เพลงกล่อมนารี เถา ห น่น่ น่น่ ว ย ก า ร เ รีรี รีรีย น รู้รู้รู้รู้ที่ที่ ที่ที่ ๒ เ รื่รื่ รื่รื่ อ ง เ พ ล ง เ ถ า สื่ อ ก า ร ส อ น ใ บ ค ว า ม รู้ ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ ๒ เ ค ร ดิ ต ค รู ม น ต รี จ ริ ง เ ส ถี ย ร หั ว ห น้ า ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ช า ชี พ คี ต ศิ ล ป์ ไ ท ย วิ ท ย า ลั ย น า ฏ ศิ ล ป สุ โ ข ทั ย สื่ อ ก า ร ส อ น ใ บ ค ว า ม รู้ ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ ๒ เ ค ร ดิ ต ค รู ม น ต รี จ ริ ง เ ส ถี ย ร หั ว ห น้ า ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ช า ชี พ คี ต ศิ ล ป์ ไ ท ย วิ ท ย า ลั ย น า ฏ ศิ ล ป สุ โ ข ทั ย
นักเรียนสามารถคิด,วิเคราะห์ จำ แนก เรื่อง ประวัติความ เป็นมา โครงสร้างของเพลง ลักษณะบทประพันธ์และรส วรรณคดี หลักการขับร้องเพลงไทย และศัพท์สังคีตศิลป์ ไทย ในรูปแบบกิจกรรมแผนที่ความคิด (My Mapping) และสามารถปฏิบัติขับร้องเพลงเถาในหลักสูตรได้ ๓.๑ ข้อที่ ๑ ความเสียสละ ๓.๒ ข้อที่ ๑ มีวินัย นักเรียนรู้และเข้าใจสามารถอธิบาย เรื่อง ประวัติความเป็นมา โครงสร้างของเพลง ลักษณะบทประพันธ์และรสวรรณคดี หลักการ ขับร้องเพลงไทย และศัพท์สังคีตศิลป์ไทยของ เพลงเถาได้ ๓.ด้านคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ (Attitude) จุจุ จุ ด จุ ดประสงค์ค์ ค์ ก ค์ การเรีรี รี ยรี ยนรู้รู้รู้รู้ายหน่น่ น่ ว น่ วย ๑. ด้านความรู้ (KNOWLEDGE) ๒. ด้านทักษะกระบวนการ (PROCESS)
๑. ประวัติความเป็นมา ๒. โครงสร้างของเพลง ๓. ลักษณะบทประพันธ์ และ รสวรรณคดี ๔. หลักและวิธี การขับร้องเพลงไทย ๕. ศัพท์สังคีต ทางคีตศิลป์ไทย คำคำคำคำอธิธิ ธิ บธิ บายรายหน่น่ น่ ว น่ วย
เพลงกล่อมนารี เดิมเป็นเพลงโบราณ อัตราจังหวะชั้นเดียว อยู่ในเรื่องสีนวล สำ หรับทำ นองสองชั้น สำ เนียงไทย นายมนตรี ตราโมท จำ มาจากนางเคลือบ ต้นเสียงหุ่นกระบอกของ ม.ร.ว. เถาะ พยัคฆเสนา และได้แต่งขึ้นเป็นสามชั้นให้ครบเป็นเถาเมื่อ พ.ศ. 2474 ทำ นองเพลงมีความหมายไปในเชิงกล่อมให้หญิง ที่รักสบายอารมณ์และหลับใหล อ้างอิง : มนตรี ตราโมท, ๒๔๔๓-๒๕๓๘(๒๕๒๓). ฟังและเข้าใจเพลงไทย.โรงพิมพ์ไทยเขษม. ๑. ประวัติความเป็นมา
โครงสร้างเพลงกล่อมนารี เถา ประกอบด้วย คำ ร้องและเอื้อน ทำ นองร้องโน้ตไทย จังหวะฉิ่ง และจังหวะหน้าทับ ดังนี้ ****ข้อตกลงเบื้องต้น***** สัญลักษณ์ “ * ” หมายถึง การแบ่งวรรคช่วงหายใจเข้า สัญลักษณ์ “_” หมายถึง กระทบเสียงคู่ ๒ สัญลักษณ์ “ ” หมายถึง การประคบเอื้อน ประคบคำ ตัวอย่างเพลงกล่อมนารี สามชั้นเที่ยวแรก เช่น ๒. โครงสร้างของเพลง
ลักษณะบทประพันธ์เพลงกล่อมนารี เถา เป็นบทประพันธ์ ร้อยกรอง ประเภทกลอนสุภาพ ซึ่งใช้คำ ๖ คำ ถึง ๘ คำ จำ นวน ๓ บท โดยบทร้องนำ มาจากวรรณคดีเรื่องอิเหนา บทกลอนมีเรื่องราวที่สอดคล้องกับชื่อเพลง ความหมายของเพลงกล่อมนารี เถา หมายถึง การหยอกล้อ เล้าโลม ชื่นชม กล่อมหญิงที่รักให้หลับใหล จัดอยู่ในอารมณ์และรสวรรณคดี ประเภทที่ ๑ คือ นารีปราโมทย์ (บทชมโฉม) อารมณ์รักใคร่สเน่หา ๓. ลักษณะบทประพันธ์ และรสวรรณคดี สามชั้น เที่ยวแรก พระแย้มยิ้ม/พริ้มเพรา/เย้าหยอก สัพยอก/ยียวน/สรวลสม สามชั้น เที่ยวกลับ พักตร์เจ้า/เศร้าสลด/อดบรรทม พี่จะกล่อม/เอวกลม/ให้นิทรา สองชั้น เที่ยวแรก สายสมร/นอนเถิด/พี่จะกล่อม เจ้างามจริง/พริ้งพร้อม/ดังเลขา สองชั้น เที่ยวกลับ นวลละออง/ผ่องพักตร์/โสภา ดังจันทรา/ทรงกลด/หมดมลทิน ชั้นเดียวเที่ยวแรก งามเนตร/ดังเนตร/มฤคมาศ งามขนง/วงวาด/ดังคันศิลป์ ชั้นเดียวเที่ยวกลับ อรชร/อ้อนแอ้น/ดังกินริน หวังถวิล/ไม่เว้น/วายเอย (เรื่อง อิเหนา พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๒ ) บทร้องและการแบ่งวรรคคำ ร้องเพลง กล่อมนารี เถา
เพลงกล่อมนารี เถา ใช้หลักและวิธีการขับร้องเดี่ยว ประเภทการขับร้อง ประกอบดนตรี รูปแบบรับร้อง ส่งร้อง ตั้งแต่สามชั้น สองชั้น และชั้นเดียว มีหลัก การขับร้องเพลงไทย ดังนี้ ๑. เสียง ส่งร้องด้วยเสียง “มี” ใช้กลุ่มเสียงปัญจมูลในการขับร้อง ได้แก่ กลุ่มเสียงทางเพียงออล่าง กลุ่มเสียงทางใน และกลุ่มเสียงทางชวา ๒. คำ ร้อง แบ่งวรรคคำ และออกเสียงตามหลักภาษาไทย ๓. ทำ นอง เป็นเพลงท่อนเดียว มีเที่ยวแรกและเที่ยวกลับ ๔. จังหวะ ประกอบด้วยอัตราจังหวะฉิ่งและจังหวะหน้าทับปรบไก่ สามชั้น สองชั้น และชั้นเดียว แต่ละเที่ยวมีความยาว ๔ จังหวะหน้าทับ ๔. หลักและวิธีการขับร้อง เพลงไทย
๒. เอื้อน หมายถึง เสียงที่ประกอบด้วย เออ เฮอ เอิง เอย เอ๋ย ฮึ อือ ฮือ ฯลฯ นำ มาร้อยเรียงกันให้เกิดเสียง ตามทำ นองเพลง ๑. เสียงกระทบ หมายถึง เสียงที่มากกว่า ๑ เสียงขึ้นไป เกิดจากการบังคับเสียงผ่านกล่องให้หักเห โดยลดระดับเสียงลงมาเป็นชั้นๆ อย่ารวดเร็ว เช่น เสียง รํ ดํท หรือ เฮ้อเออ เอ่อ เป็นต้น ๕. ศัพท์สังคีต ทางคีตศิลป์ไทย ๓. ประคบเสียงประคบคำ หมายถึง การประดิษฐ์เสียงของ คำ และเอื้อน โดยออกเสียงคำ หรือ เอื้อน ขึ้นหรือลงตามทำ นองเพลง ให้เกิดความไพเราะ ๔. หางเสียง หมายถึง เสียงที่เชื่อมลงท้าย คำ ร้องหรือเอื้อน เพื่อทำ เสียงให้ สมบูรณ์ตามทำ นองเพลง และความ หมายของคำ
ครูมนตรี จริงเสถียร (การ์ตูน) ออกแ บ บ ท บและสร้างสรรค์ เรียนโดย Montree Chingsathian 0856419788 085-6419788 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาชีพคีตศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม https://sites.google.com/view/krumontree-sukhothai/ mr_montree1992