The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-Book journey charoenkrung
edu-travel
with us

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by supawadee.belle, 2021-04-15 13:30:56

Journey charoenkrung

E-Book journey charoenkrung
edu-travel
with us

Keywords: journey charoenkrung

JOURNEY A travel and international culture magazine

CHAROENKRUNG | BANGKOK

TRAVELS TO CHAROENKRUNG
AND SHARES YOUR EXPERIENCE AND STORIES OF HAPPINESS

01

FEATURED STORY

WORLDTHE EDGE OF THE

02

PACKING UP
FOR THE WORLD

BY SUPAWADEE THONGSUK

" ผู้ ค น ใ น ส มั ย นั น ใ ค ร เ ห็ น ก็ ว่ า ก ว้ า ง ม า ก มี คํา เ ล่ า ว่ า ท่ า น ผู้ ใ ห ญ่
ที ไ ป ดู ก า ร ทํา ถ น น เ จ ริ ญ ก รุ ง ถ น น บาํ รุ ง เ มื อ ง ยั ง บ่ น ว่ า ถ น น โ ต

อ ย่ า ง นี จ ะ เ อ า ใ ค ร ม า เ ดิ น ”

ทีมาจากหนังสือเล่าเรืองบางกอก ส.พลายน้อย

จากคําพู ดของผู้คนในสมัยรัชกาลที 4 ภายหลังจากการสร้างเสร็จ
ของถนนเจริญกรุง หรือ NEWROAD ถนนสายแรกของประเทศไทยที
นับว่าเปนถนน ทีสร้างตามแบบตะวันตก มีความสากล ทันสมัยและ
ศิวิไลซ์เหนือกาลเวลา หนังสือ E-book เล่มนีจะพู ดถึงเรืองราวความ
เปนมาผ่านการท่องเทียวไปพร้อมกับเรา :)

03

JOURNEY

what's inside

04 05 06 08-09

แรกเริมที เจริญกรุง ค ว า ม ศิ วิ ไ ล ซ์ เยาวราช
เจริญกรุง บาํ รุงเมือง
เฟองนคร

10 11 12 13

พาหุรัด สาํ เพ็ง ตลาดน้อย ไปรษณีย์กลาง

14-16 17

กิ น ไ ห น ดี บรรณานุกรม

04

แรกเรมิ ทีเจรญิ กรงุ

เ จ ริ ญ ก รุ ง i N E W R O A D

ทีมา www.gutenberg.org

ทีมา ภาพจากหนงั สือ Siam (1913) โดย Walter Armstrong Graham

ตังแต่รัชกาลที 1 ทรงย้ายราชธานีมาสร้าง ทมี า entertainmentblogpictures.blogspot.com
กรุงเทพฯ บ้านเมืองก็มีวิวัฒนาการเรือยมาเริม
ต่ อ เ ติ ม ส ร้ า ง ถ น น ห ล า ย จุ ด ใ น แ ต่ ล ะ รั ช ส มั ย จ น ม า ถึ ง ถนนเจรญิ กรงุ เปนถนนที
ช่วงรัชกาลที 5 ซึงเปนช่วงทีบ้านเมืองถูกพั ฒนา พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้
ในหลายด้าน และเปนทีรู้กันว่า ถนนเจริญกรุง เจา้ -อยหู่ ัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง
ใ น เ ว ล า นั น เ ป น ถ น น ที ทั น ส มั ย ขนึ เมือวนั ที 5 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.
2404 แล้วเสร็จใน พ.ศ. 2407
หมุดหมายทียงิ ใหญข่ องการชะลอเมืองจากนาํ ขึนสู่ มคี วามยาวจาก ถนนสนามไชย
บกคือการตัดถนนแบบตะวันตกสายแรกของไทยใน ถึงดาวคะนอง 8,575 เมตร.
สมัยรัชกาลที 4 มลู เหตุของการของการตดั ถนนดงั การกอ่ สรา้ งถนนเจรญิ กรุงนนั
กลา่ วปรากฏในจดหมายเหตเุ จ้าพระยาทพิ ากรวงศ์ว่า เนอื งจากในรัชสมัยพระบาท
“ชาวยโุ รปเคยขรี ถ ขมี ้าเทยี วตากอากาศไดค้ วามสบาย สมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ไมม่ ีเจบ็ ไข้ เข้ามาอยทู่ กี รุงเทพพระมหานคร ไมม่ ีถนน มชี าวตา่ งประเทศเขา้ มาอยู่ใน
หนทางทีจะขรี ถขีมา้ พากนั เจบ็ ไข้เนอื งๆ ได้ทรงทราบ กรงุ เทพฯ มากขนึ และมีพวก
หนังสอื แล้ว ทรงพระราชดาํ ริเห็นว่า พวกยโุ รปเขา้ มา กงสลุ ได้เข้าชอื กันขอให้สร้าง
อยูใ่ นกรงุ มากนั ทกุ ปๆ ดว้ ยประเทศบ้านเมืองเขามถี นน ถนนสายยาวสาํ หรับขมี า้ หรือนงั
หนทางกเ็ รียบรืนสะอาดไปทกุ บ้านทุกเมือง บ้านเมือง รถม้าตากอากาศ
ของเรามีแต่รกเรียว หนทางกเ็ ปนตรอกเลก็ ตรอกน้อย
ซอยเลก็ หนทางใหญก่ ็เปรอะเปอนไมเ่ ปนทีเจรญิ ตา
ขายหน้าแกช่ าวนานาประเทศ”

05

JOURNEY
CHAROENKRUNG

เจรญิ กรุง I บาํ รงุ เมอื ง I เฟองนคร
"ถนนเจริญกรุง" ซึงมีความหมายถึงความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมือง เช่นเดียวกับ
ชือถนนบาํ รุงเมืองและถนนเฟองนคร ทีโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึนในคราวเดียวกัน

ในประกา พ.ศ. 2404 จึงทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์
(ช่วง บุนนาค) ต่อมาคือ สมเด็จเจ้าพระยา
บรมมหาศรีสุริยวงศ์ ทีสมุหพระกลาโหม
เปนแม่กอง พระยาอินทราธิบดีสีหราช
รองเมือง เปนนายงานรับผิดชอบในการ
ก่ อ ส ร้ า ง ถ น น ช่ ว ง ตั ง แ ต่ คู เ มื อ ง ชั น ใ น ถึ ง
ถนนตก ริมแม่นําเจ้าพระยาทีตําบล
บางคอแหลม

ทมี า https://th.wikipedia.org

เจา้ พระยาศรสี รุ ยิ วงศ์
(ชว่ ง บุนนาค)

ทมี า https://pantip.com/topic/34462437 ทมี า https://pantip.com/topic/34462437

รถรางทีจอดบรเิ วณถนนตก ถนนตก
จุดสนิ สดุ ของถนนเจรญิ กรงุ

ถนนตกเพราะตกทีแมน่ าํ เจา้ พระยา

06

ค ว า ม ศิ วิ ไ ล ซ์

ตึ ก แ ถ ว ร ถ ร า ง ต า ม อ ย่ า ง สิ ง ค โ ป ร ทีมา teakdoor.com

ถ น น เ จ ริ ญ ก รุ ง ส มั ย แ ร ก ส ร้ า ง
มีขนาดกว้าง 4 วา ส.พลายน้อย
บันทึกไว้อย่างน่าสนใจว่า “ผู้คน
ใ น ส มั ย นั น ใ ค ร เ ห็ น ก็ ว่ า ก ว้ า ง ม า ก ”

คํา ซุ บ ซิ บ ดั ง ก ล่ า ว จ ะ ถึ ง พ ร ะ เ น ต ร
พระกรรณในหลวงรัชกาลที 4 ด้วย
ท ร ง พ ร ะ ร า ช นิ พ น ธ์ พ ร ะ ร า ช ป ร า ร ภ
เรืองถนนเจริญกรุง ความตอนหนึง
ท ร ง ชี แ จ ง ป ร ะ เ ด็ น เ รื อ ง ค ว า ม ก ว้ า ง
ข อ ง ถ น น ด้ ว ย ส า ย พ ร ะ เ น ต ร อั น ย า ว
ไกล ไว้ว่า “ถ้าจะทําแต่แคบๆ พอคน
เดินก็จะดี แต่ซึงทาํ ใหญ่ไว้นี ก็เผือไว้
ว่ า เ มื อ น า น ไ ป ภ า ย น่ า บ้ า น เ มื อ ง ส ม บู ร ณ์
ทีผู้คนมากมายขึน รถแลม้าแลคนเดิน
จะได้คล่องแคล่วจึงทํา ให้ใหญ่ไว้”
นั บ ว่ า ถ น น เ จ ริ ญ ก รุ ง เ ป น ก า ร ว า ง
รากฐานให้ กับความเจริญของกรุง
โดยแท้ เและยังเปนแบบอย่างให้กับ
ถนนสายอืนๆ สมัยต่อ ๆ มาในรัชสมัย
พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ จุ ล จ อ ม เ ก ล้ า เ จ้ า -
อยู่หัว รัชกาลที 5 ทังรัฐบาลและ
เอกชนได้ร่วมกันตัดถนนเพื อ
ประโยชน์ทังการสัญจร และการ
พาณิชย์อีกจาํ นวนถึง 110 สาย

เ มื อ มี ถ น น ห น ท า ง เ รี ย บ ร้ อ ย ง ด ง า ม ทีมา ภาพถนนเจริญกรงุ ในอดตี via: เมืองไทยในอดตี
แล้ว การตังรกรากบนบกจึงเกิดขึนด้วย
การสร้างตึกแถว โดยได้แบบอย่างจาก “ ถ้ า จ ะ ทาํ แ ต่ แ ค บ ๆ พ อ ค น เ ดิ น ก็ จ ะ ดี
เมืองสิงคโปร์ สิงทีตามมาต่อจาก แ ต่ ซึ ง ทํา ใ ห ญ่ ไ ว้ นี ก็ เ ผื อ ไ ว้ ว่ า เ มื อ น า น
ตึกแถวคือประทีปโคมไฟ ป 2427 มีการ
ตังบริษัทไฟฟาสยามเปนครังแรก จีงมี ไ ป ภ า ย น่ า บ้ า น เ มื อ ง ส ม บู ร ณ์ ที ผู้ ค น
ไ ฟ ต า ม ท้ อ ง ถ น น ม า ก ม า ย ขึ น ร ถ แ ล ม้ า แ ล ค น เ ดิ น
จ ะ ไ ด้ ค ล่ อ ง แ ค ล่ ว จึ ง ทํา ใ ห้ ใ ห ญ่ ไ ว้ ”

07

THE BUCKET LIST

FAPVLOAUCREITE

CHAROENKRUNG

สถานทีท่องเทียวบนถนนสายทีเปนจุดเริมต้นของ
ย่านการค้าขายของชาวจีน เนืองจากถนนเจริญกรุง

ฝงใกล้ถนนสนามไชย เปนเส้นทีคู่ขนานกับชุมชน
เยาวราช ชุมชนใหญ่ของชาวจีนทีย้ายถินฐานจาก

ประเทศจีนมาอยู่อาศัยในเมืองไทย

08

PAGE 2 | BACKPACK

เยาวราช

CHINATOWN

ไชน่าทาวน์ ชุมชนจีนนอก
ป ร ะ เ ท ศ จี น ที ใ ห ญ่ ที สุ ด แ ห่ ง ห นึ ง
ของโลก ก่อตังขึนมาตังแต่ป
พ.ศ. 2325 พร้อมกับการสถาปนา
กรุงรัตนโกสินทร์ในสมัยรัชกาลที 1
โดยชาวจีนแต้จิว ทีเดิมตังถินฐาน
อ ยู่ แ ถ ว พ ร ะ บ ร ม ม ห า ร า ช วั ง เ ดิ ม
เ มื อ มี ก า ร ส ร้ า ง พ ร ะ บ ร ม ม ห า ร า ช วั ง
จึงให้ชาวจีนย้ายไปยังสาํ เพ็ ง
ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด เ ป น ชุ ม ช น จี น เ กิ ด ที นี แ ล ะ
ยั ง ก ล า ย เ ป น แ ห ล่ ง ก า ร ค้ า ข า ย สิ น ค้ า
จ า ก จี น

เ ย า ว ร า ช ไ ด้ รั บ ก า ร ก ล่ า ว ข า น แ ล ะ
ขนานนามว่าเปน " ถนนมังกร "
โ ด ย มี จุ ด เ ริ ม ต้ น ข อ ง หั ว มั ง ก ร ที ซุ้ ม
ประตูเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา
บริเวณวงเวียนโอเดียน ท้องมังกร
อ ยู่ ที บ ริ เ ว ณ ต ล า ด เ ก่ า เ ย า ว ร า ช แ ล ะ
สิ น สุ ด ป ล า ย ห า ง มั ง ก ร ที บ ริ เ ว ณ
ปลายสุดของถนนเพื อให้เยาวราช
กลายเปนสถานทีสาํ หรับส่งเสริม
ก า ร ค้ า ข า ย

ธุ ร กิ จ ที โ ด ด เ ด่ น ที สุ ด ใ น ย่ า น เ ย า ว ร า ช
คือ ร้านขายทอง หรือนิยมเรียกกันว่า
ห้างทอง ซึงมีตลอดแนวถนนเยาวราช
จนทาํ ให้เยาวราชได้ชือว่าเปน

“ถนนสายทองคํา”

09

เยาวราช มีความหมายว่า
พ ร ะ ร า ช า ที ท ร ง พ ร ะ เ ย า ว์

ห ม า ย ถึ ง รั ช ก า ล ที 5 ที ขึ น
ค ร อ ง ร า ช ย์ เ มื อ มี พ ร ะ ช น ม า ยุ

เ พี ย ง 1 5 พ ร ร ษ า

เ ย า ว ร า ช ไ น ท์ ไ ล ฟ

YAOWARAT STREET FOOD

ใ น อ ดี ต ย่ า น เ ย า ว ร า ช ยั ง เ ป น แ ห ล่ ง ร ว บ ร ว ม
ความบันเทิงต่างๆ เช่น โรงภาพยนตร์และโรงงิว
จาํ นวนมาก มีอาคาร 7 ชัน ซึงเปนอาคารทีสูง
ทีสุดของประเทศไทยในเวลานันด้วย สะท้อนให้
เห็นภาพความรุ่งเรืองของพื นทีแห่งนี

ช่วงเย็นจนถึงคําคืน จะเปนร้านอาหารใน
แบบสตรีทฟู ดมีร้านอาหารริมข้างทางเรียงราย
ตลอดสองฝงถนน ซึงแต่ละร้านล้วนมีชือเสียง
ไม่ว่าจะเปน ก๋วยเตียว,หมูสะเต๊ะ,หอยทอด,
ก๋วยจับ,อาหารทะเล เปนต้น

ทมี า https://www.vintag.es/2016/07/bangkok-in-1950s

"Little India" 10

พาหุรัด ถือเปนย่านตลาดผ้าทีเก่าแก่ทีสุด ทีมา https://www.wongnai.com/trips/story-of-pahurat
ของไทยในเขตพระนคร และมีชือเสียงว่าเปน
พื นทีแห่งสีสัน (ของผ้า) ทีสามารถสะท้อน
วิ ถี ชี วิ ต ค น อิ น เ ดี ย ห รื อ ช า ว ภ า ร ต ะ ไ ด้ ชั ด เ จ น
ที สุ ด

ทีมาทีไปของบังขายผ้า พาหุรัดเคยเปนย่าน
เก่าแก่ของคนญวนเมือ 130 ปก่อน เกิดเพลิง
ไหม้บ้านญวนหลายหลัง จึงเกิดพื นทีว่างยาว
525 เมตร ย่านเศรษฐกิจขาดสะบันชาวญวน
ได้ย้ายหนีออกไป แต่ทันทีทีถนนพาหุรัดถูก
สร้างขึน เส้นทางทีเหมาะกับการค้าขายและเดิน
ทางขนส่งง่าย ตึกสองแถวถูกปรับปรุงขึนใหม่
ก็ทําให้มีคนจากทางตอนเหนือของอินเดียใน
รัฐปญจาบจํานวนมาก เข้ามาจับจองอาคาร
หาบเร่ขายของตังแผงลอยกันอยู่ทีนี

ทมี า https://www.wongnai.com/trips/story-of-sampheng

ส า ม เ พ็ ง
“อยากได้อะไรให้ไปสาํ เพ็ง”

ทมี า https://www.silpa-mag.com/culture/article_26449 สาํ เพ็ง หรือปจจุบันรู้จักกันดีในชืออย่าง
เปนทางการว่า ซอยวานิช 1 เปนย่านการค้า
ย่านสาํ เพ็ งทีโด่งดังในอดีตยังเปนย่าน สําคัญแห่งหนึง ย้อนไปครังรัชกาลที 1 แห่ง
ทีมีชือเสียงในด้านโลกียสาํ ราญ มีทัง ราชวงศ์ทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ขึน
โรงโสเภณี บ่อนพนัน คาํ ว่า “สําเพ็ ง” จึงเปน เปนราชธานี ทีตังของชุมชนชาวจีน โดย
คาํ ด่าทีหมายถึงผู้หญิงทีค้าขายทางโลกีย์ เฉพาะบริเวณท่าเตียน จึงให้ย้ายชุมชนชาวจีน
ย้ายออกไปตังถินฐานใหม่ในทีสวนนอกประตู
พระนคร ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ขนานไป
กับลํานําเจ้าพระยา ตังแต่ คลองวัดสามปลืม
(วัดจักรวรรดิราชาวาส) ไปจนถึงคลองวัด
สามเพ็ ง

ชาวจีนตังหลักใหม่ สร้างชุมชนและย่าน
การค้าจนรุ่งเรือง จัดเปนตลาดบกทีใหญ่
ทีสุด ในพระนคร สินค้าทีนํามาจาํ หน่ายมี
มากมายหลายประเภท เช่น เครืองกระดาษ
ของไหว้เจ้า อาหารแห้ง ปลาเค็ม ฯลฯ
จนต่างชาติกล่าวขานว่า

"Chinese Bazaar"

ชือ “สาํ เพ็ ง” บ้างว่าเพี ยนมาจาก

 “สามเพ็ ง” บ้างว่ามาจาก “สามแผ่น”

29 venture “สามแพร่ง” หรือ “ลําเพ็ ง” เนืองด้วยคน

ทีมา https://www.wongnai.com/trips/story-of-sampheng จีนอาศัยอยู่จํานวนมาก อาจทําให้สําเนียง
เพี ยนไปจากเดิม
11

ทีมา https://www.wongnai.com/trips/story-of-taladnoi

ตลาดน้ อย ต ล า ด น้ อ ย มี ช า ว จี น อ ยู่ ม า ก ม า ย
ตลาดไม่มาก หลายเชือสาย แต่ทีเห็นว่าเยอะทีสุด
ก็ ค ง จ ะ เ ป น ค น จี น เ ชื อ ส า ย ฮ ก เ กี ย น
"ตลาดน้อย" หรือ "ตะลัคเกียะ" ทีเทียว ที อ า ศั ย อ ยู่ ใ น ต ล า ด น้ อ ย กั น อ ย่ า ง
ในตํานานย่านถนนเจริญกรุง ทีเต็มไปด้วย เหนียวแน่น หลักฐานทีแสดงให้เห็นว่า
เรืองเล่าของ "วัฒนธรรมจีนดังเดิม" ชาวจีนเชือสายฮกเกียน เปนประชากร
ที มี อ ยู่ เ ย อ ะ ที สุ ด ใ น ชุ ม ช น ต ล า ด น้ อ ย
ครังหนึงประมาณ 300 ปก่อน ในช่วง ก็ ค ง จ ะ เ ป น ศ า ล เ จ้ า ข น า ด ใ ห ญ่ ที ตั ง อ ยู่
รัตนโกสินทร์ตอนต้น "ตลาดน้อย" เคยเปน กลางชุมชนอย่าง "ศาลเจ้าโจวซือกง".
ศู น ย์ ก ล า ง ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง ก รุ ง เ ท พ ฯ
คนในพื นทีถูกแยกมาจากย่านกุฎีจีน ทีอพยพ ป จ จุ บั น ต ล า ด น้ อ ย ยั ง เ ป น แ ห ล่ ง
มากับเรือสาํ เภา ตอนนันจาํ นวนผู้คนก็ยังไม่ สตรีทอาร์ทของกรุงเทพฯ ทีมักจะจัด
มากนัก แต่ความเฟองฟู ของย่านสาํ เพ็ ง และ นิทรรศการศิลปะต่าง ๆ ไว้ทีนีอีกด้วย
เยาวราชทีต่อมาธุรกิจเติบโตขึนเรือย ๆ จน
กลายเปนศูนย์กลางการค้า ก็ทาํ ให้ชาวจีน 12
ต่ า ง เ ข้ า ม า ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ค้ า ข า ย

13

ด่วนจีไปรษณีย์จ๋า

ไ ป ร ษ ณี ย์ ก ล า ง ทีมา https://readthecloud.co/grand-postal-office/
ย้อนไปเมือครงั รชั กาลที 5 ทรงพระกรณุ า ทมี า https://readthecloud.co/grand-postal-office/
โปรดเกลา้ ฯ ให้ตงั กรมไปรษณีย์ (ไปรสนยี )์
ขึนในวนั ที 4 สิงหาคม พ.ศ. 2426 เพือ
ประโยชน์ดา้ นการติดตอ่ สือสาร และเปนการ
ประกาศเกยี รตภิ มู ขิ องประเทศให้ทัดเทยี มกับ
อารยประเทศในขณะนนั โดยทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้านอ้ งยาเธอ
เจา้ ฟาภาณุรังษีสวา่ งวงศ์ กรมหลวงภาณุ
พันธุวงศว์ รเดช ดํารงตําแหนง่ อธบิ ดสี าํ เร็จ
ราชการ ‘กรมไปรสนยี ์แลโทรเลข’ เปน
พระองคแ์ รก ส่วนตกึ ทีวา่ การฯ เรียกกันว่า
‘ไปรสนียาคาร’ คอื ตึกใหญร่ มิ แมน่ ําเจ้าพระยา
เหนือปากคลองโอ่งอ่าง ซงึ เดิมเปนเรอื น
ของพระปรีชากลการ

การไปรณยี ไ์ ทยนนั ได้รบั ความนยิ มมาก
มีการย้ายอกี ครงั หนงึ จนกระทังต้องสร้าง
อาคารหลังปจจุบนั ทบี างรัก อาคารไปรษณยี ์
กลางแห่งนกี อ่ สร้างเปนทรงกลอ่ งสีเหลยี ม
เรียบเกลยี งรปู แบบสถาปตยกรรมสมยั ใหม่
(Modern Architecture) แนวนีโอคลาสสิก
(Neo-Classic) อนั เปนทีนิยมในตะวนั ตก
ลดทอนการประดับประดาและความประณีต
ของสถาปตยกรรมของไทยทเี คยมีมา
งบประมาณการกอ่ สร้างรวมตกแตง่ ทังสิน
มากถงึ 976,967 บาท “ในคาํ กลา่ วรายงาน
กบั ประธานในวนั เปดอาคารเขยี นว่า รัฐบาล
อนุมัตเิ งินจํานวนมหาศาลเพือสรา้ งอาคารอัน
มโหฬารในรปู แบบสมัยใหม่”

อาคารไปรษณีย์กลางแห่งใหม่จัดพิ ธีเปด
อย่างเปนทางการเมือวันที 24 มิถุนายน
พ.ศ. 2483 พร้อมกับสถานทีราชการอีก

หลายแห่งทีเปดในวันเดียวกัน เพราะ
ถื อ เ ป น วั น ช า ติ ใ น ข ณ ะ นั น

14

EATRYWHERE

กิ น ไ ห น ดี

ร้านเฟงจ-ู หมูเจรญิ Feng Zhu เกียวซ่าหนา้ เปด

ตรงข้าม naraya shop - river city 2 ซอย เจริญกรุง 24

รา้ น ออน ลอ็ ค หยนุ่

72 ถนน เจริญกรุง แขวง วังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร

15

EATRYWHERE

กิ น ไ ห น ดี

รา้ นเจบ๊ ๊วยสะพานหนั ขา้ วบะ๊ เต็ง

22 ซอย วานิช 1

ร้านฮุ่นกวง Hoon Kuang ราดหนา้ ขึนเหลา

ปากซอย เยาวราช 4

16

EATRYWHERE

กิ น ไ ห น ดี

ร้าน Takoya klomkik

ซอย เจริญกรุง 20 แขวง ตลาดน้อย

รา้ น Mother roaster

ตรอก ศาลเจ้าโรงเกือก แขวง ตลาดน้อย

17 บ ร ร ณ า นุ ก ร ม

Issue 27 | 234 1.บุบผา คมุ มานนท.์ “‘สําเพ็ง’ ศนู ยก์ ารค้าแหง่ แรกของ
กรุงรตั นโกสินทร์,” ใน ศิลปวฒั นธรรม ปที 3 ฉบับที 6,
เมษายน 2525.

2.ปยนาถ บุนนาค. “สาํ เพ็ง : ประวัตศิ าสตร์ชุมชนชาวจีนใน
กรุงเทพมหานคร”. สาํ เพ็ง ประวัติศาสตร์ชุมชนชาวจีนใน
กรงุ เทพฯ. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , 2559

3.ส.พลายนอ้ ย. เลา่ เรอื งบางกอก (ฉบับสมบรู ณ์). พิมพ์
ครงั ที 7. กรงุ เทพฯ : พิมพ์คําสํานกั พิมพ์, 2555

4.สนั ต์ สวุ รรณประทปี . “ลําเลิกอดตี ,” ใน ศิลปวฒั นธรรม
ปที 3 ฉบับที 5, มนี าคม 2525.

5.ศนั สนีย์ วีระศิลปชยั . ชอื บา้ นนามเมอื งในกรงุ เทพฯ.
พิมพ์ครังที 7. กรุงเทพฯ : มตชิ น, 2551

6.เชิญพร คงมา.//(2562).//ไปรษณีย์กลาง ณ บางรัก.//
สบื คน้ เมอื 14 เมษายน 2564,/
จาก/https://readthecloud.co/grand-postal-
office/

7.นา้ ชาติ ประชาชืน.//(2562).//สําเพ็ง.//สืบค้นเมือ 14
เมษายน 2564,/
จาก/https://www.khaosod.co.th/lifestyle/news_
3010179

8.นักรอบ มูลมานัส.//(2561).//กรุงเทพฯ ราตร/ี /สืบคน้
เมอื 14 เมษายน 2564,/
จาก/https://readthecloud.co/notenation-4/

9.Anya Supasakon.//(2563).//เยอื นบ้านเกา่ "ชุมชน
ตลาดนอ้ ย" ยอ้ นรอยวัฒนธรรมจนี 300 ป ทไี มเ่ ลือน
หาย.//สืบค้นเมือ 14 เมษายน 2564,/
จาก/https://www.wongnai.com/trips/story-of-
taladnoi

10.Anya Supasakon.//(2563).//เยอื นย่าน "พาหุรัด"
Little India ในถนิ ไทย วฒั นธรรมอินเดยี ทไี ร้
พรมแดน.//สืบคน้ เมอื 14 เมษายน 2564,/
จาก/https://www.wongnai.com/trips/story-of-
pahurat

11. ddproperty.//(2562).//รู้จักย่านเยาวราชแบบเจาะ
ลกึ .//สบื คน้ เมือ 14 เมษายน 2564,/
จาก/https://www.ddproperty.com/aareainsider
/เยาวราช/article/ร้จู ักย่านเยาวราชแบบเจาะลึก-7536

12.ddproperty./(2562).//รจู้ ักยา่ นเจริญกรงุ แบบเจาะ
ลึก//สืบค้นเมอื 14 เมษายน 2564,/
จาก/https://www.ddproperty.com/areainsider

13.บีม" ชือนกี นิ เกง่ .//(2563).//สําเพ็ง ย่านการคา้ สุดฮติ
ของกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ทีมตี ํานานมากกว่าการค้าขาย.//
สืบค้นเมือ 14 เมษายน 2564,/
จาก/https://www.wongnai.com/trips/story-of-
sampheng

18

Travel Story

THANK

YOU

E BOOK เลม่ นเี ปนสว่ นหนงึ ของวชิ า
751 116 นวตั กรรมและเทคโนโลยใี นการบรหิ ารการศกึ ษา

เสนอ ดร.นติ ยา เกดิ แยม้
โดย นางสาวสภุ าวดี ทองสขุ 6317500004
ปรญิ ญาโท ภาวะผนู้ ําและนวตั กรรมการบรกิ ารศกึ ษา ปที 1


Click to View FlipBook Version