The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by laddawan.butp, 2022-12-09 05:03:12

วิจัย ขยะทะเล ลัดดาวัลย์ บุตรเพ็ชร

วิจัย ขยะทะเล

Keywords: ขยะทะเล

information

name :
laddawan butphet

nickname :
nui

date of birth :
1 february 1998

age :
24

student number :
1620800597

faculty of fine art :
fashion design

university :
bangkok university

instagram :
__laddawann


acknowledgements

โครงงานวจิ ัยเลม นส้ี ำเรจ็ ไดด ว ยดีเพราะไดรบั ความกรณุ าคำช้ีแนะอยางดยี ่งิ จาก
อาจารยดาลติ า เกตศุ ักดิ์ ทค่ี อยใหคำแนะนำและตรวจแกไขขอ บกพรองมาโดยตลอด
ตงั้ แตต นจนสำเร็จเปน ทเี่ รียบรอ ย และยังคอยใหกำลงั ใจในส่ิงทผ่ี ูว ิจัยทำไดด ี
ผูวจิ ยั ตองขอขอบคุณเปนอยา งสูงไว ณ โอกาสน้ี

และขอขอบคณุ บิดา มารดา ทส่ี นบั สนนุ และคอยใหกำลังใจมาโดยตลอด
ขอบคุณเพือ่ นๆที่คอยชวยเหลอื ใหคำแนะนำและพลกั ดันใหผ วู ิจยั ไมย อทอ
ตอการทำโครงงานวิจัยเลม นีจ้ นสำเร็จไปไดด ว ยดี


contents

01 introduction

02 literature review

03 target grop
muse
questionnaire

04 methodology
inspiration
silhouette
technique / details
materials
moodboard
sketch design
lookbook

05 conclusion / recommendation

06 bibliography


introduction

หากใหพ ูดถงึ ปญ หาขยะในทะเล ณ เวลานกี้ ็คงเปนปญ หาระดับตนๆของโลกเลยกว็ าไดเ พราะขยะพลาสติก
ที่เกิดจากฝม ือของมนษุ ยพ วกนนี้ น้ั สรางปญ หาและเปนมลพษิ ตอสิ่งแวดลอมอยางชดั เจน ทัง้ แนวประการงั ท่ี
ตองเสยี หายและตายลงเพราะขยะพลาสติก และสตั วห ายาก ซ่ึงมตี ้งั แตส ัตวทีถ่ ูกอวนของชาวประมงท่ีหากนิ
กับทะเลโดนรัดจนไดร ับบาดเจ็บไปถงึ ข้นั สัตวท ี่กนิ ขยะพลาสติกซ่งึ ขยะเหลา น้จี ะไปรบกวนการทำงานของระบบ
ยอยอาหาร ทำใหพ ฤติกรรมการกินอาหารของสัตวเ หลานัน้ เปลย่ี นไป จนทำใหม ันตายลงในท่สี ดุ ในทกุ ๆปจะ
มีขยะพลาสติก 12 ลา นตันถูกท้ิงลงสูท ะเลและมหาสมุทรและมีเพียง 5% เทานน้ั ท่ีเราพบเหน็ เปน ชิน้ สวนลอย
อยใู นทะเลสว นท่ีเหลือยงั คงจมอยใู ตน ำ้ หรือถกู กระแสน้ำพดั ไปอยูใตทอ งมหาสมุทรและจากขอ มลู พบวา
ภูมภิ าคเอเชียเปน แหลงขยะพลาสติกในทะเลที่ใหญท ่สี ุดในโลกและจากผลงานวจิ ยั ป 2558 การจัดลำดบั
ประเทศทป่ี ลอยขยะพลาสติกลงสทู ะเลประเทศไทยติดอันดบั 1 ใน 10 อนั ดบั แรกจากจำนวน 192 ประเทศ

จากปญหาท่ีกลา วมาขา งตนทำใหปจ จุบนั มนษุ ยเร่มิ ตระหนักถึงปญหาทเี่ กิดขนึ้ จากผลกระทบของขยะ
พลาสตกิ ทีเ่ หน็ ไดชัดทงั้ สตั วน้ำประมงที่ลดนอยลงและชายหาดท่ีสกปรกข้ึนแตห ากจะใหนำขยะเหลานมี้ ากำจัด
ดวยวิธกี ารเผากจ็ ะยิง่ เปน การเพิ่มมลพิษทางอากาศ จึงเกิดแนวคดิ การนำขยะพลาสติกเหลา น้ีมา Recycle
และ upcycle ดว ยนวตั กรรมการแปรรปู ตา งๆเชน การหลอม การข้นึ รูปใหม เพอื่ ใหม คี ุณสมบัตใิ นการนำมา
ใชง านออกแบบแฟชั่นเครือ่ งแตงกายและเคร่ืองประดบั และเพ่ือเปนการกระตนุ และสนบั สนุนใหค นหนั มาใสใจ
การ "ใชแ ลวทิง้ " เปล่ยี นมาเปน "นำมาผลิตใหเ ปน ของชนิ้ ใหม" โดยการออกแบบภายใตแนวคดิ สินคาแฟชั่น
ทย่ี ง่ั ยนื แตท นั สมัยเพอ่ื ไมใ หสินคาแฟชัน่ เหลานี้กลับไปเปนขยะแฟชั่นซ้ำอกี

โดยการออกแบบนี้มีวตั ถปุ ระสงคเพ่ือเพิ่มแนวทางในการลดปญหาขยะในทองทะเลดวยนวตั กรรมสมัย
ใหมและตระหนกั ถงึ การรักษาสิ่งแวดลอ ม โดยการลดการใช (reduce) เพอื่ มาซอมแซม (repair) ยดื อายกุ าร
ใชง าน (reuse) และแปรรูปจากของเสยี มาเปน ของชน้ิ ใหม การนำส่งิ ทเ่ี ปนปญ หาและไมม มี ูลคามาทำใหม มี ลู คา
และเกิดประโยชนสงู สุดในงานดานแฟชัน่ ขอบเขตในการทำโครงการ ไดแก ศึกษาทดลองกระบวนการ
Recycle และ upcycle กับขยะพลาสติกในทะเลและศกึ ษาแนวโนม แฟช่นั สตรีทของวยั รุนในเมอื งในชวงอายุ
GenX และ GeY


วตั ถปุ ระสงค

การวิจยั ครงั้ นมี้ ีวตั ถุประสงคเพี่อศกึ ษาหาแนวทางในการแกไ ขปญหาขยะในทะเล และการนำขยะในทะเล
มาใชอ อกแบบรว มกับงานแฟชนั่ เพอ่ื ใหเ ขากับกลมุ วยั รนุ ในเมอื งทีส่ นใจเสอ้ื ผาแนวสตรีท
1. เพื่อศกึ ษาประเภทของขยะที่มีอยูในทะเลและนำมาแยกใชในงานแฟช่ันตางๆใหเหมาะสมกบั งาน
2. เพ่อื ศกึ ษาการนำขยะในทะเลมาแปรรูปเพอ่ื ใชใ นงานแฟช่ัน
3. เพื่อศกึ ษาตน เหตขุ องการเกดิ ขยะและจำนวนขยะทม่ี อี ยใู นประเทศ
4. เพื่อศกึ ษาแฟชน่ั แนวสตรที ของวยั รุนในเมือง

ขอบเขตของการวิจยั

กลุมประชากรทศี่ กึ ษา คอื วยั รนุ ในชวงอายุ 18 – 35 ป ท่ใี ชช วี ติ อยูในเมืองและตามสถานท่ตี างๆเชน
คาเฟ หางสรรพสนิ คา และแหลง ศูนยร วมวัยรุนในยานตางๆที่อยใู นเมือง

สถานทที่ ำการศึกษา คือ แหลง ศูนยร วมวัยรยุ ตา งๆ คาเฟ ลานกจิ กรรมสยามแสควร เน่ืองจากเปน
สถานท่ที ม่ี กี ลมุ วัยรุน ท่แี ตง ตวั แนวสตรที คอ นขา งมาก

ระยะเวลาทีท่ ำการศกึ ษา คือ เดือนตลุ าคม-พฤศจิกายน 2565 วธิ ีการศกึ ษาคือวธิ กี รอก
แบบสอบถาม

ขอบเขตของสินคา แฟชน่ั สตรที คอื เสื้อผาท่ีเปน sustainable

นิยามศพั ทเ ฉพาะ

1. ความยง่ั ยนื (Sustainable) หมายถงึ การออกแบบหรอื การนำวัสดุทีม่ ีระยะการใชง านไดน าน ไมสงผลเสีย
กบั สง่ิ แวดลอมมาใชในงานออกแบบ
2. การนำมาใชใหม (Recycle) หมายถึง การนำสงิ่ ท่เี ราไมสามารถใชซ ้ำไดแ ลว ไปเขา กระบวนการแปรรปู ให
เปน วตั ถุดบิ
3. ลด (Reduce) หมายถึง ลดการบริโภคทรพั ยากรตา งๆ
4. ใชซ ้ำ (Reuse) หมายถงึ การนำเอาของทยี่ ังใชไ ดก ลบั มาใชซำ้ อกี ครงั้
5. เพมิ่ มูลคา (Upcycle) หมายถึง การนำเศษวัสดตุ างๆมาทำเปนของใหมโดยการใสไ อเดยี เขาไป
6. ซอมแซม (Repair) หมายถึง การซอมแซมของท่เี สียไปแลวใหก ลับมาใชง านไดเ หมอื นเดิม
7. เส้อื ผาแนวสตรที (Street fashion) เส้ือผาทมี่ ีความเรียบงา ย แตด ูดี โดยเส้อื สว นใหญจ ะเปน แบบ
โอเวอรไ ซส และกางเกงทรงหลวมหรอื กางเกงวอรม

ประโยชนท ีไ่ ดร บั จากการวจิ ยั

ประโยชนจากการทำวจิ ยั ในครง้ั นีท้ ำใหผ ูว ิจัยไดศ กึ ษาขอ มลู เก่ียวกับปญ หาและผลกระทบทีเ่ กดิ จากขยะใน
ทะเลมากขึ้นจากแหลง ขอ มลู ที่หลากหลายจนทำใหผ วู จิ ยั ตกตะกอนทางความคิดและมีความคดิ ที่อยากจะแก
ไขปญ หาขยะทะเลท่ีมแี นวโนม วา จะเพมิ่ ขึ้นในทกุ ๆปและยงั ไดศกึ ษาวิธีการนำขยะเหลา น้ันมาแปรรปู ในรปู แบบ
ตางๆและนำขยะทแี่ ปรรปู หรอื ทำใหมเ หลานั้นมาหาวิธผี สมผสานใหเขา กับงานออกแบบแฟชัน่ เพือ่ เพิ่มมลู คา
และเปนการลดขยะโดยไมตองนำไปเผาจนทำใหเ กดิ มลพิษทางอากาศ


02 literature


ขยะในทะเล (marine debris)

เปน ขยะทถ่ี ูกท้ิงจากมนถษยท งั้ ที่ต้ังใจและไมตัง้ ใจ สสู ภาพ
แวดลอมทางทะเลและชายฝง ขยะในทะเลประกอบดวย
สิง่ ของทถ่ี กู ทำขึน้ หรอื ถูกใชโดยมนุษย และเจตนาทิ้งลงสู
ทะเล แมน ้ำ หรอื บนชายหาด ซึง่ นำลงไปโดยตรงสทู ะเลโดย
แมน้ำ แหลงน้ำโสโครก กระแสน้ำทเ่ี ชย่ี วกราด หรอื กระแส
ลม รวมทัง้ วัตถุทสี่ ญู หายในทะเลในขณะที่สภาพอากาศเลว
รา ย เครือ่ งมือประมง สินคา ในเรือขนสง หรอื การเจตนาทิง้
โดนมนุษยบนชายหาดและชายฝง ขยะในทะเลอาจจะพบ
ใกลแ หลงทเี่ กดิ แตเ กือบทัง้ หมดถกู พดั พาไปไดในระยะทาง
ไกลๆ ดว ยกระแสน้ำในมหาสมุทรและกระแสลม ดังนน้ั ขยะใน
ทะเลจึงถูกพบในพื้นท่ีทุกทะเลทว่ั โลก ไมเพียงแตบ รเิ วณ
ชายฝง แตย ังสามารถพบไดในสถานทีห่ างไกลจากแหลง
กำเนิด เชน บนเกาะกลางมหาสมุทรและบรเิ วณข้ัวโลก
สามารถพบขยะในทะเลลอยอยูบ รเิ วณผวิ นำ้ กลางมวลนำ้
และจมลงสูพนื้ ทองทะเลท่ีระดับความลึกแตกตางกันไป

รายงานจากองคกรอนรุ กั ษทองทะเล (Ocean
Conservancy) ระบวุ า หลายประเทศในแถบเอเชยี
ท้งิ ขยะพลาสตกิ ลงทะเลมากสุดในโลก โดยมี
ประเทศไทยตดิ อันดับ 5 หากยงั ไมมกี ารแกไขอาจ
ทำใหข ยะเพิม่ ขึน้ และยังสงผลกระทบตอสตั วท ะเล
อกี มากมาย โดยผลวจิ ัยจากกรมทรัพยากรทาง
ทะเลและชายฝง (ทช.) พบวา เตาทะเล พะยูน
โลมา และวาฬ ซึ่งเปน ดัชนีชว้ี ัดความสมบรู ณข อง
ระบบนิเวศ มีแนวโนมการเกยตื้นเพม่ิ ขึ้น ดา นสถติ ิ
ในชวงป 2546-2560 พบสัตวทะเลหายากเกยตน้ื
รวม 3,702 ตวั โดยชวงท่พี บมากสุด คอื ป 2560
และจากการชันสูตรซากสัตวท ะเลทเ่ี กยตื้นตายสวน
ใหญเรามกั จะพบขยะพลาสติกทอี่ ยภู ายในกระเพาะ
อาหารทีเ่ ปนปจจัยหลักทีท่ ำใหสัตวเหลานีต้ องจบ
ชีวิตลง


ขยะจากภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ

บนบกนเ้ี ราเจอภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติมากมาย ไมว า จะเปน พายุเฮอรเิ คน
แผน ดนิ ไหว คลนื่ สึนามิ ทอรน าโด โคลนถลม ไฟปา และภเู ขาไฟระเบดิ แตถาเรา
พูดถึงในทะเลท่เี ปน พื้นทหี่ างไกลชายฝงจะมีภยั พบิ ัติธรรมชาตทิ างทะเลใดบา ง
ที่ไมไ ดเกิดข้ึนจากฝมือมนุษย

ภเู ขาไฟใตน ำ้ (Submarine volcano)
ภเู ขาไฟท่แี นวสนั กลางมหาสมุทรเพียงอยา งเดยี วคาดเปน
แหลงกำเนิด 75% แมกมาที่เกิดผดุ ข้ึนมาบนโลก สวนใหญ
แลว ภเู ขาไฟจะตง้ั อยใู นสว นลึกในกนบง้ึ ของมหาสมุทร
บางลูกมอี ยใู นนำ้ ต้นื และพวกมันเหลานส้ี ามารถปลดปลอย
วตั ถุออกสูชั้นบรรยากาศในระหวา งการปะทุ จำนวนภูเขาไฟ
ใตน้ำทั้งหมดคาดวามมี ากกวา 1 ลา นปลอ ง ซึ่งมีประมาณ
75,000 ปลองทม่ี ีความสงู เพม่ิ ขึ้นมากกวา 1 กม. เหนือกน
ทะเล โดยภเู ขาไฟสวนใหญท เี่ หลายคนอาจจะรูจ ักวา
มนั สามารถปลอยข้ีเถาลอยฟุงกระจายไปท่วั ช้ันบรรยากาศ
ปลอ ยกาซพษิ และลาวาสแี ดงท่เี ราตา งรวู ามนั อนั ตรายแค
ไหน สำหรับภูเขาไฟทีอ่ ยูใตทะเลนี้มนั มีอนั ตรายไมน อยกวา
กัน ถึงแมวามันจะไมไ ดระเบิดเหมือนภูเขาไฟทอ่ี ยบู นบก มัน
สามารถสรา งฟองอากาศใตน้ำซึ่งจะไปลดความหนาแนน
ของนำ้ จนทำใหเรือจมไดเ ลยทีเดยี ว


คลื่นสึนามิ (Tsunami)
สนึ ามิเปนคล่ืนทเ่ี กิดจากการเคล่อื นไหวของมหาสมุทรอยางฉบั
พลนั เน่อื งจากแผน ดินไหว แผน ดนิ ถลมบนพืน้ ทะเล แผน ดินถลม
ลงไปในมหาสมทุ ร การระเบดิ ของภเู ขาไฟครงั้ ใหญ หรือ
อกุ กาบาตขนาดใหญ สนึ ามสิ ว นใหญเ กิดจากแผน ดนิ ไหวขนาด
ใหญใ ตพ ืน้ ทะเล เมอ่ื แผน แผน พืน้ ทะเลขนาดใหญถกู บงั คับให
เคลื่อนออกจากกนั อยางฉับพลัน ทำใหนำ้ ไหลมาอยูในชอ งวาง
รอยแยก ในขณะที่มันสรางคล่นื ขนาดใหญเ คลื่อนออกไปยงั
ชายฝง แผน ดินถลม ใตน ำ้ กอ็ าจเปน สวนหน่งึ ท่ที ำใหเ กิดสึนามิ
และสามารถตกลงสมู หาสมทุ ร ดินถลมเกดิ ขึน้ เมอ่ื แผนดนิ ไมอ าจ
ตานตอแรงโนม ถวงโลกไดใ นขณะที่ภเู ขาไฟใตน้ำกอ็ าจเปน
สาเหตุของการเกดิ คลน่ื ไดเชนกัน ดวยนำ้ แมกมารอนจดั ทำใหน ำ้
ทะเลโดยรอบเกิดระเบดิ สรางคลื่นกระแทกไปทว่ั จนเกิดคล่ืน
ยักษเ ขากระทบชายฝง หรือแมแ ตภเู ขาไฟใตน้ำอาจยบุ ตวั ลงดา น
ลา งทำใหร ะดับนำ้ ลดลงอยางฉลบั พลนั จนในทส่ี ุดมนั ก็จะสราง
คลืน่ กลับไปยังชายฝง เชนเดมิ ท้งั หมดนี้ลว นสรา งความเสยี หาย
ท่ปี ระเมินไมไดก บั บา นเมือง และประเทศติดชายฝงหลายคร้ัง
แมแตประเทศไทยกย็ ังเคยไดรับผลกระทบดวยเหมอื นกันในอดตี
อยา งในจังหวัดภาคใตของประเทศไทย


หลุมฝงกลบขยะ
วธิ ีการฝงกลบทถ่ี ูกสุขลกั ษณะนั้น จะตองไม

กอใหเกดิ ปญ หามลพิษตอ สภาพแวดลอม รวมทงั้
เหตรุ ำคาญอน่ื ๆ เชน กลิ่นเหมน็ ควนั ฝนุ ละออง
และการปลิวของกระดาษ พลาสตกิ และอ่ืนๆ ซึง่ จะ
ตอ งควบคมุ ใหอยูภายในขอบเขตจำกดั ไมทำใหเ กดิ
การเสอื่ มเสียแกท ศั นยี ภาพของพ้นื ท่แี ละบริเวณ
ใกลเ คียง นอกจากนย้ี งั จะตองมมี าตรการในการ
ควบคุมดแู ลอีกดว ย วิธีการฝงกลบขยะมลู ฝอย
อาจแบง ออกไดเปน ๒ แบบ คอื แบบถมทแี่ ละแบบ
ขดุ เปน รอ ง

๑. แบบถมท่ี เปน การฝงกลบขยะมูลฝอยในพื้นทีท่ เี่ ปน
หลุม เปนบอ หรือเปนพ้นื ทที่ ี่ต่ำอยูกอนแลว และตอ งการถมให
พื้นทแ่ี หงนนั้ สูงข้ึนกวาระดับเดิม เชน บริเวณบอ ดินลกู รงั รมิ ตลงิ่
เหมืองรางหรอื บริเวณท่ดี ินท่ีถกู ขดุ ออกไปทำประโยชนอยางอน่ื มา
กอนแลว เปน ตน ในพ้นื ทเี่ ชน น้ีเราเทขยะมูลฝอยลงไป แลว เกลย่ี
ขยะใหก ระจายพรอ มกบั บดทบั ใหแนน จากนน้ั กใ็ ชด นิ กลบ แลว จึง
บดทบั ใหแนนอีกเปน คร้ังสุดทาย

๒. แบบขุดเปน รอ ง เปน การกำจัดขยะมลู ฝอยแบบฝงกลบ
ในพ้ืนที่ราบ ซง่ึ เปน ที่สูงอยแู ลว และไมต องการที่จะใหพ ้นื ทแ่ี หงนน้ั
สงู เพ่ิมข้ึนไปอีก หรอื สูงขึ้นไมม ากนัก แตในขณะเดียวกนั กต็ อ งการ
ใชพ น้ื ทฝ่ี ง กลบขยะมูลฝอยใหไ ดจ ำนวนมากๆ ดังนน้ั จงึ ตอ งใชวิธขี ุด
เปน รองกอน การขุดรอ งตอ งใหม คี วามกวางประมาณ ๒ เทาของ
ขนาดเครื่องจกั รท่ีใช เพ่อื ความสะดวกตอการทำงานของ
เคร่ืองจกั ร และมคี วามยาวตลอดพื้นท่ที ่ีจะฝงกลบ สวนความลกึ
ขน้ึ อยกู ับระดับน้ำใตด นิ จะลกึ เทา ไรกไ็ ดแ ตต อ งไมใหถ งึ ระดับน้ำ
ใตดิน สว นมากจะขดุ ลกึ ประมาณ ๒-๓ เมตรและตองทำใหลาด
เอียงไปทางดา นใดดา นหน่งึ เพ่ือไมใหนำ้ ขังในรอ งเวลาฝนตก ดินท่ี
ขุดขึน้ มาจากรองกก็ องไวท างดานใดดา นหนึง่ สำหรับใชเ ปน ดนิ
กลบตอไป นอกจากนน้ั ยังสามารถใชท ำเปน คนั ดิน สำหรบั ก้ันมิให
ลมพดั ขยะออกไปนอกบริเวณไดอ ีกดวยสวนวธิ ีการฝงกลบขยะ
มลู ฝอยกท็ ำเชน เดยี วกบั แบบถมทค่ี ือเม่อื เทขยะมูลฝอยลงไปในรอ ง
แลว กเ็ กลี่ยใหกระจาย บดทับแลว ใชดนิ กลบและบดทบั อกี ครงั้ หนึ่ง


ขยะจากการประมง

ขยะพลาสติกในมหาสมุทรอีก 20 เปอรเซน็ ต
มาจากกิจกรรมทางทะเล ขยะจำพวกเศษแห
อวน และเครือ่ งมอื จับปลามากกวา 640,000 ตัน
ในแตละป ท่ีตกคา งอยูในทองทะเล อาจฟงดไู กล
ตวั เพราะเราไมใ ชค นใชเ คร่ืองมือโดยตรง แตอยา
ลืมวา เราสัตวท ะเลทีจ่ บั โดยอุปกรณเ หลานัน้ ไมใช
หรือ เศษอวนเหลา นี้ กำลังเปนภัยคกุ คามระบบ
นิเวศทางทะเลอยา งรา ยแรง เตา ทะเล วาฬ โลมา
และสตั วท ะเลจำนวนมากเสียชีวิตจากการกินหรอื
ถูกรดั ในขณะเดียวกนั ปะการังกไ็ มส ามารถเติบโต
ได จากการถูกปกคลมุ โดยเศษแหอวนเหลา น้แี ละ
ตายในทีส่ ดุ อวนผี หรือ Ghosting Fishing Net
คอื เครือ่ งมอื ประมงทถี่ ูกทิ้งหรือสูญหายอยใู น
ทะเล ไมว า จะโดยตัง้ ใจ เชน จากการทำลายหลกั
ฐานการทำประมงผดิ กฎหมาย ซอ มอวนกลางทะเล
แลว กโ็ ยนทง้ิ ไปเลย หรอื โดยอบุ ตั เิ หตุ เชน จาก
สภาพอากาศ หรอื เรือประมงตัดผานกันเองทำ
อวนเสยี หาย


ขยะจากโรงงานอุตสาหกรรม

ปรมิ าณขยะพิษจากโรงงานอุตสาหกรรมในไทยถูกสง ไปกำจัด
ถูกวิธมี ไี มถงึ ครง่ึ สว นมากถกู นำไปกำจดั ผิดวิธี กอมลพษิ สราง
ผลกระทบตอคนและส่งิ แวดลอมในชุมชน ขยะพษิ จากโรงงาน
อุตสาหกรรมเปน ขยะทต่ี องไดร บั การกำจดั อยางพิเศษ แตโรงงาน
รับกำจัดกากอตุ สาหกรรมถกู กฎหมายในไทยท่ไี ดมาตรฐานยงั มี
เพียงไมกีร่ าย สวนทางกลมุ ลักลอบทิ้ง หรอื ธรุ กจิ สเี ทารับกำจดั โดย
ไมถูกตองเม่ือโรงงานรบั กำจดั ถกู กฎหมายในไทยทม่ี ีไมก ร่ี าย จงึ มี
การแขง ขนั ต่ำ ราคาการกำจดั ขยะพิษสงู โดยขยะพิษ 1 ตัน มี
ตน ทนุ 4,000 – 5,000 บาท ไปจนถงึ 150,000 บาท
การทำหนา ที่ตรวจสอบมลพิษโรงงาน ปอ งกันการกำกับดแู ลไม
เปนกลางการปรบั พฤติกรรมชวยกนั ลดขยะ และแยกขยะในระดบั
ครวั เรอื น สำนักงาน ชมุ ชน ยังจำเปน ตองไดร ับการสง เสรมิ
เพ่อื ชวยกันลดปรมิ าณขยะพษิ รักษาสิง่ แวดลอมและสขุ ภาพของ
ทกุ คนรวมกันอยางยัง่ ยืนปญหาขยะพิษ หรือขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ ส
ทรี่ วมถงึ ขยะอนั ตราย เชน แบตเตอรี่ ถานไฟฉาย ภาชนะบรรจสุ าร
เคมี ท่ีกำลงั เปน ประเด็นในขณะน้ี ไมไดก อเกดิ จากการลกั ลอบนำเขา
ขยะมากำจัดในไทย และจากครวั เรือนหรือจากสำนักงานเทานนั้
แตประเทศไทยกำลงั เผชิญปญ หาขยะพษิ จำนวนมหาศาลท่กี อ เกิด
จากโรงงาน ในภาคอุตสาหกรรม หรือกากอุตสาหกรรม ซ่ึงควรถูก
กำจัดโดยโรงงานรับกำจดั ขยะพษิ ท่ไี ดรบั ใบอนุญาตและมาตรฐาน
จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.)


ขยะจากการคมนาคมทางทะเล

ภาวะมลพิษทางทะเลอันเกิดจากเรอื เดินทะเลถือเปน
ปญหาสำคญั ท่สี ง ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและระบบนเิ วศ
ในทะเลเปนอยางมาก การคมนาคมทางทะเลเปนท่นี ยิ ม
ทำใหป รมิ าณเรอื ทีส่ ัญจร ในทะเลมีปริมาณมาก ซ่ึงเม่ือ
กลาวถงึ ลักษณะภาวะมลพษิ ที่เกิดจากเรือเดนิ ทะเลมี
ดว ยกนั อยู 3 ลกั ษณะ คอื การทิง้ เท, อุบตั ิการในการ
เดินเรือ, และการปลอยท้ิงของเสีย อนั เกิดจากปฏบิ ัติ
การของเรือ ซ่ึงของเสยี อนั เปนมลพษิ จากปฏิบัตกิ าร
ของเรือนป้ี ระกอบไปดว ย น้ำมนั ของเหลวทเี่ ปน พษิ สาร
อันตราย สิง่ ปฏิกูล ขยะ และมลพิษ ทางอากาศ ขยะจาก
เรือเดินทะเลปรากฏในกฎหมายภายในหลายฉบับ แตก ็
พบปญ หาสำคญั หลายประการที่สง ผลใหก ารบังคบั ใช
กฎหมายไมเ ปนไปอยางมีประสิทธภิ าพ เชน ปญหาเร่อื ง
ขอบเขตการบังคบั ใชก ฎหมายตอเรือท่ีไมไ ดค รอบคลมุ
ถงึ เรอื ตา งชาติที่เดินเรอื อยใู นทะเลไทย ปญ หาเรอ่ื งเขต
บงั คับใชกฎหมายทไ่ี มไดค รอบคลุมไปถงึ เขตเศรษฐกจิ
จำเพาะ และ ปญหาเร่ืองหนว ยงานทีเ่ กีย่ วขอ งในการ
ปองกันและปราบปรามการกระทำความผิดเก่ียวดวย
การปลอยทิ้งขยะจากเรือ เดนิ ทะเลท่ีไมมคี วามชัดเจนใน
สวนของกฎหมายทก่ี ำหนดอำนาจหนาที่เปน กาเฉพาะ
เปน ตน ซ่งึ ปญหาเหลานส้ี ง ผล ตอประสิทธภิ าพในการ
ควบคุมการปลอยทิง้ ขยะจากเรือเดินทะเล


นำ้ มันร่ัวไหล

การร่วั ไหลของนำ้ มนั สามารถเกดิ ไดท้งั
ตามธรรมชาติ เชน รัว่ จากแหลง น้ำมันใตด นิ
หรือจากการกระทำของมนษุ ย เชน
อบุ ตั เิ หตจุ ากเรือ การขุดเจาะนำ้ มัน หรือการ
ลกั ลอบปลอยท้งิ สแู หลงน้ำ การรว่ั ไหลสวน
มากมกั มที ่ีมาจากกิจกรรมของมนษุ ยสาเหตุ
หนึง่ ของน้ำมนั ร่วั ไหลในทะเลมาจากกจิ กรรม
การขนสง ทางทะเล การพัฒนาเศรษฐกจิ ของ
ประเทศจะควบคูไปกบั ความตอ งการพลังงาน
ภายในประเทศทเ่ี พ่มิ สงู ขึน้ ทำใหมีการนำเขา
น้ำมันจากตางประเทศเพิม่ ข้นึ และอาจเกิด
อบุ ตั ิเหตทุ ำใหน ำ้ มันบางสวนเกิดรัว่ ไหลลงสู
ทะเลเสมอ ถึงแมจะมมี าตรการปองกนั ตางๆ
แลว กต็ าม

ผลกระทบจากนำ้ มนั ร่ัวไหล

น้ำมนั ท่ีรวั่ ไหลสูแหลงน้ำจะเกดิ กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงสภาพ ท้ังทางกายภาพ เคมี และ
ชวี ภาพ เร่ิมจากนำ้ มนั บางสวนระเหยไป นำ้ มนั ที่
เหลือจะเปลย่ี นสภาพไปตามคณุ สมบตั เิ ฉพาะของ
ชนดิ น้ำมันน้ันๆ และปจ จัยตา งๆ เชน แสงแดด
กระแสน้ำ อณุ หภมู ิ ฯลฯ
คราบนำ้ มันท่ลี อยอยูบ นผิวนำ้ จะทำปฏิกิริยากบั
ออกซเิ จน ทำใหออกซเิ จนในนำ้ ลดลง และปดกน้ั
การสงั เคราะหแสงของแพลงกต อนพชื สาหราย
และพืชนำ้ ตางๆ เปล่ยี นแปลงสภาวะการยอ ยสลาย
ของแบคทีเรยี ในน้ำ ซ่งึ การเปลี่ยนแปลงทงั้ หมด
ลวนสงผลเสียตอ สิ่งมชี ีวติ ในน้ำทอ่ี าศยั อยบู รเิ วณ
นน้ั (ปลา สัตวหนา ดิน ปะการงั ฯลฯ) รวมถงึ นก
น้ำดวย เกิดการสะสมสารพิษในหวงโซอาหารทีเ่ ร่มิ
ตง้ั แตผ ผู ลิต (แพลงกตอนพชื ) ผูบรโิ ภคขั้นตน
(แพลงกต อนสัตว/ ปลา) จนถึงผบู รโิ ภคข้นั สุดทา ย
ซ่ึงก็คอื มนษุ ย


ปะการงั ฟอกขาว

เปน สภาวะท่ีปะการงั สญู เสยี สาหรายเซลลเดยี ว (Zooxanthellae) ท่ีอาศยั อยูในเน้ือเยื่อของปะการงั แบบ
พ่ึงพากัน (Symbiosis) ทำใหป ะการงั ออ นแอเพราะไมไ ดร ับสารอาหารทีเ่ พียงพอ และอาจตายถาไมสามารถ
ทนตอสภาวะนี้ได (สขี องปะการงั เกิดจากรงควตั ถุของสาหรา ยเซลลเดียว)
การเกิดสภาวะปะการังฟอกขาวเกิดข้ึนไดห ลายสาเหตุ สาเหตหุ ลกั ที่ทำใหเ กดิ การฟอกขาวเปน วงกวางคือ
อุณหภมู ืนำ้ ทะเลทีส่ ูงข้ึนอยางผิดปกติจากการสำรวจของหลายหนว ยงาน พบวาในแตละพื้นท่มี ปี ระการงั
ฟอกขาวมากนอ ยตางกนั ขนึ้ อยกู บั ชนดิ ปะการงั ทขี่ ึ้นครอบคลุมพนื้ ท่นี น้ั (Dominant group) ปะการังเขา
กวางเปน กลุมทไ่ี วตอ การฟอกขาวทส่ี ุด ถา พน้ื ท่ใี ดพบปะการงั ชนิดน้ปี กคลุมมาก พืน้ ท่นี น้ั จะไดร บั ผลกระทบ
มากดว ย และการฟอกขาวข้ึนอยูก บั แนวชายฝง ทปี่ ะการงั ข้ึนอยู แนวชายฝงท่ีไดร็ บั อทื ธพิ ลจากกระแสนำ้
มีการเคล่ือนไหวของมากนำ้ มาก (ดา นตะวนั ตกของเกาะตางๆ ในทะเลอันดามนั ) จะไดรับผลกระทบนอยกวา
บริเวณทกี่ ารเคล่ือนไหวของมวลน้ำนอ ย


นำ้ ทะเลเปล่ยี นสี (Red Tides)

เปนปรากฏการณธรรมชาติที่เกิดขึน้ เนอ่ื งจากการ
เพม่ิ จำนวนอยางรวดเรว็ ของแพลงกต อนบางชนดิ จน
ทำใหน ำ้ ทะเลเปลี่ยนสไี ป อาจมที ัง้ ทเ่ี ปน ประโยชนและมี
ผลระทบตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพของมนุษย ซงึ่ ใน
บางครง้ั เปน เหตุใหส ตั วน ำ้ ตายเปนจำนวนมากได
เนอ่ื งจากคณุ ภาพนำ้ เสื่อมโทรมลง เชน ปรมิ าณ
ออกซิเจนละลายนำ้ ลดลงตำ่ มาก หรือ แพลงกตอนพืช
ปลอ ยสารพษิ บางชนดิ ทเ่ี ปน อนั ตรายตอสัตวน ้ำออก
มาปรมิ าณมาก (biotoxin)
การเกดิ ปรากฏการณน้ำทะเลเปลย่ี นสมี ีความ
สมั พันธโดยตรงกับกิจกรรมมนุษยบริเวณชายฝง
ทะเล โดยเฉพาะการเพิม่ ปรมิ าณอนิ ทรียสารบริเวณ
ชายฝง เชน นำ้ เสียจากบา นเรอื นชมุ ชน จากกิจกรรม
การเกษตร อุตสาหกรรม และการขยายตัวของการ
เพาะเล้ียงสตั วนำ้ ชายฝง ในประเทศไทยมีรายงานการพบ
ปรากฏการณนมี้ านานแลว ซ่งึ ชาวบานมักเรียกวา
ปรากฏการณ ”ขีป้ ลาวาฬ” เพราะมองเหน็ แพลงกต อน
จำนวนมากเปน ฝา ลอยอยูบ นผิวน้ำ และเร่ิมมรี ายงาน
วาพบน้ำทะเลเปล่ยี นสเี ปน สเี หลอื ง เขยี ว และนำ้ ตาล
สที ี่เหน็ เปล่ียนแปลงไปตามชนิดแพลงกต อนที่เกดิ ขนึ้


sustainable fashion

Sustainable Fashion คือ แฟช่ันทยี่ ัง่ ยืน หรอื Eco
Fashion แฟชัน่ ทีเ่ ปน มิตรกบั สงิ่ แวดลอม เปน แนวคดิ ทส่ี ง
เสรมิ การเปล่ยี นแปลงในสนิ คาแฟชัน่ สคู วามสมดุลของระบบ
นเิ วศและเปนธรรมตอสงั คม ซึ่งแฟชน่ั ที่ย่ังยืน ไมไดใ หค วาม
สำคญั กบั ส่งิ ทอหรอื วสั ดุที่ใชผลติ สินคา แฟชนั่ เพียงอยาง
เดียว แตย ังใหความสำคัญและคำนงึ ถงึ กระบวนการผลิต
และอายุของการใชงานของเสอื้ ผา เครอื่ งแตงกายดวย ทงั้ น้ี
เพอ่ื นำไปสูการมีสง่ิ แวดลอ มท่ีดี และสรา งสมดลุ ใหกบั โลก
จากรายงาน Sustainable Fashion, A survey on
global perspectives ของ KPMG ระบุผลการสำรวจ
ความเขาใจเกยี่ วกบั แฟชน่ั ท่ียัง่ ยืนในปจจุบนั และปจจยั ท่สี ง
เสรมิ พฤติกรรมการซื้ออยา งมคี วามรบั ผิดชอบในเมือง
ใหญๆ ไดแ ก ฮอ งกง ลอนดอน นิวยอรก เซี่ยงไฮ และ
โตเกยี ว พบวา กลุมผบู ริโภคในทุกเมืองมีแนวโนมท่ีจะ
สนบั สนุนแฟช่ันทย่ี ง่ั ยืน โดยพรอมทีจ่ ะสนับสนุนและยนิ ดที ่ี
จะจา ยเงนิ ซื้อสินคา แฟชัน่ ที่ยั่งยนื ซง่ึ นบั วา เปน โอกาสการ
เติบโตของสินคาแฟชน่ั ท่ยี ่ังยืน


Polyester

โพลีเอสเตอรเปนเสน ใยสังเคราะหทีม่ นษุ ยสรา งข้นึ ซง่ึ ถกู คนพบในอเมริกาเปน วัตถุดบิ เฉพาะประเภทหนึ่งที่
เรยี กวา โพลี เอทลิ นี เทเรฟทาเลต (PET) แตโ ดยทัว่ ไปโพลีเอสเตอรก ็คือพลาสติกชนดิ หนึง่ น้ันเอง แตเมอื่ นํา
มาทําเปน ผาโพลีเอสเตอรกส็ ามารถนําไปเพื่อใชใ นตดั เย็บออกแบบเส้อื ผา และของตกแตง สิง่ ทออน่ื ๆผาน
กระบวนการอยางแรกคอื นําขวดพลาสตกิ ท่ีใชแลวมาคดั แยกกอนเพอื่ นาํ ส่ิง แปลกปลอมออก ตอดวยการชาํ
ระลา งทาํ ความสะอาดขวดพลาสติกในอณุ หภมู ทิ ี่สงู อีกหลายข้ันตอน บดขวดพลาสติก เปนเกลด็ พลาสตกิ กํา
จัดเชอื้ โรคและขจดั ส่งิ ปนเปอ นทเี่ ปนอนั ตรายออกระหวางทาง กอ นทจี่ ะใชค วามรอ นสูงถึง 285 องศาเซลเซียส
เพ่อื นําเกลด็ พลาสติกทถี่ กู สบั ละเอียดไปหลอมตอ ใหไดเม็ดพลาสตกิ รไี ซเคิลคณุ ภาพสงู สุด และนํามาอัดฉีด
ใหเ ปนเสน ใยผา กอนที่จะนาํ มาผลิตเปน สินคา ตา งๆ


Reduce

ลด ความหมายคือลดการบริโภคทรัพยากร
ตา งๆ ลง วิธนี เ้ี ปนขน้ั ตอนแรกเพราะทำไดง า ย
ทส่ี ุดและดีท่ีสุด การลดการใชท รัพยากรตา งๆ
Reduce ลงจะชว ยประหยดั ทรัพยากรลงได
อยากมปี ระสทิ ธภิ าพมากท่สี ดุ อยางเชน วิธี
งา ยๆ คือการรับประทานอาหารใหห มด แคน ก้ี ็
ชวยลดขยะไดอยางมากมาย หรอื Reduce ลด
การใชถ ุงพลาสตกิ เปลีย่ นมาใชถุงผา แทน ใคร
มถี ุงผา อยแู ลว ลองหยบิ มาใชกันดูสคิ รบั พกติด
กระเปา เอาไว ถาซอ้ื ของอะไรเล็กๆ นอยๆ ก็หยิบ
เอาถุงผาออกมาใชแทนถงุ พลาสตกิ


Reuse

ใชซ้ำ คอื การทีเ่ รานำเอาของท่ียังใชไ ดก ลบั
มาใชซ้ำอีกครงั้ (หรอื อกี หลายๆ คร้ังไดกย็ ่งิ ด)ี
เชนการ Reuse ใชถ ุงพลาสติกใสข องทไ่ี ดม าจาก
รา นสะดวกซ้อื ไปใชใ สขยะ เอาขวดนำ้ พลาสตกิ
กลับมา Reuse ใสน ำ้ ใชอีกคร้งั หรอื วา จะเอา
กลอ งคุกกี้ทร่ี บั ประทานหมดแลวมา Reuse ใส
ของใชกระจุกกระจิกตา งๆ วิธนี ก้ี ็จะชว ยใหลด
การสน้ิ เปลืองทรพั ยากรไดอ กี ระดบั นงึ


Recycle

คือการนำสิ่งทีเ่ ราไมส ามารถทจ่ี ะใชซ ำ้ ไดแ ลว ซึ่ง
อาจจะฉีกขาด แตกหัก กลับไปเขากระบวนการแปรรปู
ใหเปนวัตถดุ ิบ โดยอาจจะใชวธิ ีหลอม Recycle เพือ่ นำ
กลบั มาผลติ ของขึน้ มาใหม เชน การนำเอาขวดนำ้
พลาสตกิ มาผานกระบวนการยอยใหกลายเปน เม็ด
พลาสตกิ แลว นำกลบั มา Recycle หลอมข้นึ เปน
เสน ใย นำไปถักเปนเส้ือยืด หรือการหลอมแกว
การนำเอากระดาษใชแ ลวมาปนทำเปน กระดาษ
Recycle อีกครง้ั วิธนี เ้ี ปนวธิ ที อ่ี ยใู นข้ันสดุ ทา ย
เพราะวิธีนีจ้ ำเปนจะตองใชพลังงานในการแปรรูป ซ่งึ
ก็จะทำใหตอ งใชทรัพยากรอยางเชนนำ้ มันอีกอยดู ี


Upcycle

คำนี้เปน ศพั ทใ หม ทใี่ ชกบั การนำเอาเศษวัสดตุ า งๆ ทีจ่ ะ
กลายเปนขยะแลว นำกลบั มา Upcycle ทำเปน ของใช
ใหม นำมาเพ่มิ ความสวยงาม ใสไอเดยี ใหมๆ โดยยังไม
ถึงกบั ตอ งนำไป Recycle อาจจะแคต ัดแลว นำมา
ประดษิ ฐเ ปน ของใชห รอื ของตกแตงบา น เชน เอาแผน
โฟมมาทำตราปม, เอาแผนพลาสตกิ กนั กระแทกมาทำ
เปน เครือ่ งประดบั , ไฟราวประดบั Upcycle จากลกู ขน
ไก, กระถางตน ไม Upcycle จากขวดน้ำพลาสตกิ , ทำ
Snow Globe จากขวดเกา หรอื นำเอากระปอ งนมมา
ประดับตกแตง ใหส วยงามดว ยผา แลวนำมาใชเปน ท่ีใส
ปากกาเกๆ ซงึ่ ของทีน่ ำมาดัดแปลงแลวอาจจะมคี วาม
สวยงามจนไมร เู ลยวา ของเดมิ นั้นคอื อะไร Upcycle
เปนการเพม่ิ มลู คาใหกับสง่ิ ทีก่ ำลงั จะกลายเปน ขยะ


sustainable brands


4OCEAN
Alex Schulze และ Andrew Cooper สองหนมุ นกั เลน
กระดานโตคล่ืนผูห ลงใหลในทอ งทะเลไดตระหนักถงึ ปญหาขยะ
ทะเลอยางจริงจงั เมอ่ื ครั้งทพี่ วกเขาไปเลนกระดานโตค ลืน่ ที่
ชายหาดในบาหลี และพบเหน็ ขยะมากมายกลาดเกลื่อนอยใู น
ทะเลและบนชายหาด ดว ยเหตนุ เี้ อง พวกเขาจงึ คดิ หาวธิ ี
จัดการกับขยะเหลานด้ี ว ยการขับเคลือ่ นทางสงั คม จัดตั้ง
องคกรเล็กๆ ทม่ี ชี ือ่ วา ‘4OCEAN’ ขึ้นในป 2017 ทฟ่ี ลอริดา
สหรัฐอเมริกา เพื่อรณรงคใหผ คู นท่ัวโลกตระหนักถึงปญ หา
ขยะทะเลและรว มมอื รวมใจกนั ชวยเก็บขยะ โดยใชว ิธีระดมทุน
จากการจำหนาย ‘กำไลขอ มือ 4OCEAN’ ท่ีทำจากขวดแกว
และขวดนำ้ รไี ซเคลิ ผา นทางเว็บไซต www.4ocean.com
ในราคาเสน ละ 20 ดอลลา รสหรัฐ เพอ่ื นำรายไดจ ากการ
จำหนา ยมาจัดสรรและใชจ ายสำหรับการเก็บขยะ ซึง่ รายได
จากการจำหนา ยกำไลขอมอื 1 เสน สามารถนำไปใชใ นการเกบ็
ขยะบริเวณชายหาดและในทะเลได 1 ปอนด


ECOALF
เปน แบรนดส ินคา แฟชนั่ ทนี่ ำแนวทางการสราง
แบรนดอยา งยัง่ ยืนมาใช ดวยการนำขยะทางทะเลมา
แปรรูปเปนวัสดุใหม เพ่ือนำไปผลติ เปน สนิ คา อาทิ
เสอื้ ผา กระเปา รองเทา
ฮาเวียร โกเยเนเซ คอื เจา ของแบรนดแฟช่ันในสเปนท่ี
อยูใ นอุตสาหกรรมแฟช่นั มากวา 20 ป ความกังวลที่
มีตอ ขยะที่เพม่ิ ข้ึน ทำใหเขากอ ตงั้ โครงการ ‘Upcy-
cling the Oceans’ ท่ีบา นเกิด และจบั มือกับอีกสอง
องคกรในไทยเพอื่ เร่มิ ตนโครงการเก็บกวาดขยะในทอ ง
ทะเลไทย วงจรธรุ กจิ ของฮาเวียรคอื โรงงานแปรรปู
วัสดจุ ากขยะ จะรับซื้อขยะในทอ งทะเลจากชาวประมง
ในสเปน เพอ่ื เขากระบวนการผลติ เปนวตั ถดุ ิบ อาทิ
เมด็ พลาสตกิ เสน ดาย แลวนำไปตดั เย็บเปนสนิ คาแฟ
ชันในแบรนด ECOALF ของเขา โดยทเี่ ราไมมที างดู
ออกดวยตาวา ตน ทางของมนั เคยเปน ขยะมากอน


นนั ยาง
โปรเจค รองเทา KHYA (ขยะ) ถกู สรา งขึน้ เพอ่ื เปน
โครงการตวั อยางและแทนสัญลกั ษณท ่ีใชสอื่ สารกบั
ผูคนในสงั คมพรอ มเชญิ ชวนใหตระหนกั ถงึ ปญ หาขยะ
ทะเล การมองเหน็ คุณคา ของขยะ การนำขยะมาเพิม่
มูลคา และเปน แรงบนั ดาลใจใหท กุ คนสามารถเปน สว น
หนงึ่ ของการแกไ ขปญ หาดังกลาวดว ยวธิ กี ารของ
ตนเองไดต ามความถนัด โดยในครงั้ นี้ ถือเปนความรวม
มอื กันระหวาง “รองเทาแตะชา งดาว” จากนันยาง และ
“ทะเลจร” แบรนด Upcycling วัสดจุ ากทะเลซ่งึ เปน
องคกรไมแ สวงผลกำไรโดย ดร.ณฐั พงศ นธิ อิ ทุ ัย และ
พันธมติ ร โดยรายไดจากการจำหนายรองเทา จะถูกนำ
กลบั ไปมอบใหแกหนว ยงานและโครงการเพือ่ สิง่ แวดลอม
และการพัฒนาท่ียัง่ ยนื (Sustainable Devel
“รองเทา KHYA (ขยะ)” 1 คู เกดิ จากเกบ็ ขยะทะเล
ประมาณ 5 กิโลกรมั ถา 200 คู เทากับการเกบ็ ขยะ
1,000 กโิ ลกรัม (1 ตนั ) ทงั้ นีโ้ ปรเจคดังกลา วเปนเพยี ง
สวนเล็กๆ ของสังคมท่ีตองการใหเกดิ ความตระหนักถงึ
ปญหาและคุณคาของขยะ และหวังวา จะเปน ส่ิงท่จี ดุ
ประกายผูป ระกอบการ นักคิดรุน ใหม ทจี่ ะรว มกนั สราง
โลกใหน าอยตู อ ไปopment) ตอไป


03 target group


muse

alex rendell

muse
muse


character

เปน คนแตงตวั งายๆและใชของทีด่ ูเปนมติ รกบั สงิ่ แวดลอ ม มคี วามเปน ผูนำและนาเช่อื ถอื
เปนตวั ของตัวเอง ม่นั ใจ ดูเปน มติ รกบั คนรอบขา ง สุขมุ แตก็เขาถงึ งา ย


taste of life

ใชช ีวติ อยูกับธรรมชาติ ทองเทย่ี วเชิงธรรมชาตแิ ละทำกิจกรรมที่เปน การอนุรักษณ
สิ่งแวดลอ มเปน วทิ ยากรใหค วามรเู กี่ยวกับการอยรู วมกบั ธรรมชาติและการรกั ษา
สงิ่ แวดลอ มใหก บั คนท่ีสนใจและปลูกฝงเด็กๆใหรูจกั คุณคา ของธรรมชาติ


taste of activity

ชอบการทอ งเท่ยี วธรรมชาติ อยูก บั สง่ิ แวดลอ ม ทำกจิ กรรมทีต่ อ งใชความสาม
รถพเิ ศษเฉพาะเชน การดำน้ำแบบ scuba หรือกจิ กรรมใชแ รงเชน การขึ้นเขา


questionnaire

กลุมเปา หมายในชวง Gen X และ Gen Y จากจำนวน 33 คน
แบงเปน GenX จำนวน 21.1% GenY 78.9%

กลมุ เปา หมายทง้ั หมด 33 คน เปน เพศหญงิ รอย
ละ 42.4% เพศชาย 39.4% LGBTQ+ 15.2%
และไมต อ งการระบุอกี 3%

ระดับการศึกษาของกลุมเปาหมายทั้งหมด 33 คน
โดยแบงการศกึ ษาออกเปน 5 ระดับและจากผลการ
สำรวจ ตำ่ กวา มัธยมศึกษา 0% มธั ยมศึกษา 6%
ปริญญาตรี 87.9% ปรญิ ญาโท 6.1%
ปรญิ ญาเอก 0%


จากผลการสำรวจความสนใจในการนำขยะมาใชใ นงานแฟชนั่ มากนอยเพียงใดสรปุ ไดว า
รอ ยละ 87.9% ใหค วามสนใจในเรื่องน้ี

จากการสำรวจความรจู กั แบรนดส นิ คาทน่ี ำขยะมาใชใ นงานแฟชั่นสรปุ ไดวาคนสวนใหญจ ะรจู ัก
แบรนดท่ัวไปที่มีมานานแตไ มไดเร่มิ ตนมาจากการนำขยะในทะเลมาใชเ ปด ตวั แบรนดต งั้ แตแ รก

จากการสำรวจปจจัยท่ีทำใหผ ูบริโภคเลอื กซอื้ สนิ คาแฟชั่นคนสวนใหญใหค วามสำคัญกับดไี ซน
และความคมุ คาในการใชง านมากกวา ราคาและวัสดุท่ใี ช


จากผลสำรวจการใชจ ายเคร่ืองแตงกายในแตล ะเดือนพบวา คนสวนใหญใชจ ายอยูท ี่
ไมเกนิ 5,000 บาทตอ เดอื น

จากผลสำรวจความคดิ เหน็ วาปจ จยั ใดท่ที ำใหแบรนดแฟช่ันหนั มาใชวัสดรุ ไี ซเคลิ มากขน้ึ
แบงเปน 78.8% คิดวาเพ่อื ชวยลดปรมิ าณขยะ 57.6% คิดวาทำตามกระแส และอกี 36.4%
คิดวาเปน การลดตน ทุน


จากแบบสอบถามจำนวน 33 คนในหวั ขอคุณคดิ วาการนำขยะในทะเลมาใชใ นงานแฟช่ันเปน การชว ยลด
ปรมิ าณขยะไดห รอื ไมเ พราะเหตุใด สรุปไดว า 100% คดิ วาไดแตอาจจะไดไ มเยอะเพราะจำนวนขยะในทะเลน้นั
มีมากเนอ่ื งจากระยะเวลาท่ีสะสมมานานแตการนำขยะในทะเลมาใชใ นงานแฟชนั่ พง่ึ จะเปนท่สี นใจ
ในชว งไมก ปี่ ท่ผี านมา

จากแบบสอบถามจำนวน 33 คนในหัวขอ คุณมีความคดิ เหน็ อยางไรเกีย่ วกับกระแส
Sustainable Fashion 98% ใหความสนใจและเห็นดว ยแตใ นไทยยังไมเ ปนทแี่ พรห ลายมากนักดว ยราคา
และดีไซนทยี่ งั ไมนาสนใจ สวนอีก 2% ไมแ สดงความคดิ เหน็

จากแบบสอบถามจำนวน 33 คนในหวั ขอ คุณมคี วามคิดเห็นอยางไรเก่ียวกับกระแส Fast Fashion
ผลสรุปไดวา ทกุ คนมคี วามเหน็ ไปในทิศทางเดียวกันวา ส้ินเปลืองเปนอะไรทมี่ าไวไปไวแตวา กระแสนี้
คอ นขา งเปนทน่ี ยิ มในไทยเน่ืองจากราคาท่เี ขาถึงไดง า ย และหลายคนอาจจะไมรตู ัววาตวั เองกำลงั อยูกลุม
คนที่เปน Fast Fashion


04 methodology


inspiration

เปนการนำขยะในทะเลมาใชในงานแฟชน่ั เพือ่ ลดปญหาขยะในทะเลทีม่ แี นวโนมจะเพิ่มมากขึน้ ทุกปโดยใชว ิธี
การตางๆเชน Reduce, Reuse, Recycle และ Upcycle แลวจึงนำมาผสมผสานกบั แฟช่ันแนวสตรที เพ่ือ
เปนการเจาะกลุม ตลาดวยั รุน มากขึน้ และเพอ่ื เปน การเปลยี่ นแปลงภาพจำเสื้อผา แนว Sustainable
ใหม ีความเปน แฟช่นั มากขึ้น


silhouette
technique / details
materials


moodboard


sketch design


lookbook


conclusion
recommendation

จากการดำเนินการทำวิจยั โครงการออกแบบเสื้อผา Sustainable จากวัสดุ
รีไซเคิลมีขอ เสนอแนะดงั น้ี
ขอเสนอแนะในการทำวิจยั ครัง้ ตอไป
1.ควรมกี ารศึกษาขอ มลู ที่นำมาเปนแรงบนั ดาลใจใหเ ขม ขนมากกวาน้ี
2.ควรนำสง่ิ ทว่ี จิ ัยมาใชในงานแฟชั่นใหมากขน้ึ
3.ควรเพ่ิมความหลากหลาย แปลกใหม จากการนำงานวจิ ยั มาใชในงานแฟชน่ั


bibliography

Marine Knowledge Hub. (2560). ปญ หาส่ิงแวดลอ มทางทะเล. สบื คน 31 สิงหาคม 2565,
จาก http://www.mkh.in.th/index.php?option=com_content&view=arti-
cle&id=52&Itemid=158&lang=th
iurban. (2554). ความหมายของ Reduce Reuse Recycle Upcycle. สืบคน 13 ตลุ าคม
2565, จาก https://www.iurban.in.th/diy/reduce-reuse-recycle-repair-upcycle/
Nungruethai Katuszkewski. (2561). 4OCEAN. สบื คน 13 ตลุ าคม 2565, จาก https://w-
ww.creativecitizen.com/4ocean/
ศิรวิ รรณ สิทธิกา. (2561). Ecoalf. สบื คน 3 พฤศจิกายน 2565, จาก https://www.thait-
extile.org/th/insign/detail.509.1.0.html
KHYA™ (ขยะ) flip-flops. Product of Trash. (2562). รองเทา นนั ยาง. สืบคน 3 พฤศจิกายน
2565, จาก https://www.nanyang.co.th/news-detail.php?id=30&lang=th


Click to View FlipBook Version