The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอน1-2565 ครูเมธินีย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chaimath2514, 2022-05-20 10:33:15

แผนการสอน1-2565 ครูเมธินีย์

แผนการสอน1-2565 ครูเมธินีย์

ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565

รายวิชา ว 32101 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ (เคมี)

โดย
นางสาวเมธินีย์ สรรเสริญ

ตาแหน่ง ครูผูช้ ว่ ย
โรงเรียนพนมศึกษำ

สำนกั งำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำมัธยมศกึ ษำสรุ ำษฎรธ์ ำนี ชุมพร
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพ้นื ฐำน
กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร

แผนการจดั การเรียนรู้

รายวชิ า วิทยาศาสตร์กายภาพ (เคมี) รหสั วิชา ว 32101
ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 จำนวน 60 ช่วั โมง / ภาคเรียน
จำนวน 1.5 หนว่ ยการเรยี น ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565

การกำหนดการใช้แผนการจดั การเรียนรู้

รายการตรวจสอบและกลนั่ กรอง การใช้แผนจัดการเรียนรู้

ความคิดเหน็ ความคดิ เห็น

........................................................................................... ................................................................................
........................................................................................... ................................................................................
........................................................................................... ................................................................................
........................................................................................... ................................................................................
........................................................................................... ................................................................................

ลงชอื่ …………………………........... ลงชือ่ ……………………...........

(นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน) (นางสาวณัฐญิ า คาโส)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวหน้ากลุ่มบริหารงานวชิ าการ

...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงช่อื …………………..............…..
(นางผกา สามารถ)

ผอู้ ำนวยการโรงเรียนพนมศกึ ษา

คำนำ

แผนจัดการเรียนรู้เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประสิทธิภาพการเรียนการสอนเพราะ เป็นเอกสาร
หลักสูตร ที่ใช้ในการบริหารงานของครูผู้สอนให้ตรงตามนโยบายในการปฏิรูปการศึกษา กำหนดไว้ในแผน หลัก
คุณภาพการศึกษา สนองจุดประสงค์และคำอธิบายรายวิชาของหลักสูตร ในการบริหารงานวิชาการถือว่า
“แผนจัดการเรยี นรู้” เป็นเอกสารทางวิชาการทสี่ ำคญั ที่สุดของครู เพราะในแผนจดั การเรยี นรูป้ ระกอบดว้ ย

1.การกำหนดเวลาเรยี น กำหนดการสอน กำหนดการสอบ
2.สาระสำคญั ของเนือ้ หาวชิ าทเ่ี รยี น
3.จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
4.กิจกรรมการเรียนรู้
5.ส่ือและอปุ กรณ์
6.การวัดผลประเมนิ ผล

การจัดทำแผนจดั การเรียนรู้ ถือว่าเป็นการสร้างผลงานทางวิชาการ เป็นผลงานที่แสดง ถึงความชำนาญ ใน
การสอนของครู เพราะครูใชศ้ าสตร์ทุกสาขาอาชีพของครู เช่นการออกแบบการสอน การจัดการและการประเมินผล
ในการจัดทำแผนจัดการเรียนรู้นั้นจะทำให้เกิดความม่ันใจในการสอนสอนได้ตรงจุดประสงค์การเรียนรู้ เพ่ิม
ประสิทธิภาพการเรียนการสอนในรายวิชาท่ีรับผิดชอบสูงขึ้น ทั้งยังเป็นข้อมูลในการนิเทศติดตามตรวจสอบและ
ปรับปรุงการเรียนการสอนได้อยา่ งมีระบบและ ครบวงจร ยังผลให้คุณภาพการศึกษาโดยส่วนรวมพัฒนาพัฒนาไป
อย่างมที ศิ ทางบรรลุเปา้ หมายของหลักสตู ร

ลงช่ือ………………….………..
(นางสาวเมธินีย์ สรรเสรญิ )

ครูผูส้ อน

วเิ คราะห์หลกั สตู ร

ตารางวิเคราะ

รหสั วิชา 32101 รายวิชาวิทยาศาส
ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 เวลา 60

มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหวา่
ธรรมชาติของการเปลย่ี นแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย

ตัวชว้ี ัด รู้อะไร (สาระการเรยี นรู้) พุทธพสิ ัย (K)
1. องคป์ ระกอบในอากาศ 1. บอกชอื่ และปรมิ าณ
ว 2.1 ม.5/1 ระบุวา่ สารเปน็ ธาตุหรอื
สารประกอบ และอยู่ในรปู อะตอม 1. องค์ประกอบภายใน แกส๊ ตา่ ง ๆ ในอาก
โมเลกลุ หรอื ไอออนจากสูตรเคมี อะตอม 2. ระบุว่าสารเปน็ ธาต

ว 2.1 ม.5/2 เปรียบเทียบความเหมอื น สารประกอบ และ
และความแตกต่างของแบบจำลอง รูปอะตอม โมเลกุล
อะตอมของโบรก์ บั แบบจำลองอะตอม ไอออนจากสูตรเค
แบบกลุ่มหมอก 1. ระบจุ ำนวนเวเลนซ
ว 2.1 ม.5/3 ระบุจำนวนโปรตอน อิเลก็ ตรอนจากแบ
นิวตรอน อิเล็กตรอนของอะตอมและ อะตอมของโบรข์ อ
ไอออนที่เกดิ จากอะตอมเดียว กำหนดใหไ้ ด้
2. ระบุจำนวนโปรตอน
นวิ ตรอน และอเิ ล
ของอะตอม และไ
เกดิ จากอะตอมเด

ะหห์ ลกั สูตร

สตร์กายภาพ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต

างสมบตั ิของสสารกบั โครงสรา้ งและแรงยดึ เหนย่ี วระหว่างอนุภาค หลกั และ

ย และการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี

) ทำอะไร จิตพสิ ัย (A) สมรรถนะ
ทกั ษะพสิ ยั (P)

ณของ 1. สามารถจดั กระทำและสื่อ 1. ใฝ่เรยี นรู้และ 1. ความสามารถในการ

กาศได้ ความหมายของขอ้ มลู ท่ี เป็นผมู้ ีความ ส่อื สาร (อ่าน ฟัง พูด

ตหุ รือ ศึกษาคน้ คว้าได้ มุ่งมน่ั ในการ เขยี น)

ะอย่ใู น ทำงาน 2. ความสามารถในการคิด

ล หรือ (สังเกต วิเคราะห์ จัด

คมไี ด้ กลมุ่ สรุป)

ซ์ 1. เขียนเปรยี บเทยี บความ 3. ความสามารถในการ
บบจำลอง เหมือนและความแตกต่าง แกป้ ญั หา (แสวงหา
องธาตทุ ี่ ของแบบจำลองอะตอม ความรู้)

ของโบร์กับแบบจำลอง 4. ความสามารถในการใช้

น อะตอมแบบกลมุ่ หมอกได้ ทกั ษะชีวิต (ความ
ล็กตรอน รับผดิ ชอบ)
ไอออนที่ 5. ความสามารถในการใช้
ดยี วได้ เทคโนโลยีสารสนเทศ

(ใช้การสืบค้นผ่าน

คอมพวิ เตอร)์

ตัวช้ีวัด ร้อู ะไร (สาระการเรยี นร)ู้ พุทธพิสยั (K

ว 2.1 ม.5/4 เขยี นสญั ลักษณน์ ิวเคลยี ร์ 1. สญั ลกั ษณน์ ิวเคลยี ร์ 1. เขยี นสัญลกั ษณน์ วิ

ของธาตุและระบกุ ารเป็นไอโซโทป ของธาตุ ของธาตุทก่ี ำหนดใ

ระบวุ า่ ธาตใุ ดเป็นไ

กนั

ว 2.1 ม.5/5 ระบหุ มแู่ ละคาบของธาตุ 1. ตารางธาตุ 1. ระบหุ ม่แู ละคาบขอ

และระบุว่าธาตเุ ปน็ โลหะ อโลหะ ตารางธาตุได้

ก่งึ โลหะ กลมุ่ ธาตุเรพรีเซนเททีฟ หรอื 2. เปรียบเทียบการนำ

กลมุ่ ธาตุแทรนซิชันจากตารางธาตุ และการใหห้ รือรบั

ว 2.1 ม.5/6 เปรียบเทียบสมบัติการนำ อเิ ลก็ ตรอนของธา

ไฟฟา้ การใหแ้ ละรับอเิ ลก็ ตรอนระหวา่ ง และอโลหะได้

ธาตใุ นกลมุ่ โลหะกบั อโลหะ

ว 2.1 ม.5/7 สืบคน้ ข้อมลู และนำเสนอ 1. การใชป้ ระโยชน์จาก 1. บอกประโยชนข์ อง

ตัวอย่างประโยชนแ์ ละอนั ตรายทเี่ กิด อากาศและมลพิษทาง อากาศได้

จากธาตุเรพรเี ซนเททฟี และธาตุแทรนซิ อากาศ 2. ยกตัวอยา่ งสารมลพ

ชัน อากาศ รวมถึงแห

และผลกระทบต่อ

และสิง่ แวดลอ้ มได

ว 2.1 ม.5/8 ระบวุ า่ พันธะโคเวเลนต์เป็น 1. พันธะโคเวเลนต์ 1. ระบจุ ำนวนอะตอม

พนั ธะเด่ยี ว พนั ธะคู่ หรอื พนั ธะสาม และ องค์ประกอบในโม

ระบุจำนวนคู่อิเล็กตรอนระหว่างอะตอม สารโคเวเลนตจ์ าก

ครู่ ว่ มพนั ธะ จากสูตรโครงสร้าง โมเลกุลหรือสูตรโค

ได้

K) ทำอะไร จิตพสิ ยั (A) สมรรถนะ
วเคลียร์ ทกั ษะพิสัย (P) 1. ใฝ่เรยี นรู้และ
ให้ และ 1. ความสามารถในการ
ไอโซโทป 1. มที ักษะการคำนวณ เป็นผมู้ ีความ สือ่ สาร (อ่าน ฟัง พูด
ม่งุ มนั่ ในการ เขียน)
ทำงาน
2. ความสามารถในการคิด
องธาตใุ น 1. ระบวุ ่าธาตุทกี่ ำหนดให้ (สังเกต วเิ คราะห์ จัด
เปน็ โลหะ อโลหะ หรือ กลุ่ม สรปุ )
ำไฟฟา้ ก่งึ โลหะ หรอื เปน็ ธาตุ
บ เรพรเี ซนเททีฟ หรือ 3. ความสามารถในการ
าตุโลหะ ธาตุแทรนซิซันจาก แกป้ ัญหา (แสวงหา
ตารางธาตุได้ ความรู้)

งแกส๊ ใน 1. สืบคน้ ข้อมูลและ 4. ความสามารถในการใช้
นำเสนอประโยชน์และ ทกั ษะชวี ติ (ความ
รบั ผิดชอบ)
พษิ ใน อันตรายของธาตเุ รพรี
หลง่ กำเนิด เซนเททีฟและธาตุแทรน 5. ความสามารถในการใช้
อส่งิ มีชวี ิต ซชิ ันได้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ด้ (ใช้การสืบค้นผา่ น
มของธาตุ 1. สามารถจัดอปุ กรณ์เพื่อ คอมพิวเตอร)์
มเลกลุ ของ ศกึ ษาการเคลอื่ นที่ของ
กสูตร วตั ถุในแนวระดับและ
ครงสรา้ ง แนวด่งิ ได้

ตัวชว้ี ัด รูอ้ ะไร (สาระการเรยี นร้)ู พุทธพสิ ยั (K

ว 2.1 ม.5/8 ระบวุ า่ พันธะโคเวเลนตเ์ ปน็ 1. พันธะโคเวเลนต์ 2. ระบุวา่ พันธะโคเวเล

พันธะเด่ียว พนั ธะคู่ หรอื พนั ธะสาม และ พันธะเดีย่ ว พนั ธะ

ระบุจำนวนคู่อเิ ลก็ ตรอนระหวา่ งอะตอม พันธะสาม และระ

ครู่ ว่ มพนั ธะ จากสตู รโครงสร้าง คอู่ เิ ลก็ ตรอนระหว

อะตอมคูร่ ่วมพนั ธ

โครงสร้างได้

ว 2.1 ม.5/9 ระบสุ ภาพขว้ั ของสารท่ี 1. การเปลี่ยนสถานะของ 1. ระบสุ ภาพข้ัวของส

โมเลกุลประกอบดว้ ย 2 อะตอม นำ้ และความมีข้ัว โมเลกลุ ประกอบด

ว 2.1 ม.5/10 ระบุสารทเ่ี กดิ พนั ธะ อะตอมได้

ไฮโดรเจนไดจ้ ากสูตรโครงสร้าง 2. ระบสุ ารทเ่ี กิดพันธะ

ว 2.1 ม.5/11 อธบิ ายความสัมพนั ธ์ ได้จากสูตรโครงสร

ระหว่างจุดเดอื ดของสารโควาเลนตก์ บั 3. อธบิ ายความสัมพัน

แรงดงึ ดดู ระหวา่ งโมเลกุลตามสภาพขวั้ จดุ เดือดของสารโค

หรือการเกิดพนั ธะไฮโดรเจน กับแรงยึดเหนยี่ วร

โมเลกลุ ตามสภาพ

การเกิดพันธะไฮโด

ว 2.1 ม.5/12 เขียนสูตรเคมีของไอออน 1. สารประกอบไอออนกิ 1. อธบิ ายการเกดิ พนั

และสารประกอบไอออนิก ไอออนกิ ได้

1. สูตรเอมพิรคิ ัล 1. อธบิ ายความหมาย
เอมพิรคิ ลั ได้

ทำอะไร จิตพิสัย (A) สมรรถนะ
K) ทกั ษะพิสัย (P) 1. ใฝ่เรยี นรูแ้ ละ
ลนตเ์ ปน็ 1. สามารถจัดกระทำและ 1. ความสามารถในการ
ะคู่ หรอื สือ่ ความหมายของ เปน็ ผมู้ คี วาม สอ่ื สาร (อ่าน ฟัง พูด
ะบจุ ำนวน ข้อมูลที่ศกึ ษาค้นควา้ ได้ มงุ่ ม่นั ในการ เขียน)
วา่ ง ทำงาน
ธะจากสูตร 2. ความสามารถในการคิด
(สงั เกต วเิ คราะห์ จัด
สารท่ี 1. สามารถจัดกระทำและ กลุ่ม สรปุ )
ดว้ ย 2 สอ่ื ความหมายของ
3. ความสามารถในการ
ข้อมูลที่ศึกษาคน้ คว้าได้ แก้ปญั หา (แสวงหา
ะไฮโดรเจน ความรู้)
รา้ งได้
นธ์ระหวา่ ง 4. ความสามารถในการใช้
คเวเลนต์ ทกั ษะชวี ิต (ความ
ระหว่าง รบั ผดิ ชอบ)
พขว้ั หรือ
ดรเจนได้ 5. ความสามารถในการใช้
นธะ 1. เขียนสูตรเคมขี อง เทคโนโลยีสารสนเทศ
(ใชก้ ารสืบคน้ ผา่ น
ไอออนท่ีพบใน คอมพวิ เตอร)์
ชีวติ ประจำวันได้
ยของสตู ร 1. เขียนสตู รเอมพริ คิ ัลของ
สารประกอบไอออนิกจาก
ไอออนท่กี ำหนดใหไ้ ด้

ตัวชวี้ ัด ร้อู ะไร (สาระการเรยี นร้)ู พทุ ธพสิ ยั (K

ว 2.1 ม.5/12 เขียนสตู รเคมีของไอออน 1. การเปลย่ี นสถานะของ 1. เปรยี บเทียบจุดหล

และสารประกอบไอออนกิ สารประกอบไอออนิก และจุดเดอื ดระหว

เลนส์กบั สารประก

ออนกิ ได้

ว 2.1 ม.5/13 ระบุว่าสารเกดิ การละลาย 1. การละลายแบบแตก 1. ระบวุ ่าสารเกดิ การ

แบบแตกตวั หรอื ไมแ่ ตกตวั พร้อมใช้ ตัว น้ำแบบแตกตัวจาก

เหตุผลและระบุวา่ สารละลายท่ไี ด้เปน็ และสารละลายที่ไ

สารละลายอิเลก็ โทรไลต์ หรอื นอนอิเลก็ สารละลายอิเลก็ โท

โทรไลต์ 1. การละลายแบบไม่แตก 1. ระบวุ ่าสารเกิดการ

ตวั น้ำแบบแตกตวั หร

แตกตัวจากสูตรเค

สารละลายท่ไี ดเ้ ปน็

สารละลายอิเล็กโท

หรือนอนอเิ ล็กโทร

ว 2.1 ม.5/14 ระบสุ ารประกอบอนิ ทรีย์ 1. ไขมนั และนำ้ มัน 1. อธบิ ายความหมาย

ประเภทไฮโดรคารบ์ อนวา่ อมิ่ ตัวหรือไม่ สารประกอบไฮโด

อ่ิมตวั จากสตู รโครงสร้าง ได้

2. ระบสุ ารประกอบอ

ประเภทไฮโดรเจน

วา่ อิม่ ตวั หรือไม่อม่ิ

สตู รโครงสรา้ งได้

K) ทำอะไร จิตพสิ ยั (A) สมรรถนะ
ลอมเหลว ทกั ษะพสิ ยั (P) 1. ใฝ่เรยี นร้แู ละ
วา่ งโคเว 1. สามารถจดั กระทำและ 1. ความสามารถในการ
กอบไอ สือ่ ความหมายของ เป็นผู้มคี วาม สอื่ สาร (อ่าน ฟัง พดู
ข้อมลู ท่ีศึกษาค้นคว้าได้ มุง่ มน่ั ในการ เขยี น)
ทำงาน
2. ความสามารถในการคิด
รละลาย 1. สามารถจัดกระทำและ (สงั เกต วเิ คราะห์ จดั
กลมุ่ สรุป)
ากสูตรเคมี สอ่ื ความหมายของ
3. ความสามารถในการ
ได้เป็น ขอ้ มูลท่ีศึกษาคน้ ควา้ ได้ แกป้ ัญหา (แสวงหา
ความรู้)
ทรไลตไ์ ด้
4. ความสามารถในการใช้
รละลาย - ทักษะชีวติ (ความ
รับผิดชอบ)
รอื แบบไม่
5. ความสามารถในการใช้
คมี และ เทคโนโลยีสารสนเทศ
(ใชก้ ารสืบค้นผา่ น
น คอมพวิ เตอร์)

ทรไลต์

รไลต์ได้

ยของ 1. สามารถจดั กระทำและ

ดรคารบ์ อน ส่อื ความหมายของ

ขอ้ มูลท่ีศกึ ษาค้นคว้าได้

อินทรีย์

นคารบ์ อน

มตัวจาก

ตวั ชีว้ ัด ร้อู ะไร (สาระการเรียนร้)ู พุทธพิสยั (K

ว 2.1 ม.5/15 สืบค้นข้อมลู และ 1. คารโ์ บไฮเดรต 1. สืบคน้ ข้อมูลและ

เปรยี บเทยี บสมบตั ิทางกายภาพระหวา่ ง เปรยี บเทียบสมบตั

พอลิเมอรแ์ ละมอนอเมอรข์ อง กายภาพระหว่างพ

พอลเิ มอรช์ นดิ น้ัน และมอนอเมอรข์ อ

พอลิเมอร์ชนิดน้ัน

1. สมบตั ิทางกายภาพ 1. สืบคน้ ข้อมูลและ

ของมอนอเมอรแ์ ละ เปรยี บเทยี บสมบัต

พอลิเมอร์ กายภาพระหวา่ งพ

และมอนอเมอร์ขอ

พอลเิ มอร์ชนิดน้นั

ว 2.1 ม.5/16 ระบสุ มบตั ิความเปน็ กรด- 1. โปรตนี 1. ระบุสารประกอบอ

เบสจากโครงสร้างของสารประกอบ สมบตั กิ รด-เบสจา

อนิ ทรยี ์ โครงสรา้ งได้

ว 2.1 ม.5/17 อธิบายสมบัติการละลาย 1. วิตามนิ และเกลือแร่ 1. อธบิ ายสมบัตกิ ารล

ในตัวทำละลายชนิดต่างๆ ของสาร ตัวทำละลายชนิดต

สารได้

1. ขอ้ มลู โภชนาการบน 1. อธิบายเก่ยี วกับขอ้

ฉลากอาหาร โภชนาการบนฉลา

ได้

ทำอะไร สมรรถนะ

K) ทักษะพิสยั (P) จิตพิสยั (A) 1. ความสามารถในการ
ส่ือสาร (อ่าน ฟงั พดู
1. สามารถทำกจิ กรรม 3.1 1. ใฝ่เรยี นรู้และ เขียน)

ติทาง การทดลองเปรียบเทยี บ เป็นผมู้ คี วาม 2. ความสามารถในการคิด
(สังเกต วิเคราะห์ จัด
พอลิเมอร์ สมบตั ิบางประการของ ม่งุ มนั่ ในการ กล่มุ สรุป)

อง กลโู คสและแป้งมนั ทำงาน 3. ความสามารถในการ
แก้ปญั หา (แสวงหา
นได้ สำปะหลังได้ ความรู้)

1. สามารถทำกิจกรรม 3.2 4. ความสามารถในการใช้
ทกั ษะชวี ิต (ความ
ติทาง สืบค้นข้อมูลสมบตั ิทาง รับผิดชอบ)

พอลเิ มอร์ กายภาพของมอนอเมอร์ 5. ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
อง และพอลเิ มอรไ์ ด้ (ใชก้ ารสืบคน้ ผา่ น
คอมพิวเตอร)์
นได้

อนิ ทรียม์ ี 1. สามารถจัดกระทำและ

ากสตู ร ส่ือความหมายของ

ขอ้ มลู ท่ีศกึ ษาคน้ ควา้ ได้

ละลายใน 1. สามารถเขยี นสตู ร

ตา่ งๆ ของ โครงสร้างของวิตามนิ ท่ี

กำหนดให้ได้

อมลู -

ากอาหาร

ตัวชว้ี ัด รู้อะไร (สาระการเรียนร)ู้ พุทธพิสยั (K

ว 2.1 ม.5/18 วิเคราะห์และอธบิ าย 1. พอลเิ มอรส์ ังเคราะห์ 1. วิเคราะหแ์ ละอธบิ

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างโครงสร้างกบั ความสัมพนั ธร์ ะห

สมบัติเทอรม์ อพลาสตกิ และเทอร์มอเซต โครงสรา้ งกับสมบ

ของพอลเิ มอร์ และการนำพอลิเมอร์ไป พลาสตกิ และเทอร

ใช้ประโยชน์ ของพอลเิ มอร์ แล

พอลเิ มอรไ์ ปใช้ปร

1. ฉลากผลิตภณั ฑ์ 1. วิเคราะห์และอธบิ

พลาสตกิ กับการใช้งาน ความสมั พนั ธ์ระห

โครงสร้างกบั สมบ

พลาสตกิ และเทอร

ของพอลเิ มอร์ แล

พอลเิ มอรไ์ ปใช้ปร

ว 2.1 ม.5/18 วเิ คราะหแ์ ละอธบิ าย 1. การเปลี่ยนแปลงของ 1. อธบิ ายความสมั พนั

ความสมั พนั ธ์ระหว่างโครงสร้างกับ พอลิเมอรเ์ มอ่ื ไดร้ ับ ระหวา่ งสมบตั ิเทอ

สมบัติเทอรม์ อพลาสติกและเทอรม์ อเซต ความรอ้ น พลาสติกและเทอร

ของพอลเิ มอร์ และการนำพอลิเมอร์ไป ของพอลิเมอร์ พร

ใชป้ ระโยชน์ แนวทางปอ้ งกันหร

ว 2.1 ม.5/19 สบื คน้ ข้อมูลและนำเสนอ ได้

ผลกระทบของการใช้ผลติ ภัณฑพ์ อลิ

เมอร์ทมี่ ีตอ่ สงิ่ มชี ีวติ และสงิ่ แวดล้อม

พร้อมแนวทางป้องกนั แก้ไข

ทำอะไร สมรรถนะ

K) ทกั ษะพสิ ัย (P) จติ พสิ ัย (A) 1. ความสามารถในการ
ส่ือสาร (อ่าน ฟัง พูด
บาย 1. สามารถจัดกระทำและ 1. ใฝ่เรียนรู้และ เขียน)

หวา่ ง ส่ือความหมายของ เปน็ ผมู้ คี วาม 2. ความสามารถในการคิด
(สังเกต วิเคราะห์ จัด
บตั เิ ทอร์มอ ขอ้ มลู ที่ศึกษาคน้ ควา้ ได้ ม่งุ ม่ันในการ กลมุ่ สรุป)

ร์มอเซต ทำงาน 3. ความสามารถในการ
แก้ปญั หา (แสวงหา
ละการนำ ความรู้)

ระโยชน์ได้ 4. ความสามารถในการใช้
ทักษะชวี ติ (ความ
บาย 1. สามารถทำกจิ กรรม 3.3 รับผิดชอบ)

หวา่ ง ฉลากผลิตภณั ฑ์ 5. ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
บัติเทอร์มอ พลาสตกิ กับการใช้งาน (ใช้การสืบคน้ ผ่าน
คอมพวิ เตอร)์
รม์ อเซต ได้

ละการนำ

ระโยชนไ์ ด้

นธ์ 1. สามารถทำกจิ กรรม 3.4

อรม์ อ ปัญหาและแนวทางการ

รม์ อเซต แก้ไขปัญหาทเ่ี กิดจาก

ร้อม ขยะพลาสตกิ ได้

รือแกไ้ ข 2. สบื คน้ ขอ้ มูลและ

นำเสนอผลกระทบของ

การใช้ผลติ ภณั ฑ์พอลิ

เมอร์ท่มี ตี อ่ สงิ่ มีชวี ิตและ

สิง่ แวดล้อม พร้อม

แนวทางป้องกันหรอื

แกไ้ ขได้

ตวั ช้วี ัด รู้อะไร (สาระการเรยี นร)ู้

พุทธพสิ ยั (K

ว 2.1 ม.5/20 ระบุสตู รเคมีของสารตัง้ 1. สมการเคมี 1. ระบุสูตรเคมีของส

ต้น ผลิตภัณฑ์ และแปลความหมายของ ผลติ ภัณฑ์ และแป

สญั ลกั ษณ์ในสมการเคมขี อง ปฏกิ ิริยา ความหมายของสญั

เคมี ในสมการเคมไี ด้

ว 2.1 ม.5/21 ทดลองและอธบิ ายผล 1. อัตราการเกิดปฏกิ ิรยิ า 1. อธบิ ายผลของตัวเ

ของความเขม้ ขน้ พ้นื ท่ผี ิว อุณหภูมิ และ เคมี ปฏิกริ ยิ าที่มผี ลต่อ

ตวั เร่งปฏิกริ ยิ า ทม่ี ีผลต่ออัตราการ เกิดปฏกิ ริ ิยาเคมไี ด

เกิดปฏิกริ ยิ าเคมี 1. ปจั จัยทม่ี ีผลต่ออตั รา 1. อธบิ ายผลของควา

การเกิดปฏิกิรยิ าเคมี พื้นที่ผวิ และอุณห

ผลต่ออัตราการ

เกิดปฏิกิริยาเคมีได

ว 2.1 ม.5/22 สืบค้นข้อมูลและอธิบาย 1. ปจั จัยที่มผี ลต่ออตั รา 1. อธบิ ายปัจจยั ทม่ี ีผ

ปัจจัยที่มีผลตอ่ อตั ราการเกิดปฏิกิริยา การเกิดปฏิกิรยิ าเคมี การเกิดปฏกิ ิรยิ าเค

เคมีที่ใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิตประจำวันหรอื ในชวี ติ ประจำวนั ประโยชนใ์ นชวี ติ ป

ในอตุ สาหกรรม หรือในอุตสาหกรร

ทำอะไร สมรรถนะ

K) ทกั ษะพสิ ัย (P) จติ พิสยั (A) 1. ความสามารถในการ
สอื่ สาร (อ่าน ฟัง พดู
สารต้ังต้น 1. เขยี นสมการเคมที ี่ 1. ใฝ่เรยี นรแู้ ละ เขยี น)

ปล กำหนดให้ได้ เป็นผู้มีความ 2. ความสามารถในการคิด
(สงั เกต วเิ คราะห์ จัด
ญลักษณ์ ม่งุ มั่นในการ กลุ่ม สรุป)

ทำงาน 3. ความสามารถในการ
แก้ปัญหา (แสวงหา
เรง่ 1. ทดลองผลของตัวเร่ง ความรู้)

ออตั ราการ ปฏกิ ิรยิ าท่มี ผี ลตอ่ อตั รา 4. ความสามารถในการใช้
ทักษะชวี ิต (ความ
ด้ การเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมไี ด้ รบั ผดิ ชอบ)

ามเขม้ ข้น 1. ทดลองผลของความ 5. ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
หภมู ิ ทมี่ ี เขม้ ขน้ พ้นื ทผี่ วิ และ (ใช้การสืบคน้ ผา่ น
คอมพวิ เตอร์)
อุณหภมู ิ ทีม่ ีผลตอ่ อัตรา

ด้ การเกิดปฏิกริ ยิ าเคมไี ด้

ผลตอ่ อัตรา 1. สามารถทำกจิ กรรม 3.4

คมีท่ีใช้ สืบคน้ ขอ้ มลู ปจั จัยท่มี ีผล

ประจำวนั ต่ออตั ราการ

รมได้ เกิดปฏิกิริยาเคมีใน

ชีวิตประจำวัน

2. สบื ค้นขอ้ มูลและอธบิ าย

ปจั จยั ที่มีผลต่ออัตรา

การเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมีทใี่ ช้

ประโยชนใ์ น

ชวี ิตประจำวนั หรอื ใน

อตุ สาหกรรมได้

ตัวช้วี ัด ร้อู ะไร (สาระการเรยี นร)ู้ พทุ ธพิสัย (K
ว 2.1 ม.5/23 อธิบายความหมายของ 1. ปฏิกริ ิยารดี อกซ์ 1. อธิบายความหมาย
ปฏกิ ริ ิยารดี อกซ์
1. สารกัมมนั ตรังสี ปฏกิ ริ ยิ ารดี อกซ์ได
ว 2.1 ม.5/24 อธิบายสมบตั ขิ องสาร 2. ยกตัวอยา่ งปฏกิ ริ ยิ
กมั มันตรงั สี และคำนวณครึง่ ชวี ิตและ
ปริมาณของสารกัมมันตรังสี ที่พบในชวี ิตประจ
1. อธิบายสมบัติของส

กัมมันตรังสีได้

1. คร่ึงชีวติ 1. อธบิ ายความหมาย
ครงึ่ ชวี ติ ของสารก
ได้

ทำอะไร สมรรถนะ

K) ทกั ษะพิสัย (P) จิตพสิ ยั (A) 1. ความสามารถในการ
สื่อสาร (อ่าน ฟงั พูด
ยของ 1. สามารถเขียนแผนภาพ 1. ใฝ่เรยี นรแู้ ละ เขียน)

ด้ ทศิ ทางการเคล่ือนทขี่ อง เป็นผู้มคี วาม 2. ความสามารถในการคิด
(สงั เกต วเิ คราะห์ จัด
ยารีดอกซ์ อิเล็กตรอนท่ที ำใหเ้ กดิ มงุ่ ม่นั ในการ กลุม่ สรุป)

จำวันได้ กระแสไฟฟ้าได้ ทำงาน 3. ความสามารถในการ
แกป้ ัญหา (แสวงหา
สาร 1. เขยี นแผนภาพอย่างงา่ ย ความรู้)

ของการผลติ ไฟฟา้ ใน 4. ความสามารถในการใช้
ทกั ษะชีวิต (ความ
โรงไฟฟ้านิวเคลียรได้ รบั ผดิ ชอบ)

ยเกีย่ วกับ 1. คำนวณเก่ียวกับครง่ึ ชีวิต 5. ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
กมั มันตรงั สี ของสารกมั มนั ตรงั สีที่ (ใช้การสืบคน้ ผ่าน
คอมพวิ เตอร์)
กำหนดให้ได้

ตวั ชว้ี ัด ร้อู ะไร (สาระการเรยี นรู)้ พทุ ธพิสัย (K
1. สบื คน้ ข้อมูลตัวอย
ว 2.1 ม.5/25 สืบคน้ ข้อมูลและนำเสนอ 1. ประโยชน์และโทษ
ตวั อย่างประโยชนข์ องสารกัมมันตรงั สี กัมมนั ตรังสี ประโยชนข์ องสาร
และการป้องกันอนั ตรายทีเ่ กดิ จาก กมั มนั ตรงั สแี ละกา
กัมมนั ตภาพรังสี อันตรายที่เกิดจาก
กมั มนั ตรังสีได้

ทำอะไร จติ พิสยั (A) สมรรถนะ
K) ทักษะพิสยั (P) 1. ใฝ่เรยี นรู้และ
ยา่ ง 1. นำเสนอข้อมูลตัวอยา่ ง 1. ความสามารถในการ
ร ประโยชนข์ องสาร เปน็ ผู้มคี วาม ส่ือสาร (อ่าน ฟงั พดู
ารปอ้ งกนั กัมมนั ตรังสีและการ มุง่ มน่ั ในการ เขียน)
กสาร ป้องกนั อนั ตรายทเ่ี กดิ ทำงาน
2. ความสามารถในการคิด
จากสารกมั มนั ตรังสไี ด้ (สังเกต วิเคราะห์ จัด
กล่มุ สรุป)

3. ความสามารถในการ
แกป้ ญั หา (แสวงหา
ความรู้)

4. ความสามารถในการใช้
ทกั ษะชีวิต (การทำงาน)

5. ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
(ใชก้ ารสืบค้นผ่าน
คอมพวิ เตอร์ มีทักษะ
กระบวนการทาง
เทคโนโลยี )

คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ1 รหัสวชิ า ว32101 1.5 หนว่ ยกิต
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 เวลาเรียน 60 ชัว่ โมง/ภาคเรียน

ศึกษาการจำแนกธาตแุ ละสารประกอบ วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอมของธาตุ อนุภาคมูลฐานของ
อะตอม เลขอะตอม เลขมวล และไอโซโทป สัญลักษณ์นิวเคลียร์ การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุบาง
ชนิด การจัดเรยี งธาตุในตารางธาตุ แนวโนม้ สมบัติบางประการของธาตุตามตารางธาตุ ศกึ ษาและทดลองเก่ียวกับ
ชนิดของพันธะเคมีจากการนำไฟฟ้าของสารบางชนิด ศึกษาการเกิดพันธะและสมบัติบางประการของสาร
โควาเลนต์ สารประกอบไอออนิก และโลหะสารประกอบอินทรีย์ สมบัติของสารประการอนิ ทรีย์บางชนิด ศึกษา
ความหมายและตัวอย่าง พอลิเมอร์ธรรมชาติและพอลิเมอร์สังเคราะห์ โครงสร้าง สมบัติ ประเภทของพอลิเมอร์
รวมทั้งการใช้ประโยชน์และผลกระทบจากการใช้ผลิตภัณฑ์ของพอลิเมอร์ ทดลองการเกิดปฏิกิริยาเคมี ศึกษา
ความสัมพันธ์ของพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี ศึกษาและคำนวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ศึกษาและ
ทดลองปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา ศึกษาปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน การใช้ประโยชน์และผลของ
ปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ศึกษาความหมายของปฏิกิริยารีดอกซ์ สมบัติของสารกัมมันตรังสี
ประโยชนข์ องสารกมั มนั ตรงั สี และการป้องกนั อนั ตรายท่เี กดิ จากสารกัมมนั ตรงั สี

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต วิเคราะห์
เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปราย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ มีทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิด
และการแก้ปัญหา สามารถสอื่ สารสง่ิ ท่ีเรยี นรู้และนำ ความรไู้ ปใช้ในชวี ิตของตนเอง มจี ิตวทิ ยา ศาสตร์ จริยธรรม
คณุ ธรรม และค่านยิ มที่เหมาะสม

ตวั ชวี้ ัด
ว 2.1 ม.5/1 ระบวุ ่าสารเปน็ ธาตุหรือสารประกอบ และอยู่ในรูปอะตอม โมเลกุล หรือไอออนจากสูตรเคมี
ว 2.1 ม.5/2 เปรียบเทียบความเหมอื นและความแตกต่างของแบบจำลองอะตอมของโบร์กับแบบจำลอง

อะตอม แบบกลุม่ หมอก
ว 2.1 ม.5/3 ระบจุ ำนวนโปรตอน นิวตรอน อเิ ล็กตรอนของอะตอมและไอออนที่เกิดจากอะตอมเดียว
ว 2.1 ม.5/4 เขยี นสัญลักษณ์นวิ เคลยี ร์ของธาตุและระบกุ ารเป็นไอโซโทป
ว 2.1 ม.5/5 ระบุหมู่และคาบของธาตุ และระบุว่าธาตุเป็นโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ กลุ่มธาตุเรพรเี ซนเททฟี

หรือกลุ่มธาตุแทรนซิชันจากตารางธาตุ
ว 2.1 ม.5/6 เปรียบเทียบสมบตั ิการนำไฟฟ้า การให้และรบั อิเลก็ ตรอนระหว่างธาตุในกล่มุ โลหะกับอโลหะ
ว 2.1 ม.5/7 สบื คน้ ขอ้ มูลและนำเสนอตัวอยา่ งประโยชน์และอนั ตรายท่ีเกดิ จากธาตุเรพรีเซนเททีฟและ

ธาตุแทรนซชิ นั
ว 2.1 ม.5/8 ระบวุ า่ พันธะโคเวเลนต์เปน็ พนั ธะเด่ียว พันธะคู่ หรอื พนั ธะสาม และระบจุ ำนวนค่อู เิ ล็กตรอน

ระหว่างอะตอมคู่รว่ มพนั ธะ จากสตู รโครงสรา้ ง
ว 2.1 ม.5/9 ระบสุ ภาพขัว้ ของสารท่ีโมเลกุลประกอบด้วย 2 อะตอม

ว 2.1 ม.5/10 ระบสุ ารท่เี กดิ พนั ธะไฮโดรเจนได้จากสตู รโครงสร้าง
ว 2.1 ม.5/11 อธิบายความสมั พันธ์ระหว่างจุดเดือดของสารโควาเลนต์กับแรงดงึ ดดู ระหวา่ งโมเลกลุ ตาม
สภาพขั้วหรือการเกิดพันธะไฮโดรเจน
ว 2.1 ม.5/12 เขียนสตู รเคมีของไอออนและสารประกอบไอออนิก
ว 2.1 ม.5/13 ระบุว่าสารเกิดการละลายแบบแตกตัวหรือไมแ่ ตกตัว พรอ้ มใช้เหตผุ ลและระบุวา่ สารละลาย
ทีไ่ ดเ้ ป็นสารละลายอเิ ล็กโทรไลต์ หรอื นอนอเิ ลก็ โทรไลต์
ว 2.1 ม.5/14 ระบสุ ารประกอบอินทรีย์ประเภทไฮโดรคาร์บอนว่าอ่ิมตัวหรือไมอ่ ิ่มตวั จากสตู รโครงสรา้ ง
ว 2.1 ม.5/15 สบื ค้นข้อมลู และเปรียบเทียบสมบัตทิ างกายภาพระหวา่ งพอลเิ มอรแ์ ละมอนอเมอร์ของ
พอลเิ มอรช์ นิดนน้ั
ว 2.1 ม.5/16 ระบสุ มบตั คิ วามเปน็ กรด-เบสจากโครงสรา้ งของสารประกอบอนิ ทรยี ์
ว 2.1 ม.5/17 อธิบายสมบตั กิ ารละลายในตัวทำละลายชนดิ ต่างๆ ของสาร
ว 2.1 ม.5/18 วเิ คราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างโครงสรา้ งกับสมบัตเิ ทอรม์ อพลาสติกและเทอร์มอ
เซตของพอลเิ มอร์ และการนำพอลิเมอร์ไปใช้ประโยชน์
ว 2.1 ม.5/19 สบื คน้ ขอ้ มูลและนำเสนอผลกระทบของการใช้ผลติ ภัณฑพ์ อลิเมอรท์ ีม่ ตี ่อสิ่งมชี วี ติ และ
สิง่ แวดลอ้ ม พร้อมแนวทางปอ้ งกันแก้ไข
ว 2.1 ม.5/20 ระบสุ ตู รเคมขี องสารต้งั ตน้ ผลิตภัณฑ์ และแปลความหมายของสัญลกั ษณ์ในสมการเคมขี อง
ปฏิกริ ยิ าเคมี
ว 2.1 ม.5/21 ทดลองและอธิบายผลของความเข้มขน้ พ้นื ทีผ่ ิว อุณหภูมิ และตัวเร่งปฏกิ ริ ยิ า ทม่ี ีผลตอ่ อตั รา
การเกิดปฏกิ ิริยาเคมี
ว 2.1 ม.5/22 สบื ค้นขอ้ มูลและอธิบายปจั จัยทม่ี ีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีท่ใี ช้ประโยชนใ์ น
ชีวิตประจำวนั หรอื ในอุตสาหกรรม
ว 2.1 ม.5/23 อธบิ ายความหมายของปฏกิ ริ ยิ ารีดอกซ์
ว 2.1 ม.5/24 อธบิ ายสมบตั ขิ องสารกมั มนั ตรงั สี และคำนวณครึ่งชีวิตและปริมาณของสารกัมมันตรังสี
ว 2.1 ม.5/25 สืบคน้ ขอ้ มูลและนำเสนอตัวอย่างประโยชน์ของสารกัมมนั ตรังสีและการปอ้ งกนั อันตรายท่ี
เกิดจากกัมมันตภาพรงั สี

รวมทง้ั หมด 25 ตัวช้วี ัด

โรงเรยี นพนมศกึ ษา

ตารางวิเคราะหผ์ ู้เรยี นดา้ นผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน

วตั ถุประสงค์ 1. เพือ่ นำไปออกแบบการเรยี นรู้ ให้สอดคล้องกับความสามารถของนักเรยี น

2. เพอื่ เปน็ แนวทางในการแก้ไขปัญหาและพฒั นาผู้เรยี นดา้ นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา รหัสวิชา ว 32101

ภาคเรยี นที่ 1/2565 ชื่อผู้สอน นางสาวเมธินีย์ สรรเสริญ

สรปุ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นพื้นฐานทใ่ี ชใ้ นการเรียนวิชาน้ี

ระดบั คุณภาพของ GPA ของกลุ่ม จำนวนคน รอ้ ยละ

ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น

ปรับปรงุ ต่ำกว่า 2.00

พอใช้ 2.00 – 2.50

ดี สงู กว่า 2.50

แนวทางการจัดกิจกรรม

ผลสัมฤทธิ์ ร้อยละ กจิ กรรมแกไ้ ขหรอื พัฒนา จำนวน เครื่องมอื /วธิ ีการประเมิน
ทางการเรียน
เดิม เป้าหมาย ในแผนการเรยี นรู้
ดี
1. กิจกรรมการเรียนการสอนดำเนิน 1. แบบฝึกหัดทา้ ยบท
ปรับปรุง
เช่นเดยี วกับนกั เรียนกลุ่มอ่ืน ๆ ในช้นั เรียน 2. แบบบนั ทกึ การเก็บ

2. ใหน้ ักเรยี นกลมุ่ นเ้ี ปน็ ผดู้ ำเนนิ การเฉลย คะแนน

แบบฝึกหดั ตามสมควร 3. แบบบันทกึ หลังการ

3. ใหน้ ักเรยี นกลุ่มนี้เป็นผชู้ ่วยเหลือเพอื่ นใน สอน

ห้องเรยี น การทำแบบฝกึ ต่าง ๆ เปน็ ผูอ้ ธิบาย 4. แผนการจัดการเรียนรู้

(ผชู้ ่วยคร)ู สอนเพอ่ื นกลุ่มอ่อนท่ียังไม่เขา้ ใจ 5. ชนิ้ งาน

4. ให้แบบฝึกพเิ ศษเพม่ิ เติม

5. ทำช้ินงานเพ่ิมเตมิ

1. กิจกรรมการเรียนการสอนดำเนนิ 1. แบบฝึกคูข่ นาน

เช่นเดยี วกบั นกั เรียนกล่มุ อ่ืน ๆ เพ่มิ เตมิ แบบ 2. แบบบนั ทกึ การเก็บ

ฝกึ คขู่ นาน คะแนน

2. ใหน้ ักเรยี นกลมุ่ น้ีจับคูป่ ระกบตวั ต่อตวั กบั 3. แบบบันทกึ หลงั การ

นกั เรียนกล่มุ เกง่ และปานกลาง สอน

3. จัดสอนซอ่ มเสริมในเนือ้ หาทีไ่ ม่ผ่านเกณฑ์ 4. แผนการจัดการเรยี นรู้

การประเมิน 5. ชน้ิ งาน

แบบวิเคราะห์นกั เรียนเป็นรายบุคคล
เก่ียวกบั ความถนดั / ความสนใจ รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว32101

ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี ่ี 4 หอ้ ง 1

เลขที่ ชื่อ-สกลุ ระดบั ความถนัด / ความสนใจ หมายเหตุ
3210
1 เด็กชายปริญญา น้ยุ ย่อง
2 เดก็ ชายพงษ์นรินทร์ กองกุล 
3 นายชยตุ รา สาคร 
4 นายธนพัฒ สารจติ ต์ 
5 นายปณุ ณตั ถ์ นรารักษ์ 
6 นายภูมิพัฒ สมั พันธ์ 
7 นายภูรณิ ฐั รนิ เกลื่อน 
8 นายสทุ ธวิ งค์ ทิพยม์ าก
9 เด็กหญงิ ทพิ วัลย์ ป่จู ันทร์ 
10 นางสาวกชกร แก้วนพคุณ 
11 นางสาวกนกวรรณ ส้มเมือง 
12 นางสาวกฤตยิ าวรรณ จันทรแ์ สงกลุ 
13 นางสาวกัณฐิกา ถาพร 
14 นางสาวเกตนส์ ริ ี ทิพยเ์ ดช 
15 นางสาวเกศรา ศรัทธาสุข 
16 นางสาวขวญั ติมา รักสที อง 
17 นางสาวชมพนู ุท ชัยธรรม
18 นางสาวณัฏฐนันท์ ทรัพย์เรอื งเนตร 
19 นางสาวณัฐธดิ า คงเดมิ 
20 นางสาวธดิ ารตั น์ พลลือ 
21 นางสาวบุษกร ทองจันทร์
22 นางสาวใบเงิน ชว่ ยศรี 
23 นางสาวพมิ พ์ชนก กองแก้ว 





เลขที่ ชื่อ-สกลุ ระดบั ความถนดั / ความสนใจ หมายเหตุ
3210
24 นางสาวภัทรติกา ขาวจติ ต์
25 นางสาวรติรส รักกะเปา 
26 นางสาวรมิดา เรอื งไชย 
27 นางสาวลดาวัลย์ ชไู ทย 
28 นางสาววริษฐา แสงจง 
29 นางสาววลั ยล์ ิกา ดำพันธ์ 
30 นางสาวศลษิ า มากแก้ว 
31 นางสาวสวรนิ ทร์ รตั นพันธ์ 
32 นางสาวสายธาร จรรย์ทนั 
33 นางสาวสภุ าวดี ศรีนิล 
34 นางสาวสวุ คนธ์ สงเคราะห์ 
35 นางสาวโสรยา ฉมิ ฤทธ์ิ 
36 นางสาวไอลดา วรรณศรี 


หมายเหต*ุ ** ประเมินจากระดับผลการเรียนรรู้ ายวิชา IS1 - การศึกษาคน้ คว้าและสร้างองคค์ วามรู้
ระดบั 3 มีความถนดั / ความสนใจมากท่ีสุด
ระดบั 2 มีความถนดั / ความสนใจมาก
ระดับ 1 มคี วามถนัด / ความสนใจน้อย
ระดับ 0 ไม่มีความถนัด / ความสนใจเลย

แบบวิเคราะห์นกั เรยี นเป็นรายบุคคล

เกี่ยวกับความถนัด / ความสนใจ รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหสั วิชา ว32101
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปี่ท่ี 4 ห้อง 2

เลขท่ี ช่อื -สกลุ ระดับความถนดั / ความสนใจ หมายเหตุ
3210

1 นายกอ้ งภพ อุดมวงศศ์ ริ ิ 
2 นายจลุ จกั ร ดารุณภักดี 
3 นายชนาธิป ฉัตรทอง 
4 นายชวลั กร นาคสวาท 
5 นายธนพฒั น์ สาเรศ 
6 นายภูตะวัน ทองคำลงึ 
7 นายภรู ทิ ตั เกิดชกู ุล 
8 นายภรู นิ ัฐ ชูทรัพย์
9 นายภูริพฒั น์ โภคัย 
10 นายเมธสั เวชพราหมณ์ 
11 นายศกั ด์สิ ิทธ์ิ วงศส์ วัสด์ิ 
12 นายศักรินทร์ ชพู นม 
13 นายศริ วิ ัฒน์ บุญชมุ 
14 นายสปิ ปกร จนิ ดาพล 
15 นางสาวบุษราคมั คงวธุ 
16 นางสาวคุณญั ญา ทองชนะ 
17 นางสาวชญานิษฐ์ อนิ ทอง 
18 นางสาวธมิ าภรณ์ พพิ ิธเสมา 
19 นางสาวนุชวรา วาดวงปราง 
20 นางสาวปณดิ า ชาติวงษ์ 
21 นางสาวประภาภรณ์ เเสนภูมี 
22 นางสาวรญั ชดิ า รักโคตร 
23 นางสาววิภาวดี เหมือนใจ 


เลขที่ ชอื่ -สกลุ ระดบั ความถนัด / ความสนใจ หมายเหตุ
3210
24 นางสาววลิ าวัณย์ สวุ รรณคง
25 นางสาวศธิตา ซุยจนิ า 
26 นางสาวศศิกาญจน์ อภโิ มทย์ 
27 นางสาวศศิภา ปัน้ ทอง 
28 นางสาวศภุ มาศ ราชสมบัติ 
29 นางสาวสิรภิ ัทร จยุ้ ทองคำ 
30 นางสาวสชุ านรี คงเดิม 
31 นางสาวสุธิตา ดาศรี 
32 นางสาวสุนษิ า ทองจาร 
33 นางสาวสมุ ินตรา ศรีสิงห์ 
34 นางสาวอนสุ รา ฤกษ์อ่อน 
35 นางสาวอรสิ รา เวชวานชิ 
36 นางสาวอาทิมา ปรึกษาเหตุ 


หมายเหต*ุ ** ประเมนิ จากระดบั ผลการเรยี นรู้รายวิชา IS1 - การศึกษาค้นควา้ และสร้างองคค์ วามรู้
ระดบั 3 มคี วามถนัด / ความสนใจมากท่ีสุด
ระดบั 2 มคี วามถนดั / ความสนใจมาก
ระดบั 1 มีความถนัด / ความสนใจน้อย
ระดับ 0 ไม่มคี วามถนดั / ความสนใจเลย

แบบวิเคราะหน์ กั เรยี นเป็นรายบคุ คล
เก่ียวกบั ความถนดั / ความสนใจ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 32101

ช้นั มธั ยมศึกษาปี่ท่ี 4 หอ้ ง 3

เลขท่ี ชอื่ -สกลุ ระดับความถนดั / ความสนใจ หมายเหตุ
3 210
1 นายกฤษฎา คงเรอื ง
2 นายชลภัทร พูลเงิน 
3 นายดุลยว์ ฒั น์ พัฒนบ์ ตุ ร 
4 นายธีรพงศ์ ปาลคะเชนทร์
5 นายปรวทิ ย์ ศิรวิ ัฒน์ 
6 นายป้องรกั ษ์ ล้มิ วิชิต 
7 นายพลธกร เสนาประชาราษฎร์ 
8 นายภาณุวัตร สัมพันธ์ 
9 นายวรภทั ร วราชยั 
10 นายสบุ รรณ วุฒิพงศ์
11 นางสาวกรนันท์ สิทไชย 
12 นางสาวจนั ทกานต์ พนาลี 
13 นางสาวจริ วรรณ มมี าก
14 นางสาวจิรัชญา รามวงศ์ 
15 นางสาวชนกนารี ขันทอง 
16 นางสาวฌัชชฎาภา เจริญ 
17 นางสาวณัฎฐณิชา คนโอ 
18 นางสาวธัญสนิ ี นฤมิตรพรสขุ 
19 นางสาวธารทพิ ย์ เขยี วดำ 
20 นางสาวธิดารตั น์ ทองเนยี ม 
21 นางสาวเบญจรตั น์ บวั แกว้ 
22 นางสาวปวันรตั น์ ชรู กั ษ์ 
23 นางสาวพิมพว์ ิภา ลออ 





เลขที่ ชื่อ-สกลุ ระดับความถนัด / ความสนใจ หมายเหตุ
3 210
24 นางสาวภาวณิ ี สขุ ขี
25 นางสาวมนทริ า ศกั ดา 
26 นางสาวมาติกา รัฐแฉล้ม 


หมายเหต*ุ ** ประเมินจากระดับผลการเรยี นร้รู ายวิชา IS1 - การศึกษาคน้ ควา้ และสร้างองค์ความรู้
ระดบั 3 มคี วามถนดั / ความสนใจมากท่ีสดุ
ระดับ 2 มคี วามถนัด / ความสนใจมาก
ระดบั 1 มคี วามถนัด / ความสนใจนอ้ ย
ระดบั 0 ไม่มคี วามถนดั / ความสนใจเลย

แบบวิเคราะห์นกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล
เก่ียวกับความถนัด / ความสนใจ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 32101

ชนั้ มัธยมศึกษาป่ที ่ี 4 ห้อง 4

เลขที่ ชือ่ -สกลุ ระดับความถนดั / ความสนใจ หมายเหตุ
3 210
1 นายกรวิท อึกทองจอม
2 นายกติ ตภิ พ ปลอดภยั 
3 นายจิรวัฒน์ บญุ ลกึ 
4 นายโชคชัย ทองยวน 
5 นายณัฐภัทร พลเย่ยี ม 
6 นายทนิ กร ชะบากาญจน์
7 นายแทนไท แสงทอง 
8 นายธีรพล ศรุ ชนะ 
9 นายนรวิชญ์ วงแหวน 
10 นายปิยศสั น์ ปลอดทุกข์ 
11 นายภาณพุ งศ์ ชพู นม 
12 นายเมธีพฒั น์ สาคร 
13 นายศรัณยู พนิ เศษ 
14 นายศภุ กร รตั นละออ 
15 นายศุภณฐั จามจุรีย์ 
16 นายสภุ วัทน์ ทพิ ย์เดช 
17 นายอตั ถชยั วงศรี 
18 นางสาวกัลยาณี บวรสุวรรณ์ 
19 นางสาวขจพี รรณ ศรพี ิทกั ษ์ 
20 นางสาวจันทรจ์ ิรา เทยี มยม 
21 นางสาวจริ ัชญา นาคสัน 
22 นางสาวชนาพร ทับแก้ว 
23 นางสาวชลธิชา หล่ยุ จ๋วิ 



เลขที่ ชอื่ -สกุล ระดบั ความถนัด / ความสนใจ หมายเหตุ
3 210
24 นางสาวณัฐณิชา แคลว่ คลอ่ ง
25 นางสาวธญั ญลกั ษณ์ พรหมชาติ 
26 นางสาวนฤมล โอภาสะ 
27 นางสาวปรียาภรณ์ สุขขัง 
28 นางสาวปยิ มาส เย็นใจ 
29 นางสาวพรกนก แก่นงูเหลือม 
30 นางสาวพรธิตา หนบู ญุ 
31 นางสาวพรรณิภา วิชิตชู 
32 นางสาวลลิตภัทร กนั คง 
33 นางสาวสริ ิกร คงไล่ 
34 นางสาวสนุ ันทา หลวงปลอด 


หมายเหตุ*** ประเมนิ จากระดับผลการเรียนรู้รายวิชา IS1 - การศึกษาค้นควา้ และสรา้ งองคค์ วามรู้
ระดบั 3 มีความถนดั / ความสนใจมากที่สดุ
ระดบั 2 มีความถนดั / ความสนใจมาก
ระดับ 1 มีความถนัด / ความสนใจน้อย
ระดบั 0 ไม่มคี วามถนดั / ความสนใจเลย

การวัดผลและประเมินผล

การวดั ผลการเรียนรู้

1. การวัดผลระหวา่ งเรียน 80 คะแนน
2. การวดั ผลกลางภาคเรยี น 10 คะแนน
3. การวัดผลปลายภาคเรยี น 10 คะแนน
4. รวมการวัดผลตลอดภาคเรียน 100 คะแนน

การประเมนิ ผลการเรียนรู้

เกณฑ์การตดั สนิ ผลการประเมินผล การเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้

ระดบั ผลการเรียน ความหมาย ช่วงคะแนนเปน็ ร้อยละ
4 ดีเยีย่ ม 80 – 100
3.5 ดีมาก 75 – 79
3 ดี 70 – 74
2.5 ค่อนขา้ งดี 65 – 69
2 น่าพอใช้ 60 – 64
1.5 พอใช้ 55 – 59
1 ผา่ น 50 – 54
0 0 – 49
ตำ่ กวา่ เกณฑ์

การประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี น และคณุ ลักษณะอันพึงประสงคน์ น้ั ใหร้ ะดับผลการ
ประเมนิ เป็น ดีเยยี่ ม ดี และผ่าน

ดีเย่ยี ม หมายถึง มีผลงานทแี่ สดงถึงความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะหแ์ ละ เขยี นท่ีมีคณุ ภาพ
ดี หมายถงึ ดเี ลศิ อยู่เสมอ
ผ่าน หมายถึง มผี ลงานทแ่ี สดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะหแ์ ละเขียนที่มีคุณภาพ
เป็นทย่ี อมรบั
มผี ลงานที่แสดงถงึ ความสามารถในการอา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละเขียนทม่ี ีคณุ ภาพ
เปน็ ทย่ี อมรับ แตย่ งั มขี อ้ บกพรอ่ งบาง ประการ

ไมผ่ า่ น หมายถงึ ไมม่ ผี ลงานท่แี สดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวเิ คราะห์และเขยี น หรอื ถ้ามี
ผลงาน ผลงานน้นั ยงั มีขอ้ บกพร่องท่ีตอ้ งได้รับการปรับปรุงแกไ้ ขหลายประการ

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1

เรอื่ ง องคป์ ระกอบในอากาศ

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์กายภาพ1 รหสั วิชา ว32101 เวลา 1 ชั่วโมง

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ อากาศ รวม 7 ชว่ั โมง

กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรียนท่ี 1

บูรณาการ

 ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง  อาเซียน  STEM  PLC

 สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน  มาตรฐานสากล  ข้ามกลุ่มสาระ

1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พันธ์ระหวา่ งสมบตั ิของสสารกับโครงสรา้ ง

และแรงยึดเหนย่ี วระหวา่ งอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปลย่ี นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย
และการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี

2. ตวั ชีว้ ัด
ว 2.1 ม.5/1 ระบุว่าสารเป็นธาตหุ รือสารประกอบ และอยู่ในรปู อะตอม โมเลกุล หรือไอออนจากสตู รเคมี

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้ (K)
1) นักเรียนบอกช่ือและปรมิ าณของแกส๊ ต่าง ๆ ในอากาศได้
2) นกั เรยี นระบวุ ่าสารเปน็ ธาตุหรอื สารประกอบ และอยู่ในรูปอะตอม โมเลกลุ หรือ ไอออน
จากสตู รเคมีได้
3.2 ดา้ นกระบวนการ (P)
1) นักเรียนสามารถจดั กระทำและสื่อความหมายของข้อมูลที่ศกึ ษาค้นคว้าได้
3.3 ด้านคุณลักษณะ (A)
1) ใฝ่เรียนร้แู ละเป็นผู้มคี วามมุง่ มั่นในการทำงาน

4. สาระสำคัญ
อากาศเป็นสารผสมประกอบด้วยแก๊สหลายชนิดในปริมาณที่แตกต่าง อยู่ในรูปของอะตอมและโมเลกุล

โดยสารทอี่ ยใู่ นรูปอะตอมจัดเป็นธาตเุ สมอ ส่วนสารที่อยใู่ นรูปโมเลกลุ อาจเป็นธาตุหรือสารประกอบก็ได้ อะตอมเป็น
หน่วยย่อยของสารเคมี ภายในอะตอมประกอบดว้ ยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน ซงึ่ มีจำนวนท่ีแตกต่างกันใน
ธาตุแต่ละชนิด สง่ ผลใหธ้ าตุแต่ละชนิดมีมวลและสมบัติเฉพาะท่ีแตกต่างกนั โดยโปรตอนและนิวตรอนรวมกันอยู่ใน
นิวเคลียส ส่วนอิเล็กตรอนเคล่ือนท่ีรอบนิวเคลียส แบบจำลองอะตอมของโบร์เสนอว่า อิเล็กตรอนเคลื่อนท่ีรอบ
นิวเคลียสเป็นวง ส่วนแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกเสนอว่า อิเล็กตรอนเคล่ือนท่ีรอบนิวเคลียสในลักษณะ
กลุ่มหมอก อะตอมของธาตุต่างชนิดกันมจี ำนวนโปรตอนไม่เท่ากัน อะตอมเป็นกลางทางไฟฟ้าเม่ืออะตอมของธาตุ
มีการให้หรือรับอิเล็กตรอนทำให้เกิดไอออน สัญลักษณ์นิวเคลียร์แสดงชนิดและจำนวนอนุภาคในอะตอมของธาตุ

ธาตุชนิดเดียวกันท่ีมีเลขมวลต่างกันเป็นไอโซโทปกัน ตารางธาตุจัดเรียงธาตุตามเลขอะตอมและสมบัติที่คล้ายคลึง
กนั ของธาตุ แบ่งธาตุออกเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มธาตุเรพรีเซนเททีฟ และกลุ่มธาตแุ ทรนซิชัน และยังสามารถแบ่งธาตุ
ออกเป็นโลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ โดยธาตุท่ีเป็นองค์ประกอบของแก๊สในอากาศส่วนใหญ่เป็นธาตุอโลหะ
แก๊สหลายชนิดในอากาศนำมาใช้ประโยชน์ได้มาก แต่บางชนิดเป็นพิษโดยส่งผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์และ
สิ่งแวดล้อม
5. สาระการเรียนรู้

5.1 ความรู้
องค์ประกอบในอากาศส่วนใหญ่เป็นแกส๊ ไนโตรเจน (N2) ประมาณร้อยละ 78 โดยปรมิ าตร และ

แกส๊ ออกซิเจน (O2) อกี ประมาณรอ้ ยละ 21 ส่วนทเ่ี หลืออีกประมาณร้อยละ 1 เปน็ แก๊สชนิดอ่นื ๆ เช่น
แกส๊ อารก์ อน (Ar) แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) แก๊สฮีเลียม (He) ดงั รูป 1.1

รูป 1.1 ปริมาณของแกส๊ ตา่ งๆ ในอากาศ
แกส๊ ไนโตรเจน (N2) มปี ริมาณมากทีส่ ุดในอากาศ แกส๊ นไ้ี ม่มสี ี ไม่มกี ล่ิน เมอ่ื มนุษย์หายใจ
แก๊สชนดิ น้จี ะเคล่ือนที่ผา่ นเข้าและออกจากปอดโดยไมท่ ำปฏกิ ิรยิ ากบั สารใด ๆ ในร่างกาย
แกส๊ ออกซิเจน (O2) มปี รมิ าณน้อยกว่าแก๊สไนโตรเจนเกอื บ 4 เท่า แตม่ ีความจำเป็นตอ่ สิ่งมชี ีวติ
มาก เมือ่ มนษุ ย์และสตั วห์ ายใจเอาแกส๊ ออกซิเจนเขา้ สูร่ ่างกาย แก๊สชนดิ นี้จะทำปฏกิ ริ ิยาเคมีกบั สารอาหาร
แล้วให้พลงั งานท่จี ำเปน็ สำหรับการดำรงชีวติ นอกจากนีแ้ กส๊ ออกซิเจนยงั มีส่วนสำคญั ในปฏกิ ิรยิ าเคมที ่ี
เกดิ ข้ึนในชวี ิตประจำวัน เช่น การเผาไหม้ การเกิดสนทิ
แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) มีปรมิ าณนอ้ ยมากในอากาศ แก๊สน้ไี มม่ สี ี ไมม่ ีกล่ิน
เปน็ ผลติ ภัณฑ์จากปฏิกิรยิ าเคมีระหว่างสารอาหารกบั แก๊สออกซเิ จนในกระบวนการหายใจของสิ่งมีชีวิต
รวมทัง้ การเผาไหม้เช้อื เพลิงตา่ งๆ ในชีวติ ประจำวนั แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ยงั เป็นสารตงั้ ตน้ ท่สี ำคัญใน
กระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสงของพืช

รูป 1.2 การหมนุ เวียนแก๊สออกซิเจนและแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์

แกส๊ อารก์ อน (Ar) มปี ระมาณรอ้ ยละ 0.9 ในอากาศ คำว่า “อารก์ อน” ในภาษากรีกมคี วามหมาย
วา่ “ขีเ้ กยี จ เฉ่อื ยชา” ซง่ึ สอดคล้องกับความไมว่ อ่ งไวต่อปฏกิ ริ ยิ าเคมขี องแก๊สน้ี นอกจากนัน้ ในอากาศยงั มี
แก๊สฮีเลียม (He) ซ่ึงเป็นแกส๊ อีกชนิดหนึง่ ท่เี ฉอ่ื ยต่อปฏกิ ิริยาเคมี ดงั นน้ั เมอื่ หายใจเข้าไป แก๊สเหล่าน้จี งึ ไม่
เกดิ ปฏิกิรยิ ากบั สารเคมีใด ๆ ในรา่ งกาย

แก๊สตา่ งๆ ท่กี ล่าวมาแล้วเป็นแกส๊ ที่เป็นองค์ประกอบของอากาศแหง้ แต่ในอากาศยังมคี วามชืน้
ซ่ึงเกิดจากไอน้ำ (H2O) ในปริมาณทแี่ ตกต่างกนั ข้นึ อยกู่ ับอุณหภูมิ ฤดูกาล หรือสถานที่ เนอ่ื งจากไอนำ้ เปน็
แกส๊ ทไ่ี ม่มสี ี ไมม่ ีกล่ิน ไม่สามารถมองเหน็ ได้ด้วยตาเปล่า แต่สิง่ ท่ตี ามองเห็น เช่น เมฆ หมอก เกิดจากการ
ควบแนน่ ของไอนำ้ กลายเป็นละอองนำ้ ขนาดเลก็ จำนวนมากท่ียงั ไม่ตกลงส่พู ้ืนโลก

รูป 1.3 เมฆบนท้องฟ้า
อากาศประกอบดว้ ยสารเคมีทอี่ ยู่ในรปู ของอะตอม เชน่ แกส๊ อาร์กอน (Ar) แก๊สฮีเลียม (He)
และอยู่ในรปู ของโมเลกลุ เช่น แกส๊ ไนโตรเจน (N2) แกส๊ ออกซเิ จน (O2) แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2)
ไอน้ำ (H2O) โดยสารท่ีมีธาตเุ พียงชนดิ เดยี วเป็นองคป์ ระกอบ เรยี กวา่ ธาตุ ซ่งึ อาจอยู่ในรปู ของอะตอม เชน่
แกส๊ อาร์กอน (Ar) แก๊สฮีเลยี ม (He) หรืออยใู่ นรูปของโมเลกุล เช่น แก๊สไนโตรเจน (N2) แก๊สออกซิเจน (O2)
แต่สารท่ีมธี าตุมากกวา่ หนึ่งชนดิ เปน็ องค์ประกอบ เรยี กว่า สารประกอบ เชน่ แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์
(CO2) ไอนำ้ (H2O) ดงั แสดงด้วยแบบจำลองรูป 1.4

รูป 1.4 แบบจำลองอะตอมและโมเลกุลของธาตุและสารประกอบ
ดังนน้ั สารที่อยูใ่ นรปู อะตอมจัดเปน็ ธาตเุ สมอ สว่ นสารท่อี ยู่ในรปู โมเลกุลอาจเป็นธาตหุ รือ
สารประกอบกไ็ ด้ ซง่ึ ท้ังหมดน้สี ามารถพจิ ารณาได้จากสูตรเคมีของสาร
5.2 กระบวนการ
1) ความสามารถในการสื่อสาร (อ่าน ฟงั พูด เขียน)
2) ความสามารถในการคิด (สงั เกต วิเคราะห์ จดั กลุม่ สรุป)
3) ความสามารถในการแกป้ ญั หา (แสวงหาความรู้)
4) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต (ความรับผิดชอบ)
5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใชก้ ารสืบค้นผ่านคอมพวิ เตอร์)
5.3 คุณลกั ษณะและค่านยิ ม
ใฝเ่ รียนรู้และเป็นผู้มคี วามมุ่งมน่ั ในการทำงาน

6. บูรณาการ
บูรณาการกับกล่มุ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ เรื่อง แผนภูมริ ปู วงกลม

7. กจิ กรรมการเรียนรู้
ขัน้ ที่ 1 ขัน้ สรา้ งความสนใจ
1.1 ครใู ห้นักเรยี นทำตรวจสอบความรู้ก่อนเรยี นในหนังสอื เรยี น หนา้ 3
1.2 ครูทวนคำถามตรวจสอบความรูก้ ่อนเรยี นให้นกั เรยี นตอบร่วมกนั พร้อมเฉลย ดงั นี้
1) อากาศเป็นสารผสมใช่หรือไม่ (แนวการตอบ ใช)่
2) ธาตแุ ละสารประกอบเป็นสารบรสิ ทุ ธ์ิ (แนวการตอบ ใช)่
3) อะตอมเปน็ อนภุ าคทเี่ ล็กท่สี ดุ ของสารที่อยใู่ นธรรมชาติได้ (แนวการตอบ ไมใ่ ช่)
4) โมเลกลุ ประกอบดว้ ย 2 อะตอมข้นึ ไป (แนวการตอบ ใช่)
5) โปรตอน นิวตรอน และอเิ ลก็ ตรอนเป็นองคป์ ระกอบภายในอะตอม (แนวการตอบ ใช)่
1.3 ครูนำเขา้ สู่บทเรยี นโดยตัง้ คำถามตรวจสอบความรู้เดมิ เพ่อื นำเข้าสู่กิจกรรมเก่ียวกบั
องค์ประกอบของอากาศ
1) แกส๊ ออกซิเจนมปี ระโยชน์อยา่ งไร มีสูตรเคมีเป็นอย่างไร
2) แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มีประโยชนอ์ ยา่ งไร มสี ตู รเคมีเปน็ อยา่ งไร
3) ในอากาศ มีแก๊สอ่นื ๆ อกี หรอื ไม่

ขน้ั ท่ี 2 ขัน้ สำรวจและค้นหา
2.1 ครูใหน้ ักเรียนทุกคนศกึ ษาค้นควา้ องค์ประกอบในอากาศตามรายละเอยี ดในหนงั สอื เรยี น

หน้า 4 - 6
2.2 นักเรยี นทำใบกิจกรรม เร่อื ง องค์ประกอบในอากาศ ท่ีครูแจกให้
2.3 นักเรยี นทำแบบฝึกหัดทา้ ยบทที่ 1 ข้อที่ 1-2 หนา้ 21 ลงในสมุด

ขัน้ ที่ 3 ข้ันอธบิ ายและลงขอ้ สรปุ
3.1 ครนู ำนักเรยี นอภิปรายเพ่อื นำไปสกู่ ารสรุปโดยใชค้ ำถามตอ่ ไปน้ี
1) จงบอกสตู รเคมีของแกส๊ ไนโตรเจน แก๊ศออกซิเจน แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ ตามลำดบั

(แนวการตอบ แก๊สไนโตรเจน (N2) แกส๊ ออกซิเจน (O2) แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2))
2) แก๊สใดมปี ริมาณมากทส่ี ุดในอากาศ (แนวการตอบ แก๊สไนโตรเจน (N2))
3) แกส๊ ใดมปี รมิ าณนอ้ ยกวา่ แกส๊ ไนโตรเจนเกือบ 4 เท่า (แนวการตอบ แกส๊ ออกซิเจน (O2))
4) แก๊สใดเมอื่ มนุษยแ์ ละสัตว์หายใจเข้าสูร่ ่างกาย แก๊สชนิดนจี้ ะทำปฏกิ ิริยาเคมีกบั

สารอาหาร (แนวการตอบ แกส๊ ออกซิเจน (O2))
5) แก๊สใดมีปรมิ าณน้อยมากในอากาศ ไมม่ สี ี ไม่มีกลน่ิ เป็นผลิตภณั ฑ์จากปฏกิ ริ ิยาเคมี

ระหว่างสารอาหารกบั แกส๊ ออกซิเจนในกระบวนการหายใจของสง่ิ มชี วี ติ รวมท้ังการเผาไหมเ้ ชอ้ื เพลิงตา่ งๆ
ในชีวิตประจำวนั และยังเปน็ สารตั้งต้นที่สำคญั ใน กระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพืช (แนวการตอบ
แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2))

6) ในอากาศมแี ก๊สไนโตรเจน และแก๊สออกซิเจน ประมาณร้อยละเทา่ ใด (แนวการตอบ
แกส๊ ไนโตรเจน มปี ระมาณร้อยละ 78 โดยปรมิ าตร และแก๊สออกซเิ จน มปี ระมาณร้อยละ 21)

7) ในอากาศยงั มีแกส๊ อืน่ ๆ ซง่ึ คิดเปน็ ร้อยละ 1 ได้แกแ่ กส๊ อะไรบา้ ง (แนวการตอบ แกส๊
อารก์ อน (Ar) แก๊สฮีเลียม (He) แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2))

8) คำวา่ “อารก์ อน” ในภาษากรีกมคี วามหมายวา่ อยา่ งไร (แนวการตอบ อาร์กอน
หมายถงึ “ข้เี กียจ เฉ่อื ยชา”)

9) สารท่มี ีธาตุเพียงชนดิ เดยี วเป็นองค์ประกอบ เรียกว่าอะไร (พรอ้ มยกตวั อย่าง)
(แนวการตอบ เรยี กว่า “ธาต”ุ เช่น แก๊สอาร์กอน (Ar) แก๊สฮเี ลยี ม (He) ซึง่ อาจอยใู่ นรูปของอะตอม
แก๊สไนโตรเจน (N2) แก๊สออกซิเจน (O2) อยใู่ นรูปของโมเลกุล)

10) สารทม่ี ธี าตมุ ากกวา่ หนง่ึ ชนดิ เป็นองคป์ ระกอบ เรยี กว่าอะไร (พรอ้ มยกตวั อยา่ ง)
(แนวการตอบ เรียกว่า “สารประกอบ” เช่น แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) ไอนำ้ (H2O))

3.2 ครูและนกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายและสรปุ การศึกษาค้นควา้ จนสรปุ เรอ่ื ง องคป์ ระกอบใน
อากาศ ดังนี้

1) สูตรเคมขี องแก๊สตา่ ง ๆ ท่ีเป็นองคป์ ระกอบในอากาศ เชน่ แก๊สอาร์กอน (Ar) และแก๊ส
ฮเี ลียม (He) อยใู่ นรูปของอะตอม แตแ่ กส๊ ออกซเิ จน (O2) แกส๊ ไนโตรเจน (N2) แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์
(CO2) ไอนำ้ (H2O) อย่ใู นรปู โมเลกุล เนอ่ื งจากประกอบด้วย 2 อะตอมขน้ึ ไป

2) แกส๊ อารก์ อน (Ar) แก๊สฮีเลยี ม (He) แกส๊ ออกซิเจน (O2) แก๊สไนโตรเจน (N2) เปน็ ธาตุ
เน่ืองจากประกอบด้วยธาตเุ พียงชนิดเดยี ว ไอน้ำ (H2O) และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เปน็ สารประกอบ
เนือ่ งจากประกอบดว้ ยธาตุมากกว่าหนึง่ ชนิด

ข้ันที่ 4 ขัน้ ขยายความรู้
4.1 ครูให้ความรู้เพ่ิมเติมนอกจากแก๊สในอากาศแล้ว การระบุว่าสารเคมีชนิดอื่นอยู่ในรูปอะตอม

หรือโมเลกุล และจัดเป็นธาตุหรือสารประกอบสามารถพิจาณาได้จากสูตรเคมี จากน้ันให้นักเรียนทำ
แบบฝึกหัด 1.1

4.2 ครูให้นักเรียนแต่ละคนเล่าสู่กันฟังถึงความรู้ที่ได้จากการทำกิจกรรม และปัญหาท่ีเกิดข้ึน
ระหว่างการทำกิจกรรม

ข้นั ท่ี 5 ข้นั ประเมนิ ผล
5.1 ครตู รวจใบกจิ กรรม เรอื่ ง องค์ประกอบในอากาศ ของนักเรียน
5.2 ครูตรวจสมุดการทำแบบฝกึ หดั ท้ายบทที่ 1 ขอ้ ท่ี 1-2 หน้า 21 ของนกั เรียน

ประยกุ ต์และตอบแทนสงั คม
ครูใหน้ กั เรียนแต่ละคนนำความรู้ทเี่ รียนไปค้นคว้าเพิ่มเติมท่ีห้องสมุด หรือเว็บไซต์ แล้วนำเสนอใน

ชน้ั เรยี น

8. สือ่ การเรยี นรู้/แหล่งเรยี นรู้
8.1 หนงั สอื เรยี นรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ (วิทยาศาสตรก์ ายภาพ) ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 5 เล่ม 1

(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560)
8.2 ใบกจิ กรรม เร่อื ง องค์ประกอบในอากาศ
8.3 อินเทอรเ์ น็ต หรอื หอ้ งสมุด

9. การวดั และประเมนิ ผล วิธีการวัด เคร่อื งมือ เกณฑก์ ารประเมิน
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1) ตรวจใบกจิ กรรม 1) แบบประเมนิ การ 1) นกั เรยี นสามารถ
ด้านความรู้ (K) เรอ่ื ง องค์ประกอบใน ทำกิจกรรม ตอบคำถามในใบ
1) นกั เรยี นบอกช่ือและปรมิ าณของแก๊ส อากาศ 2) ใบกจิ กรรม เรอ่ื ง กิจกรรมได้ระดับดี
ต่าง ๆ ในอากาศได้ 2) ตรวจแบบฝึกหดั องคป์ ระกอบใน ผ่านเกณฑ์
2) นักเรียนระบุว่าสารเปน็ ธาตหุ รอื ท้ายบทที่ 1 ข้อท่ี 2 อากาศ 2) นกั เรยี นทำ
สารประกอบ และอยู่ในรูปอะตอม โมเลกุล 3) แบบฝกึ หัดท้าย แบบฝึกหัดทา้ ยบทท่ี
หรอื ไอออนจากสตู รเคมีได้ บทท่ี 1 ขอ้ ที่ 2 1 ข้อท่ี 2 ไดร้ ะดับดี
ผ่านเกณฑ์
ด้านกระบวนการ (P) 1) ตรวจใบกจิ กรรม 1) แบบประเมนิ การ
1) นักเรยี นสามารถจัดกระทำและสื่อ เร่ือง องค์ประกอบใน ทำกิจกรรม 1) นกั เรยี นสามารถ
ความหมายของข้อมูลท่ีศกึ ษาคน้ ควา้ ได้ อากาศ 2) ใบกจิ กรรม เร่อื ง สรุปเนอื้ หาท่ีได้จาก
องคป์ ระกอบใน การศึกษาคน้ คว้า
ด้านคุณลักษณะ (A) อากาศ ได้ระดับดี ผ่านเกณฑ์
1) ใฝ่เรียนรู้และเป็นผู้มีความมุ่งม่ันในการ 1) ตรวจใบกจิ กรรม
ทำงาน เรอื่ ง องคป์ ระกอบใน 1) แบบประเมนิ การ 1) นักเรียนทำภาระ
ทำกจิ กรรม งานท่ีไดร้ บั มอบหมาย
อากาศ 2) แบบฝกึ หัดท้าย ได้ระดบั ดี ผา่ นเกณฑ์
2) ตรวจแบบฝึกหดั บทท่ี 1 ข้อท่ี 2
ทา้ ยบทท่ี 1 ขอ้ ที่ 2

10. เกณฑ์การประเมินผลงานนกั เรยี น
เกณฑ์การประเมนิ แบบ Rubrics ของการทำกิจกรรม เร่อื ง องคป์ ระกอบในอากาศ

ประเดน็ การ คา่ น้ำหนัก แนวทางการใหค้ ะแนน
ประเมนิ คะแนน

ด้านความรู้ 3 ตอบคำถามถูกต้องครบถ้วนทกุ ขอ้
(K) 2 ตอบคำถามถูกตอ้ งครบถว้ น 5-9 ข้อ

1 ตอบคำถามถูกตอ้ งครบถ้วน 1-4 ขอ้
3 ทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 ขอ้ ที่ 2 ได้ถกู ตอ้ งครบถ้วน
2 ทำแบบฝกึ หดั ท้ายบทที่ 1 ขอ้ ท่ี 2 ได้ แต่ยงั ไม่ถูกต้องครบถว้ น
1 ทำแบบฝกึ หัดท้ายบทท่ี 1 ขอ้ ท่ี 2 แต่ไมถ่ ูกต้อง

ด้าน 3 สรปุ เนอ้ื หา เร่ือง องคป์ ระกอบในอากาศได้ถกู ตอ้ งครบถ้วน
กระบวนการ 2 สรุปเนื้อหา เรื่อง องค์ประกอบในอากาศไดค้ อ่ นข้างถูกต้องครบถว้ น

(P) 1 สรุปเนือ้ หา เรื่อง องค์ประกอบในอากาศได้ แตไ่ มค่ รบถ้วน
ด้าน 3 ทำภาระงานท่ไี ด้รับมอบหมายเสร็จภายในเวลาท่ีกำหนด และเรยี บร้อยถูกตอ้ งครบถว้ น
คุณลักษณะ 2 ทำภาระงานทีไ่ ด้รบั มอบหมายเสร็จภายในเวลาท่ีกำหนด แต่งานยังผิดพลาดบางสว่ น
(A) 1 ทำภาระงานท่ีได้รบั มอบหมายเสร็จ แต่ล่าช้า และเกิดขอ้ ผิดพลาดบางสว่ น

ระดบั คะแนน 3 หมายถงึ ระดับดมี าก
คะแนน 2 หมายถึง ระดบั ดี
คะแนน 1 หมายถงึ ระดับพอใช้
คะแนน

หมายเหตุ หาค่าเฉลี่ยของคะแนนดา้ นความรู้ (K) คะแนนเต็ม เทา่ กบั 3

การประเมินการทำกิจกรรม เรือ่ ง องคป์ ระกอบในอากาศ

จุดประสงค์การเรียนรู้

ท่ี ชอ่ื - นามสกุล ด้านความรู้ ด้าน ดา้ น รวม ระดบั
(K) กระบวนการ คุณลักษณะ คะแนน คุณภาพ

(P) (A)

3 3 39

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

จุดประสงค์การเรยี นรู้

ท่ี ชื่อ - นามสกุล ดา้ นความรู้ ด้าน ด้าน รวม ระดับ
(K) กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ คะแนน คณุ ภาพ

(P) (A)

3 3 39

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

ระดบั คุณภาพ 9 หมายถงึ ระดับดมี าก
คะแนน 7-8 หมายถงึ ระดบั ดี
คะแนน 5-6 หมายถึง ระดับปานกลาง
คะแนน 3-4 หมายถึง ระดับปรับปรงุ
คะแนน

บนั ทกึ หลงั การสอน

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรื่อง อากาศ ใ
แผนการสอนท่ี 1 เรือ่ ง องค์ประกอบในอากาศ .

ใ เดอื น พ.ศ. ใ

วันที่

ผลการจัดการเรยี นรู้

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ปัญหา / อปุ สรรค

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกป้ ัญหา

……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

ลงชื่อ............................................ครผู สู้ อน ลงชอื่ .............................................หวั หน้ากลมุ่ สาระ
(นางสาวเมธินยี ์ สรรเสรญิ ) (นางสาวเบญจวรรณ ทองเสน)

ช่ือ ช้ัน เลขท่ี ‘

ใบกจิ กรรม เรื่อง องคป์ ระกอบในอากาศ

1. สรปุ สง่ิ ทไี่ ดจ้ ากการศกึ ษาคน้ ควา้

องค์ประกอบในอากาศส่วนใหญ่เป็นแกส๊ ไนโตรเจน (N2) ประมาณร้อยละ 78 โดยปริมาตร และแก๊สออกซิเจน (O2)

อกี ประมาณรอ้ ยละ 21 ส่วนทเ่ี หลอื อีกประมาณร้อยละ 1 เป็นแก๊สชนิดอ่ืนๆ เช่น แก๊สอารก์ อน (Ar) แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์

(CO2) แก๊สฮเี ลยี ม (He) l

(CO2) แกส๊ ฮเี ลยี ม (He) l

แก๊สไนโตรเจน (N2) มีปริมาณมากที่สุดในอากาศ แก๊สน้ีไม่มีสี ไม่มีกล่ิน เมื่อมนุษย์หายใจ แก๊สชนิดน้ีจะเคล่ือนท่ี

ผ่านเขา้ และออกจากปอดโดยไม่ทำปฏกิ ิริยากบั สารใด ๆ ในรา่ งกาย ท

(CO2) แกส๊ ฮเี ลียม (He) l

แก๊สออกซิเจน (O2) มีปรมิ าณน้อยกวา่ แก๊สไนโตรเจนเกือบ 4 เท่า แตม่ ีความจำเป็นต่อส่งิ มีชีวิตมาก เมื่อมนุษย์และ
สตั ว์หายใจเอาแก๊สออกซิเจนเข้าส่รู ่างกาย แก๊สชนิดน้ีจะทำปฏิกิริยาเคมีกับสารอาหาร แล้วให้พลังงานท่ีจำเป็นสำหรบั การ

ดำรงชีวติ นอกจากน้แี ก๊สออกซเิ จนยงั มีสว่ นสำคัญในปฏิกิรยิ าเคมที ่เี กิดขน้ึ ในชวี ติ ปร ะจำวนั เชน่ การเผาไหม้ การเกิดสนิ ท

(CO2) แกส๊ ฮีเลียม (He) l

แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) มปี ริมาณน้อยมากในอากาศ แก๊สน้ีไม่มีสี ไม่มีกล่ิน เป็นผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยาเคมี

ระหวา่ งสารอาหารกับแกส๊ ออกซิเจนในกระบวนการหายใจของสิ่งมีชีวติ รวมทั้งการเผาไหมเ้ ชื้อเพลิงตา่ งๆ ในชีวิตประจำวัน

แก๊สคารบ์ อนไดออกไซดย์ งั เป็นสารต้ังตน้ ท่ีสำคัญในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช v

(CO2) แกส๊ ฮเี ลยี ม (He) l

แก๊สอาร์กอน (Ar) มปี ระมาณรอ้ ยละ 0.9 ในอากาศ คำวา่ “อาร์กอน” ในภาษากรีกมคี วามหมายวา่ “ข้ีเกียจ เฉื่อย

ชา” ซงึ่ สอดคล้องกับความไมว่ ่องไวตอ่ ปฏกิ ริ ยิ าเคมีของแก๊สน้ี b

แก๊สฮีเลียม (He) เป็นแก๊สอีกชนิดหน่งึ ท่ีเฉื่อยต่อปฏิกิรยิ าเคมี ดงั น้ันเม่ือหายใจเขา้ ไป แก๊สเหลา่ นจ้ี ึงไม่เกิดปฏิกิริยา

กับสารเคมีใด ๆ ในร่างกาย m

แก๊สต่างๆ แก๊สท่ีเป็นองค์ประกอบของอากาศแห้ง แต่ในอากาศยังมีความช้ืน ซึ่งเกิดจากไอน้ำ (H2O) ในปริมาณที่

แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ ฤดูกาล หรือสถานที่ เน่อื งจากไอน้ำเป็นแก๊สท่ีไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่สามารถมองเห็นไดด้ ้วยตา

เปล่า แต่สิ่งท่ีตามองเหน็ เชน่ เมฆ หมอก เกดิ จากการควบแน่นของไอนำ้ กลายเป็นละอองนำ้ ขนาดเลก็ จำนวนมากท่ียังไม่ตก

(CO2) แก๊สฮีเลียม (He) l

อากาศประกอบด้วยสารเคมีท่ีอยู่ในรูปของอะตอม เช่น แก๊สอาร์กอน (Ar) แก๊สฮีเลียม (He) และอยู่ในรูปของ

โมเลกุล เช่น แกส๊ ไนโตรเจน (N2) แก๊สออกซิเจน (O2) แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ไอน้ำ (H2O) โดยสารท่ีมีธาตเุ พยี งช

นิดเดยี วเป็นองค์ประกอบ เรียกว่า ธาตุ ซึ่งอาจอยใู่ นรูปของอะตอม เช่น แก๊สอาร์กอน (Ar) แก๊สฮีเลียม (He) หรืออย่ใู นรูป

ของโมเลกุล เช่น แก๊สไนโตรเจน (N2) แก๊สออกซิเจน (O2) แต่สารที่มีธาตุมากกว่าหน่ึงชนิดเป็นองค์ประกอบ เรียกว่า

สารประกอบ เชน่ แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) ไอน้ำ (H2O) v

2. จงตอบคำถามใหถ้ กู ต้องครบถ้วน

2.1 จงบอกสูตรเคมีของแก๊สไนโตรเจน แกศ๊ ออกซิเจน แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ ตามลำดับ

ตอบ แก๊สไนโตรเจน (N2) แกส๊ ออกซเิ จน (O2) แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) รถ A ไม่ม,ี

2.2 แกส๊ ใดมีปรมิ าณมากท่ีสุดในอากาศ

ตอบ แก๊สไนโตรเจน (N2)การเคลือ่ นที่ เพราะเมื่อเวลาผ่านไป รถ B มีการเปล่ียนตำแหนง่ m

2.3 แกส๊ ใดมีปรมิ าณนอ้ ยกวา่ แก๊สไนโตรเจนเกอื บ 4 เท่า

ตอบ แก๊สออกซิเจน (O2) ของวัตถจุ งึ จำเปน็ ต้องมกี ารกลา่ วถึงจดุ ที่ ชเ้ ปรยี บเทียบในการบอกตำแหน่ง

2.4 แก๊สใดเมอ่ื มนษุ ยแ์ ละสตั ว์หายใจเขา้ สู่รา่ งกาย แกส๊ ชนิดน้จี ะทำปฏกิ ิรยิ าเคมีกบั สารอาหาร

ตอบ แก๊สออกซิเจน (O2) ของวัตถจุ งึ จำเปน็ ต้องมกี ารกลา่ วถึงจุดที่ ชเ้ ปรียบเทยี บในการบอกตำแหน่ง

2.5 แกส๊ ใดมีปริมาณนอ้ ยมากในอากาศ ไมม่ สี ี ไม่มกี ล่นิ เป็นผลิตภัณฑ์จากปฏิกริ ิยาเคมรี ะหว่างสารอาหารกบั แก๊สออกซเิ จน
ในกระบวนการหายใจของส่ิงมชี วี ติ รวมทั้งการเผาไหม้เช้ือเพลงิ ต่างๆ ในชีวติ ประจำวนั และยงั เป็นสารตง้ั ตน้ ที่สำคญั ใน
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช

ตอบ แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) ของ มีการกลา่ วถึงจดุ ท่ี ชเ้ ปรียบเทียบในกา รบ อกตำแหน่ง

2.6 ในอากาศมีแกส๊ ไนโตรเจน และแกส๊ ออกซิเจน ประมาณร้อยละเท่าใด

ตอบ แก๊สไนโตรเจน มีประมาณร้อยละ 78 โดยปริมาตร และแก๊สออกซิเจน มปี ระมาณรอ้ ยละ 21 ตน้ ไ

2.7 ในอากาศยงั มแี กส๊ อืน่ ๆ ซึ่งคดิ เป็นรอ้ ยละ 1 ได้แกแ่ ก๊สอะไรบา้ ง

ตอบ แก๊สอาร์กอน (Ar)กส๊ ฮเี ลยี ม (He) แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) ตน้ ไ ม้ หรือหอนาฬกิ า

2.8 คำว่า “อารก์ อน” ในภาษากรกี มีความหมายวา่ อยา่ งไร

ตอบ อารก์ อน หมายถึง “ขี้เกยี จ เฉ่อื ยชา” ซง่ึ สอ ดคลอ้ งกับความไม่วอ่ งไวต่อ ของแก๊สนี้ ลีย่ นนง่ จากตำแหน่งฃ

2.9 สารทมี่ ธี าตุเพียงชนิดเดยี วเปน็ องคป์ ระกอบ เรยี กว่าอะไร (พรอ้ มยกตัวอยา่ ง)

ตอบ เรียกว่า “ธาตุ” เชน่ แกส๊ อารก์ อน (Ar) แกส๊ ฮีเลียม (He) ซง่ึ อาจอยู่ในรปู ของอะตอม แก๊สไนโตรเจน (N2) แกส๊

ออกซเิ จน (O2) อยใู่ นรปู ของโมเลกุล ก

2.10 สารทีม่ ีธาตุมากกว่าหน่ึงชนดิ เป็นองคป์ ระกอบ เรยี กวา่ อะไร (พรอ้ มยกตัวอย่าง)

ตอบ สารประกอบ เชน่ แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) ไอนำ้ (H2O) b

เฉลยใบกจิ กรรม เรอ่ื ง องค์ประกอบในอากาศ

1. สรุปสิ่งที่ได้จากการศึกษาค้นควา้

องค์ประกอบในอากาศสว่ นใหญ่เป็นแก๊สไนโตรเจน (N2) ประมาณร้อยละ 78 โดยปรมิ าตร และแก๊สออกซิเจน (O2)

อกี ประมาณรอ้ ยละ 21 ส่วนทีเ่ หลืออีกประมาณร้อยละ 1 เป็นแก๊สชนิดอน่ื ๆ เชน่ แก๊สอารก์ อน (Ar) แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์

(CO2) แก๊สฮีเลียม (He) l

แก๊สไนโตรเจน (N2) มีปริมาณมากท่ีสุดในอากาศ แก๊สน้ีไม่มีสี ไม่มีกล่ิน เม่ือมนุษย์หายใจ แก๊สชนิดนี้จะเคลื่อนท่ี

ผ่านเข้าและออกจากปอดโดยไมท่ ำปฏกิ ิริยากบั สารใด ๆ ในร่างกาย ท

แกส๊ ออกซิเจน (O2) มปี รมิ าณน้อยกวา่ แก๊สไนโตรเจนเกอื บ 4 เท่า แต่มีความจำเป็นตอ่ สิ่งมีชีวิตมาก เมื่อมนุษย์และ

สตั ว์หายใจเอาแก๊สออกซิเจนเข้าสูร่ ่างกาย แก๊สชนิดนี้จะทำปฏิกิริยาเคมีกับสารอาหาร แล้วให้พลังงานท่ีจำเป็นสำหรับการ

ดำรงชีวติ นอกจากน้แี ก๊สออกซเิ จนยังมสี ว่ นสำคัญในปฏิกิรยิ าเคมีท่เี กิดข้ึนในชวี ติ ประจำวนั เชน่ การเผาไหม้ การเกดิ สนิท อ

แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) มปี ริมาณน้อยมากในอากาศ แก๊สนี้ไม่มสี ี ไม่มีกลิ่น เป็นผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยาเคมี

ระหวา่ งสารอาหารกับแกส๊ ออกซเิ จนในกระบวนการหายใจของส่งิ มชี ีวิต รวมทั้งการเผาไหมเ้ ชื้อเพลิงตา่ งๆ ในชีวิตประจำวัน

แก๊สคาร์บอนไดออกไซดย์ ังเป็นสารต้ังต้นทส่ี ำคัญในกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืช v

แก๊สอาร์กอน (Ar) มีประมาณรอ้ ยละ 0.9 ในอากาศ คำวา่ “อาร์กอน” ในภาษากรกี มีความหมายว่า “ขี้เกียจ เฉ่ือย

ชา” ซึง่ สอดคล้องกบั ความไมว่ อ่ งไวตอ่ ปฏิกริ ิยาเคมีของแกส๊ น้ี b

แก๊สฮีเลียม (He) เป็นแก๊สอีกชนิดหนึง่ ท่ีเฉือ่ ยตอ่ ปฏิกิริยาเคมี ดงั นั้นเม่ือหายใจเขา้ ไป แก๊สเหลา่ นจี้ ึงไมเ่ กิดปฏิกริ ิยา

กับสารเคมีใด ๆ ในรา่ งกาย m

แก๊สต่างๆ แก๊สท่ีเป็นองค์ประกอบของอากาศแห้ง แต่ในอากาศยังมีความชื้น ซ่ึงเกิดจากไอน้ำ (H2O) ในปริมาณที่
แตกต่างกัน ขึ้นอย่กู ับอุณหภูมิ ฤดูกาล หรือสถานท่ี เน่ืองจากไอน้ำเป็นแก๊สที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่สามารถมองเห็นไดด้ ้วยตา

เปลา่ แต่ส่ิงที่ตามองเห็น เชน่ เมฆ หมอก เกิดจากการควบแนน่ ของไอนำ้ กลายเปน็ ละอองน้ำขนาดเลก็ จำนวนมากท่ียังไมต่ ก

ลงส่พู นื้ โลก v

อากาศประกอบด้วยสารเคมีที่อยู่ในรูปของอะตอม เช่น แก๊สอาร์กอน (Ar) แก๊สฮีเลียม (He) และอยู่ในรูปของ

โมเลกุล เช่น แก๊สไนโตรเจน (N2) แกส๊ ออกซเิ จน (O2) แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ไอนำ้ (H2O) โดยสารทม่ี ธี าตุเพียงชนิด
เดียวเป็นองคป์ ระกอบ เรียกวา่ ธาตุ ซ่งึ อาจอยใู่ นรูปของอะตอม เช่น แก๊สอาร์กอน (Ar) แก๊สฮเี ลียม (He) หรืออยูใ่ นรูปของ

โมเลกุล เช่น แก๊สไนโตรเจน (N2) แก๊สออกซิเจน (O2) แต่สารท่ีมีธาตุมากกว่าหน่ึงชนิดเป็นองค์ประกอบ เรียกว่า

สารประกอบ เช่น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ไอน้ำ (H2O) v

2. จงตอบคำถามใหถ้ ูกตอ้ งครบถ้วน

2.1 จงบอกสูตรเคมีของแกส๊ ไนโตรเจน แก๊ศออกซเิ จน แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ ตามลำดับ

ตอบ แก๊สไนโตรเจน (N2) แกส๊ ออกซิเจน (O2) แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) รถ A ไม่มี,

2.2 แกส๊ ใดมีปรมิ าณมากท่ีสุดในอากาศ

ตอบ แก๊สไนโตรเจน (N2)การเคลอ่ื นท่ี เพราะเมือ่ เวลาผ่านไป รถ B มกี ารเปลย่ี นตำแหน่ง m

2.3 แกส๊ ใดมีปริมาณน้อยกว่าแก๊สไนโตรเจนเกอื บ 4 เท่า

ตอบ แก๊สออกซิเจน (O2) ของวตั ถุจงึ จำเปน็ ต้องมกี ารกล่าวถงึ จุดที่ ช้เปรียบเทียบในการบอกตำแหน่ง

2.4 แก๊สใดเมอ่ื มนษุ ย์และสัตว์หายใจเขา้ สู่ร่างกาย แกส๊ ชนิดน้จี ะทำปฏกิ ิรยิ าเคมีกับสารอาหาร

ตอบ แก๊สออกซิเจน (O2) ของวตั ถจุ ึงจำเปน็ ต้องมีการกล่าวถงึ จุดท่ี ช้เปรยี บเทียบในการบอกตำแหนง่

2.5 แกส๊ ใดมีปรมิ าณนอ้ ยมากในอากาศ ไมม่ ีสี ไม่มีกลิ่น เป็นผลิตภณั ฑ์จากปฏิกิริยาเคมีระหวา่ งสารอาหารกบั แก๊สออกซเิ จน
ในกระบวนการหายใจของสงิ่ มีชีวิต รวมทัง้ การเผาไหม้เชือ้ เพลิงตา่ งๆ ในชวี ติ ประจำวนั และยังเปน็ สารตั้งต้นท่ีสำคญั ใน
กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพชื

ตอบ แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) ของ มีการกล่าวถงึ จุดที่ ชเ้ ปรยี บเทียบในกา รบ อกตำแหน่ง

2.6 ในอากาศมีแกส๊ ไนโตรเจน และแก๊สออกซิเจน ประมาณรอ้ ยละเทา่ ใด

ตอบ แก๊สไนโตรเจน มปี ระมาณรอ้ ยละ 78 โดยปริมาตร และแก๊สออกซิเจน มีประมาณรอ้ ยละ 21 ตน้ ไ

2.7 ในอากาศยงั มแี ก๊สอื่นๆ ซง่ึ คดิ เป็นรอ้ ยละ 1 ได้แก่แกส๊ อะไรบ้าง

ตอบ แก๊สอาร์กอน (Ar) แก๊สฮเี ลียม (He) แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) ต้นไ ม้ หรือหอนาฬกิ า

2.8 คำว่า “อารก์ อน” ในภาษากรีกมีความหมายว่าอยา่ งไร

ตอบ อารก์ อน หมายถงึ “ขีเ้ กียจ เฉ่อื ยชา” ซงึ่ สอ ดคลอ้ งกบั ความไมว่ ่องไวตอ่ ของแก๊สนี้ ลยี่ นน่งจากตำแหน่งฃ

2.9 สารท่ีมธี าตุเพยี งชนดิ เดียวเป็นองค์ประกอบ เรยี กว่าอะไร (พรอ้ มยกตัวอยา่ ง)

ตอบ เรียกว่า “ธาตุ” เชน่ แกส๊ อาร์กอน (Ar) แก๊สฮเี ลยี ม (He) ซง่ึ อาจอยใู่ นรปู ของอะตอม แก๊สไนโตรเจน (N2) แก๊ส

ออกซเิ จน (O2) อยู่ในรปู ของโมเลกุล ก

2.10 สารทีม่ ีธาตุมากกวา่ หนึง่ ชนดิ เป็นองค์ประกอบ เรียกว่าอะไร (พรอ้ มยกตวั อยา่ ง)

ตอบ สารประกอบ เช่น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ไอน้ำ (H2O) b

แบบฝึกหัด 1.1

สารเคมีต่อไปนี้เปน็ แก๊สทีอ่ าจพบในอากาศ จงระบุว่าสารตอ่ ไปนี้อยู่ในรปู อะตอมหรือ โมเลกลุ และเป็นธาตุ
หรอื สารประกอบ โดยเขียนเคร่ืองหมาย ✓ ลงในชอ่ งวา่ ง

สูตรเคมี ฃื่อสารเคมี อะตอม โมเลกุล ธาตุ สารประกอบ

H2 แก๊สไฮโดรเจน
(hydrogen gas)

Cl2 แก๊สครอรีน
(chlorine gas)

HCl ไฮโรเจนคลอไรด์
(hydrogen chloride)

O3 โอโซน (ozone)

NO ไนโตรเจนมอนอกไซด์
(nitrogen monoxide)

CO ไนโตรเจนมอนอกไซด์
(carbon monoxide)

Ne นอี อน (neon)

CH4 มเี ทน (methane)


Click to View FlipBook Version