Beta-lactamsm ring
โครงสร้าง amoxicillin
(กลุ่มยาปฏชิ ีวนะในกลุ่ม penicillin)
Peptidoglycan สานกันเปน็ ร่างแห
และเช่ือมต่อกนั ด้วยโปรตีนทีเ่ รยี กว่า
Penicillin Binding Proteins (PBP)
การต้งั ปัญหายอ่ มสาคญั กวา่ การแกป้ ญั หา
การต้งั ปญั หา
❖ อาศัยความคดิ สร้างสรรค์
❖ การตั้งปัญหาท่ีดีและชัดเจนจะทาให้ผตู้ ัง้ ปญั หาเกิด
ความเข้าใจและมองเห็นลูท่ างของการค้นหาคาตอบเพื่อ
แก้ปัญหาทีต่ ้ังข้ึน
การแกป้ ญั หา
❖ อาศัยเพียงทกั ษะทางคณติ ศาสตร์และการ
ทดลองเทา่ นน้ั
✓ เชน่ เดยี วกบั วชิ าวทิ ยาศาสตร์แขนงอน่ื ๆ
✓ การศกึ ษาเรยี นรู้ทางชีววทิ ยาอาศยั วธิ ีการทาง
วทิ ยาศาสตร์ (Scientific Method)
1. การตั้งปญั หา
ขอ้ เทจ็ จรงิ ทีไ่ ด้จากการสังเกต
✓ ดอกดาวเรอื งที่ปลูกใต้ต้นไมใ้ หญ่มักจะไม่งอกงาม
✓ดอกดาวเรอื งที่อยูใ่ ตช้ ายคามักจะไม่งอกงาม
✓ดอกดาวเรอื งทีอ่ ยู่บรเิ วณใกลเ้ คยี งดงั กลา่ ว และได้รับแสงสวา่ ง
เตม็ ทเ่ี จรญิ งอกงามดี
ปัญหาของสถานการณ์
แสงสวา่ งเก่ียวข้องกบั การเจรญิ งอกงาม
ของดอกดาวเรอื งหรอื ไม่
การตั้งคาถามจากสถานการณ์ท่เี ป็นปัญหา
“ นกั เรยี นสองคนคนั้ น้าสบั ปะรดใส่หลอดทดลอง
ซึ่งมนี ้าเชอ่ื มบรรจอุ ยคู่ นละหลอด แล้วนาไปเก็บไว้
เมอื่ นานา้ สบั ปะรดทเ่ี กบ็ ไวม้ าตรวจ พบว่า… น้า
สบั ปะรดในหลอดทดลองหนงึ่ มฟี องอากาศเกิดขน้ึ
มากกว่าอกี หลอด
และเมอื่ ดมกลิน่ นา้ สบั ปะรดทัง้ 2 หลอด พบว่า…
หลอดทดลองทมี่ ีฟองอากาศจะมกี ล่ินแอลกอฮอล์
มากกว่าอีกหลอดทดลองหนงึ่ ”
เพราะเหตุใดในน้าสับปะรดจงึ มฟี องอากาศเกิดขึน้ เกิด
กลนิ่ แอลกอฮอลไ์ ด้อย่างไร และฟองอากาศท่เี กิดข้ึนเป็น
ฟองของแกส๊ อะไร ?
กลนิ่ แอลกอฮอล์มากกว่า
เกดิ จากกระบวนการสลาย
นา้ ตาลในนา้ สบั ปะรดของยสี ต์
✓ น้าสับปะรดค้ัน น้าสบั ปะรดคน้ั
✓ ฟองอากาศ
✓ กลน่ิ แอลกอฮอล์
จากสถานการณท์ ีเ่ ป็นปัญหาน้ี นักเรยี นคดิ ว่าคาถามที่อาจ
เปน็ ไปได้มีอะไรบ้าง ?
✓ นา้ สบั ปะรดค้นั กลิ่นแอลกอฮอล์มากกวา่ นา้ สบั ปะรดคนั้
✓ ฟองอากาศ เกดิ จากกระบวนการสลาย
✓ กลน่ิ แอลกอฮอล์ น้าตาลในนา้ สับปะรดของยีสต์
จากสถานการณ์ทีเ่ ปน็ ปัญหาน้ี นักเรยี นคิดว่าคาถามทอ่ี าจ
เป็นไปได้มอี ะไรบ้าง ?
1. อุณหภมู ขิ องสถานทเ่ี กบ็ มผี ลต่อการสลายน้าตาลของยสี ต์หรอื ไม่
2. ความเข้มข้นของน้าตาลในนา้ สับปะรดมผี ลต่อการสลายน้าตาลของ
ยีสต์หรอื ไม่
3. ปรมิ าณน้าสบั ปะรดมผี ลตอ่ การสลายนา้ ตาลของยสี ต์หรอื ไม่
4. ปรมิ าตรอากาศในขวดมีผลต่อการสลายนา้ ตาลของยสี ต์หรอื ไม่
5. ปรมิ าณยสี ตใ์ นน้าสบั ปะรดมีผลตอ่ การสลายนา้ ตาลของยีสต์หรอื ไม่
1. การตัง้ ปัญหา การคาดคะเนคาตอบล่วงหนา้
2. การตั้งสมมติฐาน
❖ คาตอบท้งั หมดที่อาจเปน็ ไปได้ของปญั หานั้น
❖ สมมติฐานท่ีดมี กั มรี ูปแบบ ถ้า…………..ดงั น้นั ……..….
❖ เป็นการแนะแนวทางท่ีใช้ทดสอบได้ด้วย
“ปจั จัยตา่ งๆท่ีมีผลตอ่ การเจรญิ เติบโตของพชื
เชน่ ความชนื้ สารอาหารในดิน ปรมิ าณแสง
แตจ่ ากการทดลองพบว่าความชนื้ และสารอาหารในดนิ
ไม่น่าจะเปน็ สาเหตุที่ทาใหพ้ ืชเจรญิ เติบโตแตกต่างกัน”
Q. นักเรยี นคดิ วา่ ปัญหาคอื อะไร
และควรตั้งสมมติฐานอย่างไร
Q. นักเรยี นคดิ ว่าปัญหาคอื อะไร และควรตงั้ สมมตฐิ านอยา่ งไร
Ans. ปญั หา
ความเขม้ ของแสงมีผลต่อการเจรญิ เตบิ โตของพชื หรอื ไม่
Ans. ตั้งสมมตฐิ าน
ถา้ ความเข้มของแสงเกย่ี วขอ้ งกับการเจรญิ เตบิ โตของพชื
ดังน้นั พชื ที่ไดร้ ับแสงสว่างจะเจรญิ งอกงามได้ดกี ว่าพชื ท่ีไม่ได้
รับแสงสวา่ ง
มีนกั เรยี น 2 คน ตั้งสมมตฐิ านดงั น้ี
นกั เรยี นคนที่ 1 ตั้งสมมติฐานวา่
“ถ้าความเขม้ ข้นของแสงมผี ลต่อการเจรญิ เตบิ โตของพืช ดงั นัน้ พืชท่ี
อยกู่ ลางแจ้งจะเจรญิ เตบิ โตกว่าพืชทเ่ี จรญิ เตบิ โตในทรี่ ่ม”
นกั เรยี นคนท่ี 2 ต้งั สมมตฐิ านว่า
“ถา้ ความเขม้ ข้นของแสงมีผลต่อการเจรญิ เติบโตของพืช ดังนน้ั พชื ที่
เจรญิ เตบิ โตกลางแจ้ง ตน้ จะสูงกว่าพืชท่ีเจรญิ เตบิ โตในทีร่ ่ม”
Q. นกั เรยี นจงวเิ คราะหส์ มมติฐานของนักเรยี นทงั้ 2 คน ว่ามขี ้อท่ี
เหมอื นและแตกต่างกันอย่างไร
Ans. ข้อท่เี หมือนกนั คอื สมมตฐิ านของนกั เรยี นท้ัง 2 คน จะแนะ
แนวทางในการออกแบบการทดลองออกเปน็ 2 กลมุ่
กลุ่ม 1 โตในทแี่ จ้ง
กลมุ่ 2 โตในทร่ี ่ม
Q. นักเรยี นจงวเิ คราะห์สมมตฐิ านของนกั เรยี นทั้ง 2 คน วา่ มีข้อ
ท่ีเหมือนและแตกตา่ งกันอย่างไร
Ans. ข้อท่ีแตกตา่ งกนั คอื
✓ นักเรยี นคนแรก ไม่ไดร้ ะบนุ ยิ ามปฏบิ ัตกิ ารของการ
เจรญิ เติบโตของพืชวา่ จะวัดจากความสงู หรอื ความอวบ หรอื
จานวนใบ หรอื นา้ หนกั แห้ง
✓ นักเรยี นคนท่ีสอง ระบนุ ยิ ามปฏบิ ตั ิการการเจรญิ เตบิ โตว่า
จะวดั จากความสูง
การระบุนิยามปฏบิ ัติการ
การใหค้ านิยามเชิงปฏบิ ัติท่ีจะใชใ้ นการวจิ ัย
ในการวจิ ัย อาจมี ตัวแปร (variables) หรอื คา (terms) ศพั ทเ์ ฉพาะ
ต่าง ๆ ทจี่ าเป็นต้องใหค้ าจากดั ความอย่างชดั เจน
ในรูปทสี่ ามารถสังเกต (observation) หรอื วัด (measurement) ได้
ไม่เช่นนัน้ แล้ว อาจมีการแปลความหมายไปได้หลายทาง
“ภาวะไข้”
“ภาวะทอ่ี ุณหภมู กิ ายสูงเกิน 38 องศาเซลเซยี ส
ใช้ปลายกระเปาะของปรอทหนบี ไวอ้ ย่กู ง่ึ กลางรักแร้และไมเ่ ลยออกไป
ดา้ นหลงั ประมาณ 4 นาที
Q : จากสมมติฐาน “แสงมีผลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพืช”
นักเรยี นจะกาหนดนิยามเชิงปฏบิ ตั ิการของคาใดบ้าง
และกาหนดว่าอยา่ งไร
คาท่จี ะกาหนดนยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร คอื …แ…สง…แ…ละ…ก…าร…เจ…ร…ญิ …เต…บิ …โต…ข…อ…งพ…ืช..
นยิ ามเชิงปฏบิ ตั กิ าร …แ…สง…ห…ม…า…ยถ…ึง…แ…ส…งท…ี่พ…ืช…ได…ร้ …ับจ…า…กด…ว…ง…อา…ท…ิต…ย์เ…ท่า…น.้ัน..
นิยามเชิงปฏบิ ตั ิการ …กา…รเ…จร…ญิ …เต…ิบ…โต…ข…อง…พ…ืช…ห…มา…ย…ถึง…ก…าร…เจ…ร…ญิ …เต…บิ โ…ต…ขอ..ง…พ.ชื
…โด…ย…วัด…จ…าก…ค…ว…าม…ส…งู ข…อ…งต…้น…พ…ชื ……………………………………………………….
กจิ กรรมท่ี การตง้ั สมมติฐาน
Q : ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มกาหนดปัญหาจากกิจกรรมการตง้ั คาถามจาก
สถานการณท์ เ่ี ป็นปัญหา และต้งั สมมติฐาน โดยใช้คาว่า
ถ้า………………………………………ดงั น้นั ………………………………………..
1. อุณหภูมิของสถานทเ่ี ก็บมผี ลต่อการสลายน้าตาลของยสี ตห์ รอื ไม่
2. ความเขม้ ขน้ ของน้าตาลในน้าสบั ปะรดมีผลตอ่ การสลายนา้ ตาลของ
ยีสต์หรอื ไม่
3. ปรมิ าณนา้ สับปะรดมีผลต่อการสลายนา้ ตาลของยีสตห์ รอื ไม่
4. ปรมิ าตรอากาศในขวดมีผลต่อการสลายน้าตาลของยสี ตห์ รอื ไม่
5. ปรมิ าณยีสตใ์ นนา้ สับปะรดมีผลตอ่ การสลายน้าตาลของยสี ตห์ รอื ไม่
กจิ กรรมที่ การตั้งสมมตฐิ าน
Ex. 1 ปัญหา : ความเข้มขน้ ของนา้ ตาลในสบั ปะรดมีผลต่อการ
สลายน้าตาลของยีสต์หรอื ไม่
สมมตฐิ าน : ถ้าความเข้มขน้ ของนา้ ตาลในสบั ปะรดมผี ลต่อการสลาย
นา้ ตาลของยีสต์
ดงั นน้ั ในน้าสับปะรดท่มี คี วามเข้มขน้ ของนา้ ตาลสูงจะเกดิ แกส๊
คาร์บอนไดออกไซด์มากกว่าในน้าสับปะรดทมี่ คี วามเขม้ ขน้ ของนา้ ตาลตา่
กจิ กรรมที่ การตงั้ สมมตฐิ าน
Ex. 2 ปญั หา : ปรมิ าณยสี ต์ในน้าสับปะรดมีผลต่อการสลายน้าตาล
ของยสี ตห์ รอื ไม่
สมมติฐาน : ถ้าปรมิ าณยสี ต์ในนา้ สับปะรดมผี ลต่อการสลายน้าตาล
ดงั น้นั ในนา้ สบั ปะรดท่ีมปี รมิ าณยีสตม์ าก ยอ่ มเกิดแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซดม์ ากกว่าในนา้ สับปะรดทมี่ ีปรมิ าณยสี ตน์ ้อย
Ex. 3 ………………
Ex. 4 ………………
Ex. 5 ………………
ตวั อย่างการสมมตฐิ าน
❖ กล่นิ ใบตะไคร้กาจัดแมลงสาบได้ดกี ว่า
กลน่ิ ใบมะกรูด
❖ การลดน้าหนักด้วยวธิ ีควบคมุ อาหาร
ร่วมกบั การออกกาลงั กายช่วยลดนา้ หนกั ได้
ดกี ว่าการควบคมุ อาหารอย่างเดยี ว
1. การต้งั ปัญหา ตวั แปรอสิ ระ
2. การตั้งสมมตฐิ าน (Independent variables)
3. การตรวจสอบสมมติฐาน
ตวั แปรตาม
(Dependent variables)
ตวั แปรควบคุม
(Control variables)
การตรวจสอบสมมติฐาน (Testing of Hypothesis)
A ตัวแปรอิสระ B ตวั แปรตาม C ตัวแปรควบคมุ
(Independent (Dependent (Control variables)
variables) variables)
____C______ตวั แปรท่ีถูกควบคุมใหค้ งทต่ี ลอด เพราะไมต่ อ้ งการใหผ้ ลของมนั มามี
อิทธพิ ลต่อตัวแปรตาม
____A______ไม่ตอ้ งอยภู่ ายใตอ้ ิทธพิ ลของตัวแปรอนื่ และเป็นตัวแปรที่ผูท้ ดลองตอ้ งการ
ดผู ลของมนั
_____B_____เปล่ยี นแปลงไปได้ตามการเปล่ยี นของตวั แปรอสิ ระ ซง่ึ กค็ อื ผลจากการ
ทดลองทต่ี ้องสงั เกต เกบ็ ขอ้ มลู
“นาย ก. ไดท้ าการทดลองเพอ่ื ดวู ่าแสงแดดมอี ิทธพิ ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของรา
หรอื ไม่ เขาจงึ ทาการทดลองโดยนาขา้ วสกุ ใสถ่ ว้ ยขนาดเล็กเท่ากัน 2 ใบ
ใบท่ี 1 นาไปเก็บในกลอ่ งกระดาษปดิ มดิ ชดิ
ใบที่ 2 วางไว้กลางแจง้ ทง้ิ ไว้ 3 วัน
หลงั จากน้นั ทาการสงั เกตและบนั ทึกผลท่ีเกิดขน้ึ ”
ตัวแปรตน้ ปรมิ าณแสง
ตัวแปรตาม การเจรญิ เตบิ โตของเช้ือรา
ตวั แปรควบคมุ ปรมิ าณ และคณุ สมบัตขิ องขา้ วสุก
อณุ หภูมิ รูปร่างของภาชนะใสข่ า้ วสุก
fermentation tube Q : กิจกรรม fermentation tube
(1) (2)
การตรวจสอบสมมติฐาน
ตัวแปรต้น ………………….
ตวั แปรตาม ………………..
ตวั แปรท่ีควบคมุ ………….
✓ น้าสบั ปะรดคั้น ✓ นา้ สบั ปะรดค้ัน
✓ สารละลายนา้ ตาลเข้มขน้ ✓ สารละลายนา้ ตาลเขม้ ขน้
3 % ลงไป 20 ml 4-8 % ลงไป 20 ml
✓ยีสต์ 2.5 กรัม ✓ยีสต์ 2.5 กรัม
fermentation tube Q : กิจกรรม fermentation tube
(1) (2)
การตรวจสอบสมมติฐาน
ตัวแปรตน้ : ความเขม้ ขน้
ของสารละลายน้าตาลที่
แตกต่างกัน
ตัวแปรตาม : ปรมิ าณของ
CO2
✓ น้าสับปะรดคน้ั ตวั แปรท่ีควบคุม : ✓ นา้ สับปะรดค้นั
✓ สารละลายนา้ ตาลเขม้ ขน้ ปรมิ าณของยีสต์ ✓ สารละลายน้าตาลเข้มขน้
ปรมิ าณนา้ สบั ปะรด
3 % ลงไป 20 ml ขนาด fermentation tube 4-8 % ลงไป 20 ml
✓ยสี ต์ 2.5 กรัม อณุ หภูมิ ✓ยสี ต์ 2.5 กรัม
✓ตัวแปรอสิ ระ (Independent variables) ไมต่ อ้ งอยภู่ ายใตอ้ ทิ ธพิ ล
ของตัวแปรอน่ื และเป็นตวั แปรทผ่ี ู้ทดลองตอ้ งการดผู ลของมนั
✓ ตวั แปรตาม (Dependent variables) เปลย่ี นแปลงไปได้ตามการ
เปล่ียนของตวั แปรอิสระ ซงึ่ ก็คอื ผลจากการทดลอง ที่ต้องสงั เกต เก็บ
ขอ้ มูล
✓ ตัวแปรควบคมุ (Control variables) ตวั แปรทถ่ี ูกควบคมุ ให้คงที่
ตลอด เพราะไมต่ อ้ งการใหผ้ ลของมนั มามีอทิ ธพิ ลตอ่ ตัวแปรตาม
1. การต้งั ปญั หา ตัวแปรอิสระ
2. การตั้งสมมติฐาน (Independent variables)
3. การตรวจสอบสมมติฐาน
ตัวแปรตาม
(Dependent variables)
ตวั แปรควบคุม
(Control variables)
4. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และวิเคราะหข์ ้อมูล
❖ หาความสมั พันธ์ของข้อมลู
❖ อธิบายความหมายของขอ้ มลู เพ่อื นาไปสรุปผล
แบ่งกลมุ่ อภิปราย
Q1 : นักเรยี นจะอธิบายผลการทดลองน้อี ยา่ งไร
Q2 : นกั เรยี นคิดว่าผลการทดลองน้ีเชอื่ ถือได้หรอื ไม่ อย่างไร
Q3 : ทาไมจจึงทาการทดลองซา้ 3 คร้ัง จงอธิบาย
Q4 : ถา้ ทาการทดลองอีกครั้ง ขอ้ มลู จะเหมอื นเดิมหรอื ไม่ อย่างไร
Q5 : นักเรยี นคิดวา่ การทดลองนี้ ขน้ั ตอนใดน่าจะทาให้ผลการทดลองคลาดเคล่อื น และ
ควรแก้ไขอยา่ งไร
Q1 : นกั เรยี นจะอธบิ ายผลการทดลองนอี้ ย่างไร
Ans : เมอ่ื ความเขม้ ขน้ ของนา้ ตาลในนา้ สบั ปะรดเพิ่มข้น
ปรมิ าณแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ จะมากข้นึ
Q2 : นักเรยี นคิดว่าผลการทดลองนเี้ ช่อื ถือได้
หรอื ไม่ อยา่ งไร
Ans : นา่ จะเชื่อถอื ได้ เพราะไดท้ าการทดลองซา้ ถงึ 3 คร้ัง
Q3 : ทาไมจจงึ ทาการทดลองซ้า 3 คร้ัง จงอธิบาย
Ans : เพอ่ื ให้ไดข้ อ้ มลู ทีน่ า่ เชือ่ ถือ จะตอ้ งทาการทดลอง
หลายๆคร้ังแลว้ หาคา่ เฉลย่ี เนื่องจากผลการทดลองแต่ละคร้ัง
มีค่าไม่เทา่ กนั ซึ่งอาจเกดิ จากความคลาดเคลื่อนของการวัด
Q4 : ถ้าทาการทดลองอีกครั้ง ขอ้ มูลจะเหมือนเดมิ
หรอื ไม่ อย่างไร
Ans : อาจไม่เหมอื นเดมิ เพราะเป็นการทดลองคนละคร้ัง
อาจมกี ารคลาดเคลอ่ื นจากการวัด การสังเกต แตค่ วรไดค้ า่ ท่ี
ใกล้เคียงกัน
Q5 : นกั เรยี นคิดวา่ การทดลองน้ี ขนั้ ตอนใดนา่ จะทาใหผ้ ลการ
ทดลองคลาดเคลอ่ื น และควรแก้ไขอย่างไร
Ans : การชง่ั ยสี ตแ์ ละนา้ ตาล อาจทาใหผ้ ลการทดลองคลาดเคล่อื น
ควรแกไ้ ขโดยใชเ้ คร่อื งชงั่ เคร่อื งเดียวกัน ผ้ชู ั่งคนเดยี วกัน หรอื การปดิ ฝา
จุกถ้าปดิ ไมแ่ นน่ แก๊สที่เกิดข้นึ อาจร่ัวไปได้
อาจแก้ไขโดยใชว้ าสลนี ทารอบๆ
จุกยางบรเิ วณปาก
fermentation tube และ
หลอดนาแกส๊ บรเิ วณปาก
fermentation tube เพ่อื ไม่ให้
แก๊สร่ัวออกมา
1. การตงั้ ปัญหา ตัวแปรอสิ ระ
2. การตั้งสมมตฐิ าน (Independent variables)
3. การตรวจสอบสมมติฐาน
ตวั แปรตาม
(Dependent variables)
ตวั แปรควบคุม
(Control variables)
4. การเก็บรวบรวมขอ้ มูลและวิเคราะห์ขอ้ มลู
5. การสรปุ ผลการทดลอง
การสรุปผลการทดลอง
(Conclusion)
ได้มาจากผลการทดลอง
ไดม้ าจากการวเิ คราะหผ์ ลการทดลอง
ได้มาซึ่งความรู้ใหม่
การกาหนดปัญหา Scientific Method
การต้ังสมมติฐาน
การเก็บรวบรวมขอ้ มลู และการพสิ ูจนส์ มมตฐิ าน
ขอ้ สรุปจากการศกึ ษา
ไมส่ อดคลอ้ งกบั สมมตฐาน สอดคล้องกบั สมมตฐาน
ทต่ี งั้ ไว้ ทต่ี ง้ั ไว้
รับรองสมมตฐิ านและได้สมมตฐิ านใหม่
1. ขอ้ เท็จจริง ความรูท้ างวิทยาศาสตร์
(Fact) ____3______สมมติฐานที่ไดร้ บั การยืนยันวา่ ถกู ตอ้ งจาก
การทดลองหลายๆครง้ั
2. ขอ้ มลู ____4_____สมมติฐานทีผ่ ่านการตรวจสอบหลายๆครั้งจน
(Data) เป็นท่ยี อมรับกนั ทั่วไปสามารถนาไปใช้อธิบายอ้างอิงได้
3. กฎ (Law) _____2_____ขอ้ เท็จจรงิ ที่รวบรวมได้จากการสงั เกตหรือ
การทดลอง
4. ทฤษฎี _____1_____สิ่งทม่ี นุษย์สังเกตพบว่าเป็นความจรงิ และมี
(Theory) ความจรงิ อยใู่ นตัวของมนั เอง
ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์
1. ข้อเท็จจรงิ (Fact) หมายถึง สิ่งทีม่ นษุ ยส์ ังเกตพบว่าเปน็ ความจรงิ และมี
ความจรงิ อยู่ในตวั ของมนั เอง
2. ขอ้ มลู (Data) หมายถึง ข้อเท็จจรงิ ที่รวบรวมไดจ้ ากการสังเกตหรอื การ
ทดลอง
3. กฎ (Law) หมายถงึ สมมตฐิ านทไี่ ดร้ ับการยืนยนั ว่าถกู ตอ้ งจากการทดลอง
หลายๆคร้ัง
4. ทฤษฎี (Theory) หมายถึง สมมติฐานที่ผา่ นการตรวจสอบหลายๆคร้ังจน
เป็นทยี่ อมรับกนั ท่วั ไปสามารถนาไปใชอ้ ธิบายอ้างอิงได้