The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by poohsunnyny2507, 2020-04-27 09:05:16

คำนาม

คำนาม

ชนิดของคำ คำนาม
คำสรรพนาม

คำกริยา
คำวิเศษณ์
คำบุพบท
คำสันธาน

คำอุทาน

1

แบบทดสอบก่อนเรียน

2

เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว

๑. ข้อใดใช้ลักษณนาม ไม่ถูกต้อง
ก แหปากนี้จับปลาได้ดี
ข ขลุ่ยด้ามนี้เป็นของรักของคุณตา
ค ทางม้าลายแห่งนี้อยู่ใกล้แหล่งชุมชน
ง คันไถเก่า ๆ หลายคันวางอยู่ใต้ถุนบ้าน

คำอธิบาย: ข ถูกต้อง เพราะ ขลุ่ย ใช้ลัก
ษณนามว่า เลา ไม่ใช่ ด้าม ซึ่งเป็นการใช้
ลักษณนามที่ไม่ถูกต้อง

3

๒. คำว่า “มาลัย” ในข้อใดเป็นวิสามานยนาม
ก มาลัยดอกพุด
ข พวงมาลัยรถไม่ค่อยดี
ค มาลัยกำลังร้อยดอกมะลิ
ง มาลัยพวงนี้ร้อยได้ประณีตมาก

คำอธิบาย: ค ถูกต้อง เพราะคำว่า
มาลัย ในตัวเลือกนี้เป็นชื่อคน จึง
จัดเป็นวิสามานยนามหรือ
นามเฉพาะ

4

๓. “รู้อะไรไม่สู้รู้วิชา” คำว่า “อะไร” เป็นคำสรรพนามชนิดใด 5
ก แสดงคำถาม
ข บอกความชี้ซ้ำ
ค บอกความไม่บ่งเฉพาะ
ง บอกความบ่งเฉพาะหรือชี้ระยะ

คำอธิบาย: ค ถูกต้อง เพราะคำ
สรรพนามบอกความไม่บ่งเฉพาะ
เป็นคำสรรพนามที่กล่าวถึงโดยไม่
เป็นคำถามและไม่ต้องการคำตอบ
กล่าวในเชิงปรารภ ข้อความจาก
คำถามไม่ต้องการคำตอบ และใช้
กล่าวในเชิงปรารภ จึงจัดเป็นคำ
สรรพนามบอกความไม่บ่งเฉพาะ

๔. ข้อใดมีคำสรรพนามแสดงคำถาม
ก ไม่มีสิ่งใดที่แม่ทำให้ลูกไม่ได้
ข ฝนตกหนักไปไหน ๆ ก็ลำบาก
ค ใครช่วยหยิบสมุดบันทึกให้หน่อย
ง ใครบอกว่าฉันอยากออกไปข้างนอก

คำอธิบาย: ง ถูกต้อง เพราะคำว่า ใคร เป็น
คำสรรพนามแสดงคำถาม และต้องการคำ
ตอบว่าใครเป็นคนบอก

6

๕. คำที่พิมพ์ตัวหนาข้อใดเป็นกริยาช่วย
ก เขาคือนักสู้ผู้ยิ่งใหญ่
ข ชาวนาหว่านข้าวในนา
ค ขอคนไทยจงรู้รักสามัคคี
ง เขาอ่านหนังสือก่อนนอนทุกคืน

คำอธิบาย: ค ถูกต้อง เพราะคำว่า จง
เป็นกริยาช่วย ใช้ประกอบกับกริยาหลัก
คือคำว่า รู้ บอกความอ้อนวอน

7

๖. ข้อใดมีกริยาที่ต้องมีกรรมมารองรับ
ก เขานั่งเล่น
ข เขาเดินเรือ
ค นักเรียนยืนตรง
ง พ่อหัวเราะเสียงดัง

คำอธิบาย: ข ถูกต้อง เพราะ เขาเดิน 8
เรือ กริยาของประโยคนี้คือ เดิน เป็นก
ริ ย า ที่ ต้ อ ง มี ก ร ร ม ม า ร อ ง รั บ จึ ง จ ะ มี
ความหมายสมบูรณ์ เรือ จึงเป็นกรรม
ของประโยคนี้

๗. “เธอจะเลือกของชิ้นไหนก็ได้” คำที่พิมพ์ตัวหนา
เป็นคำวิเศษณ์ชนิดใด

ก แสดงคำถาม
ข เชื่อมประโยค
ค บอกความชี้เฉพาะ
ง บอกความไม่ชี้เฉพาะ

คำอธิบาย: ง ถูกต้อง เพราะวิเศษณ์บอกความไม่ชี้
เฉพาะ จะใช้ประกอบเพื่อบอกความไม่เฉพาะเจาะจงว่า
เป็นอย่างนั้น หรืออย่างนี้ มักมีคำว่า ไหน อะไร ทำไม
เท่าไร แต่จะไม่เป็นคำถาม คำว่า ไหน จากข้อความใน
คำถาม เป็นการบอกกล่าวทั่ว ๆ ไป ไม่เฉพาะเจาะจงว่า
เป็นของชิ้นใด จึงเป็นคำวิเศษณ์บอกความไม่ชี้เฉพาะ

9

๘. “นักเรียนมอบของที่ระลึก______ทีมวิทยากร”

เติมคำใด

ลงในช่องว่างจึงจะเหมาะสม

ก กับ

ข แด่ คำอธิบาย: ข ถูกต้อง เพราะ แด่ เป็นคำ
ค แก่ บุพบทที่ใช้เมื่อผู้น้อยให้ผู้ใหญ่ จาก
ง ต่อ ข้ อ ค ว า ม นั ก เ รี ย น ม อ บ ข อ ง ที่
ระลึก____ทีมวิทยากร เติมคำว่า แด่

เหมาะสมที่สุด

10

๙. “มอมเห่าเสียงดังเมื่อเห็นคนแปลกหน้ายืนอยู่
หน้าบ้าน” คำสันธานในประโยคนี้มีลักษณะใด
ก ความขัดแย้งกัน
ข ความเป็นเหตุผลแก่กัน
ค ความต่อเนื่องกันหรือคล้อยตามกัน
ง เชื่อมใจความขยายกับใจความหลัก

คำอธิบาย: ง ถูกต้อง เพราะคำสันธานที่เชื่อมใจความขยาย
กับใจความหลัก จะต้องมีประโยคหลักและมีประโยคที่มา
ขยายใจความหลัก มักใช้คำว่า เมื่อ ก่อน จาก ตั้งแต่ เป็นคำ
เชื่อมประโยค ประโยคในคำถามมีใจความหลัก คือ มอม
เห่าเสียงดัง ประโยคที่มาขยายใจความหลักคือ (มอม) เห็น
คนแปลกหน้ายืนอยู่หน้าบ้าน ขยายให้รู้ว่ามอมจะเห่าเมื่อ
เห็นคนแปลกหน้ายืนอยู่หน้าบ้าน คำสันธานคือคำว่า เมื่อ จึง
เป็นคำสันธานเชื่อมใจความขยายกับใจความหลัก

11

๑๐. “อ้าว ! เขาไม่มาด้วยเหรอ” คำที่พิมพ์ตัวหนาแสดงอารมณ์ใด
ก ตกใจ
ข เข้าใจ
ค สงสัย
ง บอกให้รู้ตัว

คำอธิบาย: ค ถูกต้อง เพราะคำ
แสดงอารมณ์สงสัย มักใช้คำว่า
เอ๊ะ ! อ้าว ! อะไรนะ !

12

คำนาม

13

คำใดเป็นคำนาม เดิน

บ้าน โทรศัพ
ท์
รถยน
ต์ ร้อง
ดื่ม เพลง

14

ชนิดของคำในภาษาไทย

คำนาม คำกริยา

คำในภาษาไทย คำอุทาน
แบ่งออกเป็น
๗ ชนิด คำสรรพนาม

คำวิเศษณ์ คำบุพบท คำสันธาน

15

. คำนาม

คำ ที่ ใ ช้ เ รี ย ก ชื่ อ ค น
สัตว์ สิ่งของ สถานที่

คำนาม คือ สภาพ อาการ ทั้งที่มีตัว

ตนและไม่มีตัวตน

16

ชนิดของคำนาม

คำนามที่บอกลักษณะ คือ คำนามที่ใช้เรียกชื่อสิ่งต่าง ๆ
ของคำนามทั่วไป ที่ไม่เฉพาะเจาะจงลงไป
นามทั่วไป
คือ
นามเฉพาะ คำนามที่บอกชื่อ
นามบอกลักษณะ
คือ เฉพาะของคน สัตว์
คำนาม สิ่งของ หรืออื่น ๆ

คำนามที่สร้างขึ้นจาก นามหมวดหมู่
คำกริยาหรือคำวิเศษณ์
เพื่อบอกอาการหรือ นามบอกอาการ คือ คำนามที่บอกหมวดหมู่
ความเป็นอยู่ หรือความเป็นอยู่
ของคำนามข้างหน้า

คือ 17

ชนิดของคำนาม ตัวอย่างคำนามแต่ละชนิด

คำนาม แว่นตา หนังสือพิมพ์ ถังขยะ รถไฟ
ทั่วไป โทรศัพท์มือถือ ขวดน้ำ ถนน สวนสาธารณะ

คำนาม สนามหลวง วัดพระแก้ว สถานีรถไฟหัวลำโพง หลินปิง
เฉพาะ เสาชิงช้า สวนจตุจักร อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

คำนาม ฝูงนกพิราบ กองลูกเสือ คณะนักร้องประสาน
หมวดหมู่ เสียง เหล่าข้าราชการ

พวกเราชาวประมง โขลงช้าง

คำนามบอก การพัฒนา การรักษา การแข่งขัน
อาการหรือ ความสุข ความหวัง ความสวยงาม
ความเป็นอยู่

18

คำนามบอก ขลุ่ย ๑ เลา ประตู ๑ บาน ช้อน ๒ คัน
ลักษณะ แสตมป์ ๓ ดวง กระเบื้อง ๑ แผ่น ถุงเท้า ๑ คู่

ข้อแตกต่างระหว่างคำนามหมวดหมู่กับคำนามบอกลักษณะ

คำนามหมวดหมู่ คำนามบอกลักษณะ

จะวางอยู่หน้าคำนาม จะวางอยู่หลังคำนามทั่วไป

ทั่วไป และมีคำบอกจำนวนด้วย

ฝูงลิง ลิง ๑ ฝูง
โขลงช้าง ช้างโขลงใหญ่
คณะนักท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวคณะนี้

19

พิจารณาแต่ละคำว่าเป็นคำนามชนิดใด

ทหาร ความเร็ว ด้าม สวนสัตว์ดุสิต เหล่านักบวช

ห้องสมุด ดอยอินทนนท์ ใบ นักแสดง ผืน

การกิน การช่วยเหลือ ชุดเยาวชน โรงพยาบาล

นามทั่วไป คณะนักเรียน ทีมชาติ ศิริราช

นามเฉพาะ

นามหมวดหมู่

นามบอกอาการหรือความเป็นอยู่

นามบอกลักษณะ 20

จับคู่คำนามบอกลักษณะหรือคำลักษณนาม

กิ่ง เล่ม กล้อง ขอน เรือน เต้า

21

เกม–Word Hunt

๑. ช้างป่าอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม โขลง

๒. พระภิกษุตนนี้ เดินบิณฑบาตผ่าน รูปอ,งสคอ์าง,ยค์, รูป
ถนนเส้นนี้

๓. ความรู้หนังสือเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่ง การ

๔. เนกไทอันนี้สีไม่สวยเลย เส้น
๕. คนที่มีความเพียรย่อมประสบการสำเร็จ ความ

22

เกมแต่งประโยค

ผลไม้ เหล่า ความคิด

ตลาดน้ำ แท่ง เกาะสมุย อาหาร

การเดิน พรรค เขาใหญ่

23

สรุปความรู้

นามทั่วไป
(สามานยนาม)

นามบอกลักษณะ นามเฉพาะ
(ลักษณนาม) (วิสามานยนาม)

คำนาม

นามบอกอาการ นามหมวดหมู่
(สมุหนาม)
หรือความเป็นอยู่
(อาการนาม)

24


Click to View FlipBook Version