอดภยั และอาชีวอนามัยที่เก่ยี วข้องซ่ึงอาจตอ้ งการข้อเสนอแนะหรือความคิดเห็น
จากผู้เช่ยี วชาญด้านความปลอดภัย ฯ วศิ วกรรมและดา้ นอื่น ๆ ท่ีได้รับผลกระทบ เพื่อใช้ในการตัดสินใจหรือ
กำหนดแนวทางในการแก้ไขปรับปรงุ กรณีดงั กลา่ วนี้ สถานประกอบกิจการอาจดำเนนิ การดังน้ี

• นำเข้าเป็นวาระในการประชุมคณะกรรมการความปลอดภัย ฯ และเชิญผู้เชี่ยวชาญ หรือ
ผู้เกยี่ วขอ้ งเข้าร่วมประชุม เพ่ือทบทวน และขอมตจิ ากคณะกรรมการ

• จัดตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงานทีป่ ระกอบด้วยผู้เช่ียวชาญด้านความปลอดภัยฯ และ
ผู้เชี่ยวชาญด้านอื่น ๆ จากแต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อศึกษา ทบทวน ประเด็น และ
รว่ มกันตดั สนิ ใจ

4.3.4 มีการจัดตั้งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานใน
สถานประกอบกิจการของข้าพเจ้ากฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549 ข้อ 23 สถานประกอบกิจการที่มี
ลูกจ้างตั้งแต่ห้าสิบคนขึ้นไป ให้นายจ้างจัดให้มีคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทำงานของสถานประกอบกิจการภายในสามสิบวันนับแต่วันที่กฎกระทรวงนี้มีผลใช้
บังคบั หรอื ภายในสามสิบวันนบั แตว่ นั ทม่ี ีลกู จา้ งครบห้าสบิ คน การดำเนนิ การในเร่ืองนี้ คือ

• สถานประกอบกิจการมีการสรรหาคณะกรรมการความปลอดภัยฯ ด้วยวิธีการและจำนวน
ตามท่กี ฎหมายกำหนด

• มีประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการความปลอดภัยฯ กับบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ
ภายในระยะเวลาท่กี ำหนด

46


Click to View FlipBook Version